Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR_นิคม.3_ปี-64

SAR_นิคม.3_ปี-64

Published by peerawat.bok, 2022-05-23 01:57:54

Description: รายงานผลการประเมินตนเอง SAR ของสถานศึกษาในปีการศึกษา 2564 ที่ผ่านมา

Search

Read the Text Version

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 43 4. แผนพฒั นาเพอ่ื ยกระดับคุณภาพให้สงู ข้นึ จุดเดน่ 1. เดก็ ส่วนใหญม่ ีน้ำหนักสว่ นสูงตามเกณฑ์เดก็ มนี ้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน เคลอื่ นไหว ร่างกาย ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ 2.รู้จักรกั ษาสุขภาพอนามัยสว่ นตนท้ังการเข้าห้องน้ำ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร การรับประทาน อาหารดว้ ยตนเองและปฏบิ ัตจิ นเปน็ นสิ ยั 3.ปฏบิ ตั ติ นตามขอ้ ตกลงของห้องเรียน และร้จู ักดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ จุดทค่ี วรพฒั นา 1.มีนักเรียนในระดับช้ันอนุบาลปีท่ี 3 จำนวน 1 คน ที่มีผลการประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา อยู่ใน เกณฑพ์ อใช้ ทงั้ นีเ้ นอื่ งจากเด็กยงั ไมส่ ามารถสรุปความคิดรวบยอดได้เหมาะสมตามวยั ได้ 2.จัดกิจกรรมส่งเสริมการปรับตัวก่อนเข้ารับการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นแต่ละข้ันจนถึงการเป็นนักเรียน ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 แผนพัฒนาคุณภาพเพ่อื ยกระดบั ใหส้ ูงขึน้ 1. เด็กมพี ัฒนาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง มีสขุ นิสัยท่ีดี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ โรงเรียนวางแผนจัดทำโครงการสุขภาพดีชีวีมีสุขแก้ปัญหานักเรียนท่ีมีภาวะโภชนาการอ้วนหรือ น้ำหนักไม่เป็นไปตามเกณฑ์ โดยกำหนดกิจกรรมตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการ การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม การให้ความรู้กับนักเรียนและผู้ปกครองในเร่ืองของโภชนาการและร่วมมือกันในการแก้ปัญห าภาวะ ทพุ โภชนาการ 2. เดก็ มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ โรงเรียนจัดทำโครงการสง่ เสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจสำหรบั เดก็ ปฐมวัย เพ่ือพฒั นาให้เด็กเด็ก ร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสม รู้จักยับย้ังช่ังใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจใน ความสามารถ และผลงานของตนเองและผู้อ่ืน และจัดกิจกรรมการเลา่ นทิ านประกอบการแสดงเพ่ือ ส่งเสริม ใหเ้ ด็กมีความม่ันใจ กล้าพดู กล้าแสดงออก 3. เด็กมพี ัฒนาดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคมได้ โรงเรียนจัดทำ โครงการส่งเสรมิ พัฒนาการด้านสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย เพ่ือพัฒนาให้เดก็ ช่วยเหลือ ตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน มีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพยี ง และโครงการหนูน้อยวยั ใสใสใ่ จ รกั ษส์ ะอาดสง่ เสริมใหเ้ ดก็ มีสว่ นรว่ มดูแลรักษาสิง่ แวดลอ้ ม 4. เด็กมพี ัฒนาการด้านสติปญั ญา สื่อสารได้ มที กั ษะการคดิ พืน้ ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ จดั กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมความพร้อมก่อนเข้ารับการศึกษาในระดับที่สงู ขึ้นแต่ละขั้น จนถึงการเป็น นักเรียนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ดังนี้ -จัดให้ครูศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานการจัดการ เรยี นการสอนในระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 44 -มีการประมวลผลข้อมูลพัฒนาการ และการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคลเพื่อส่งต่อให้ ครูช้ันถัดไป ส่งเสริมและช่วยเหลอื ต่อไป - เปิดโอกาสให้เดก็ ปฐมวยั ไดม้ ีประสบการณท์ ำกิจกรรมร่วมกันกบั รุ่นพ่ใี นชน้ั ประถมศึกษา -ให้ข้อมูลและแนวทางในการประชุมผู้ปกครอง เก่ียวกับส่ิงที่จำเป็นในการเรียนในระดับ ประถมศึกษา และเชิญครูผู้สอนระดับประถมศึกษาปีที่1 มาแลกเปลี่ยนความรู้เก่ียวกับการเรียนในระดับ ประถมศึกษากบั ผู้ปกครอง มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลิศ 1. กระบวนการพัฒนา และผลทเี่ กิดจากการพัฒนา 1.1 มีหลกั สูตรครอบคลมุ พัฒนาการทง้ั 4 ดา้ น สอดคล้องกบั บริบทของท้องถน่ิ โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่ครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ด้านของเด็กปฐมวัย สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและบริบทท้องถิ่น โดยผู้บริหาร ครูและผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้มีส่วนร่วมใน การ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (ฉบับปรับปรุง 2564) ครูได้วิเคราะห์ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ ครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญา สอดคล้องกับบริบทและความต้องการ ของ ทอ้ งถิ่น อยา่ งครบถ้วนสมบรู ณ์ โดยจดั ท าโครงการพฒั นาหลักสูตรปฐมวยั โครงการจดั ประสบการณเ์ พื่อ การ พัฒนาเด็ก กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ กจิ กรรมเสรี กจิ กรรมกลางแจง้ กิจกรรมเกมการศึกษา เป็นตน้ 1.2 จัดครูใหเ้ พยี งพอกบั ชน้ั เรยี น โรงเรียนได้จัดครูเพยี งพอและเหมาะสมกับช้นั เรียนโดยโรงเรยี นประชุมคัดเลอื กครูผ้สู อนปฐมวัยให้ตรง ตามวิชาเอกและความถนัด เพ่ือให้สามารถจัดการศึกษาได้ตามภารกิจ ท้ังนี้ในระดับปฐมวัยได้จัดครูที่มีวุฒิ การศกึ ษาปฐมวยั และ ครทู ผี่ า่ นการอบรมการศึกษาปฐมวัย 1.3 ส่งเสรมิ ใหค้ รมู คี วามเชี่ยวชาญด้านการจดั ประสบการณ์ โรงเรียนได้ส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพเด็ก เป็นรายบุคคล สามารถวิเคราะห์หลักสูตร ออกแบบการจัดประสบการณ์ ประเมินพัฒนาการของเด็กโดยใช้ วิธีการ ต่างๆ เช่น สังเกต สัมภาษณ์เด็ก สอบถามผู้ปกครอง โดยการส่งเสริมให้ครูเข้าร่วมประชุม/อบรม/ สัมมนาจาก องค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ อย่างต่อเน่ือง สนับสนุนให้ครูพัฒนาตนเองทางด้านประสบการณ์ และวิชาชีพ เช่น โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร โครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อย, โครงการอบรมการ จดั ทำ Logbook จัดทำ ผลงานเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ, กิจกรรมศึกษาดูงาน กิจกรรมอบรมคุณธรรมสำหรับเด็ก ปฐมวยั เป็นตน้ รวมทง้ั สนบั สนนุ ใหด้ าเนินกจิ กรรมกระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 45 1.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและเพยี งพอ โรงเรียนได้จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ โดยจัด สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน ให้มีความปลอดภัย และเพียงพอ เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ เป็นรายบุคคลและกลุ่ม มีมุมประสบการณ์ เช่น มุมหนังสือ มุมบ้าน มุมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มี หอ้ งสมดุ สนามเดก็ เล่น ที่ รับประทานอาหาร ห้องน้ำ มีส่ือการเรียนรู้ที่ปลอดภัยและเพียงพอ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน ส่ือจาก ธรรมชาติ เครื่องเล่นสนามและส่ือเทคโนโลยีที่เอ้ือต่อการจัดประสบการณ์อย่างมี คุณภาพ ครูดูแลเด็กอย่าง ใกล้ชิดทั่วถึง โดยจัดทำโครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรั บ เด็ก โครงการห้องเรียนปลอดภัย และน่าเรียน กิจกรรมยอดนักอ่าน กิจกรรมนักสำรวจ กิจกรรมปลูกผัก สวนครัว กจิ กรรมบำรงุ รกั ษาเครอื่ งเลน่ สนาม เปน็ ต้น 1.5 ใหบ้ ริการส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรยี นรู้ เพอ่ื สนับสนุนการจดั ประสบการณ์สำหรบั ครู โรงเรียนได้จัดให้มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตครอบคลุมทุกพ้ืนที่ของโรงเรียน จัด ให้มีคอมพิวเตอร์เพ่ือการเรียนรู้ในห้องเรียน มีเคร่ืองพิมพ์ โทรทัศน์ที่เช่ือมต่อกับระบบคอมพิวเตอร์ ตลอดจนส่ือ การเรียนรู้ เพื่อสนับสนุนครูในการจัดประสบการณ์ให้แก่เด็ก และการพัฒนาตนเอง โดยจัดทำ โครงการส่งเสริมสื่อ เทคโนโลยีสู่ห้องเรียน โครงการจัดการเรียนรู้ระบบทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เป็นต้น ทั้งนี้ในปีการศึกษาท่ีผ่านมาพบว่าสัญญาณ อินเทอร์เน็ตไม่ท่ัวถึง เป็น อุปสรรคในการใช้งาน ในปกี ารศกึ ษานจ้ี ึงปรับปรุงระบบและกระจายสัญญาณให้ทวั่ ถงึ ทกุ พ้นื ท่ใี นโรงเรยี น 1.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ เู้ กย่ี วข้องทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วม เป็นจดุ เน้นของกระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรยี นมผี บู้ รหิ ารท่ีเขา้ ใจถงึ ปรชั ญาและ หลักการจัดการศึกษาปฐมวัย สามารถให้คำแนะนำ ช้ีแนะที่ส่งผลต่อการพัฒนาเด็ก ให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานของ สถานศกึ ษา ให้คำปรึกษาทางวชิ าการและ เอาใจใส่การจัดการศึกษา มีการกระจายอำนาจ การ บริหารงานทุก ระดับช้ัน มีการประชุมกลุ่มย่อย โรงเรียนได้เปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการ จัดการศกึ ษา มกี าร ประชมุ แลกเปล่ยี นความคิดเกย่ี วกบั การจัดการศกึ ษาปฐมวัย ครูและผู้ปกครองมีความพึง พอใจ โดยจัดทำ โครงการประชุมผู้ปกครอง โครงการประสานชุมชนและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง กิจกรรม อบรมพ่อแม่ ผูป้ กครอง ครูเด็กปฐมวยั กิจกรรมประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เป็นต้น โรงเรียน ได้ประชุมผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง กับการจัดการศึกษา กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ที่สอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาท่ี สอดรับกับมาตรฐาน ที่ สถานศึกษากำหนดและดำเนินการตามแผน มีการประเมินผลและ ตรวจสอบคุณภาพ ภายในสถานศึกษา ติดตาม ผลการดำเนินงาน และ จัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี นำผลการ ประเมินไปปรับปรุง และพัฒนา คุณภาพสถานศึกษา โดยดำเนินโครงการประกันคุณภาพภายใน มีการ รายงานผลการดำเนินงานต่อหน่วยงานต้น สังกัดและสาธารณชน ผู้บริหารส่งเสริมให้มีช่องทางในการ ติดต่อส่ือสารและประชาสัมพันธ์ผลงาน กิจกรรมของโรงเรียน ผ่านเว็บไซด์ของโรงเรียนและกลุ่ม Line จดหมายขา่ วประชาสมั พนั ธผ์ า่ นช่องทาง กลุม่ ไลน์ Br2 ราชการในสงั กดั สพป.บร.2 เปน็ ประจำสมำ่ เสมอ รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 46 2. ผลการพัฒนา 2.1 โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัย ครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน สอดคล้องกับ บริบทของท้องถ่ิน ส่งผลให้สามารถจัดประสบการณ์เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่เด็ก เน้นการเรียนรู้ผ่านการ เล่น และลงมือปฏิบัติ ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชนและ ท้องถิ่น 2.2 โรงเรียนมีครูปฐมวัยเพียงพอกับชั้นเรียน ส่งผลให้สามารถจัดการศึกษาได้ตามภารกิจ มีความรู้ ความเขา้ ใจบทบาทหนา้ ทคี่ รูปฐมวยั ดังนี้ 3.2.1 ชน้ั อนุบาลปีท่ี2 ครูผสู้ อนไดร้ บั การอบรมการจัดการศกึ ษาปฐมวัย 3.2.2 ชั้นอนบุ าลปีที่3 ครผู ู้สอนมีวุฒิการศึกษาปฐมวัย 2.3 โรงเรียนส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก สามารถวิเคราะห์และ ออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา มีทักษะในการจัดประสบการณ์ และประเมินพัฒนาการของเด็กด้วยวิธีการท่ี หลากหลาย รวมท้ังส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ส่งผลให้ครูมีความรู้ความเข้าใจการจัดการศึกษา ปฐมวัย สามารถวิเคราะห์หลักสูตร ออกแบบการจัดประสบการณ์ ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายคน มี ปฏสิ ัมพันธ์ทด่ี ีกับเดก็ และผปู้ กครอง โดยครไู ดม้ ีการพัฒนาตนเองดงั นี้ 3.3.1 ครูผสู้ อนชั้นอนบุ าลปที ี่ 2 พฒั นาตนเอง 60 ชั่วโมงต่อปี 3.3.2 ครูผสู้ อนชน้ั อนุบาลปที ่ี 3 พัฒนาตนเอง 60 ช่ัวโมงต่อปี 2.4 โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมท่ีปลอดภัยและเพียงพอกับนักเรียนทุกช้ัน ท้ังภายในและภายนอก ห้องเรียนเช่น มุมประสบการณ์ ,ห้องสมุด , สนามเด็กเล่น , ท่ีรับประทานอาหาร ,ห้องน้ำ มีความสะอาด ปลอดภัย สวยงาม ร่มรื่น เพียงพอแก่ความต้องการของเด็กนักเรียน อีกทั้งมีสื่อเพ่ือการเรียนรู้ท่ีปลอดภัย และเพียงพอกับ นักเรียน เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจากธรรมชาติ เป็นต้น ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการ ตามวยั ผู้ปกครองให้ ความไวว้ างใจ 2.5 โรงเรียนมีการให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัด ประสบการณ์ โดยได้จัดให้มีระบบอินเตอร์เน็ตครอบคลุมทุกพื้นที่ของโรงเรียน จัดให้มีคอมพิวเตอร์เพื่อการ เรียนรู้ ในห้องเรียน มีเครื่องพิมพ์ โทรทัศน์ที่เช่ือมต่อกับระบบคอมพิวเตอร์ มีห้องคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้ครู ได้รับความ สะดวกในการจัดประสบการณ์ และสามารถพัฒนาอย่างตอ่ เนือ่ ง 2.6 ผู้บริหารมีระบบบรหิ ารท่ีเปิดโอกาสให้ทกุ ฝ่ายมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา สถานศกึ ษากำหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ท่ีสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาที่ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา มีการประเมินผลและ ตรวจสอบ คุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงาน และ จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง ประจำปี นำผลการประเมนิ ไปปรับปรงุ และพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา โดยผู้ปกครองและผู้เก่ยี วข้องทุกฝา่ ย มสี ่วนร่วมและจัดส่ง รายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัด ส่งผลให้ได้รับความร่วมมือจากผู้ที่ เกี่ยวข้องในการจัด การศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายในท่ีเข้มแข็ง ผู้ที่เก่ียวข้องมีความพึงพอใจ รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 47 ผู้บรหิ ารส่งเสริมให้มีช่องทาง ในการติดต่อสอ่ื สารและประชาสัมพันธ์ผลงาน กิจกรรมของโรงเรียผ่านเว็บไซด์ และกลุ่มLine จดหมายข่าวประชาสมั พนั ธผ์ า่ นชอ่ งทางกลุม่ ไลน์ Br2 ราชการในสังกดั สพป.บร.2 เปน็ ประจำ 2.7 ผู้บรหิ ารของโรงเรียนได้รับรางวัลเชิดชเู กยี รติ ระดับยอดเย่ียมจากผลการคัดเลือกรูปแบบหรือแนว ปฏบิ ัติทีเ่ ปน็ เลิศ(Best Practice) ดา้ นการบรหิ ารจัดการการศึกษาปฐมวัย ประจำปงี บประมาณ 2563 3. ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ที่สนบั สนุนผลการประเมิน หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา แผนการจัดประสบการณ์ รายงานผลการพัฒนา คุณภาพการศึกษา (SAR) โครงการพัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้ชั้นปฐมวัย รายงานโครงการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัย รายงานโครงการส่งเสริมความเข้มแข็งโรงเรียนอนุบาลประจำเขตพื้นที่การศึกษา รายงาน การนิเทศการศึกษา รายงานโครงการจัดหาจัดทำสื่อการสอนระดับปฐมวัย รายงานการจัดทำวิจัยในชั้นเรียน รายงานโครงการพัฒนาบุคลากร บันทกึ การประชมุ ครู รายงานโครงการทศั นศึกษา 4. ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ท่ีสนับสนนุ ผลการประเมินตนเอง ประเด็นพจิ ารณา โครงการ/กิจกรรม หลักฐานเชิงประจกั ษ์/ผลงานโดดเดน่ 4.1 มหี ลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการ -โครงการพัฒนาหลักสูตร ปฐมวัย -หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2564 ทงั้ 4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบริบทของ ทอ้ งถ่นิ -กิจกรรมจดั ประสบการณ์ -แผนการจัดประสบการณเ์ ดก็ -แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี 4.2 จัดครูใหเ้ พียงพอกบั ชนั้ เรยี น -คำสงั่ โรงเรียน -คำส่ังโรงเรยี น -ขอ้ มูลครูปฐมวัย 4.3 ส่งเสริมให้ครมู ีความเชยี่ วชาญ ด้านการ -โครงการพฒั นาศักยภาพ -รายงานผลการด าเนินโครงการ/กจิ กรรม จดั ประสบการณ์ บคุ ลากร -รายงานผลการประชุม/อบรม -กจิ กรรมประชมุ /อบรม/ศึกษาดงู าน -ภาพกจิ กรรม/เกยี รติบตั ร -แผนพัฒนาครแู ละบุคลากร 4.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อ เพอื่ การ -โครงการพฒั นาสภาพ แวดลอ้ มทเ่ี อื้อ -รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม เรยี นรู้ อย่างปลอดภยั และ เพยี งพอ ตอ่ การเรยี นรู้ -กิจกรรมจัดหาเคร่ืองเล่นสนามสำหรับ เด็กปฐมวัย 4.5 ให้บรกิ ารส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และสอ่ื -โครงการจดั หาสือ่ เทคโนโลยเี พื่อ -รายงานผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม การเรยี นรู้ เพอื่ สนับสนุนการจดั ประสบการณ์ การเรยี นรู้ และบริหารจัดการ 4.6 มรี ะบบบริหารคณุ ภาพทีเ่ ปดิ โอกาสให้ -โครงการประกันคณุ ภาพ ภายใน -แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา ผ้เู กีย่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นร่วม -กิจกรรมประชมุ ผปู้ กครอง -กิจกรรม -แผนปฏิบตั กิ ารประจ าปี ประชุมคณะ กรรมการสถานศึกษา -รายงานผลการด าเนนิ โครงการ/กจิ กรรม -บนั ทึกการประชุม รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 48 5. จดุ เดน่ - สถานศกึ ษามหี ลกั สตู รทคี่ รอบคลมุ พัฒนาการทงั้ 4 ดา้ นสอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถน่ิ - ผู้บรหิ ารมคี วามตงั้ ใจ มีความมงุ่ มั่น และมวี สิ ยั ทศั นใ์ นการทำงาน - สถานศึกษามีการบรหิ ารจัดการอย่างเปน็ ระบบ - โรงเรียนมีหลกั สูตรสถานศึกษาทค่ี รอบคลุมพัฒนาการของเด็ก - ให้บรกิ ารส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อสารเรยี นร้เู พื่อสนับสนนุ การจัดประสบการณ์สำหรบั ครู 6. จดุ ควรพัฒนา - ควรมกี ารจดั ทำแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาท่มี ีการนำระบบ PDCA มาพัฒนาโรงเรยี นอยา่ ง ตอ่ เน่ือง - ครบู ุคลากรควรไดร้ ับการพฒั นาอย่างต่อเนื่อง - ควรสร้างเครอื ข่ายความร่วมมือกบั ผู้มสี ว่ นเกยี่ วข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรยี นให้มีความ เขม้ แข็งมี สว่ นรว่ มรับผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษา - พฒั นาด้านสถานทแี่ ละส่ิงแวดลอ้ มให้เอื้อต่อการพัฒนาการเดก็ 7. แผนพัฒนาคุณภาพให้สูงขึน้ - สถานศึกษาควรส่งเสริมการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา - สง่ เสรมิ ให้ครูผูด้ ูแลเด็กเขา้ รบั การอบรมพัฒนาอย่างต่อเนื่อง - ปรบั ปรงุ พัฒนาแหล่งเรียนรแู้ ละเทคโนโลยีให้พร้อมใช้งาน - จดั ใหม้ ีเคร่ืองเล่นสนามที่ปลอดภยั และเพยี งพอ - ส่งเสริมความร่วมมือและการมสี ่วนรว่ มจากทกุ ภาคสว่ น - พฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 49 มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทีเ่ นน้ เด็กเป็นสำคัญ ระดับคุณภาพ : ดเี ลศิ 1. กระบวนการพฒั นา และผลทเ่ี กิดจากการพฒั นา โรงเรยี นนิคมสรา้ งตนเอง 3 ไดด้ ำเนินการโดยครูผู้สอนส่งเสริมจัดประสบการณท์ ่ีครอบคลพัฒนาการ เดก็ ทกุ ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย, ดา้ นอารมณ์, ด้านสังคม และสตปิ ญั ญา อย่างสมดลุ เต็มศกั ยภาพครู วิเคราะห์ ขอ้ มลู นักเรยี นรายบุคคล มีการจดั ประสบการณ์ ที่หลากหลายทั้งภายในและภายนอก หอ้ งเรียนครูสามารถจัด บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกชั้นเรียนทเี่ อ้ือตอ่ การเรยี นรู้ของ เด็ก ครใู ชส้ ื่อและเทคโนโลยี เพ่ือกระตุ้นพัฒนาการของเด็กครูมีการประเมินผลเด็กเป็นรายบุคคลและนํา ผลมาพัฒนาการจัดประสบการณ์ ให้เด็กเพือ่ บรรลุตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไวโ้ ดยโรงเรียน ดำเนนิ การดังน้ี 1.จัดประสบการณ์ทสี่ ่งเสริมใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ได้กำหนดเป้าหมายด้านกระบวนการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็น สำคัญ ในระดับคุณภาพดีครูศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยมีการวิเคราะห์หลักสูตร จัดทำกําหนดการจัด ประสบการณ์จัดทำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญผ่านกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมคือ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะกิจกรรมเสริมประสบการณ์กิจกรรมสร้างสรรค์กิจกรรมเล่น ตามมุมกิจกรรม กลางแจ้งกิจกรรมเกมการศึกษาโดยบูรณาการกิจกรรมอย่างหลากหลายท่ีสอดคล้องกับ แนวคิดการใช้สมอง เป็นฐาน (BBL : Brain Based Learning) การสอนแบบโครงการ (Project Approach) มีการจัดทำโครงการ พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนระดบั ปฐมวยั ครูส่งเสริมให้เด็กได้ มกี ารเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง มี พัฒนาการด้านการดำรงตนอยู่ในสังคม มีวินัยในตนเอง มีมารยาทที่ดี มีสัมมาคารวะ รู้จักช่วยเหลอื ตนเองและ ผู้อ่ืน เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ครูทุกคนเย่ียมบ้านเด็ก จัดทำสมุด ประวัติของเด็กรายบุคคลทั้งด้านพฤติกรรม การเรยี นและครอบครัว ใชผ้ ลการวเิ คราะห์ข้อมูลมาพัฒนา เด็กรายบุคคลทัง้ การเรยี นและส่งเสรมิ คุณภาพชวี ิต มีการจัดกิจกรรมทางด้านศิลปะ ดนตรี ให้นักเรียนได้ วาดภาพ ระบายสี เพื่อสร้างจินตนาการและมีอารมณ์ ผ่องใส ให้เด็กได้ทำกิจกรรมด้วยความสนุกสนาน มี ปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับเพ่ือน ท้ังในและนอกห้องเรียน สร้าง โอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและ ปฏิบัติกิจกรรม เรียนรู้ลงมือทำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง อย่างมีความสุข มีการจัดกิจกรรมจิต อาสา กิจกรรมภาษาไทยผ่านวรรณกรรมสำหรับเด็ก มีการจัดกิจกรรม รอ้ ง เล่น เต้น อ่าน ให้เด็กได้ แสดงออกตามความสามารถของตนโดยความร่วมมือของพ่อแม่ และครอบครัว ชุมชน และผู้เกี่ยวข้อง เช่น พัฒนาการเคล่ือนไหวทางร่างกายการ พัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่มัดเล็กให้ทำงาน อย่างมี ประสิทธิภาพ การส่ือสาร และการแสดงออก การช่วยเหลือแบ่งปันมีความรับผิดชอบ มีวินัยในตนเอง เลน่ รว่ มกับผู้อนื่ ได้ มสี มั มาคารวะตอ่ ผใู้ หญ่ และการรู้จกั การแกป้ ัญหา รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 50 2.สรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ ับประสบการณ์ตรงเล่นและปฏิบตั ิอย่างมคี วามสุข โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ให้ความสำคัญในการส่งเสริมและพัฒนาเด็ก จึงได้จัดทำโครงการ เรียนรู้สู่โลกกว้าง การเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงจะช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สุดกิจกรรมทัศนศึกษา นักเรียน ศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา เพ่ือให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงจากการไปศึกษา แหล่ง เรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน กิจกรรมหนูน้อยยอดนักคิดนักวิทยาศาสตร์น้อย ได้กำหนดกิจกรรมที่ สง่ เสรมิ การดำเนินงานในโครงการดังกลา่ วโดยสง่ เสรมิ ให้ครูจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรใู้ นรปู แบบของ โครงงาน เปิดโอกาสให้เด็กได้เลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระตามความต้องการ ความสนใจและ ความสามารถส่งเสริมให้ เด็กได้เรยี นร้ใู นสิ่งทีส่ นใจโดยใช้ประสาทสมั ผัสทั้งห้า ให้เดก็ ไดล้ งมือปฏิบัตดิ ้วย ตนเองสง่ เสรมิ ให้เดก็ มีทกั ษะใน การแสวงหาความรู้ผ่านกิจกรรมที่หลากหลายเพ่ือเปิดโอกาสให้เด็กได้ นำเสนอองค์ความรู้จากประสบการณ์ท่ี เรียนรู้ เช่น เด็กสามารถแยกแยะส่ิงต่างๆ ผ่านการได้เห็น ได้ ยิน ได้สัมผัส ได้กลิ่น ได้ล้ิมรสและความสุขใจ พอใจ เรยี นรสู้ ญั ลกั ษณต์ า่ ง ๆ และนำความรู้ไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม 3.จัดบรรยากาศที่เอ้ือตอ่ การเรยี นร้ใู ชส้ อื่ และเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกับวัย โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 จัดทำโครงการพัฒนาอาคารสถานที่ และปรับภูมิทัศน์ในโรงเรียน พัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและพัฒนาห้องเรียนคุณภาพ โดยครูได้จัดบรรยากาศและสภาพ ห้องเรียนท่ีเอื้อ ต่อการเรียนรู้ ห้องเรียนมีบรรยากาศสีสันสดใส สะอาด อากาศถ่ายเทแจ่มใส กว้างขวาง พอเหมาะมีมุม เสริมทักษะ เสริมประสบการณ์อย่างหลากหลายโดยเด็กมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมใน ห้องเรียน สร้างส่อื /นวัตกรรมการเรียนรทู้ ี่เอ้ือต่อการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ี เหมาะสมกบั วัยเพือ่ ให้เด็กเกดิ การเรียนร้ไู ด้ทกุ ที่ได้อย่างเหมาะสม 4. ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการ จดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเดก็ โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ส่งเสริมให้ครูปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางในการวัด และประเมินผลตามสภาพจริง คิดค้นเครื่องมือและนำเทคนิคการวัดผลที่มีความเหมาะสมมาใช้ในการวัด พฤติกรรมการแสดงออกใช้วิธีในการเก็บข้อมูลหลากหลายวิธี ด้วยเคร่ืองมือและวิธีการท่ีหลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม การสํารวจ และกำหนดเกณฑ์ในการประเมินให้มีความชัดเจนและมีจำนวน มาก พอที่จะประเมินผลท่ีเกิดข้ึนกับตัวเด็กได้อย่างม่ันใจ โดยความร่วมมือของพ่อแม่และครอบครัว ชุมชน และ ผเู้ กี่ยวข้อง เช่น การประเมินพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็ก การให้ผลสะท้อนกลบั ด้านการ จัดประสบการณ์ การเขา้ รว่ มกิจกรรม Open House การแสดงความช่ืนชมผลงานนักเรียน ครมู ีการ ประเมินพัฒนาการเด็ก ตามสภาพจริง และนําผลการประเมินท่ีได้ไปวิเคราะห์ผลเพ่ือนําไปปรับปรุงและ พัฒนาคุณภาพของเด็ก จัดทำวิจัยในช้ันเรียนเพ่ือส่งเสริมและพัฒนาเด็กอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 เรื่องและครูจัดประชุมแลกเปล่ียน เรียนรู้ชุมชนทางวิชาชีพ (PLC) อย่างต่อเนื่อง เพื่อจะได้นำแนวทางและ วิธีการมาใช้ในจัดประสบการณ์เพื่อ พฒั นาเดก็ ไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 51 โรงเรียนมโี ครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินการเพอ่ื สง่ เสริมสนับสนนุ กระบวนการจัดประสบการณท์ เ่ี น้นเด็ก เปน็ สำคญั ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. โครงการการนเิ ทศภายใน 2. โครงการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั อย่างมีคณุ ภาพ 3. โครงการพัฒนาอาคารสถานท่ี และปรับภูมิทัศน์ในโรงเรียน สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ ได้แก่ กิจกรรมปรบั ปรงุ สนามเด็กเลน่ กิจกรรมหอ้ งเรียนคณุ ภาพ กิจกรรมปูกระเบื้องในอาคาร เรยี น 4. โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ ได้แก่ กิจกรรมวันเข้าพรรษาและวันอาสาฬหบูชา กิจกรรมวัน มาฆบูชา วันวิสาฆบูชา กิจกรรมวันลอยกระทงกิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระประจำสัปดาห์กิจกรรมวันไหว้ครู กิจกรรมครู พระสอนศลี ธรรมกิจกรรมจิตอาสา 5. โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย มกี ิจกรรมการสืบค้น การทดลอง การแสดงความคิดเหน็ 6. โครงการส่งเสริมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้แก่ กิจกรรมการออมทรัพย์ กิจกรรม มารยาทงามกิจกรรมทำความสะอาด กจิ กรรมการเกษตร 7. ทำโครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัย เช่น กิจกรรมส่งเสริม พัฒนาการด้านร่างกายกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการด้าน สังคมกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญากิจกรรมแข่งขันทักษะทางวชิ าการนักเรียน กิจกรรมเล่น กีฬา กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานท่ี กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยกิจกรรม นิทรรศการ แสดงผลงานทางวชิ าการ (Open House) 8. ครวู ัดผลประเมนิ ตามสภาพจริงด้วยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย เชน่ สังเกต สอบถาม สมั ภาษณ์ เปน็ ต้น 2. ผลทีเ่ กิดจากการพฒั นา โรงเรียนนไิ ดค้ มสรา้ งตนเอง 3 ดำเนินการในการพฒั นาเด็กทกุ ด้านอยา่ งสมดุลเต็มศักยภาพ ครจู ดั ประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ เด็กได้รับประสบการณ์ตรงจากการเล่นปนเรียนและปฏิบัติ กิจกรรมอย่างมีความสุข เด็กได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีกำหนดซ่ึงกระบวนการพัฒนาในแต่ ละ ประเดน็ สง่ ผลดังน้ี 2.1 ครูมีการจัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ ร้อยละ 100 ซ่ึงสูงกว่าค่าเป้าหมายท่ีกำหนด ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และดา้ นสตปิ ัญญาอยา่ งสมดลุ เตม็ ศักยภาพโดยความรว่ มมือของพ่อแม่และครอบครัว ชุมชน และผู้เก่ียวข้อง 2.2 ครูมีการจัดประสบการณ์สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมี ความสุข ร้อยละ 100 ซ่ึงสูงกว่าค่าเป้าหมายท่ีกำหนด ส่งผลให้ครูสามารถจัดประสบการณ์ท่ีเช่ือมโยง กับ ประสบการณ์เดิม ให้เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระ ตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรยี นรู้ของเด็กเป็นรายบคุ คล หลากหลายรูปแบบ เชน่ การเรียนรู้จาก โครงงาน กิจกรรม บา้ นวิทยน์ ้อย การศกึ ษาแหล่งรู้ห้องสมุด สวนพฤกษศาสตร์ จากแหลง่ เรยี นรู้ท่ี หลากหลาย เด็กไดเ้ ลือกเล่น เรียนรู้ ลงมอื กระทำ และสรา้ งองค์ความรดู้ ้วยตนเอง รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 52 2.3 ครูร้อยละ 100 มีการจัดบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย ซ่ึง สูงกว่าค่าเปา้ หมายที่กำหนด ครูจัดห้องเรยี นใหส้ ะอาด อากาศถา่ ยเท ปลอดภัย มีพ้ืนที่ แสดง ผลงานเดก็ พ้ืนที่ สำหรับมุมประสบการณ์และการจัดกิจกรรม เด็กมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมใน ห้องเรียน เช่น ป้าย นเิ ทศ การดูแลต้นไม้ ดูแลความสะอาดห้องเรียน ครใู ช้สือ่ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม กับช่วงอายุ ระยะ ความ สนใจ และวิถกี ารเรียนรู้ของเด็ก เช่น กล้องดิจิตอล คอมพิวเตอร์ สำหรับการเรียนรู้กลุ่มย่อย บล็อก สื่อ DLTV ส่อื ออนไลน์ สอื่ ของเล่นท่ีกระตุ้นใหค้ ิดและหาคําตอบ 2.4 ครูมีการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนําผลการประเมินพัฒนาการเด็กไป ปรับปรุง การจัดประสบการณ์และพัฒนาเดก็ ร้อยละ 100 ซึ่งสงู กวา่ ค่าเป้าหมายที่กำหนด โดยครู ประเมนิ พัฒนาการ เด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจำวันด้วยเคร่ืองมือและวิธีการท่ีหลากหลาย ผู้ปกครองและผู้เก่ียวข้องมีส่วน ร่วม เช่น การสังเกต สัมภาษณ์ แบบประเมินพัฒนาการเด็ก มีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชนวิชาชพี (PLC) ใน โรงเรียน สร้างเครือข่ายการเรียนรู้กลุ่มโรงเรียน และเขตพ้ืนที่ การศึกษา พัฒนาการจัดประสบการณ์และมี การนําผลการประเมินเป็นข้อมูลในการปรับปรุง พัฒนา คุณภาพเดก็ ให้ดียิ่งขึ้น โรงเรยี นนิคมสร้างตนเอง 3 มี การรายงานและเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพของเด็กสมุดรายงานผลพัฒนาการของเด็กต่อผู้ปกครอง นักเรียนภาคเรียนละ 1 คร้ัง และนาํ เสนอการจดั กจิ กรรมการจัด ประสบการณ์ การจัดกจิ กรรมต่างๆ โดยการ เผยแพร่ข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์ของโรงเรียน เฟสบุ๊คของโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 จดหมาย ข่าวผ่านเพจโรงเรียน ส่วนราชการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา กลุ่ม Line ผู้ปกครองนักเรียน การประชุมผู้ปกครอง การจัด นิทรรศการ Open house ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน รวมถึงการจัดส่ง รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาใหห้ น่วยงานต้นสังกัดและผู้เกย่ี วข้องในทุกปีการศึกษา รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 53 3. ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ท่ีสนับสนุนผลการประเมิน ประเด็นพิจารณา โครงการ/กิจกรรม หลักฐานเชิงประจกั ษ/์ ผลงานโดดเด่น 1. จัดประสบการณท์ ส่ี ง่ เสรมิ ให้ -โครงการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรยี น -หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2564 เดก็ มพี ัฒนาการทุกดา้ นอยา่ ง สมดลุ เต็มศักยภาพ การสอนระดบั ปฐมวัย (ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาปฐมวัย 2. สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ ับ - กจิ กรรมหลัก 6 กิจกรรม พุทธศักราช 2560) ประสบการณต์ รง เล่นและ ปฏบิ ตั ิ อยา่ งมคี วามสขุ -กิจกรรมเด็กดีมจี ิตอาสา -แผนการจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเดก็ เป็นสำคัญ -กจิ กรรมเด็กดีมมี ารยาท -บันทกึ ผลการจดั ประสบการณ์ -กิจกรรมอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม -แบบบนั ทกึ การวิเคราะห์นกั เรียนเปน็ รายบคุ คล -จัดกิจกรรมทางดา้ นศลิ ปะ ดนตรี -แบบประเมินพัฒนาการเด็ก -สมดุ รายงานประจำตวั นักเรยี น -รายงานผลการทดสอบสมรรถภาพ -รายงานสรปุ โครงการ/กจิ กรรม - ภาพถา่ ยกจิ กรรม -โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย - แฟม้ สะสมงานนักเรียน -กจิ กรรมการเรยี นแบบโครงงาน - รายงานสรปุ โครงการ/กิจกรรม -กิจกรรมศึกษาแหล่งเรยี นรู้ - ภาพถา่ ยกจิ กรรม ภายใน/ภายนอกสถานศกึ ษา - กจิ กรรมทัศนศกึ ษา 3.จัดบรรยากาศทีเ่ อ้ือตอ่ การ -โครงการพัฒนาอาคารสถานที่และปรับ - สอื่ /นวตั กรรม เรียนรูใ้ ช้สอ่ื และเทคโนโลยีท่ี ภมู ิทัศนใ์ นโรงเรยี น - แบบบนั ทกึ การสรา้ งสือ่ /นวตั กรรม เหมาะสมกบั วยั -การสรา้ งสือ่ /นวัตกรรมเพ่ือการศกึ ษา - แบบรายงานการใช้ส่อื /นวตั กรรม -กิจกรรมหอ้ งเรียนคณุ ภาพ - บันทึกการนิเทศภายใน -กจิ กรรมพัฒนาแหล่งเรยี นรูภ้ ายใน - รายงานสรปุ โครงการ/กิจกรรม สถานศึกษา - ภาพถ่ายกจิ กรรม 4. ประเมินพัฒนาการเด็กตาม -สรา้ งเครือ่ งมือวัดผลและประเมนิ ผล -เครอ่ื งมือวัดและประเมินผล สภาพจรงิ และนาํ ผลการประเมนิ -การวัดผลและประเมินดว้ ยวธิ กี ารที่ -วิจยั ในช้ันเรียน พฒั นาการเดก็ ไปปรับปรุงการ หลากหลาย -แบบบันทึกกจิ กรรมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ จดั ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก -ประชมุ แลกเปล่ียนเรียนรทู้ างวชิ าชีพ ทางวชิ าชพี (PLC) -แบบการสังเกตแบบการสมั ภาษณ์เดก็ (PLC) ผปู้ กครองนักเรยี น -แบบบนั ทกึ ผลพฒั นาการเด็ก -ภาพถา่ ยกจิ กรรม รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 54 3. แผนพฒั นาเพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพใหส้ ูงขน้ึ จุดเด่น 1.ครูมีตง้ั ใจมุ่งมั่นในการพฒั นาการสอนครูมีการจดั ประสบการณจ์ ดั กจิ กรรมท่สี ่งเสรมิ ให้เดก็ มี พัฒนาการทุกดา้ นอยา่ งสมดุล 2.เด็กมพี ฒั นาการอยา่ งสมดลุ เรียนร้จู ากการเลน่ และปฏิบัติกจิ กรรม 3.จัดบรรยากาศชนั้ เรยี นทส่ี ่งเสรมิ การเรียนรู้ มีส่ือการเรยี นร้ทู ี่เอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอน 4.ครูมีเคร่ืองมือวดั ผลและประเมินผลใชก้ ารประเมนิ ผลด้วยวธิ ีการท่ีหลากหลาย 4. จดุ ควรพฒั นา 1. ควรจัดประสบการณ์ทเี่ ช่ือมโยงกับประสบการณ์เดิมให้เดก็ ได้มโี อกาสทำกิจกรรมอย่างอสิ ระ 2. ควรจดั อปุ กรณ์ส่ือ/นวัตกรรม เทคโนโลยีในการจัดประสบการณ์ที่หลากหลาย 3. ควรนําผลพัฒนาการเดก็ ไปแลกเปลยี่ นเรียนรใู้ นกิจกรรม PLC และสรา้ งเครอื ข่ายระหวา่ งโรงเรยี น แผนพัฒนาคุณภาพให้สงู ข้นึ 1. การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการครอบคลุม 4 ด้าน โดยความร่วมมือของพ่อ แม่ ผปู้ กครองนักเรียน ครอบครัว ชุมชนและผู้มีส่วนเกย่ี วข้อง โดยการจดั โครงการอบรมใหค้ วามรู้และ จดั กิจกรรม ครูพ่อแมใ่ นหอ้ งเรยี น ให้พ่อแม่ ผปู้ กครองนักเรียน ครอบครวั รว่ มกันจดั ประสบการณ์กบั ครู ในห้องเรยี น 2. ส่งเสรมิ การจัดประสบการณ์ตรง ใหเ้ ด็กไดเ้ ล่นและปฏิบัติกจิ กรรมดว้ ยตนเองอย่างมีความสุข โดย การจัดโครงการพัฒนาครูสู่มืออาชีพ ส่งเสริมการอบรมพัฒนาและการพัฒนาส่ือ/นวัตกรรมกระบวนการ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) 3.พฒั นาแหลง่ เรียนร้ทู งั้ ในและนอกห้องเรยี นใหเ้ อ้ือต่อการเรียนรู้ของเด็กโดยการจัดโครงการ ห้องเรยี นคุณภาพและโครงการพฒั นาแหล่งเรียนรภู้ ายในโรงเรยี น 4. สง่ เสริมการจัดทำวิจยั ในชน้ั เรยี นเพอ่ื พฒั นาเด็กให้สามารถเรยี นรู้ได้เต็มศกั ยภาพ และ สง่ เสรมิ การ วัดประเมินผลดว้ ยวธิ ีการท่หี ลากหลาย โดยการมีส่วนรว่ มของพ่อเม่ ผู้ปกครอง สรปุ ผลการประเมินในภาพรวม ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอยใู่ นระดับ ดเี ลศิ จากการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาประสบผลสำเร็จตามท่ีต้ังเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่าได้ระดับ ดีเลิศ (มาตรฐานที่1 คุณภาพเด็ก ระดับคุณภาพ : ดเี ลิศ / มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับ คุณภาพ : ดีเลิศ / มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ี่เน้นเด็กเป็นสำคญั ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ) ทั้งน้ีเพราะ ไดร้ ับความร่วมมอื การมสี ่วนร่วมของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ชมุ ชน และทุกผา่ ยท่ีเก่ยี วข้อง ในการส่งเสรมิ พัฒนาการ และจัดประสบการณ์ท่ีดีให้กับเด็ก การจัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการเรียนรู้ที่ปลอดภัยและเพียงพอและ เหมาะสมกบั วยั ผบู้ ริหารได้มกี ารนิเทศ กำกบั ตดิ ตามอยา่ งเป็นระบบต่อเนือ่ ง รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 55 ระดับคณุ ภาพ : ดีเลิศ มาตรฐาน/ประเดน็ พิจารณา คา่ เปา้ หมาย ผลการ สรปุ (ร้อยละ) ประเมิน 81.26 บรรลเุ ป้าหมาย มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รียน 83 77.11 บรรลุเปา้ หมาย 88.93 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผู้เรียน 79.5 บรรลเุ ป้าหมาย 70.52 1) มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสอ่ื สาร และ 89 บรรลเุ ปา้ หมาย 68.03 การคิดคำนวณ 88.37 บรรลเุ ปา้ หมาย 2) มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ 72 61.01 บรรลเุ ปา้ หมาย 87.80 อภิปราย แลกเปลย่ี น ความคิดเหน็ และแก้ปัญหา 85.40 บรรลเุ ป้าหมาย 89.00 บรรลเุ ป้าหมาย 3) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม 70 87.00 บรรลเุ ปา้ หมาย 83.08 บรรลเุ ปา้ หมาย 4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการ 85 82.53 บรรลเุ ป้าหมาย บรรลเุ ปา้ หมาย สอ่ื สาร บรรลเุ ป้าหมาย 5) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา 72 6) มีความรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคติทด่ี ีต่องานอาชีพ 89 1.2 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี น 86.5 1) การมีคุณลักษณะและคา่ นยิ มทดี่ ีตามท่ีสถานศึกษากำหนด 83 2) ความภมู ใิ จในทอ้ งถิน่ และความเป็นไทย 85 3) การยอมรบั ที่จะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย 89 4) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม 89 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง 3 สง่ เสริมให้ครูจัดกระบวนการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ โดย การดำเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.2564) เพื่อให้ครูใช้เป็นกรอบในการ จดั การเรียนการสอน การพัฒนาผเู้ รยี น สง่ เสริม สนับสนุนใหผ้ ูเ้ รียนบรรลุตามเป้าหมายท่ีวา่ “การจัดการศึกษา ต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม และวฒั นธรรมในการดำรงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกับผ้อู ่ืนได้อยา่ งมีความสขุ ” ซง่ึ สอดรับกับจดุ มุ่งหมาย ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง 2560) ที่ได้มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียน เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข ดังน้ันโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 จึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพ ผเู้ รียนจำนวน 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน 2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ ผู้เรียน โดยด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร การคิดคำนวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 56 คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ การสอ่ื สาร และการ มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ สำหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด และมีสขุ ภาวะทางรา่ งกายและสังคม ความภูมใิ จ ในท้องถ่นิ และความเป็นไทยการยอมรบั ท่ีจะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย โรงเรียนได้จัดโครงการ/กิจกรรมท่ีสอดคล้องกับแต่ละประเด็น เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนดังต่อไปน้ี 1.1 ด้านผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผ้เู รียน 1.1.1 มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสาร และการคดิ คานวณ เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียนการส่ือสาร และ การคิดคํานวณตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา กำหนดในแต่ละระดับชั้น โรงเรียนจึงได้จัดโครงการบริหารกลุ่มงานวิชาการ ผ่านกิจกรรมเพ่ือพัฒนาด้าน ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคํานวณ ดังน้ี ดำเนินการโครงการพัฒนาการเรียน การสอนทุกสาระการเรียนรู้ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การดำเนิน กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนตรงตามตัวช้ีวัด กิจกรรมวันภาษาไทย โครงการอ่านออกเขียนได้ยกชั้น นอกจากนี้โรงเรียนได้จัดกิจกรรมคณิตคิดเร็วสำหรับนักเรียนชน้ั ประถมศึกษา ปที ่ี 1 ถึงชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยครูทำแบบฝึกให้ผเู้ รียนทำแบบฝึกทกั ษะการคิดคำนวณตามเน้ือหาสาระของ แต่ละระดับช้ัน จัดโครงการทส่ี ่งเสรมิ ความสามารถด้านการคดิ คำนวณตามศักยภาพของผู้เรียน และส่งเสรมิ ให้ ผเู้ รยี นไดฝ้ ึกทำกจิ กรรมจนเกดิ ความคลอ่ งสามารถคิดเลขไดต้ ามความสามารถของผเู้ รยี น 1.1.2 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความ คิดเหน็ และแกป้ ญั หา เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการจำแนกแยกแยะใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบ จาก การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับนักเรียนให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียนทำให้เกิดการ ระดมสมองนักเรียนได้รบั การฝึกทกั ษะด้านการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น และแก้ปัญหาร่วมกันผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน การจัดการเรียนการสอนแบบ Active leaning เช่น การเล่านิทานภาษาอังกฤษ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 ศึกษาแหล่งเรียนรู้ท้ังภายใน และภายนอกโรงเรียน นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง จนเกิดทักษะ และการเรียนรู้ร่วมกัน มีการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาร่วมกันอย่างมีเหตุผล ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นท่ีแตกต่าง ใน ลักษณะเป็นผู้นำและผู้ตามท่ีดี ยอมรับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น ทำงานร่วมกันเป็นทีมนำความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์มาใช้ในการจัดทำโครงการ โครงงาน หรือช้ินงานจนประสบความสำเร็จ เช่น โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง กล่องอเนกประสงค์ทรงเรขาคณิต ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 โครงการส่งเสริม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เช่น กิจกรรมการออมทรัพย์ กิจกรรมมารยาทงาม กิจกรรมปลูกผักสวน ครัว โดยมีครูเป็นผู้สนับสนุนและประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน หาวิธีการนำเทคนิควิธีการ จดั การเรียนรทู้ ีเ่ หมาะสม รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 57 1.1.3 มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม เพ่ือให้ผู้เรียนผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ ท้ังด้วยตัวเองและการทำงานเป็นทีม เช่ือมโยงองค์ความรู้และประสบการณ์ มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคิด โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลิต โรงเรียนนโยบายเพื่อส่งเสริมเพื่อพัฒนาด้านความสามารถในการสร้างและใช้ นวัตกรรม ดังนี้ ให้ครูมีการดำเนินการผลิตสื่อและนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน รูปแบบเกมผ่านเว็บไซต์ word Wall นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- มัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 205 คน.ร้อยละ 90 มีผลงานจากการ ทำโครงาน/งานประดษิ ฐ์ ช้ินงาน ผลงานด้านศลิ ปะ งานฝีมือ งานประดษิ ฐ์ การทำหนังสือเล่มเล็ก ความรู้ต่างๆ การจัดบอร์ดนิทรรศการวันสำคัญต่างๆ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีผลงานจากการทำ โครงงานคณิตศาสตร์ เร่ือง กล่องอเนกประสงค์ทรงเรขาคณติ 1.1.4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร เพ่ือการพัฒนาตนเองและ สังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงานอย่างสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม โรงเรียนจึงได้จัดกิจกรรม ส่งเสริมเพ่ือพัฒนาด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ผ่านกระบวนการจัดการ เรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-3 มีทักษะในการสร้าง ภาพกราฟิกโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และการแก้ปัญหาโดยใช้ทักษะท่ีได้จากกิจกรรม Coding นักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ถึงมัธยมศึกษาตอนต้น มีความสามารถในการสบื ค้นข้อมลู โดยใช้เทคโนโลยี และทักษะการ รู้ ใช้ และภัยที่เกิดจากใช้ไซเบอร์ ฯลฯ มีทักษะการใช้โปรแกรมประยุกต์ Word ,Power Point, Excel และ การออกแบบทางเทคโนโลยี การแก้ปัญหาในชีวติ ประจำวันโดยใช้ทกั ษะความรู้ท่ีได้จากการเรียน มกี ารตง้ั ศนู ย์ การเรียนรู้ห้องคอมพิวเตอร์ ที่ได้รับการสนับสนุนจาก กสทช. ภายในโรงเรียน เพ่ือบริการนักเรียนและ ประชาชนในพนื้ ที่ใกล้เคียง ใหส้ ามารถเข้าถึงข้อมลู สารสนเทศ เทคโนโลยีได้ 1.1.5 มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุและมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพ้ืนฐานเดิมในด้าน ความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ รวมท้ังมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ หรือผลการ ทดสอบอ่ืนๆ โรงเรียนจงึ ไดจ้ ัดกิจกรรมยกผลสัมฤทธิ์ทางการวิชาการตามหลักสูตรสถานศึกษา กิจกรรมรักการ อ่าน, การจัดช้ันเรียนเชิงบวก, กิจกรรมส่งเสริมนวัตกรรมครู, กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา, กิจกรรม นิเทศภายใน, การวิจัยในช้ันเรียน นักเรียน ป.1 - ม.3 จำนวน 205 คน ร้อยละ 61.06 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี น ทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ระดบั 3 ข้ึนไป ตามเปา้ หมายของโรงเรยี นทกี่ ำหนดไว้ 1.1.6 มีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติทีด่ ีต่องานอาชีพ เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐานในการจัดการ เจตคติ ท่ีดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับช้ันท่ีสูงข้ึน การทำงานหรืองานอาชีพ โรงเรียนจงึ ได้จัดโครงการส่งเสริมเพ่อื พฒั นาด้านความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ี ดตี ่องานอาชีพ ดังนี้ การดำเนินโครงการสง่ เสริมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเช่น กิจกรรมการออม ทรัพย์, กิจกรรมอบรมสเริมทักษะชีวิต, กิจกรรมปลูกผักสวนครัว, กิจกรรมการเรียนการสอนบูรณาการตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 58 1.2 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรยี น 1.2.1 มคี ุณลกั ษณะและค่านิยมทดี่ ตี ามทีส่ ถานศึกษากำหนด เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนมพี ฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎกติกา มีค่านิยมและจิตสำนึกตามที่ สถานศึกษากำหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคมโรงเรียนจึงได้จัดโครงการส่งเสริมเพื่อ พัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ดังน้ี กิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ, โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ, โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน, โครงการโรงเรียนคุ้มครองเด็ก, โครงการ โรงเรียนสีขาว, โครงการสถานศึกษาปลอดภยั MOE , กิจกรรมชุมนมุ , กิจกรรมลกู เสือ – เนตรนารี กจิ กรรมวัน เขา้ พรรษาและวนั อาสาฬหบชู า, กจิ กรรมวันมาฆบูชา ,กจิ กรรมวันวิสาขบูชา, กิจกรรมสวดมนต์ไหวพ้ ระประจำ สปั ดาห์ 1.2.2 มคี วามภูมิใจในท้องถิน่ และความเป็นไทย เพื่อใหผ้ ้เู รยี นมคี วามภมู ิใจในทอ้ งถิ่น เหน็ คุณคา่ ของ ความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรม และประเพณีไทย รวมทั้งภูมิปัญญาไทยโรงเรียนจึงได้จัดโครงการส่งเสริมเพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียนมีความภูมิใจใน ท้องถ่ินและความเป็นไทย ดงั นี้ กิจกรรมวันสำคัญของชาติ, กิจกรรมวันภาษาไทย กิจกรรมวนั เฉลิมชนมพรรษา (รัชกาลที่ 10), กิจกรรมวันสถาปนาลูกเสือแห่งชาติ, กิจกรรมถวายราชสดุดีพระมาหาธีรราชเจ้า, วันพ่อ แห่งชาติและวันชาติไทย, กิจกรรมวันคริสต์มาส, กิจกรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่, กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ, กจิ กรรมวนั สำคญั ทางศาสนา/วันสำคัญอน่ื , 1.2.3 ยอมรับทจี่ ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย เพ่ือให้ผู้เรยี นยอมรับและอยู่รว่ มกันบนความแตกต่าง ระหว่างบุคคลในด้าน เพศ วัย เช้ือชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณโี รงเรยี นจงึ ไดจ้ ดั โครงการสง่ เสริมเพื่อพฒั นาใหผ้ ูเ้ รียนยอมรบั ท่ีจะอยรู่ ่วมกนั บนความ แตกต่างและหลากหลาย ดังนี้ โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ, โครงการโรงเรียนคุ้มครองเด็ก, โครงการโรงเรียนสี ขาว 1.2.4 มีสขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม เพ่ือให้ผูเ้ รยี นมกี ารรักษาสขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิต อารมณ์ และสังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสม ในแต่ละชว่ งวัยสามารถอยู่ร่วมกับ คนอืน่ อย่างมีความสขุ เข้าใจผอู้ ่ืน ไม่มคี วามขดั แย้งกับผู้อื่นโรงเรียนจงึ ได้จัด โครงการส่งเสรมิ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคมท่ีดี ผ่านกิจกรรมจิตอาสา, โครงการ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรยี นคุ้มครองเดก็ โรงเรยี นวถิ ีพุทธ โครงการอนามัยโรงเรียน โครงการอาหาร กลางวัน มีการติดตามพัฒนาการเด็กน้ำหนักส่วนสูงเพ่ือรายงานผลและติดตามพัฒนาการ นักเรียนตั้งแต่ ระดับช้ัน ป.1 ถึง ม.3 จำนวน 205 คน รอ้ ยละ 81.83 มนี ้ำหนักส่วนสูงและพฒั นาการทางร่างกายเจรญิ เติบโต ตามเกณฑ์มาตรฐาน นักเรยี นช้ัน ป.1-ป.6 จำนวน 139 คนร้อยละ 100 ดื่มนมและรับประทานอาหารกลางวัน ครบห้าหมู่ ท่ีสะอาดถูกสขุ ลักษณะ ปลอดภัย ท่ีทางโรงเรียนจัดทำตลอดปีการศกึ ษา 2564 ผลจากการเข้าร่วม กจิ กรรมกีฬาสีภายในกีฬาระหว่างโรงเรยี น กิจกรรมวนั เด็ก รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 59 2. ผลท่ีเกดิ จากการพัฒนา 2.1 ด้านผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน 2.1.1 มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสอื่ สาร และการคิดคำนวณ ผลจากการดำเนินโครงการบริหารกลุ่มงานวิชาการ ผ่านกิจกรรมเพื่อพัฒนาด้าน ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคดิ คํานวณ กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนตรงตาม ตัวช้ีวัด กิจกรรมวันภาษาไทย โครงการอ่านออกยกชั้น นอกจากนี้โรงเรียนได้จัดกิจกรรมคณิตคิดเร็วสำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 โดยครูทำแบบฝึกทักษะให้ผู้เรียนได้ทำแบบฝึกทักษะการคิดคำนวณตาม เน้ือหาสาระของแต่ละระดับชั้น จัดโครงการท่ีส่งเสริมความสามารถด้านการคิดคำนวณตามศักยภาพของ ผู้เรยี น และส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนได้ฝึกทำกิจกรรมจนเกดิ ความคลอ่ งสามารถคดิ เลขไดต้ ามความสามารถของผูเ้ รียน ส่งผลให้ผู้เรียนช้ัน ป.1–ม.3 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร ร้อยละ 88.93 อยใู่ นระดับดีข้ึน ไป ซ่งึ บรรลตุ ามคา่ เป้าหมายท่กี ำหนด 2.1.2 มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลีย่ น ความคิดเห็น และแก้ปญั หา ผลจากการดำเนนิ การโครงการพัฒนาการเรยี นการสอนทกุ สาระการเรียนรู้ โครงการส่งเสริม การเรยี นรู้กจิ กรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน ดำเนนิ โครงการสง่ เสริม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเช่น กิจกรรมการออมทรัพย์, กิจกรรมมารยาทงาม, กิจกรรมปลูกผัก สวนครัว, การเรียนการสอนบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งผลให้ผู้เรียนชั้น ป.1-ม.3 มีความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ร้อยละ 70.52 อยู่ในระดับดีเลศิ ขึ้นไป ซง่ึ บรรลตุ ามคา่ เปา้ หมายที่กำหนด 2.1.3 มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม ผลจากการดำเนินการตามนโยบายโรงเรียนและผู้บริหาร เพ่ือส่งเสริมเพื่อพัฒนาด้าน ความสามารถในการสร้างและใช้นวัตกรรม ดังนี้ ให้ครูมีการดำเนินการผลิตสื่อและนวัตกรรมการจัดการเรียน การสอน รูปแบบเกมผ่านเวบ็ ไซต์ word Wall นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1- มัธยมศึกษาปีท่ี 3 จำนวน 205 คน.ร้อยละ 90 มีผลงานจากการทำโครงาน/งานประดิษฐ์ ช้ินงาน ผลงานด้านศิลปะ งานฝีมือ งานประดิษฐ์ การทำหนังสือเล่มเล็ก ความรู้ต่างๆ การจัดบอร์ดนิทรรศการวันสำคัญต่างๆ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1- มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีผลงานจากการทำโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง กล่องอเนกประสงค์ทรงเรขาคณิต และ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาด้านอื่น ๆ ส่งผลให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมร้อยละ 68.03 ใน ระดบั ดขี น้ึ ไป ซงึ่ สงู กว่าค่าเปา้ หมายที่กำหนด 2.1.4 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ผลการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมเพื่อพัฒนาด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 1-3 มีทักษะในการสร้างภาพกราฟิกโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และการแก้ปัญหาโดยใช้ ทักษะท่ีได้จากกจิ กรรม Coding นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ถึงมัธยมศึกษาตอนต้น มีความสามารถในการ รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 60 สืบค้นข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยี และทักษะการรู้ ใช้ และภัยท่ีเกิดจากใช้ไซเบอร์ ฯลฯ มีทักษะการใช้โปรแกรม ประยุกต์ Word ,Power Point, Excel และการออกแบบทางเทคโนโลยี การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันโดยใช้ ทักษะความรู้ที่ได้จากการเรียน มีการตั้งศูนย์การเรียนรู้ห้องคอมพิวเตอร์ ที่ได้รับการสนับสนุนจาก กสทช. ภายในโรงเรียน เพื่อบริการนักเรียนและประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ เทคโนโลยีได้ ส่งผลให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารร้อยละ 88.37 ใน ระดบั ดขี ึ้นไป ซ่ึงบรรลุคา่ เป้าหมายทก่ี ำหนด 2.1.5 มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา ผลจากการจัดกิจกรรมยกผลสัมฤทธ์ิทางการวิชาการตามหลักสูตรสถานศึกษา กิจกรรมรักการอ่าน, การจัดช้ันเรียนเชิงบวก, กิจกรรมส่งเสริมนวัตกรรมครู, กิจกรรมพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา, กิจกรรมนเิ ทศภายใน, การวิจยั ในช้ันเรียน นกั เรียน ป.1 - ม.3 จำนวน 205 คน รอ้ ยละ 61.06 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับ 3 ขึ้นไป ตามเป้าหมายของโรงเรียนที่กำหนดไว้ ซ่ึงสูง กว่าค่าเปา้ หมายทกี่ ำหนดและมพี ัฒนาการเชงิ บวก ผลการประเมนิ ระดบั ชาติ ปีการศึกษา 2564 1) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถด้านการอา่ นออกของผ้เู รียน (Reading : RT) ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ด้านการอ่านออกเสียง ร้อยละ 51.33 ด้านการอ่านรู้เรื่อง ร้อยละ 61.00 รวมสองดา้ น รอ้ ยละ 56.16 ซ่งึ ตำ่ กว่าระดับเขตพืน้ ทแ่ี ละระดบั ประเทศ 2) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดับชาติ (Nationnal Test : NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ด้านภาษา ร้อยละ 61.79 ด้านคิดคำนวณร้อยละ 53.83 รวมสอง ด้าน รอ้ ยละ 57.81 ซงึ่ สูงกว่าค่าเฉลย่ี ระดับเขตพ้นื ท่ีและระดับประเทศ 2.1.6 มคี วามรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคติที่ดตี ่องานอาชีพ ผลจากการดำเนินโครงการส่งเสริมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเช่น กิจกรรมการ ออมทรัพย์, กิจกรรมปลูกผกั สวนครัว,กิจกรรมอบรมเสรมิ ทักษะชีวติ , กิจกรรมการเรียนการสอนบูรณาการตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งผลให้ผู้เรียนตั้งแต่ ป.1-ม.3 มีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติที่ดีต่อ งานอาชพี รอ้ ยละ 87.80 ระดับดขี ึน้ ไป ซึง่ บรรลตุ ามคา่ เปา้ หมายที่กำหนด 2.2 ด้านคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผเู้ รยี น 2.2.1 การมคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มทด่ี ีตามทส่ี ถานศึกษากำหนด ผลจากการดำเนินกิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ, โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ, โครงการ ระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน, โครงการโรงเรียนค้มุ ครองเด็ก, โครงการโรงเรียนสขี าว, กิจกรรมชุมนุม, กิจกรรม ลูกเสือ – เนตรนารี กิจกรรมวันเข้าพรรษาและวันอาสาฬหบูชา, กิจกรรมวันสำคัญ เช่นกิจกรรมวันมาฆบูชา กจิ กรรมวนั วสิ าขบูชา ฯลฯ กิจกรรมสวดมนต์ไหวพ้ ระประจำสปั ดาห์ ส่งผลให้ผูเ้ รยี นมีคณุ ลักษณะและค่านิยมที่ ดีตามท่ีสถานศึกษากำหนดรอ้ ยละ 89.00 ในระดบั ดขี ึน้ ไป ซ่ึงบรรลตุ ามคา่ เปา้ หมายที่กำหนด รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 61 2.2.2 ความภูมิใจในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย ผลจากการดำเนินกิจกรรมวันสำคัญของชาติ, กิจกรรมวันภาษาไทย กิจกรรมวันเฉลิม ชนมพรรษา(รัชกาลท่ี 10), กิจกรรมวันสถาปนาลูกเสือแห่งชาติ, กิจกรรมถวายราชสดุดีพระมาหาธีรราชเจ้า, วันพ่อแห่งชาติและวันชาติไทย, กิจกรรมวันคริสต์มาส, กิจกรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่, กิจกรรมวันแม่ แห่งชาติ, กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา/วันสำคัญอื่นส่งผลให้ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย รอ้ ยละ 87.00 ในระดับดเี ลิศขึ้นไป ซงึ่ บรรลุตามค่าเป้าหมายท่กี ำหนด 2.2.3 การยอมรบั ทีจ่ ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ผลจากการดำเนนิ โครงการโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ, โครงการโรงเรียนคุ้มครองเดก็ , โครงการโรงเรียน สีขาว ส่งผลให้ผู้เรียนมีการยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลายอย่างมีความสุข ร้อยละ 83.08 ในระดบั ดีข้นึ ไป ซ่งึ สูงกวา่ คา่ เป้าหมายทีก่ ำหนด 2.2.4 สขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ผลจากการดำเนินโครงการส่งเสริมเพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคมท่ี ดี ผ่านกิจกรรมจติ อาสา, โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น โรงเรียนคมุ้ ครองเด็ก โรงเรยี นวิถีพทุ ธโครงการ อนามัยโรงเรียนมีห้องพยาบาล 2 ห้อง ชาย 1 ห้อง หญิง 1 ห้อง ใช้ในการดูแลนักเรียนที่เจ็บป่วยหรือ บาดเจบ็ เบอื้ งตน้ การจา่ ยยาสามัญประจำบา้ นเบ้ืองตน้ เชน่ ยาพาราเซตามอล ยาแกป้ วดท้อง โดยครอู นามัย ของโรงเรียน แจง้ อาการให้ผู้ปกครองทราบ ถ้าอาการนอกเหนือจากทค่ี รูจะดูแลได้ โรงเรียนจะดำเนนิ การส่ง โรงพยาบาลประจำตำบลเพอื่ ทำการตรวจอาการต่อไป รวมทง้ั ดูแลนกั เรยี นทีม่ ีอาการเส่ียงของโควิด 19 ก่อน ส่งต่อโรงพยาบาลประจำตำบลเช่นกัน โครงการอาหารกลางวัน มีการติดตามพัฒนาการเด็กน้ำหนักส่วนสูง เพ่ือรายงานผลและตดิ ตามพัฒนาการ ส่งผลให้ผเู้ รียนมสี ุขภาวะทางร่างกาย จิตสังคม ร้อยละ 82.53 ในระดับ ดขี ึน้ ไป ซึ่งบรรลุตามคา่ เปา้ หมายทก่ี ำหนด รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 62 3. ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ท่ีสนบั สนุนผลการประเมินตนเอง 3.1 ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รียน ประเดน็ พิจารณา โครงการ/กจิ กรรม หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์/ผลงานโดดเดน่ 1) มีความสามารถในการ -โครงการอา่ นออกยกช้ัน 1. หลักสูตรสถานศกึ ษา พทุ ธศกั ราช 2564(ตามหลักสตู ร อ่าน การเขยี น การสื่อสาร - กจิ กรรมรกั การอา่ น แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ฉบบั และการคดิ คาํ นวณ - กจิ กรรมการจัดการเรยี นการสอน ปรับปรงุ 2560) ตรงตามตัวชีว้ ัด 2. แผนกลยทุ ธ์,แผนปฏิบตั ิการประจำปี 2) มีความสามารถในการ - กิจกรรมวันสนุ ทรภู่ 3. แผนการจัดการเรียนรู้ คดิ วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมี - กิจกรรมวนั ภาษาไทย 4. กิจกรรม/โครงการตามแผนปฏบิ ัติการ วิจารณญาณ อภิปราย - กิจกรรมการเรียนการสอน 5. รายงานผลกจิ กรรม/โครงการ/โครงงาน แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น ภาษาไทยผ่านวรรณกรรม 6. วิจยั ในช้นั เรียน และแก้ปญั หา - กิจกรรมคณิตคดิ เร็ว 7. สือ่ การสอน, นวัตกรรมของครู 8. แบบทดสอบ, แบบประเมิน -กจิ กรรมส่งเสรมิ ตามหลกั ปรชั ญา 9. แบบ ปพ.5, ปพ.6 และ ปพ. ตา่ ง ๆ ของเศรษฐกจิ พอเพียง 10. แผน IEP - กิจกรรมออมวันละนิดจติ แจ่มใส 11. สรุปผลการอา่ น คิดวเิ คราะห์ เขียน ปีการศึกษา 2564 - กจิ กรรมปลกู ผกั สวนครัว 12. สรปุ ผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ปี - กจิ กรรมปลูกพชื สมุนไพร การศึกษา 2564 - กิจกรรมการเรียนการสอน 13. สรปุ ผลการทดสอบระดบั ชาติ NT(ป.3), ผลการทดสอบ ภาษาไทยผ่านวรรณกรรม การอา่ น(RT) 14. ภาพกิจกรรม/เกียรติบัตร 15. การสงั เกต, การสัมภาษณเ์ ดก็ , ผ้ปู กครอง 1. หลักสตู รสถานศึกษา พทุ ธศักราช 2564(ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ฉบับ ปรับปรุง 2560) 2. แผนกลยทุ ธ์,แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี 3. แผนการจดั การเรยี นรู้ 4. กจิ กรรม/โครงการตามแผนปฏบิ ัติการ 5. รายงานผลกจิ กรรม/โครงการ/โครงงาน 6. วิจัยในช้นั เรยี น 7. สอ่ื การสอน, นวตั กรรมของครู 8. แบบทดสอบ, แบบประเมนิ 9. แบบปพ.5, ปพ.6และปพ.ต่าง ๆ 10. แผน IEP 11. บนั ทกึ การการตรวจสขุ ภาพนกั เรียน เชน่ นน., สว่ นสงู , แปรงฟนั เป็นต้น 12. สมุดบันทกึ การออม, บันทึกความดี รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 63 ประเดน็ พิจารณา โครงการ/กิจกรรม หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์/ผลงานโดดเดน่ 13. สรุปผลการการอ่านออกของผู้เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 14. สรปุ ผลการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ เขียน ปกี ารศกึ ษา 2564 15. สรุปผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ปี การศกึ ษา 2564 16. สรุปผลการทดสอบระดบั ชาติ NT(ป.3), 17. ภาพกจิ กรรม/เกยี รตบิ ัตร 18. การสังเกต, การสมั ภาษณเ์ ดก็ , ผ้ปู กครองนกั เรยี นและผู้ มสี ว่ นเกย่ี วข้อง 3) มคี วามสามารถในการ - กจิ กรรมการสอนแบบโครงงาน 1. หลักสูตรสถานศกึ ษา พทุ ธศกั ราช 2564 (ตามหลกั สตู ร สร้างนวัตกรรม - กิจกรรมการจดั ห้องเรยี นเชงิ บวก แกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานพทุ ธศักราช 2551 ฉบบั - กิจกรรมส่งเสรมิ นวตั กรรมครู ปรับปรุง 2560) - กิจกรรการจดั การเรียนการสอน 2. แผนกลยุทธ,์ แผนปฏิบัติการประจำปี รายวิชาการออกแบบและ 3. แผนการจดั การเรียนรู้ เทคโนโลยี 4. กจิ กรรม/โครงการตามแผนปฏบิ ตั ิการ 5. รายงานผลกจิ กรรม/โครงการ/โครงงาน 6. วจิ ัยในช้ันเรียน 7. ส่ือการสอน, นวตั กรรมของผเู้ รยี น 8. แบบทดสอบ, แบบประเมิน 9. การสังเกต, การสัมภาษณเ์ ดก็ , ผูป้ กครอง 4) มีความสามารถในการใช้ - การเรยี นการสอนคอมพวิ เตอร์ 1. หลักสตู รสถานศกึ ษา พุทธศักราช 2564(ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ฉบบั เทคโนโลยีสารสนเทศ และ - กจิ กรรมหอ้ งเรยี นเชงิ บวก ปรบั ปรงุ 2560) 2. แผนกลยทุ ธ์,แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี การสื่อสาร - กระบวนการจัดการเรียนการ 3. แผนการจัดการเรยี นรู้ 4. กจิ กรรม/โครงการตามแผนปฏบิ ตั ิการ สอนวชิ าวทิ ยาศาสตร์และ 5. รายงานผลกจิ กรรม/โครงการ/โครงงาน 6. วิจยั ในช้ันเรียน เทคโนโลยี 7. สอื่ การสอน, นวตั กรรมของครู 8. แบบทดสอบ, แบบประเมนิ - การตัง้ ศนู ย์การเรยี นร้หู อ้ ง 9. แบบปพ.5, ปพ.6และ ปพ.ต่าง ๆ 10. สรุปผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ปี คอมพิวเตอรจ์ าก กสทช. ภายใน การศึกษา 2564 โรงเรยี น รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 64 ประเด็นพิจารณา โครงการ/กิจกรรม หลักฐานเชงิ ประจักษ/์ ผลงานโดดเด่น 5) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการ โครงการส่งเสริมการเรยี นรู้ 1. หลักสูตรสถานศกึ ษา พทุ ธศักราช 2564 (ตามหลักสตู ร เรยี นตามหลักสตู ร - กิจกรรมพัฒนาหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานพุทธศักราช 2551 ฉบับ สถานศึกษา สถานศึกษา ปรบั ปรุง 2560) - การจัดการเรยี นการสอนตาม 2. แผนกลยุทธ,์ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี ตัวชี้วดั 3. แผนการจดั การเรยี นรู้ - การวิจยั ในช้ันเรยี น 4. กจิ กรรม/โครงการตามแผนปฏบิ ตั กิ าร -กิจกรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ 5. รายงานผลกจิ กรรม/โครงการ/โครงงาน ทางการเรยี น 6. วจิ ัยในชั้นเรยี น - กจิ กรรมการจดั การเรยี นการสอน 7. สอื่ การสอน, นวตั กรรมของครู แบบโครงงาน 8. แบบทดสอบ, แบบประเมิน - กิจกรรมการเรยี นการสอนบรู ณา 9. แบบปพ.5 ,ปพ.6 และ ปพ.ต่าง ๆ การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ 10. แผน IEP พอเพียง 11. สรุปผลการประเมนิ การอ่านการเขียน(EMIS) ประจำปี - กจิ กรรมการเรียนการสอน การศึกษา 2564 ภาษาไทยผ่านวรรณกรรม 12. สรปุ ผลการการอา่ นออกของผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2564 13. สรปุ ผลการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ เขียน ปกี ารศึกษา 2564 14. สรุปผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ปี การศึกษา 2564 15. สรุปผลการทดสอบระดับชาติ NT(ป.3) 16. ภาพกจิ กรรม/เกยี รตบิ ตั ร 17. การสังเกต, การสมั ภาษณเ์ ด็ก, ผปู้ กครอง 6) มคี วามรู้ ทกั ษะพื้นฐาน -กจิ กรรมสง่ เสริมตามหลกั ปรัชญา 1. หลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช 2564 (ตามหลักสตู ร และเจตคติทด่ี ตี อ่ งานอาชพี ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ฉบับ - กิจกรรมออมวันละนดิ จติ แจ่มใส ปรับปรงุ 2560) - กจิ กรรมปลกู ผักสวนครัว 2. แผนกลยทุ ธ,์ แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี - กจิ กรรมปลกู พชื สมนุ ไพร 3. แผนการจัดการเรยี นรู้ - กจิ กรรมป๋ยุ หมักชวี ภาพ 4. กจิ กรรม/โครงการตามแผนปฏบิ ตั กิ าร - กิจกรรมอบรมเสริมทักษะชีวิต 5. รายงานผลกจิ กรรม/โครงการ/โครงงาน - กิจกรรมการเรยี นการสอนบรู ณา 6. วิจยั ในชัน้ เรียน การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ 7. ส่อื การสอน, นวตั กรรมของครู พอเพียง 8. แบบทดสอบ, แบบประเมิน -กิจกรรมแนะแนว 9. ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะฯ ปกี ารศกึ ษา 2564 10. ภาพกจิ กรรม/เกียรติบตั ร 11. การสงั เกต, การสัมภาษณเ์ ด็ก, ผู้ปกครอง รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 65 3.2 คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผ้เู รียน ประเด็นพจิ ารณา โครงการ/กิจกรรม หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์/ผลงานโดดเด่น 1) การมคี ณุ ลกั ษณะและ -โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน 1. หลกั สูตรสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช 2564 (ตาม คา่ นยิ มทด่ี ตี ามที่ -โครงการโรงเรยี นวถิ ีพุทธ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐานพุทธศกั ราช สถานศกึ ษากำหนด -กิจกรรมประชมุ ผปู้ กครอง 2551 ฉบับปรับปรุง 2560) -กจิ กรรมแนะแนว 2. แผนกลยทุ ธ,์ แผนปฏบิ ัติการประจำปี 2) ความภูมิใจในท้องถ่ิน -กจิ กรรมโฮมรูม 3. แผนการจัดการเรยี นรู้ และความเปน็ ไทย -กจิ กรรมส่งเสริมตามหลกั ปรชั ญาของ 4. กจิ กรรม/โครงการตามแผนปฏบิ ัติการ เศรษฐกิจพอเพียง 5. รายงานผลกจิ กรรม/โครงการ/โครงงาน 3) การยอมรบั ทจี่ ะอยู่ -กจิ กรรมวนั เข้าพรรษาและวนั 6. วจิ ัยในช้ันเรียน รว่ มกนั บนความแตกตา่ ง อาสาฬหบชู า 7. สื่อการสอน, นวตั กรรมของครู และหลากหลาย - กิจกรรมวันมาฆบชู า 8. แบบทดสอบ, แบบประเมนิ - กิจกรรมวนั วสิ าขบูชา 9. แบบปพ.5, ปพ.6และ ปพ.ต่าง ๆ - กจิ กรรมสวดมนตไ์ หว้พระประจำ 10. แผน IEP สปั ดาห์ 11. สรุปผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ปี -โครงการโรงเรยี นสขี าว การศกึ ษา 2564 12. ภาพกิจกรรม/เกียรติบัตร -กจิ กรรมส่งเสริมตามหลกั ปรัชญาของ 13. การสงั เกต, การสมั ภาษณเ์ ดก็ , ผู้ปกครอง เศรษฐกจิ พอเพียง 1. หลักสูตรสถานศกึ ษา พทุ ธศักราช 2564 (ตาม -กิจกรรมพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานพุทธศักราช - กจิ กรรมวนั สุนทรภู่ 2551 ฉบบั ปรับปรงุ 2560) - กิจกรรมวันภาษาไทย 2. แผนกลยทุ ธ,์ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี - กจิ กรรมส่งทา้ ยปเี กา่ ต้อนรบั ปีใหม่ 3. แผนการจัดการเรียนรู้ - กิจกรรมวนั สำคัญทางศาสนา/วนั 4. กจิ กรรม/โครงการตามแผนปฏบิ ตั ิการ สำคัญอ่ืน 5. รายงานผลกจิ กรรม/โครงการ/โครงงาน 6. วจิ ยั ในชน้ั เรียน - โครงการโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ 7. ส่อื การสอน, นวตั กรรมของครู - กจิ กรรมการเรียนการสอนในรายวชิ า 8. แบบทดสอบ, แบบประเมนิ ต่าง อาทิเช่น รายวชิ าหน้าทีพ่ ลเมอื ง 9. แบบปพ.5, ปพ.6และ ปพ.ตา่ ง ๆ กจิ กรรมแนะแนว 10. แผน IEP เป็นตน้ 11. ภาพกิจกรรม/เกียรตบิ ตั ร 12. การสังเกต, การสัมภาษณเ์ ด็ก, ผูป้ กครอง 1. หลักสูตรสถานศกึ ษา พุทธศกั ราช 2564 (ตาม หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 ฉบับปรบั ปรงุ 2560) 2. แผนกลยุทธ,์ แผนปฏิบัติการประจำปี 3. แผนการจัดการเรียนรู้ รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 66 ประเดน็ พิจารณา โครงการ/กจิ กรรม หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์/ผลงานโดดเดน่ 4) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย - กจิ กรรมจติ อาสา 4. กจิ กรรม/โครงการตามแผนปฏบิ ตั กิ าร 5. รายงานผลกจิ กรรม/โครงการ/โครงงาน และจิตสังคม - กิจกรรมวันสำคญั ตา่ ง ๆ 6. วิจัยในช้นั เรียน 7. ส่ือการสอน, นวตั กรรมของครู 8. แบบทดสอบ, แบบประเมนิ 9. ภาพกจิ กรรม/เกียรตบิ ตั ร 10. การสังเกต, การสัมภาษณเ์ ด็ก, ผปู้ กครอง 1. หลักสูตรสถานศกึ ษา พุทธศักราช 2564 (ตาม หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานพุทธศกั ราช 2551 ฉบบั ปรับปรุง 2560) 2. แผนกลยทุ ธ,์ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี 3. แผนการจัดการเรยี นรู้ 4. กิจกรรม/โครงการตามแผนปฏบิ ัตกิ าร 5. รายงานผลกจิ กรรม/โครงการ/โครงงาน 6. วิจยั ในช้ันเรียน 7. ส่ือการสอน, นวัตกรรมของครู 8. แบบทดสอบ, แบบประเมิน 9. แบบปพ.5, ปพ.6และ ปพ.ตา่ ง ๆ 10. แผน IEP 11. บนั ทึกการการตรวจสขุ ภาพนกั เรยี น เชน่ น้ำหนัก, ส่วนสงู , แปรงฟนั เปน็ ตน้ 12. สมุดบันทึกการออม, บนั ทึกความดี 13. ภาพกจิ กรรม/เกยี รติบตั ร 14. การสงั เกต, การสมั ภาษณเ์ ดก็ , ผปู้ กครอง 4. จุดเด่น โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ได้มีการดำเนินกิจกรรมกับผู้เรียนในด้านต่าง ๆ ทุกระดับช้ันอย่าง ต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน นักเรียนกล้าแสดงออก ร่าเริงแจ่มใส สุขภาพกาย แข็งแรง และเป็นผู้มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด ผเู้ รียนอ่านหนังสอื ออกและอา่ นคล่อง รวมทั้ง สามารถเขียนเพื่อการสื่อสารได้ทุกคนสามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนอยู่ในระดับดี มีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของ ผเู้ รียนระดับชาติ (NT) สูงกว่าระดับประเทศในทุกด้าน ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกาย และน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีระเบียบวินัยจนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา เป็นท่ียอมรับของชุมชน โดยรอบในเรอื่ งความมวี ินัย เคารพกฎกตกิ า ระเบียบของสังคม เป็นต้น รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 67 อ่านและเขียนได้เหมาะสมตามระดับชั้น สามารถสื่อสารภาษาไทยได้เข้าใจ ชัดเจน กล้าแสดงออก มีความคิด รเิ ริ่ม และสร้างสรรค์ ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ โดยมีการสืบค้นข้อมูล หรอื แสวงหาความรจู้ ากส่ือเทคโนโลยี ได้ด้วยตนเอง สามารถวิเคราะห์ จำแนกแยกแยะได้ว่าสิ่งไหนดี สำคัญ จำเป็น รวมท้ังรู้เท่าทันส่ือและสังคมที่ เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในท้องถ่ิน ในความเป็น ไทยและเห็นคุณค่าเกี่ยวกับภูมิ ปัญญาไทย และแสดงออกได้อย่างเหมาะสม จนเป็นเอกลักษณ์ของ สถานศึกษาเป็นท่ียอมรับของชุมชน รู้และ ตระหนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติด เลือกรับประทานอาหารที่สะอาดและมี ประโยชน์ รักการออกกำลัง กาย มีสขุ ภาพร่างกาย แขง็ แรง มีสมรรถภาพทางกายและน้ำหนกั -ส่วนสูง ตามเกณฑ์ ซึ่งส่งผลใหก้ ารขับเคลื่อน การบริหารและจัดการศึกษา เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพเกดิ ประสทิ ธผิ ล เท่าทนั การเปล่ียนแปลง โดยวสิ ัยทศั น์ ของผูบ้ ริหาร มีความมุ่งม่ัน มีหลกั การบรหิ ารและมวี ิสัยทัศนท์ ่ีดีในการบริหารงาน สามารถเปน็ แบบอย่างที่ดใี น การทำงาน และคณะกรรมการสถานศึกษามีความตั้งใจ และมีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าท่ีตามบทบาท มี การกำหนดแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ที่สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุกเป้าหมาย โดยเน้น กระบวนการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั สง่ เสริมใหค้ รูมีการพฒั นาตนเอง เพื่อนำความรทู้ ่ไี ดม้ าพัฒนา ผเู้ รยี น จัดบรรยากาศการเรยี นรู้ เพอ่ื ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการศกึ ษาของผูเ้ รยี น 5. จุดควรพัฒนา 5.1 โรงเรียนควรจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการที่หลากหลาย สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดตามหลักสตู รการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน และจุดเนน้ ของสถานศึกษาเพิ่มขน้ึ และฝกึ ให้นักเรยี นไดค้ ดิ วิเคราะห์ มีจิตอาสา มีปัญญาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ส่ือเทคโนโลยีให้มากข้ึน สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่าง ถกู ต้องและเหมาะสม 5.2 ควรมกี ารเพมิ่ เติมกจิ กรรม โครงการท่ีสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนเปน็ คนดี มีปัญญา และมีความสขุ ที่ส่งเสริม ให้ผู้เรยี นมีส่วนรว่ ม สามารถนำความรไู้ ปใช้ในชวี ิตประจำวันได้ตามบริบทของผู้เรียน ตามความถนัดและความ สนใจ 6. แผนพัฒนาคุณภาพใหส้ งู ขึ้น 6.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รยี น 1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การส่ือสาร และการคิดคานวณ โรงเรียนมีแนวทางในการพัฒนาความสามารถในการอ่าน เขียน การส่ือสารด้านภาษาไทย ของผ้เู รยี น โดยกำหนดเป็นโครงการพัฒนาการอ่าน การเขียน โครงการสง่ เสริมรักการอ่าน โครงการคิดเลขเร็ว โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และโครงการส่งเสริมศักยภาพทางวิชาการในแผนฯ ปีงบประมาณ 2564 และกิจกรรมเพิ่มเติมในช่ัวโมงลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ทุกสัปดาห์ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการคิด วเิ คราะห์ การคิดเลขเร็ว การทอ่ งคำพ้ืนฐาน และบูรณาการในกลมุ่ สาระอืน่ รว่ มด้วย รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 68 2) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมี วจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความ คิดเห็น และแกป้ ญั หา โรงเรียนได้วางแผนจัดโครงการกีฬาพัฒนาศักยภาพมนุษย์เน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีการคิดแบบองค์รวม คิดนอกกรอบ และกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีสามารถสรุป สาระและเช่ือมโยงความรู้จากกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เน้นทักษะชีวิต การมีเหตุผลและสร้างสิ่งใหม่ จุด เปล่ยี นในตนเองได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม เช่น รายงาน ชน้ิ งาน นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ 3) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม โรงเรียนวางแผนจัดโครงการ/กิจกรรมกีฬาพัฒนาศักยภาพมนุษย์ ให้ผู้เรียนทุกคน มีความสามารถในการทำงานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้ นำประสบการณ์ แนวความคิดมาใช้ในการทำงาน ความคดิ สร้างสรรค์ บูรณาการกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอ่ื สาร โรงเรียนวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาผู้เรียนในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสารเพื่อพัฒนาตนเองของผู้เรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ปรับปรุง พุทธศักราช 2560 โดยกำหนดรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาการ คำนวณ และรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ไว้ในโครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาใหผ้ ู้เรียนทกุ คนได้เรียนรู้ การใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ เพอ่ื การสอื่ สาร สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหค้ รผู สู้ อนใช้สื่อการเรียนรู้ เพ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษา 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนวางแผนกำหนดให้ทุกกลุ่มสาระการเรยี นร้จู ัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารญาณ และคิด แก้ปัญหา จัดโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, โครงการส่งเสริมศักยภาพทางวิชาการ, โครงการ ห้องเรียนคุณภาพ ท่ีส่งเสริมสมรรถนะทั้ง 5 ด้าน คือ การสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิตและ การใช้เทคโนโลยี รวมทั้งสอดแทรกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านยิ มหลัก 12 ประการ เพอื่ ใหผ้ ้เู รยี นสอบ เลอื่ นช้ันหรือจบการศึกษาตามแนวปฏิบัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามที่หลกั สตู รและพร้อมทีจ่ ะศึกษา ตอ่ ในระดับทีส่ ูงข้นึ 6) มีความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจตคติทีด่ ตี อ่ งานอาชีพ โรงเรียนมีแนวทางส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาองค์ความรู้ด้วยตนเอง ฝึกกระบวนการทำงาน ร่วมกันแลกเปล่ียนเรียนรู้ โครงการส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียน โครงการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง โครงการขยะสรา้ งค่า รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 69 6.2 คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น 1) มคี ณุ ลกั ษณะและค่านิยมทีด่ ีตามที่สถานศึกษากำหนด โรงเรียนมีแนวทางในพัฒนาผู้เรียนมีความรักในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ มีความ ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ อย่อู ยา่ งพอเพยี ง มุ่งมน่ั ในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ผลติ งาน อย่างสร้างสรรค์ และร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนด้านความสามารถ ในการ สื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ด้วยวิธีการสอดแทรกในการจัดการเรียนการสอน กิจกรรมหน้าเสาธง โครงการจิตอาสา “เราทำความดี ด้วยหัวใจ” โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดอบายมุขและยาเสพติดและ โครงการ/กจิ กรรมต่างๆ 2) มีความภูมิใจในทอ้ งถิ่นและความเป็นไทย โรงเรียนได้มีแนวทางให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในความเป็นไทย ตามวิถีท้องถ่ิน ผ่าน โครงการพัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มท่พี งึ ประสงค์ โครงการดนตรพี ื้นบ้าน 3) ยอมรับทีจ่ ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย โรงเรียนได้มีแนวทางส่ งเสริมและจัดกระบวนการการเรียนรู้ส่งเสริมประชาธิปไตย ใน โรงเรียนผ่านกิจกรรมเลือกตั้งสภานักเรียน โครงการกีฬาพัฒนาศักยภาพมนุษย์ที่ส่งเสริมการรู้แพ้รู้ชนะ รู้อภัย กิจกรรมชุมนุมวิชาการ กิจกรรมจิตสาธารณะ และกิจจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาหน้าที่พลเมือง โดย ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้ความเป็นสมาชกิ ของสังคม การยอมรบั ความคิดเหน็ ทแ่ี ตกต่างหลากหลาย และการใชช้ ีวิตตาม วถิ ปี ระชาธิปไตย 4) มีสุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม โรงเรียนวางแผนส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างเสริมสุขภาวะทางร่างกาย และด้านลักษณะจิต สังคม โดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และส่งเสริมด้านต่างๆ เช่น โครงการกีฬาพัฒนาศักยภาพมนุษย์ โครงการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอด อบายมุขและยาเสพติด โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ โครงการอนามัยโรงเรียน โครงการอาหารกลางวันนักเรียน เพอื่ พฒั นาจิตใจให้แจ่มใส ซ่งึ ส่งผลต่อการมีอารมณแ์ ละสขุ ภาพจิตที่ดี รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 70 ระดับคณุ ภาพ : ดเี ลิศ คา่ เป้าหมาย ผลการ สรปุ ประเมิน มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา ดีเลิศ ดีเลิศ บรรลเุ ปา้ หมาย 84 89.00 บรรลเุ ป้าหมาย มาตรฐานที่ 2 ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ 85 88.00 บรรลเุ ปา้ หมาย 82 บรรลเุ ป้าหมาย 1.1 มเี ป้าหมายวสิ ยั ทศั นแ์ ละพันธกจิ ที่สถานศึกษากำหนดชดั เจน 82 88.00 บรรลเุ ป้าหมาย 1.2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา 82 บรรลเุ ปา้ หมาย 1.3 ดาํ เนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเี่ น้นคณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ น ตาม 85.00 หลักสตู รสถานศกึ ษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 87 บรรลเุ ป้าหมาย 1.4 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรให้มคี วามเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ 83.00 1.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเี่ อ้ือตอ่ การจดั การ เรียนรูอ้ ย่างมีคุณภาพ 88.00 1.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจดั การ และการจดั การเรยี นรู้ การบรหิ ารงานของโรงเรยี นดำเนินการครอบคลุมทง้ั ด้านงานวชิ าการ งานงบประมาณ งานบคุ คล และงานบริหารงานทั่วไป ซึ่งยึดการบริหารคนให้เหมาะสมกับงาน เหมาะสมกับความรู้ความสามารถ มีการ ช่วยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและกัน คำนึงถึงประโยชน์ที่จะเกิดข้ึนกับนักเรียน บุคลากร โรงเรียนและชุมชนเป็น สำคัญ โดยมุ่งไปสู่เป้าหมายส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้มีคุณภาพและมาตรฐานความเป็น ไทยแนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 1. กระบวนการพฒั นา และผลท่เี กิดจากการพัฒนา 1.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจทส่ี ถานศึกษากำหนดชัดเจน สถานศึกษากำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจ ไว้อย่างชัดเจนสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาความต้องการของชุมชนท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาตินโยบายของรัฐบาลและของต้นสังกัด รวมทั้งทันต่อ การเปลย่ี นแปลงของสังคม 1.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคุณภาพ ของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบทั้งในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนำแผนไปปฏิบัติ เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการ บริหารอัตรากำลังทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีระบบการนิเทศภายในการนำ ข้อมลู มาใช้ในการพัฒนาบุคลากร รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 71 1.3 ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการท่เี น้นคุณภาพผ้เู รียนรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและ ทุกกลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษาบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการท้ังด้านการพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริม หลักสตู รทเี่ นน้ คุณภาพผู้เรียนรอบด้าน 1.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ สถานศกึ ษาส่งเสรมิ สนับสนุนพัฒนา ครูบคุ ลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวิชาชีพและจดั ใหม้ ีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี มาใช้ในการพฒั นางานและ การเรยี นรู้ของผเู้ รยี น 1.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายใน และภายนอกห้องเรียนและสภาพแวดล้อมทางสังคม ท่เี อ้อื ตอ่ การจดั การเรียนรู้ 1.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ สถานศึกษาจัดระบบการจัดหาการพฒั นาและการบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ ใชใ้ นการบรหิ ารจัดการและ การจัดการเรียนรู้ 2. ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่ีสนบั สนนุ ผลการประเมิน แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี หลักสูตรสถานศึกษา รายงานผล การพัฒนาคุณภาพการศึกษา (SAR) โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน โครงการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา โครงการพัฒนาระบบงานวัดผลประเมินผล โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ โครงการนิเทศภายใน รายงานการจดั ทำนวตั กรรม โครงการพฒั นาบุคลากร บนั ทกึ การประชุมครู 3. จดุ เดน่ 3.1 การบริหารงานครอบคลุม ยึดความเหมาะสมกบั งาน และความรูใ้ นการช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน มุง่ เปา้ หมายและผลสัมฤทธิง์ านเป็นสำคญั 3.2 การส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ทักษะด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏบิ ตั ิงาน 4. จุดควรพัฒนา 4.1 ควรส่งเสรมิ ใหผ้ ู้ผู้ปกครองมสี ่วนรว่ มในการกำหนดหรือสนับสนุนการศกึ ษาใหม้ ากขึน้ 4.2 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการ และการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนเพือ่ รองรบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ (COVID-19) 5. แผนพัฒนาเพ่ือยกระดบั คุณภาพให้สูงข้ึน ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาตนอย่างต่อเน่ือง และมีการประเมินผลสอบถามความ คดิ เห็นในการบรหิ ารงานตา่ ง ๆ ทกุ ฝา่ ยทเ่ี กย่ี วข้อง เช่น แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา แบบนิเทศ แบบรายงานโครงการ รายงานประเมินตนเองของสถานศกึ ษา เป็นตน้ รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 72 ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลิศ ค่าเป้าหมาย ผลการ สรปุ ดีเลศิ ประเมิน บรรลุเปา้ หมาย มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา (85.00) ดีเลศิ บรรลเุ ปา้ หมาย 87 (85.42) บรรลเุ ป้าหมาย มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รยี น 83.65 บรรลเุ ปา้ หมาย เปน็ สำคัญ 88 บรรลเุ ป้าหมาย 83 89.26 บรรลเุ ป้าหมาย 3.1 จัดการเรยี นร้ผู า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ ริง และ สามารถ 85 83.05 นําไปประยุกต์ใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ 87.55 3.2 ใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรูท้ ่เี อื้อ ต่อการ 82 เรียนรู้ 83.59 3.3 มกี ารบริหารจดั การชั้นเรียนเชงิ บวก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบและนําผลมา พฒั นาผู้เรยี น 3.5 มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรแู้ ละใหข้ อ้ มลู ป้อนกลับเพื่อปรับปรุงและ พฒั นาการจัดการเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูแต่ละคนมีจุดหมายชัดเจนในการจัดกระบวนท่ีเป็นระบบ ในการจัดการเรียนการสอนมีการวางแผนการสอนเป็นรูปธรรมมีความมุ่งม่ันต้ังใจในการพัฒนาตนเอง พัฒนา กระบวนการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ท่ีหลากหลายผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงแสวงหา ความรู้ค้นคว้าจาก แหล่งเรียนรู้ต่างๆจากสื่อเทคโนโลยี และมีการประเมินผู้เรียนหลากหลายตามความเหมาะสมเพื่อให้ผู้เรียนไป ปรับปรงุ พัฒนาให้เกิดการเรยี นรู้ 1. กระบวนการพฒั นา และผลทีเ่ กิดจากการพัฒนา 1.1 จัดการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัติจรงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตได้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวช้ีวัด ของหลักสูตรสถานศึกษาท่ีเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดย ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ มีแผนการจัดการเรยี นรู้ทสี่ ามารถนำไปจัดกิจกรรมได้ มรี ปู แบบการจดั การ เรียนรู้เฉพาะสำหรับผู้ที่มีความจำเป็นและต้องการความช่วยเหลือพิเศษ มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีส่งเสริม ให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีจิตสาธารณะผ่านกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ และกิจกรรมในวันสำคัญต่าง ๆ ผู้เรียน ได้รับการฝึกทกั ษะแสดงออกแสดงความคิดเห็นสรุปองค์ความรู้นำเสนอผลงานและสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ น ชีวิตได้ สนับสนุนส่งเสริมนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ มีการเข้าร่วมโครงการ IFTE เข้าร่วม โครงการอ่านออกเขยี นได้ช้ัน ป.1-3 การสอนซ่อมเสริมหลังเลิกเรยี นและโรงเรียนคมุ้ ครองเด็ก เข้าร่วมนโยบาย สถานศกึ ษาปลอดภัย MOE รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 73 1.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ครูทุกคนมีการใช้สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ กิจกรรมการศึกษาออนไลน์ กิจกรรมส่งเสริมระบบ ICT ใน โรงเรียน กิจกรรมการใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพา กิจกรรมปรับภูมิทัศน์ภายในสถานศึกษา กิจกรรมพัฒนา งานอาคารสถานท่ีสุขาภิบาลในโรงเรียน ทำให้ผู้เรียนมีโอกาสในการเรียนรู้ และแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง จากส่อื ท่ีหลากหลาย 1.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ครูทุกคนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก โดย โรงเรียนมโี ครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น กิจกรรมวันสำคัญ กิจกรรมส่งเสรมิ ภูมิปัญญาท้องถิน่ วทิ ยากร ท้องถ่นิ กจิ กรรมการสง่ เสริมอตั ลักษณ์ และโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ กจิ กรรมส่งเสริมการสรา้ งนวตั กรรมครู 1.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรยี น ครูทุกคนมีการ ตรวจและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน โดยโรงเรียนมี โครงการระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนและโครงการโรงเรียนคุ้มครองเด็ก กิจกรรมติดตามและการเย่ียมบ้านนักเรียนในระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน ทำให้ครูมีการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีข้ันตอนโดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการวัดและ ประเมินผลท่เี หมาะสมกับเปา้ หมายในการจัดการเรยี นรเู้ พ่ือนำไปพัฒนาการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น 1.5 มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้ ครูทุกคนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลย้อนกลับเพ่ือปรับปรุงพัฒนาการเรียนรู้ โดยโรงเรียนมี กิจกรรมให้ครไู ดแ้ ลกเปลี่ยนเรียนรโู้ ดยการสร้างชมุ ชนแห่งการเรียนรู้(PLC) เพื่อให้ครูได้แลกเปลีย่ นความรแู้ ละ ประสบการณ์ รวมทง้ั ให้ข้อมลู ป้อนกลับเพือ่ นำไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน 2. ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่ีสนับสนนุ ผลการประเมนิ โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โครงการส่งเสริมและพัฒนางานวิชาการ โครงการพัฒนาและ ส่งเสริมกับหน่วยงานอ่ืน โครงการส่งเสริมและพัฒนางานธุรการ โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โครงการส่งเสริมและพัฒนางานบุคลากร โครงการส่งเสริมและพัฒนางานงบประมาณ ทำให้ครูมีการจัดการ เรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีข้ันตอนโดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมายในการ จัดการเรียนรู้เพ่ือนำไปพัฒนาการเรียนรู้ รางวัลนวัตกรรมผู้บริหาร ระดับเขตพื้นท่ี ปี 2564 และรางวัล นวัตกรรมครูผูส้ อนของนายศิรพิ งษ์ ธิวรรณ Bast Pratics 3. จดุ เด่น 3.1 ครูพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความต้ังใจ มุ่งม่ันในการปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเต็มเวลา และเต็ม ความสามารถ 3.2 ครจู ัดกิจกรรมให้นกั เรียนแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยดี ้วยตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง 3.3 ครูให้นกั เรียนมีสว่ นร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี อื้อตอ่ การเรียนรู้ 3.4 ครจู ดั กจิ กรรมให้นกั เรยี นเรยี นรูจ้ ากการคิดได้ปฏบิ ตั ิจริงด้วยวิธีการและแหลง่ เรียนรทู้ ่หี ลากหลาย 3.5 ผลงานวจิ ัยในชั้นเรียนของครูทกุ คน ได้รับการตรวจประเมินและคำแนะนำจากคณะกรรมการ 3.6 ครทู ุกคนจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ โดยการดำเนินงาน/โครงการกจิ กรรมอยา่ ง หลากหลาย รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 74 3.7 ครูทุกคนต้ังใจ มุ่งม่ันในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้จากส่ือ เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื ง 3.8 มกี ารนำภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นเขา้ มามสี ่วนรว่ มในการ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 3.9 ครทู ุกคนทำวจิ ัยในชัน้ เรียน ปีการศกึ ษาละ 1 เร่อื ง 3.10 ครูทุกคนได้รับการพัฒนาตามโครงการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา และแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรยี น 4. จุดควรพฒั นา 4.1 ครูควรวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลายตามสภาพจริง สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้และธรรมชาตวิ ิชา 4.2 ครูควรนำภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ใหเ้ ขา้ มามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมใหน้ ักเรียนได้เรยี นรู้ 4.3 ครูควรใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับแกน่ ักเรยี นทนั ทีเพ่ือนกั เรยี นนำไปใช้พัฒนาตนเอง 4.4 ควรมีการบรู ณาการภาระงาน ช้นิ งาน โดยจดั ทำหน่วยบูรณาการอาเซียนและเศรษฐกิจพอเพียง และมีการประเมนิ คุณภาพ ประสทิ ธภิ าพของ สื่อการสอนทใี่ ช้ 5. แผนพฒั นาเพ่อื ยกระดบั คุณภาพใหส้ งู ข้นึ ส่งเสริมให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ สร้างเครอื ข่าย IFTE เพ่ือพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ การนิเทศการศึกษาให้สามารถนำความรู้มาพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ และพัฒนา คุณภาพผู้เรยี นอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาอยูใ่ นระดับ ดีเลศิ จากการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาประสบผลสำเร็จตามท่ีตั้งเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่าได้ระดับดีเลิศ (มาตรฐานที่ 1 ผลการจัดการศึกษา อยใู่ นระดบั ดีเลศิ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การศึกษา อยู่ในระดับ ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อยู่ในระดับดีเลิศ) ท้ังนี้เพราะ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายท่ีเป็นไปตามปัญหาและ ความต้องการพัฒนาตามสภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษาและสภาพของชุมชนท้องถิ่น จนมีผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับยอดเย่ียม พัฒนาการของค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ สูงข้ึน ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านและเขียน การส่ือสารท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ความสามารถ ในการคิดคำนวณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ดี และมีความประพฤติดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม คา่ นิยมและคณุ ลักษณะตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนดปรากฏอยา่ งชดั เจน ดงั ทป่ี รากฏผลประเมินในมาตรฐานที่ 1 รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 75 ด้านกระบวนการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษามีผลประเมินรายมาตรฐานอยู่ใน ระดับดีเลิศ สถานศึกษามีการวางแผน ออกแบบกิจกรรมและดำเนินงานตามแผนท่ีเกิดจากการมีส่วนร่วม ใช้ผลการ ประเมินและการดำเนินงานที่ผ่านมาเป็นฐานในการพัฒนา และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา ตรวจสอบ ผลการดำเนนิ งาน และการปรับปรงุ แกไ้ ขงานใหด้ ีข้ึนอยา่ งต่อเน่ือง ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ ครจู ัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญมีผลประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ วิเคราะห์ ออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่เป็นไปตามความ ตอ้ งการของหลักสตู ร และบริบทสถานศึกษา พฒั นากิจกรรมการเรียนรู้ ใชส้ ื่อการเรียนรู้ ติดตามตรวจสอบและ ช่วยเหลือนักเรียนเพ่ือพัฒนาและแก้ปัญหารายบุคคล และการประเมินผลจากสภาพจริงในทุกขั้นตอน สถานศึกษาดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในอย่างเป็นข้ันตอน จนเกิดคุณภาพ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล จนมีผลประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ โดยสถานศึกษาให้ความสำคัญกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพื่อ เกิดความรว่ มมือในการวางระบบ และดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง และผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องมีความมัน่ ใจตอ่ ระบบการบรหิ ารและการจดั การของสถานศึกษาในระดบั สงู รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 76 ผลการดำเนินงานและพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ในรอบปีการศึกษา 2564 สามารถสรุปผลการดำเนินงานโดยภาพรวม แนวทางการพัฒนาและความต้องการการช่วยเหลือจาก หนว่ ยงาน ทีเ่ ก่ียวข้องได้ดังนี้ จากผลการดำเนินงานตามโครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ ในปีการศึกษา 2564 ส่งผลให้สถานศึกษา จัดการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาประสบผลสำเร็จตามท่ีตั้งเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐานการศึกษาระดับ ปฐมวยั ดังน้ี ผลการประเมนิ ในภาพรวมระดบั ปฐมวัย อยู่ในระดับ.......ดเี ลศิ ............ อยู่ในระดับ ดเี ลศิ ผลการประเมนิ รายมาตรฐานระดับปฐมวัย อยใู่ นระดบั ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ อยใู่ นระดบั ดีเลศิ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทีเ่ นน้ เด็กเปน็ สำคญั นอกจากนี้ยงั ข้อมูลทเ่ี ป็นจุดเด่น จดุ ที่ตอ้ งพฒั นาของสถานศึกษา รวมทั้งแนวทางการพัฒนาและ ความ ต้องการช่วยเหลือ ในการจัดการศึกษระดบั ปฐมวยั ดังนี้ จุดเดน่ ของสถานศึกษา จดุ ท่ีควรพัฒนาของสถานศึกษา 1. ด้านคณุ ภาพของเด็ก 1. ดา้ นคณุ ภาพของเด็ก โรงเรยี นมีการออกแบบหลักสูตรบรู ณาการท่โี รงเรียน ควรดำเนินโครงการทส่ี ่งเสรมิ ให้ครมู ีความรู้ ความ ออกแบบส่งผลให้สามารถพัฒนาคุณภาพของเด็กได้ เข้าใจเก่ียวกับกิจกรรมท่ีส่งเสริมพัฒนาการ ด้าน เพราะหน่วยบูรณาการที่กำหนดมีความสอดคล้องกับ รา่ งกาย และด้านอารมณ์ จติ ใจของเด็ก เพ่ือให้ครู ส า ร ะ ก า ร เรี ย น รู้ ที่ เห ม า ะ ส ม กั บ วั ย ข อ ง เด็ ก ใน ทุ ก นำไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกิจกรรมหลักของ ระดับชั้น โดยเปิดโอกาสให้ครูออกแบบการเรียนการ โรงเรียน หรือจัดโครงการเพ่ิมเติม รวมทงั้ สามารถ สอนให้เหมาะกับความสนใจ และพัฒนาการของเด็ก นำความรู้มาวิเคราะห์ปัญหา และทำวิจัยเพื่อหา ในแต่ละห้องทัง้ ในลักษณะรายบุคคล และรายกลมุ่ แนวทางสรา้ งเสริมพัฒนาการให้กับเด็ก รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 77 จดุ เด่นของสถานศกึ ษา จุดที่ควรพฒั นาของสถานศึกษา 2. ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ 2. ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ โรงเรียนมีกระบวนการพัฒนาครูให้สามารถออกแบบ จัดทำคู่มือประกันคุณภาพของสถานศึกษา เพื่อ รูปแบบการสอนท่ีเหมาะกับพัฒนาการ และทักษะที่ แนะนำแนวทาง และสร้างความเข้าใจให้แกค่ รูในการ จำเป็นตามวัยสำหรับผู้เรียน สามารถเผยแพร่ความรู้ ด ำเนิ น ก ารป ระ กั น คุ ณ ภ าพ ก ารศึ ก ษ าให้ มี เกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัยให้แก่ ผู้ปกครอง และ ประสิทธภิ าพมากขนึ้ บคุ ลากรทางการศึกษาปฐมวยั 3. ด้านการจัดประสบการณ์ทเี่ นน้ เด็กเป็นสำคญั 3. ด้านการจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเป็นสำคัญ ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย การนำผลสะท้อนการจัดการเรียนการสอนของครูมา คำนึงถึงพัฒนาการ และความสนใจของผู้เรียนเน้นให้ เป็นประเด็นในการจัดทำวิจัยในช้ันเรียน เพื่อพัฒนา ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง มี ผูเ้ รยี น ทักษะการแสวงหาความรู้ ผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ รวมทั้งการจัด กิจกรรมทีส่ ง่ เสริมทกั ษะการคดิ ใหแ้ กผ่ ู้เรียน แนวทางการพฒั นาในอนาคต โรงเรียนวางแผนทจี่ ะดำเนินการพฒั นาด้านการจดั การศึกษาเด็กปฐมวัยในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในยุค 4.0 เด็กปฐมวัยควรได้รับการพัฒนาให้สามารถสร้างผลงานหรือนวัตกรรมได้ ในการจัดการศึกษาที่เป็นการ จดั การเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนสามารถนำองคค์ วามรู้ ท่ีมีอยู่ทุกแห่งบนโลกนี้มาบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ เพ่ือ พัฒนานวัตกรรมหรือผลงานน้ัน ต้องพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและทักษะท่ีเหมาะสมกับประเทศไทย 4.0 การจัดการศกึ ษาจำเปน็ ต้องเน้นท่ีการคิดสร้างสรรค์ แลว้ แปรความคิดสร้างสรรคน์ ้ันเป็นผลผลติ ออกมา แตก่ าร ท่ีจะมีความคิดสร้างสรรค์ได้จะต้องคิดวิเคราะห์ก่อน และเมื่อมีผลผลิตแล้วจะต้องรับผิดชอบตามมากขึ้น โดย พัฒนาเด็กให้มีคุณลักษณะ 4 ประการ คือ คิดวิเคราะห์ (Critical) คิดสร้างสรรค์ (Creative) คิดผลิตภาพ (Productivity) และคิดรับผิดชอบ (Responsible) หรือ CCPR Model ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มี คุณลักษณะดังกล่าว ควรพัฒนาให้เด็กสร้างความรู้ด้วยตนเองจากการลงมือกระทำ ได้ปฏิบัติจริง และนำ ความรไู้ ปสร้างสรรคเ์ ป็นชน้ิ งานโดยพัฒนาอยา่ งรอบด้านอย่างสมดลุ ความตอ้ งการการช่วยเหลอื ปจั จุบนั โรงเรียนมีผู้เรียนท่ีมคี วามต้องการพิเศษเพิ่มข้ึน จึงควรส่งเสริมให้ครผู ู้สอนไดร้ ับการอบรมเพ่ือ เพ่ิมศักยภาพการจัดการบริหารช้ันเรียนร่วมอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาทั้งครูผู้สอน รายวิชาตา่ งๆ และครูประจำช้ัน รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 78 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญท่ีสถานศึกษาจะต้องนำไป วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อสรุปนำไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้นจากข้อมูลการ ดำเนินของสถานศกึ ษาและผลจากการดำเนนิ งาน จึงสามารถสรปุ เปน็ จดุ เด่น จดุ ควรพัฒนาของแตล่ ะมาตรฐาน พร้อมทงั้ แนวทางการพฒั นาในอนาคตและความต้องการความชว่ ยเหลือได้ ดังนี้ ผลการประเมินในภาพรวมระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน อยู่ในระดับ........ดีเลิศ........... ผลการประเมนิ รายมาตรฐานระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน อยู่ในระดบั ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อยใู่ นระดบั ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผ้เู รียนเป็นสำคัญ อยูใ่ นระดับ ดีเลิศ นอกจากน้ีข้อมูลท่ีเป็นจุดเด่น จุดท่ีต้องพัฒนาของสถานศึกษา รวมท้ังแนวทางการพัฒนาและความ ตอ้ งการชว่ ยเหลือ ในการจัดการศึกษระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ดงั น้ี จดุ เดน่ ของสถานศกึ ษา จดุ ที่ควรพัฒนาของสถานศึกษา 1. ดา้ นคณุ ภาพของผ้เู รียน 1. ด้านคณุ ภาพของผู้เรยี น 1.1 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน นักเรียนกล้า 1.1 ควรเปิดโอกาสให้ผูป้ กครองได้มีส่วนร่วม แสดงออก ร่าเริงแจ่มใส สุขภาพกายแข็งแรง และเป็นผู้มีคุณธรรม ในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อ จรยิ ธรรมตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด พัฒนาผู้เรียนมากขึน้ 1.2 ผู้เรียนอ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง รวมทั้งสามารถ 1.2 ควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มี เขียนเพ่ือการส่ือสารได้ทุกคนสามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหา ส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ความรู้ได้ด้วยตนเอง สง่ ผลใหผ้ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนอยู่ ให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผล ในระดับดี มีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของ การจัดการศึกษาและการขับเคลื่อนคุณภาพการ ผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) สูงกวา่ ระดบั ประเทศในทกุ ดา้ น จัดการศึกษา 1.3 ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและ 1.3 ผู้เรียนทุกระดับชั้นยังต้องเร่งพัฒนา น้ำหนักส่วนสูงตามเกณ ฑ์ มีระเบียบวินัยจนเป็นเอกลักษณ์ ความสามารถ ในการอ่าน การเขียน และการ ของสถานศึกษา เป็นที่ยอมรับของชุมชนโดยรอบในเร่ืองความมีวินัย สือ่ สารภาษาอังกฤษ และการคิดคำนวณ เคารพกฎกติกา ระเบยี บของสงั คม เปน็ ต้น 1.4 โรงเรียนควรพัฒนาระบบเครือข่ายไร้ 1.4 ผู้เรียนอ่านและเขียนได้เหมาะสมตามระดับชั้น สามารถ สายให้ รวดเร็ว และกว้างขวาง เพื่อบริการ ส่ือสารภาษาไทยไดเ้ ข้าใจ ชัดเจน กล้าแสดงออก มีความคิดริเรม่ิ และ ผู้เรียน ในการสืบค้นข้อมูลหรือแสวงหาความรู้ สร้างสรรค์ ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ โดยมีการสืบค้นข้อมูล หรือ จากสอื่ เทคโนโลยไี ดด้ ้วยตนเอง แสวงหาความรู้จากส่ือเทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง สามารถวิเคราะห์ จำแนกแยกแยะได้ว่าส่ิงไหนดี สำคัญ จำเป็น รวมท้ังรู้เท่าทันสื่อและ สงั คมท่เี ปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 79 จดุ เดน่ ของสถานศึกษา จุดทค่ี วรพฒั นาของสถานศกึ ษา 1.5 ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่น ในความเป็น ไทยและเห็น คุณค่าเก่ียวกับภูมิปัญญาไทย และแสดงออกได้อย่างเหมาะสม จนเปน็ เอกลักษณข์ อง สถานศกึ ษาเปน็ ทย่ี อมรบั ของชุมชน 1.6 ผู้เรียนรู้และตระหนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติด เลือก รับประทานอาหารที่สะอาดและมี ประโยชน์ รักการออกกำลังกาย มสี ุขภาพร่างกาย แข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้ำหนัก-ส่วนสูง ตามเกณฑ์ 2. ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 2. ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 2.1 ผู้บริหารมีความต้ังใจ มีความมุ่งมั่น มีหลักการบริหารและ 2.1 โรงเรียนควรจัดกิจกรรมเน้นให้ผู้เรียนได้ มีวิสัยทัศน์ที่ดีในการบริหารงาน สามารถเป็นแบบอย่างท่ีดีใน มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดสังเคราะห์ การทำงาน และคณะกรรมการสถานศึกษามีความตั้งใจ และมีความ อย่างหลากหลายและใช้แหล่งเรียนรู้ในการพัฒนา พรอ้ มในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทีต่ ามบทบาท ตนเอง 2.2 โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ แบ่ง 2.2 ครูควรจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนใน โครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 กลุ่มงาน ยึดหลักการบริหารโดยใช้ ระดับชั้น ป.1-ม.3 ให้สามารถนำเสนอ อภิปราย โรงเรียนเปน็ ฐาน และแลกเปล่ียนเรียนรู้อย่างสมเหตุสมผลและมี 2.3 โรงเรียนใช้เทคนิคการประชุมทีห่ ลากหลายวิธี เชน่ การประชุม ทักษะในการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ได้อย่าง แบบมีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพอื่ ใหท้ ุกฝ่าย เหมาะสม มีสว่ นรว่ มในการ กำหนดวิสยั ทศั น์ พันธกิจ เป้าหมาย ท่ชี ัดเจน 2.3 ครูควรจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนใน 2.4 มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏิบัติ ระดับชั้น ป.4-ม.3 ให้มีพฤติกรรมทัศนคติท่ีดีต่อ การประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัด การศึกษา สภาพปัญหา ความ ความเป็นไทย ไม่หลงใหลกับค่านิยมต่างชาติ จน ตอ้ งการพัฒนา และ นโยบายการปฏิรูปการศกึ ษา เกิดการลอกเลียนแบบ ทำให้ลืมวัฒนธรรมอันดีงาม 2.5 มีแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ ของไทย ประจำปี ท่ีสอดคลอ้ งกบั การพัฒนาผเู้ รยี นทกุ กลุม่ เป้าหมาย 2.4 โรงเรียนควรจัดการเรียนการสอนด้วย 2.6 มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มี ความรู้ วิธีการท่ีหลากหลาย สอดคล้องกับมาตรฐานการ ความเชีย่ วชาญตามมาตรฐานตำแหนง่ เรียนรู้ ตัวชี้วัดตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 2.7 มีข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย สามารถ และฝึกให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์ หาความรู้จาก นำไปประยุกตใ์ ช้ได้ แหล่งเรียนรู้ส่ือเทคโนโลยีให้มากข้ึน และพัฒนาส่ือ 2.8 โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทกี่ ระตุ้น แหล่งเรียนรู้ จดั เตรยี มห้องปฏบิ ัตกิ ารให้อยใู่ นสภาพ ผู้เรียนใหใ้ ฝเ่ รยี นรู้ ดแี ละพรอ้ มใชง้ านเสมอ 2.9 ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการ 2.5 โรงเรียนควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน และจัดทำ ของผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของ รายงานผลการจัด การศกึ ษา โรงเรียนให้ มีความ เข้มแข็ง และมีส่วนร่วม 2.10 โรงเรียนได้ใช้กระบวนการวิจัยในการรวบรวม ข้อมูล เพ่ือ รับผิดชอบต่อผลการจัด การศึกษา และการ ใช้เป็นฐานในการวางแผนพฒั นาคุณภาพ สถานศึกษา ขบั เคลอ่ื นคุณภาพการจดั การศกึ ษา รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 80 จุดเด่นของสถานศึกษา จุดท่ีควรพฒั นาของสถานศกึ ษา 2.11 มีการระดมทรัพยากร เพ่ือการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา 2.6 สถานศกึ ษาจัดระบบให้ครูประเมนิ ตนเอง จากผู้ปกครองนักเรียน ส่งผลให้โรงเรียนมี สื่อ และแหล่งเรียนรู้ท่ีมี รายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แต่ยังขาดการให้ คณุ ภาพ ข้อมูลย้อนกลับแก่ครูในการพัฒนาตนเองในการจัด 2.12 โรงเรียนใหค้ วามสำคัญกับการดำเนินงานประกนั คุณภาพ กิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือยกระดับคุณภาพของ ภายในของสถานศกึ ษา เน้นการสร้างความเข้าใจและให้ความรดู้ ้านการ นกั เรยี น ประกันคุณภาพการศึกษากับคณะครู บุคลากรทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง การ 2.7 นักเรียนมีการประเมินตนเองในการ ดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เน้นการมีส่วนร่วม เรียนรู้ แต่ยังขาดการติดตามช่วยเหลือด้านการ ของทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการ ซ่ึงเป็น เรยี นรูข้ องนกั เรียนเป็นรายคน ตวั แทนจากทุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้ โรงเรยี นได้มกี ารพัฒนาระบบการ ประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาทง้ั 8 ขอ้ 3. ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอน 3. ด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอน ท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั ทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ 3.1 ครูพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความต้ังใจ มุ่งม่ันในการปฏิบัติ 3.1 ครูควรวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของ หนา้ ทอี่ ยา่ งเตม็ เวลา และเต็มความสามารถ ผู้เรีย นด้ วยวิธีท่ี ห ล ากห ล าย ต าม สภ าพ จ ริง 3.2 ครูจัดกจิ กรรมให้นักเรียนแสวงหาความรจู้ ากส่ือเทคโนโลยี สอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละธรรมชาติวิชา ดว้ ยตนเองอย่างตอ่ เนือ่ ง 3.2 ครูควรนำภูมิปัญญาท้องถ่ินให้เข้ามามีส่วน 3.3 ค รู ให้ นั ก เรีย น มี ส่ วน ร่ วม ใน ก าร จั ด บ รร ย า ก า ศ ร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรยี นไดเ้ รียนรู้ สภาพแวดล้อมทเี่ ออื้ ต่อการเรียนรู้ 3.3 ครูควรให้ข้อมลู ยอ้ นกลับแก่นักเรียนทันทีเพ่ือ 3.4 ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้จากการคิดได้ปฏิบัติจริง นักเรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง ดว้ ยวิธีการและแหล่งเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย 3.4 ควรมีการบูรณาการภาระงาน ช้ินงาน โดย 3.5 ผลงานวิจัยในชั้นเรียนของครูทุกคน ได้รับการตรวจ จัดทำหน่วยบูรณาการอาเซียนและเศรษฐกิจ ประเมินและคำแนะนำจากคณะกรรมการ พอเพียงและมีการประเมินคุณภาพ ประสิทธิภาพ 3.6 ครูทกุ คนจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็น สำคัญ โดย ของ สื่อการสอนท่ีใช้ การดำเนนิ งาน/โครงการกจิ กรรมอยา่ ง หลากหลาย 3.7 ครทู กุ คนตัง้ ใจ ม่งุ ม่นั ในการพฒั นาการสอน โดยจดั กิจกรรม ใหผ้ เู้ รยี นไดแ้ สวงหาความรูจ้ ากสือ่ เทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างตอ่ เนื่อง 3.8 มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการ จัด กิจกรรมการเรียนรู้ 3.9 ครูทกุ คนทำวจิ ยั ในช้ันเรียน ปีการศกึ ษาละ 1 เร่ือง 3.10 ครูทุกคนได้รับการพัฒนาตามโครงการพัฒนา หลักสูตร สถานศึกษา และแผนการจัดการเรียนรู้ เพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการ ศกึ ษาของนักเรยี น รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 81 แนวทางการพัฒนาในอนาคต 1. การจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ เี่ น้นการพัฒนาผู้เรยี นเป็นรายบคุ คลใหช้ ัดเจนขน้ึ 2. การส่งเสรมิ ให้ครเู ห็นความสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ การจัดทำการวิจัย ในชัน้ เรยี นเพ่ือพัฒนาผเู้ รียนใหส้ ามารถเรยี นรไู้ ดเ้ ต็มศักยภาพ 3. การพัฒนาบุคลากรโดยส่งเข้ารับการอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานที่ได้รับมอบหมายติดตามผล การนำไปใชแ้ ละผลท่เี กดิ กับผเู้ รียนอย่างต่อเนือ่ ง 4. การพัฒนาสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ สังคมแหง่ การเรียนร้ขู องชุมชน 5. โรงเรียนต้องการให้ครูเปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ คอื ลดภาระงานพิเศษให้น้อยลง จดั หาแหลง่ เรียนรู้ สื่อ อุปกรณ์ อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้แก่ครูโดยเฉพาะมีการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงาน เปิดรับ การเปล่ียนแปลง และส่ิงใหม่ ๆ เปิดโอกาสด้านการแสดงออกทางความคิดอย่างเสรีมากข้ึน สร้างแรงจูงใจ ใน การเรยี นรู้ร่วมกันเปน็ ทมี มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรใู้ ห้เพ่ิมมากขึ้น ส่งเสรมิ กจิ กรรมรว่ มคดิ ร่วมทำ เพอื่ เปา้ หมาย และวิสัยทัศน์ร่วมกันของโรงเรียน โดยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ/อบรม/สัมมนา และศึกษาดูงานอย่าง ต่อเน่ือง 6. โรงเรียนมุ่งพัฒนาครูและบุคลากรภายในโรงเรียนให้เป็นครูมืออาชีพ เป็นครูท่ีสอนดี ซึ่งคือครูที่จัด ประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับนักเรียนให้มากที่สุด นักเรียนได้เรียนรู้จากสถานการณ์จริงและสถานการณ์ จำลอง ที่ครูเป็นผู้จัดทำขึ้น ครูใช้เทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ มาประกอบเป็นส่ือการเรียนรู้ ใช้กับนักเรียนทำ ให้นักเรียนได้รับการพฒั นาความรูค้ วามสามารถมากท่สี ุด 7. โรงเรียนมุ่งพัฒนาส่ิงแวดล้อมของโรงเรียน ให้มีโสตทัศนูปกรณ์ ที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอน ของครูและนักเรียน เช่น เคร่ืองฉายภาพ เคร่ืองเสียง โทรทัศน์ เป็นต้น ทำให้ครูสามารถจัดการเรียนรู้ท่ี หลากหลาย นักเรียนได้รับความรู้อย่างเต็มที่ นอกจากน้ันโรงเรียนยังมีการพัฒนา แหล่งเรียนรู้ภายใน อาทิ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องวิทยาศาสตร์ หอ้ งสมุด ซ่ึงจะมีมุมหนังสือ มมุ มัลติมเี ดีย มุมสบื ค้น ข้อมูล (คอมพิวเตอร)์ ให้บริการกบั นกั เรียน นักเรยี นสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้ 8. โรงเรยี นมีการประสานการระดมทรพั ยากร โดยประสานทุกภาคส่วนเพื่อระดบั ทรัพยากรต่าง ๆ ทั้ง ความคิด ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา การปรับปรุงคุณภาพด้านต่าง ๆ ของโรงเรียน รวมถึงกา รระดม งบประมาณ เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน พัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรภายใน โรงเรยี นและนำมาใช้ ในการสร้างขวญั กำลงั ใจให้กบั ครแู ละบุคลากรภายในโรงเรยี น 9. พัฒนากระบวนการดำเนินงานและการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาให้เกิดสัมฤทธิ์ผลตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา จุดเน้นและเป้าหมายที่กำหนดขึ้น เพื่อส่งเสริมพัฒนา ผเู้ รียน อย่างรอบด้าน โดยการมีสว่ นร่วมของผู้บริหาร ครู บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพือ่ ส่งผลสะทอ้ นความเป็นเอกลกั ษณ์ของโรงเรยี น 10. ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียนตามสุขบัญญัติ 10 ประการ โดยความ ร่วมมือ ของทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง เพ่ือให้ผู้เรียนรู้จักดูแลตนเองให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง รู้จักรักษาสุขภาพ อนามัยสว่ นตนและมสี ุขภาพจิตทด่ี ี รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 82 ความตอ้ งการและการช่วยเหลอื 1. การพฒั นาครูผู้สอนในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ทีส่ อดคล้องกับการพฒั นาผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 2. การสรา้ งข้อสอบทส่ี อดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตามแนวทางของการประเมนิ O-NET และ NT 3. การจดั สรรครูผ้สู อนให้ตรงตามวชิ าเอกท่ีโรงเรียนมีความต้องการและจำเป็น 4. โรงเรยี นต้องการระดมทรัพยากรต่าง ๆ เพือ่ ใชใ้ นการพฒั นาด้านต่าง ๆ ของโรงเรียน 5. โรงเรียนตอ้ งการบุคลากรเพิ่มเติม เพอ่ื ให้การบรหิ ารจัดการด้านตา่ ง ๆ ของโรงเรยี นมีความคลอ่ งตัว มากยง่ิ ขน้ึ 6. ขอรับการสนับสนุนวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ให้ความรู้คำปรึกษาในด้านเทคนิคการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน การวัดและประเมินผลผู้เรียนด้วยเทคนิคที่หลากหลาย เทคนิคการสอนทักษะการคิดเชื่อมโยง เพื่อพฒั นาผเู้ รียนไดเ้ ตมิ เตม็ ตามศักยภาพ 7. ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ให้ความร่วมมือสนับสนุนส่งเสริมกิจกรรมของโรงเรียน เพิ่มมากยิ่งข้ึน เพ่ือหาแนวทางแก้ปัญหา พัฒนา และส่งเสริมผู้เรียนร่วมกันระหว่างบ้าน โรงเรียนและชุมชน อยา่ งต่อเนอื่ ง เพือ่ พัฒนาให้ผูเ้ รียนมคี ณุ ภาพสอดคล้องกบั ความต้องการของชุมชนและประเทศชาตติ ่อไป รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 83 รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 84 คำสั่งโรงเรียนนคิ มสร้างตนเอง 3 ที่ 40 / 2564 เรอื่ ง แตง่ ตั้งคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย มาตรฐานการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน และคา่ เปา้ หมายความสำเร็จของมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั และมาตรฐานการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน เพือ่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ประจำปกี ารศึกษา 2564 …………………………………………………………………………………………………. ตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 และกระทรวงศึกษาธิการมีการประกาศให้ใช้ มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนย์การศึกษาพิเศษ พ.ศ. 2561 ลงวันท่ี 6 สิงหาคม 2561 สำหรับให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางการดำเนินงานเพ่ือการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และเตรียมการสำหรับการ ประเมินคุณภาพภายนอก ดังนั้นโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ขอแต่งต้ังคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการศึกษา เพ่ือการ ประกันคุณภาพใหส้ อดคลอ้ งกบั กฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาฯ โดยอาศัยความตามมาตราที่ 39 ของพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 จึง แต่งตัง้ คณะกรรมการ ดงั ต่อไปนี้ คณะกรรมการทป่ี รึกษา 1. นายพรเจรญิ ธรรมสาร ประธานคณะกรรมการ ประธานกรรมการ 2. นายสำรอง ศรวี งยาง กรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒิ กรรมการ 3. พระอาจารยธ์ นา อาภสสุ โร กรรมการผู้แทนพระสงฆ์ กรรมการ 5. นายสรวิศ โชรมั ย์ กรรมการผู้แทนองค์กรชุมชน กรรมการ 6. นางณัฐกานต์ ชำรัมย์ กรรมการผู้แทนผปู้ กครอง กรรมการ 7. นางพรนิภา ตอพล กรรมการผู้แทนศิษยเ์ ก่า กรรมการ 8. นางกนั ยา สขุ ประจบ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ กรรมการ 9. จ.ส.อ.ปรีชา แจม่ ใส กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ กรรมการ 10. นายต้มิ กาวิทาโร กรรมการผแู้ ทนการปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ กรรมการ 11. นายบุญเล้ียง ชำรมั ย์ กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ กรรมการ 14. นางวิมลพรรณ โยแก้ว กรรมการผู้แทนครู กรรมการ 15. นายโสวัฒน์ แสนลี รกั ษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรยี น กรรมการและเลขานกุ าร มีหนา้ ท่ี ใหค้ ำปรกึ ษา และความเหน็ ชอบในการวางแผนการดำเนนิ งานจัดทำมาตรฐานการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานวพิ ากษ์ ประเมนิ ความเหมาะสม ความเปน็ ไปได้ และให้ข้อเสนอแนะ เพือ่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ในการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา คณะกรรมการดำเนินงานกำหนดมาตรฐานการศกึ ษา 1. นายโสวฒั น์ แสนลี รกั ษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ 3. คณะครแู ละบุคลากรโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3ทกุ คน กรรมการ 4. นายบญุ เล้ยี ง โทสันเทยี ะ ตวั แทนผปู้ กครอง กรรมการ 5. นายสงวน ชนื่ อุรา ตวั แทนชมุ ชน กรรมการ 6. เดก็ หญงิ ชลธิชา ตนประโคน ตัวแทนนักเรยี น กรรมการ 7. เดก็ หญิงศศิกาญจ์ ศรชัย ตัวแทนนักเรยี น กรรมการ 8. นางหทยั รัตน์ ละสระนอ้ ย หวั หนา้ งานวชิ าการ กรรมการและเลขานกุ าร 9. นางสาวนิศากร ชดิ ไธสง หัวหนา้ งานประกนั คุณภาพ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร มหี น้าท่ี รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 85 1.ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากมาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) และข้อเสนอแนะการประเมิน คุณภาพภายนอกรอบสาม นโยบายและจุดเน้นของหน่วยงานต้นสังกัด และของสถานศึกษา ศักยภาพและบริบทของ สถานศกึ ษา ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ความคาดหวงั ทางสงั คม และคณุ ลกั ษณะทตี่ ้องการใหเ้ กิดข้ึน 2.นำข้อมูลท่ีได้จากการวิเคราะห์ มาสังเคราะห์ หลอมรวม กำหนดเป็นมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย และระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานของสถานศกึ ษา 3.กำหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ ทแี่ สดงถึงอัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศึกษาอย่างเด่นชัด เพื่อสร้าง ความรู้สึกการเป็นเจ้าของสถานศึกษาร่วมกัน รวมทั้งกำหนดมาตรการส่งเสริม เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน พร้อมจัดระบบและโครงสร้างที่เหมาะสม วางแผนและดำเนนิ งานตามแผน โดยเน้นระบบคณุ ภาพ มกี ารติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามระยะเวลาท่ี เหมาะสมและปฏบิ ตั ิอยา่ งต่อเนอ่ื ง 4.กำหนดคา่ เปา้ หมายความสำเร็จของแต่ละมาตรฐานและตวั บ่งช้ี 5.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และค่าเป้าหมาย โดยความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้ผู้เก่ียวข้องทั้งภายในและภายนอกทราบให้คณะกรรมการท่ีได้รับการแต่งต้ัง ปฏิบัตหิ น้าท่ีด้วยความเอาใจใส่ เตม็ ความสามารถ ดว้ ยวิรยิ ะอุตสาหะ เพื่อใหไ้ ด้ข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน สำหรับ ใช้เปน็ ขอ้ มูลในการวางแผนจัดทำมาตรฐานการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานของโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 และเปน็ ประโยชนต์ ่อ โรงเรียน ครู นักเรยี นและผทู้ ีม่ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่าย ทงั้ นี้ ต้ังแต่บัดนเี้ ป็นตน้ ไป ส่ัง ณ วนั ที่ 30 เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 (นางสงวน อรญั เพิ่ม) ผู้อำนวยการโรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง 3 รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 86 ประกาศโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 เร่ือง กำหนดใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ..................................................................... โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ลงวนั ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 ไดก้ ำหนด ระบบ หลกั เกณฑ์ละวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา อันส่งผลใหก้ ารดำเนินงานการประกันคณุ ภาพการศึกษาทั้งหน่วยงาน ต้นสังกัดหรือหน่วยงานกำกับดูแล และหน่วยงานภายนอกท่ีสะท้อนสภาพงานท่ีแท้จริงและเกิดประสิทธิภาพ และประกาศ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย ระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน และระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ ประกาศ ณ วนั ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2561 โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 อำเภอบ้านกรวด สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 มภี ารกจิ จัดการศึกษาระดบั ปฐมวัย และระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย และ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย และระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐาน และเพ่ือการประเมินคุณภาพภายในและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในการประชุม คร้ังท่ี 1/2564 เมื่อวันที่ 28 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 โรงเรียนนคิ มสร้างตนเอง 3 จงึ ประกาศใชม้ าตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั และระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ต้ังแต่ปีการศึกษา 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วนั ที่ 30 เดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 (นางสงวน อรญั เพม่ิ ) ผู้อำนวยการโรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง 3 รายงานการประเมินตนเอง SAR มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวยั ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 87 แนบทา้ ยประกาศโรงเรียนนคิ มสร้างตนเอง 3 เรอ่ื ง กำหนดมาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวยั ระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ฉบับลงวันท่ี 30 เดอื น มิถุนายน พ.ศ. 2564 ……………………………………………………. มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั พ.ศ. 2564 มีจำนวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเปน็ สำคญั แต่ละมาตรฐานมีรายละเอยี ดดังนี้ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ 1.1 มีพฒั นาการด้านร่างกาย แข็งแรง มสี ุขนสิ ยั ทีด่ ี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ 1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 1.3 มพี ัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยเหลือตนเองและเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของสงั คม 1.4 มีพฒั นาการด้านสติปญั ญา สอ่ื สารได้ มีทักษะการคดิ พ้นื ฐานและแสวงหาความรไู้ ด้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มีหลกั สตู รครอบคลมุ พฒั นาการทงั้ 4 ดา้ น สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของทอ้ งถน่ิ 2.2 จัดครูให้เพยี งพอกับช้ันเรียน 2.3 ส่งเสรมิ ใหค้ รมู คี วามเชี่ยวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ 2.4 จดั สภาพแวดล้อมและสอื่ เพ่อื การเรยี นรู้ อย่างปลอดภยั และเพยี งพอ 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและสอื่ การเรียนรูเ้ พื่อสนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ 2.6 มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ้เู กย่ี วข้องทุกฝ่ายมสี ่วนรว่ ม มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ทีเ่ นน้ เดก็ เปน็ สำคญั 3.1 จัดประสบการณท์ ่ีสง่ เสรมิ ให้เดก็ มพี ฒั นาการทุกดา้ นอย่างสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ 3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบัติอย่างมีความสุข 3.3 จัดบรรยากาศท่เี อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ ใชส้ อ่ื และเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกับวยั 3.4 ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมินพฒั นาการเดก็ ไปปรบั ปรุงการจดั ประสบการณ์ และพัฒนาเดก็ รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 88 มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน แนบทา้ ยประกาศโรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง 3 เรอื่ ง กำหนดมาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวยั ระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ฉบับลงวันท่ี 30 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 ……………………………………………………. มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ. 2564 มจี ำนวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผู้เรยี น 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู้ รยี น 1.2 คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผู้เรยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั แต่ละมาตรฐานมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคดิ คำนวณ 2) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และ แกป้ ญั หาได้ 3) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 5) มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา 6) มคี วามรู้ ทกั ษะพ้นื ฐานและเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ งานอาชพี 1.2 คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผ้เู รยี น 1) การมคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มท่ดี ตี ามทสี่ ถานศึกษากำหนด 2) ความภูมิใจในท้องถนิ่ และความเป็นไทย 3) การยอมรับท่จี ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย 4) สขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 2.1 มีเป้าหมาย วสิ ัยทัศนแ์ ละพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชดั เจน 2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา 2.3 ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการที่เนน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ น ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย 2.4 พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี 2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภายและสงั คมท่เี ออ้ื ตอ่ การจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งมีคณุ ภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนทศเพอ่ื สนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคญั 3.1 จัดการเรียนร้ทู ผี่ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตได้ 3.2 ใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทีเ่ อ้ือตอ่ การเรยี นรู้ 3.3 มกี ารบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี นเชงิ บวก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น 3.5 มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรูแ้ ละใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลับเพ่อื พัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้ รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 89 ประกาศโรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 เรอ่ื ง กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวัยและ ระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ..................................................................... โดยท่ีมปี ระกาศใชก้ ฎกระทรวง การประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 ลงวันท่ี 20 กุมภาพนั ธ์ 2561 ไดก้ ำหนดระบบ หลักเกณฑ์ละวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา อันส่งผลให้การดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาท้ังหน่วยงานต้นสังกัดหรือ หน่วยงานกำกับดูแล และหน่วยงานภายนอกท่ีสะท้อนสภาพงานที่แท้จริงและเกิดประสิทธิภาพ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใชม้ าตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน และระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ประกาศ ณ วันที่ 6 สงิ หาคม พ.ศ. 2561 โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 อำเภอบา้ นกรวด สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 มีภารกิจ จดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั และระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน จงึ กำหนดมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย และระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน และเพ่ือการ ประเมินคุณภาพภายในและรองรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ในการประชุม ครัง้ ที่ 1/2564 เมอ่ื วันที่ 208 เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ. 2564 โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 จึงกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัยและ ระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน เพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ต้ังแต่ปีการศกึ ษา 2564 เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี 30 เดือน มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 (นางสงวน อรัญเพม่ิ ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นนิคมสรา้ งตนเอง 3 รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 90 การกำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา เพื่อการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 เร่ือง กำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย .................................................................................................. มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เป้าหมายมาตรฐาน/ ประเดน็ การพิจารณา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ 1.1 มีการพฒั นาดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มีสุขนสิ ยั ที่ดี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ ดีเลศิ 1.2 มกี ารพฒั นาด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม แลและแสดงงอออกทางอารมณไ์ ด้ ดเี ลศิ 1.3 มีการพัฒนาการดา้ นสงั คม ชว่ ยแหลือตนเอง และเปน็ สมาชกิ ทด่ี ีของสงั คม ดีเลศิ 1.4 มีพฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา สอื่ สารได้ มที กั ษะการคดิ พื้นฐานและแสวงหาความรไู้ ด้ ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและจัดการ ดีเลศิ 2.1 มหี ลกั สตู รครอบคลุมพฒั นาการทง้ั 4 ด้าน สอดคลอ้ งกบั บริบทขอองท้องถนิ่ ดเี ลศิ 2.2 จัดครุให้เพยี งพอกบั ชน้ั เรยี น ดีเลิศ 2.3 สง่ เสรมิ ใหค้ รูมคี วามเชย่ี วชาญด้านกากรรจดั ประสบการณ์ ดีเลิศ 2.4 จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพอื่ การเรียนรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ ดเี ลศิ 2.5 ใหบ้ ริการสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสือ่ การเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจดั ประสบการณ์ ดีเลิศ 2.6 มรี ะบบบริหารคุณภาพทีเ่ ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ กย่ี วข้องทุกฝ่ายมสี ว่ นร่วม ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เป็นสำคัญ ดเี ลิศ 3.1 จัดประสบการณท์ ส่ี ง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมกี ารพฒั นาการทกุ ดา้ นอยา่ งสมดลุ เต็มศกั ยภาพ ดีเลิศ 3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ ับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบตั ิอยา่ งมีความสุข ดเี ลิศ 3.3 จัดบรรยากาศท่ีเอ้อื ตอ่ การเรยี นรใู้ ชส้ อ่ื เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกบั วัย ดเี ลศิ 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงแลละนำผลประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรงุ การจัด ดเี ลศิ ประสบการณ์และพัฒนาเดก็ ดีเลศิ สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา ดเี ลศิ การกำหนดคา่ เปา้ หมาย ศึกษาข้อมูลเดิม ผลการประเมินต่าง ๆ ที่ผ่านมา เพื่อเป็นข้อมูลฐานในการกำหนดค่าเป้าหมายการกำหนดค่า เป้าหมาย แต่ละมาตรฐาน ควรกำหนดเป็น ระดบั คณุ ภาพ 5 ระดับ เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกบั การประเมิน ดังน้ี คะแนน 90.00 – 100.00 ระดบั 5 ยอดเยย่ี ม คะแนน 80.00 – 89.99 ระดบั 4 ดีเลิศ คะแนน 60.00 – 79.99 ระดับ 3 ดี คะแนน 50.00 – 59.99 ระดบั 2 ปานกลาง คะแนน 0.00 – 49.99 ระดับ 1 กำลังพัฒนา การกำหนดคา่ เป้าหมาย ในแต่ละประเดน็ พจิ ารณา จะกำหนดเปน็ ระดบั คุณภาพหรือเป็นรอ้ ยละ ตามความ เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 91 การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 เรือ่ ง กำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน .................................................................................................. มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/ ประเดน็ การพจิ ารณา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รียน 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผ้เู รยี น ดเี ลศิ ดี 1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สารและการคดิ คำนวณ ดเี ลศิ 2) มคี วามสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลย่ี นความ ดี คดิ เห็น และแก้ปัญหา 3) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม ดี 4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่อื สาร ดเี ลศิ 5) มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา ดี 6) มีความรู้ ทักษะพนื้ ฐานและเจตคตทิ ดี่ ตี อ่ งานอาชีพ ดเี ลิศ 1.2 คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผู้เรียน ดเี ลศิ 1) การมคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มที่ดีตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด ดเี ลิศ 2) ความภมู ิใจในทอ้ งถิ่นและความเปน็ ไทย ดเี ลิศ 3) การยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ดเี ลิศ 4) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและจัดการ ดีเลศิ 2.1 การมีเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพันธกิจทส่ี ถานศึกษากำหนดชัดเจน ดเี ลศิ 2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ดเี ลิศ 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการทีเ่ นน้ คุณภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สตุ รสถานศึกษาและทุก กลมุ่ เปา้ หมาย ดีเลศิ 2.4 พัฒนาครูและบคุ ลกรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออื้ ตอ่ การจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมคี ณู ภาพ ดเี ลศิ 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้ ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั ดีเลศิ 3.1 จัดการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ได้ ดเี ลศิ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูท้ ่ีเอ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ ดเี ลิศ 3.3 มีการบริหารจัดการชัน้ เรยี นเชงิ บวก ดเี ลิศ 4.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผ้เู รยี น ดเี ลิศ 3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้ ดเี ลศิ ดเี ลศิ รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 92 การกำหนดคา่ เปา้ หมาย ศึกษาข้อมูลเดิม ผลการประเมินต่าง ๆ ที่ผ่านมา เพ่ือเป็นข้อมูลฐานในการกำหนดค่าเป้าหมายการกำหนดค่า เป้าหมาย แต่ละมาตรฐาน ควรกำหนดเป็น ระดบั คุณภาพ 5 ระดับ เพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งกับการประเมิน ดังนี้ คะแนน 90.00 – 100.00 ระดบั 5 ยอดเยย่ี ม คะแนน 80.00 – 89.99 ระดบั 4 ดเี ลิศ คะแนน 60.00 – 79.99 ระดบั 3 ดี คะแนน 50.00 – 59.99 ระดบั 2 ปานกลาง คะแนน 0.00 – 49.99 ระดับ 1 กำลงั พัฒนา การกำหนดค่าเป้าหมาย ในแตล่ ะประเดน็ พิจารณา จะกำหนดเปน็ ระดับคุณภาพหรือเป็นรอ้ ยละ ตามความ เหมาะสมกับบริบทของสถานศกึ ษา รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook