Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR_นิคม.3_ปี-64

SAR_นิคม.3_ปี-64

Published by peerawat.bok, 2022-05-23 01:57:54

Description: รายงานผลการประเมินตนเอง SAR ของสถานศึกษาในปีการศึกษา 2564 ที่ผ่านมา

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา 2564 โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ฉบับน้ี จดั ทำข้ึนตามกฎกระทรวง การประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ข้อ 3 ระบุใหส้ ถานศึกษาจดั ส่งรายงานผล การประเมนิ ตนเองให้แก่หน่วยงานตน้ สังกดั หรือหน่วยงานที่กำกับดแู ลสถานศึกษาเป็นประจำทกุ ปีเพอ่ื รายงาน ผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาที่สะทอ้ นผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซง่ึ เป็นผลสำเร็จจากการ บริหารจัดการศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาในระดับปฐมวัย 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของเด็ก กระบวนการบริหารและการจัดการ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญและระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 3 มาตรฐานได้แก่ คณุ ภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหาร และการจัดการกระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ี เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ เพ่ือนำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่ เก่ียวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานการศกึ ษาและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ตอ่ ไป ขอขอบคุณคณะครู ผ้ปู กครอง นักเรยี น คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานและผู้ท่ีมีสว่ นเก่ียวข้อง ทุกฝ่ายท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา 2564 ฉบับนี้ คณะ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารรายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาของโรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 ในปีการศึกษา 2565 ต่อไป โรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 เมษายน 2564 รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

บทสรปุ สำหรับผ้บู ริหาร ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพืน้ ฐาน 1 1.1 ข้อมูลทวั่ ไป 1 1.2 ข้อมูลอาคารสถานที่ 4 1.3 ข้อมูลครูและบุคลากร 5 1.4 ขอ้ มูลนักเรยี น 7 1.5 ผลการจดั การศึกษาตามหลกั สูตรสถานศึกษา 9 1.6 ผลการทดสอบระดับชาติของผเู้ รียน 15 1.7 โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษา 20 ระดับปฐมวัย 20 การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 24 1.8 สรปุ การใช้แหลง่ เรยี นรภู้ ายในและภายนอกสถานศึกษา 27 1.9 ข้อมูลงบประมาณ 27 1.10 ข้อมูลสภาพชมุ ชนโดยรวม 28 1.11 รา่ งผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ในสถานการณ์โควิด-19 28 ส่วนที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 34 ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย 34 ผลการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 55 สว่ นที่ 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนาและความตอ้ งการการช่วยเหลือ 76 3.1 สรปุ ผลการประเมินตนเองโดยภาพรวม ระดับปฐมวยั 76 3.2 สรปุ ผลการประเมินตนเองโดยภาพรวม ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 78 ส่วนที่ 4 ภาคผนวก 83 คำสัง่ แต่งตัง้ คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานและค่าเปา้ หมาย เพ่ือประเมินคุณภาพภายใน 84 ของสถานศึกษา รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564

สว่ นท่ี 4 ภาคผนวก (ต่อ) ประกาศโรงเรยี นเร่ืองให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานระดบั การศึกษาปฐมวยั และข้ันพนื้ ฐาน 86 ประกาศโรงเรียนเรอ่ื งกำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษา 90 ระดับการศกึ ษาปฐมวยั 90 ระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน 91 คำสัง่ การแต่งตง้ั คณะกรรมการนิเทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา 93 รปู ภาพกจิ กรรม 96 รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564

โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ตั้งอยู่หมู่ท่ี 6 ตำบลบึงเจริญ อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ สังกัด สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาบุรรี ัมย์ เขต 2 เปิดสอนตั้งแต่ชน้ั อนบุ าล 2 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีบุคลากรสายบริหาร จำนวน 1 คน ข้าราชการครู พนักงานราชการ และเจ้าหน้าที่ธุรการ จำนวน 18 คน ได้ดำเนินงานด้านการสร้างความเข้มแข็งตามระบบประกันคุณภาพภายใน อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน โดยได้ ดำเนินงานตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ.2561 และมีผลการดำเนินงาน ดงั น้ี ❖ ผลการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาปฐมวัย โดยภาพรวม อยู่ในระดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ โดยมผี ลการประเมนิ รายมาตรฐาน ดงั น้ี มาตรฐาน ระดบั คณุ ภาพ 1.คุณภาพเด็ก ดเี ลศิ 2.กระบวนการบริหารและการจัดการ ดเี ลศิ 3.การจดั ประสบการณท์ ี่เน้นเดก็ เป็นสำคญั ดีเลศิ สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวม ดีเลิศ จุดเด่น มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพเดก็ โรงเรียนมีการออกแบบหลักสูตรบูรณาการที่โรงเรียนออกแบบส่งผลให้สามารถพัฒนาคุณภาพของ เด็กได้เพราะหน่วยบูรณาการท่ีกำหนดมีความสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับวัยของเด็กในทุก ระดับช้ัน โดยเปดิ โอกาสใหค้ รูออกแบบการเรยี นการสอนใหเ้ หมาะกับความสนใจ และพฒั นาการของเดก็ ในแต่ ละห้องท้งั ในลกั ษณะรายบุคคล และรายกลุ่ม มาตรฐานท่ี 2 ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ โรงเรียนมีกระบวนการพัฒนาครูให้สามารถออกแบบรูปแบบการสอนที่เหมาะกับพัฒนาการ และ ทักษะที่จำเป็นตามวัยสำหรับผู้เรียน สามารถเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัยให้แก่ ผู้ปกครอง และ บุคลากรทางการศึกษาปฐมวยั มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เดก็ เป็นสำคัญ ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงพัฒนาการ และความสนใจของผู้เรยี นเน้น ใหผ้ เู้ รยี นสร้างองค์ความรจู้ ากการลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ มีทกั ษะการแสวงหาความรู้ ผ่านกจิ กรรมทหี่ ลากหลาย และ สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ได้ รวมทั้งการจดั กิจกรรมท่ีส่งเสริมทกั ษะการคดิ ให้แก่ผู้เรียน รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564

จุดที่ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 1 ดา้ นคณุ ภาพเด็ก ควรดำเนินโครงการท่ีส่งเสริมให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมท่ีส่งเสริมพัฒนาการ ด้าน ร่างกาย และด้านอารมณ์ จิตใจของเด็ก เพื่อให้ครูนำไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกิจกรรมหลักของโรงเรียน หรือจัดโครงการเพ่ิมเติม รวมท้ังสามารถนำความรู้มาวิเคราะห์ปัญหา และทำวิจัยเพื่อหาแนวทางสร้างเสริม พฒั นาการใหก้ ับเดก็ มาตรฐานท่ี 2 ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ จัดทำคู่มือประกันคุณภาพของสถานศึกษา เพื่อแนะนำแนวทางและสร้างความเข้าใจให้แก่ครูใน การดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาใหม้ ีประสิทธิภาพมากขน้ึ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ีเ่ น้นเดก็ เป็นสำคัญ การนำผลสะท้อนการจัดการเรียนการสอนของครู มาเป็นประเด็นในการจัดทำวิจัยในช้ันเรียน เพอ่ื พฒั นาผ้เู รยี น แผนพฒั นาคณุ ภาพเพอื่ ยกระดับใหส้ งู ข้นึ โรงเรียนวางแผนที่จะดำเนินการพัฒนาด้านการจัดการศึกษาเด็กปฐมวัย ช่วง (อายุ 0-ก่อน 6 ปี บริบูรณ์) ถือเป็นช่วงวัยแห่งการเจริญเติบโตท่ีสำคัญท่ีสุดของชีวิตเพราะพัฒนาการทุก ๆ ด้านทั้งทางร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ภาษา จริยธรรม และความคิดสร้างสรรค์จะสามารถเจริญเติบโตและพัฒนาได้มาก ที่สุดในช่วงดังกล่าว อันจะเป็นพ้ืนฐานท่ีสำคัญต่อการพัฒนาในช่วงวัยอื่น ๆ ของชีวิตต่อไป ซ่ึงประเทศไทยได้ ให้ความสำคัญกับประเด็นดังกล่าว โดยการพัฒนาเด็กปฐมวัยไดถ้ ูกกำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็ก ปฐมวัย ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการ ปฏิรูปประเทศ และนโยบายรัฐบาล โดยเป้าหมายและแนวทางต่าง ๆ สู่การดําเนินงานของหน่วยงานที่ เกย่ี วขอ้ ง ❖ ผลการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน โดยภาพรวม อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ โดยมีผลการประเมนิ รายมาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐาน ระดบั คณุ ภาพ 1.คณุ ภาพผเู้ รยี น ดีเลิศ 2.กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดีเลิศ 3.กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั ดเี ลศิ ดเี ลิศ สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวม รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

จุดเดน่ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผเู้ รยี น ผูเ้ รียนมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสงู ขน้ึ กลา้ แสดงออก รา่ เริงแจ่มใส สุขภาพกายแขง็ แรง มีสมรรถภาพ ทางกายและมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ ตระหนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติด เลือกรับประทานอาหาร ที่สะอาดและมีประโยชน์ รักการออกกำลังกาย และเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรมตามที่สถานศึกษากำหนด อ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง รวมท้ังสามารถเขียนเพ่ือการสื่อสารได้ สามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหา สืบค้นข้อมูลความรู้ได้ด้วยตนเอง มีวินัย เคารพกฎกติกา ระเบียบของสังคม จนเป็นเอกลักษณ์ของ สถานศึกษา เป็นที่ยอมรับของชุมชนโดยรอบในเร่ืองความ สามารถส่ือสารภาษาไทยได้เข้าใจ ชัดเจน กล้า แสดงออก มีความคดิ รเิ ร่ิม และสร้างสรรค์ ผลงานด้วยความภาคภมู ิใจ สามารถวเิ คราะห์ จำแนกแยกแยะได้ว่า สงิ่ ไหนดี สำคัญ จำเป็น รวมทั้งรู้เท่าทันสอ่ื และสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ มีความภาคภูมิใจในท้องถ่ิน ในความเปน็ ไทยและเหน็ คุณค่าเก่ียวกบั ภมู ิปัญญาไทย มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ผู้บริหารมีความตั้งใจ มีความมุ่งมั่น มีหลักการบริหารและมีวิสัยทัศน์ท่ีดีในการบริหารงาน สามารถ เปน็ แบบอย่างท่ีดใี นการทำงาน มกี ารบริหารและการจัดการอย่างเปน็ ระบบ แบ่งโครงสรา้ งการบริหารงานเป็น 4 กลมุ่ งาน ยึดหลักการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานและคณะกรรมการสถานศึกษามีความต้ังใจ และมีความ พร้อมในการปฏิบตั ิหน้าที่ตามบทบาทใชเ้ ทคนิคการประชุมท่ีหลากหลายวิธี มีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพการ จดั การศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ทส่ี อดคล้องกบั ผลการจัด การศกึ ษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และ นโยบายการปฏริ ปู การศกึ ษา มีแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา ท่สี อดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุก กลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มี ความรู้ความเช่ียวชาญตามมาตรฐานตำแหน่ง มีข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมทาง กายภาพและสังคม ท่กี ระตุ้นผูเ้ รียนให้ใฝ่เรียนรู้ มีการดำเนินการนเิ ทศ กำกบั ติดตาม ประเมินผลการ ดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการจัด การศึกษา ใช้กระบวนการวิจัยในการรวบรวม ข้อมูล เพ่ือใช้เป็นฐาน ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษา มีการระดมทรัพยากร เพ่ือการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาจาก ผู้ปกครองนักเรียน ส่งผลให้โรงเรียนมี สื่อ และแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ โรงเรียนให้ความสำคัญกับการ ดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เน้นการสร้างความเข้าใจและให้ความรู้ด้านการประกัน คุณภาพการศึกษากับคณะครู บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เน้นการมีส่วนร่วมของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการ ซงึ่ เปน็ ตัวแทนจากทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โรงเรียนได้มีการพัฒนาระบบ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาทั้ง 8 ข้อ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ ครูพัฒนาตนเองอย่เู สมอ มีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ีอยา่ งเตม็ เวลา และเต็มความสามารถ จัดกิจกรรมให้นักเรยี นแสวงหาความรูจ้ ากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอยา่ งต่อเน่ือง ให้นักเรียนมสี ่วนร่วมในการ จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ จัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้จากการคิดได้ปฏิบัติจริงด้วย วิธีการและแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ผลงานวิจัยในช้ันเรียนของครูทุกคน ได้รับการตรวจประเมินและ คำแนะนำจากคณะกรรมการ ครูทุกคนจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีความต้ังใจ มุ่งม่ันใน การพัฒนาการสอน ทำวิจัยในช้ันเรียน ปีการศึกษาละ 1 เรื่อง โดยจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้จาก ส่ือ เทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ ครูทุกคนได้รับการพัฒนาตามโครงการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา และแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการศึกษาของนักเรียน รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

จุดที่ควรพฒั นา มาตรฐานท่ี 1 ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ผู้เรียนมากขึ้น สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ให้มีความ เข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาและการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาผู้เรียนทุก ระดับชั้นยังต้องเร่งพัฒนาความสามารถ ในการอ่าน การเขียน และการสื่อสารภาษาอังกฤษ และการคิด คำนวณ โรงเรียนควรพัฒนาระบบเครือข่ายไร้สายให้ รวดเร็ว และกว้างขวาง เพ่ือบริการผู้เรียน ในการสืบค้น ข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จากส่ือ เทคโนโลยีไดด้ ว้ ยตนเอง มาตรฐานที่ 2 โรงเรียนควรจัดกิจกรรมเน้นให้ผู้เรียนได้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดสังเคราะห์ อย่าง หลากหลายและใช้แหล่งเรียนรู้ในการพัฒนาตนเอง สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดตามหลักสูตร การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ส่ือเทคโนโลยีให้มากข้ึน และพัฒนาส่ือ แหล่งเรียนรู้ จัดเตรียมห้องปฏิบัติการให้อยู่ในสภาพดีและพร้อมใช้งานเสมอ และสร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วน เกย่ี วข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรยี นใหม้ ีความ เข้มแขง็ และมสี ่วนร่วมรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจัด การศึกษา และการขบั เคลือ่ นคณุ ภาพการจัด การศกึ ษา มาตรฐานท3ี่ ครูควรมีการบรู ณาการภาระงาน ชิ้นงาน โดยจัดทำหน่วยบูรณาการอาเซียนและเศรษฐกิจพอเพียง มี การประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของ สื่อการสอนท่ีใช้ และควรจัดการประชุมปฏิบัติการผลิตส่ือ เทคโนโลยี ให้กับครูผู้สอนทุกคน รวมไปถึงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย มีความ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และธรรมชาติของรายวิชา มีการให้ข้อมูลผลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อ นำไปใชพ้ ฒั นาตนเอง แผนพัฒนาคณุ ภาพเพื่อยกระดับให้สงู ขึน้ สถานศึกษาจัดให้มีการส่งเสริมให้ครูเห็นความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการจัด กิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ตามความสนใจได้ มากยิ่งขึ้น มีการจัดอบรมส่งเสริมการพัฒนาความสามารถครูและบุคลากรให้มีความร้เู ท่าทันการเปล่ียนแปลง ของสถานการณ์โลก และมุ่งพัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียนเพื่อให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ มีการนำเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการศึกษา มาประยุกต์ใช้ในการจัดการศึกษาให้ครอบคลุมทุกด้าน รวมไปถึงการประสานและ เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการและพัฒนาสถานศึกษา ส่งเสริมสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยของผู้เรียนตามสขุ บัญญัติ 10 ประการ เพ่ือให้ผ้เู รียนสามารถอยู่ร่วมกับครอบครัว ชมุ ชนได้ อยา่ งมคี วามสุข และเป็นพลเมืองทดี่ ีของสังคมตอ่ ไป รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 1 1.1 ขอ้ มลู ท่วั ไป ช่ือสถานศึกษาโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ชื่อสถานศึกษา(อังกฤษ) : Nikomsangton-Aeng 3 รหัสโรงเรียน 10 หลัก: 1031260285 ตั้งอยู่เลขที่ - หมู่ท่ี 6 ตำบลบึงเจริญ อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสไปรษณีย์ 31180 โทรศัพท์ 088-5946891 Facebook page: โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 สพป.บุรีรัมย์ เขต 2 กลุ่มบ้านกรวด 4 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 เปิดสอนระดับช้ัน อนุบาลปีท่ี 2 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เขตพื้นท่ีบริการ 5 หมู่บ้าน ไดแ้ ก่ หมู่ที่ 6 หมู่ท่ี 7 หมู่ท่ี 13 ตำบล บึงเจริญ หมู่ท่ี 10 ตำบลปราสาท วัน-เดือน-ปี ก่อต้ัง: 2 พฤษภาคม 2509 โดยใช้งบประมาณของกรม ประชาสงเคราะห์ มีผ้ปู กครองนิคมสร้างตนเองบ้านกรวดเป็นผู้ก่อต้ัง ตง้ั อยู่บ้านสายตรี 4 หมู่ 6 ตำบลบึงเจริญ อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรรี ัมย์ มีเนือ้ ท่ี 45 ไร่ 45 ตารางวา เปดิ ทำการสอนครั้งแรกในระดับ ป.1-ป.4 มีนาย ชาย เจตินัย เป็นครูใหญ่และนายวิจิตร พุทไธสง เป็นครูผู้สอนนักเรียนชาย 36 คน นักเรียนหญิง 36 คน รวม 72 คน ผ้บู ริหารคนปัจจุบันช่อื นางสงวน อรัญเพ่ิม วทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท สาขาการบรหิ ารการศึกษา ดำรงตำแหน่งท่ีโรงเรยี นน้ตี งั้ แต่ 10 กมุ ภาพันธ์ 2564 รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 2 โครงสร้างการบรหิ ารงาน โครงสร้างการบริหารงานโรงเรยี นนิคมสรา้ งตนเอง 3 คำขวญั ของโรงเรียน มีวนิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ สู้งาน ประสานชมุ ชน ปรัชญาโรงเรียน นต.ถิ ปญ.ญา สมาอาภา แสงสว่างเสมอด้วยปญั ญาไม่มี ตราสัญลกั ษณ์ของโรงเรยี น อตั ลกั ษณ์ จดั ตกแต่งสถานทด่ี ้วยผา้ เอกลักษณ์ ย้ิมงา่ ยไหว้สวย รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 3 วสิ ยั ทัศน(์ VISION) สร้างโอกาสทางการศึกษา มุ่งพัฒนาคุณภาพสู่ผู้เรียน เปล่ียนบรรยากาศให้น่าเรียนรู้ ควบคู่ การปลูกฝงั คณุ ธรรม พร้อมนอ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง พนั ธกจิ (MISSION) 1. เพิม่ ชอ่ งทางให้ผเู้ รียน ได้มีโอกาสทางการศึกษา 2. พฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติ 3. ปรับปรงุ และพัฒนา สื่อ แหลง่ เรยี นรู้ ให้เหมาะสมกับผู้เรียน 4. ส่งเสริม พฒั นา ผเู้ รยี นใหม้ คี ุณธรรม และคา่ นยิ ม 12 ประการ 5. พัฒนาผเู้ รยี น และคณะครูให้เปน็ องคก์ รแห่งการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป้าประสงค์(Goal) 1. ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์และค่านิยมหลัก 12 ประการ ดำรงชวี ิตตามหลกั การของเศรษฐกิจพอเพยี งยู่ในสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ 2. สถานศึกษาส่งเสริมครใู ห้ไดร้ ับการพฒั นาเป็นครมู ืออาชีพอยา่ งเหมาะสม และตอ่ เนอื่ ง 3. สถานศึกษาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนกับโรงเรียนสร้างภาคี เครอื ขา่ ยระดมทรพั ยากรในการพัฒนาการศึกษาและมุ่งสู่ประชาคมอาเซยี น พันธกจิ (MISSION) 1. เพม่ิ ชอ่ งทางใหผ้ เู้ รียน ได้มีโอกาสทางการศึกษา 2. พฒั นาผูเ้ รยี นให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาชาติ 3. ปรบั ปรุงและพัฒนา สอ่ื แหลง่ เรยี นรู้ ให้เหมาะสมกบั ผู้เรยี น 4. ส่งเสรมิ พัฒนา ผ้เู รียนใหม้ คี ุณธรรม และค่านิยม 12 ประการ 5. พัฒนาผเู้ รยี น และคณะครูให้เป็นองคก์ รแห่งการเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เป้าประสงค์(Goal) 1. ผู้เรยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐานสากล มีคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์และคา่ นิยมหลัก 12 ประการ ดำรงชวี ิตตามหลักการของเศรษฐกจิ พอเพยี งยู่ในสังคมได้อยา่ งมคี วามสขุ 2. สถานศกึ ษาสง่ เสรมิ ครูให้ไดร้ ับการพัฒนาเปน็ ครมู ืออาชีพอยา่ งเหมาะสม และต่อเนื่อง 3. สถานศกึ ษาเปน็ องค์กรแห่งการเรียนรู้สรา้ งความสัมพันธอ์ นั ดรี ะหวา่ งชุมชนกับโรงเรียนสร้างภาคี เครอื ข่ายระดมทรพั ยากรในการพฒั นาการศึกษาและมงุ่ สู่ประชาคมอาเซียน รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 4 1.2 ขอ้ มูลอาคารสถานที่ ชอ่ื อาคาร จำนวน(หลงั ) จำนวน(ห้อง) ใชส้ ำหรบั 4 -ห้องเรียนชั้นอนุบาล 2 อาคารอนบุ าล 1 -ห้องเรียนชน้ั อนุบาล 3 4 -ห้องสมุด อาคาร ป.1-3 1 -ห้องการเงินและพสั ดุ 4 -ห้องเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 อาคาร ป.4-6 1 -หอ้ งเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 6 -ห้องเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 อาคารมธั ยม ม.1-3 1 -ห้องพยาบาล มเี ตยี ง 2 เตียง แยก ชาย-หญิง 4 -หอ้ งเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 อาคารอำนวยการ 1 2 -หอ้ งเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หอ้ งครวั 1 2 -หอ้ งเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 อาคารอเนกประสงค์ 1 7 -หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ 1 -หอ้ งเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 (2 หอ้ ง) หอ้ งนำ้ 1 1 -หอ้ งเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 -หอ้ งเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงอาหาร 1 -หอ้ งปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตร์ โรงรถ 1 -หอ้ งปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์ -ห้องประชุม -ห้องผูบ้ ริหาร -ห้องธุรการ -ห้องพกั ครู -เก็บอปุ กรณ์เครอื่ งครวั -ประกอบอาหาร -เกบ็ พัสดขุ องโรงเรียน -เกบ็ เอกสารของโรงเรยี น -ประชมุ ผปู้ กครอง,นักเรียน,จัดกจิ กรรมต่างๆ -หอ้ งน้ำชาย 2 หอ้ ง -หอ้ งนำ้ หญงิ 5 หอ้ ง -ห้องน้ำครูชาย-หญิง 2 หอ้ ง -สำหรบั รับประทานอาหารของนกั เรยี น -สำหรับขายอาหารนักเรยี น สำหรับจอดรถครู และนกั เรียน รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 5 1.3 ข้อมูลครูและบคุ ลากร 1) จำนวนข้าราชการครูและบุคลากร ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการ รอง ครูผ้สู อน พนักงาน ครอู ตั รา นักการ เจา้ หนา้ ผอู้ ำนวยการ ราชการ จ้าง ภารโรง ทอ่ี ่ืนๆ ปฐมวัย ป.1-6 ม.1-3 จำนวน(คน) 1 0 1 0 0 1 295 จานวนข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 10 5 0 ผอู้ าํ นวยการ รองผอู้ ํานวยการ ครผู สู้ อนปฐมวัย ครูผสู้ อน ป.1-6 ครูผ้สู อน ม.1-3 พนักงานราชการ ครูอตั ราจ้าง นักการภารโรง เจ้าหน้าทอ่ี ื่น ๆ จํานวน 1 0 2 9 5 1 0 0 1 2) วิทยฐานะ ครูผู้ชว่ ย คศ.1 คศ.2 คศ.3 คศ.4 2 1 5 9 0 วิทยฐานะ จำนวน (คน) วทิ ยฐานะของขา้ ราชการครู ปีการศกึ ษา 2564 คศ.4 ครูผู้ช่วย 0% 12%คศ.1 6% คศ.3 53% คศ.2 29% ครูผ้ชู ่วย คศ.1 คศ.2 คศ.3 คศ.4 3) วุฒิการศกึ ษาสงู สุดขอบคุ ลากร วฒุ ิการศึกษา ม.6 ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ป.บัณฑิต ปริญญาโท ปริญญาเอก จำนวน (คน) 0 0 0 10 0 9 0 วฒุ ิการศึกษาสงู สดุ ของบคุ ลากร ปีการศึกษา 2564 ม.6 ปวช. ปวส. ปรญิ ญาตรี ป.บัณฑิต ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก 0% 5% 0% 0% 45% 50% 0% รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 6 4) สาขาวชิ าท่ีจบการศึกษาและภาระงานสอน จำนวน ภาระงานสอนเฉลยี่ ของครู 1 คนในแตล่ ะ (คน) สาขาวชิ า(ชม./สปั ดาห)์ สาขาวชิ า 2 20 1 20 ภาษาไทย 1 20 คณิตศาสตร์ 1 20 วทิ ยาศาสตร์ 1 20 ชวี วิทยา 4 20 วทิ ยาศาสตร์การกีฬา 1 20 สงั คมศึกษา 1 20 เทคโนโลยกี ารศึกษาและคอมพวิ เตอร์ศึกษา 1 20 ปฐมวัย 2 20 ภาษาอังกฤษ 1 20 ประถมศกึ ษา 1 20 นาฎศิลป์ เทคโนโลยีการศกึ ษา สาขาวิชาทจี่ บการศกึ ษาและภาระงานสอนของครู 30 20 10 0 จาํ นวน (คน) ภาระงานสอนเฉลยี่ ของครู 1 คน 5) ช่ัวโมงการพฒั นาตนเองของครูในปีการศกึ ษา 2564 ครรู ะดบั ช้นั จำนวนช่ัวโมงการอบรม จำนวนชั่วโมงการเข้าร่วมกจิ กรรมPLC ปฐมวยั 32 6 ประถมศึกษา 18 32 มธั ยมศึกษาตอนต้น 18 41 เฉลี่ย(ช่ัวโมง) 21 35 รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 7 6) ครูตอ่ ผู้เรยี นในปกี ารศึกษา 2564 จำนวน ประเภท 1 : 13 การศกึ ษาปฐมวัย ครู 2 คน นักเรียน 26 คน 1 : 13 อัตราส่วน ครู ตอ่ เดก็ อตั ราสว่ น ห้อง ต่อ เด็ก 1 : 15 1 : 46 ระดับประถมศึกษา ครู 9 คน นักเรยี น 139 อัตราสว่ น ครู ตอ่ เดก็ 1 : 11 อตั ราสว่ น หอ้ ง ตอ่ เด็ก 1 : 22 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น อัตราส่วน ครู ตอ่ เด็ก อตั ราส่วน ห้อง ตอ่ เด็ก 1.4 ขอ้ มูลนกั เรยี น จำนวนนกั เรียนปกี ารศึกษา 2564 รวมทั้งสนิ้ 232 คน จำแนกตามระดบั ชน้ั ที่เปิดสอน ดงั นี้ ระดบั ชน้ั จำนวนห้อง ชาย หญิง รวม 15 อนุบาล 2 17 8 11 26 อนบุ าล 3 16 5 20 22 รวมอนบุ าล 2 13 13 17 26 ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 1 10 10 25 29 ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 1 13 9 139 32 ประถมศึกษาปที ่ี 3 1 9 8 19 16 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 1 8 18 66 232 ประถมศึกษาปีท่ี 5 1 13 12 ประถมศึกษาปีท่ี 6 1 14 15 รวมประถม 6 67 72 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 1 17 15 มัธยมศึกษาปที ี่ 2 1 9 10 มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 1 9 7 รวมมัธยมศึกษาตอนต้น 3 35 32 รวมทัง้ หมด 11 115 117 หมายเหตุ ขอ้ มลู ณ 23 เมษายน 2564 รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 8 จานวนนกั เรยี นชายหญงิ ระดับปฐมวัย ปีการศึกษา 2564 30 26 13 13 25 รวม อนบุ าล 20 15 15 78 11 10 65 5 อนุบาล 3 ชาย หญิง รวม 0 อนบุ าล 2 จานวนนกั เรียนชายหญิงระดบั ประถมศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 150 139 100 69 70 50 10 10 20 13 9 22 9 8 17 8 18 26 13 12 25 16 13 29 รวม 0 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 2 ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5 ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ชาย หญิง รวม จานวนนักเรยี นชายหญิงระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ปี 2564 80 19 15 66 9 10 87 34 32 60 40 32 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 รวม 17 15 20 0 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ชาย หญิง รวม รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 9 1.5 ผลการจัดการศกึ ษาตามหลักสูตรสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาปฐมวยั 1) ผลพัฒนาการเดก็ ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 พัฒนาการ จำนวน ดี พอใช้ ปรบั ปรุง จำนวน ดี พอใช้ ปรบั ปรุง จำนวน ดี พอใช้ ปรับปรุง ด้านร่างกาย เดก็ เด็ก รอ้ ยละ รอ้ ย รอ้ ยละ เด็ก รอ้ ยละ รอ้ ย รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ละ ละ 35 100 36 100 26 100 ด้านอารมณแ์ ละจิตใจ 35 100 36 100 26 100 ดา้ นสงั คม 35 88.57 11.43 36 100 26 100 ด้านสตปิ ญั ญา (34) (2) 35 88.89 11.12 36 96.15 3.85 26 96.15 3.85 (32) (4) (25) (1) (25) (1) ผลการประเมนิ พฒั นาการของเดก็ ระดับปฐมวยั ปีการศกึ ษา 2564 100.00 80.00 60.00 40.00 20.00 0.00 ระดบั ดี ระดบั พอใช้ ระดบั ปรบั ปรุง รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 10 2) ผสู้ ำเรจ็ การศึกษาช้นั อนุบาล 3 ปกี ารศกึ ษา จำนวนนกั เรยี น (คน) จำนวนนักเรียนที่จบ (คน) รอ้ ยละนักเรียนท่ีจบ ปี 2562 19 19 100 ปี 2563 17 17 100 ปี 2564 11 11 100 ผู้สาเรจ็ การศกึ ษาชั้นอนบุ าล 3 รอ้ ยละนักเรยี นทจี่ บ 100 100 100 100 50 0 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2562 จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบร้อยละและจำนวนนักเรียนท่ีสำเร็จการศึกษาชั้นอนุบาล 3 จำแนกตามปกี ารศึกษา 2562-2564 พบวา่ ปีการศึกษา 2562 นักเรยี นจำนวน 19 คน สำเรจ็ การศกึ ษาจำนวน 19 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 ปีการศึกษา 2563 นักเรียนจำนวน 17 คน สำเรจ็ การศกึ ษาจำนวน 17 คน คดิ เป็น ร้อยละ 100 ปีการศกึ ษา 2564 นกั เรยี นจำนวน 11 คน สำเร็จการศึกษาจำนวน 11 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 11 2.1.1) ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศกึ ษา 1) ร้อยละของนกั เรยี นท่ีมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 อยู่ในระดบั ดขี ้ึนไป ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1-6 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวนนกั เรยี นทไี่ ด้เกรด 3 ขนึ้ ไป รวม น.ร. คดิ เป็น ร้อยละ วชิ า ระดับ 3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ข้นึ ไป 61.59 57.24 ภาษาไทย 11 13 9 15 16 21 85 58.69 73.18 คณิตศาสตร์ 10 12 10 18 10 19 79 68.11 87.68 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8 8 9 21 18 17 81 56.52 84.05 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 12 14 13 21 18 23 101 45.65 78.26 ประวัติศาสตร์ 11 8 14 21 17 23 94 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 16 18 14 26 22 25 121 ศิลปะ 16 14 14 20 6 8 78 การงานอาชีพ 15 13 14 23 22 29 116 ภาษาอังกฤษ 5 12 9 16 12 9 63 หน้าท่พี ลเมอื ง 9 13 14 25 20 27 108 นักเรียนทงั้ หมดแตล่ ะชน้ั 20 22 17 26 25 29 139 รอ้ ยละของนักเรียนชน้ั ป.1-ป.6 ทีม่ ผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนระดบั ดีขน้ึ ไป จาแนกตามรายวิชา ภาษาอังกฤษ 78.26 ศิลปะ 45.65 ประวตั ศิ าสตร์ 84.05 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 56.52 ภาษาไทย 87.68 0 68.11 73.18 58.69 57.24 61.59 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ จากตารางและแผนภมู ิเปรียบเทียบร้อยละของจำนวนนกั เรียนทีม่ ผี ลการเรียนต้งั แต่ 3 ขึ้นไปจาํ แนก ตามรายวชิ า ปีการศกึ ษา 2564 พบวา่ รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษามจี ำนวนนกั เรยี นท่ไี ด้ผลการเรยี นระดบั 3 ขนึ้ ไปมากท่ีสดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 87.68 รองลงมาคือ รายวชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยี รอ้ ยละ 84.05 รายวชิ าหนา้ ท่ีพลเมือง ร้อยละ 78.26 และรายวชิ าสังคมศึกษาฯ รอ้ ยละ 73.18 ตามลำดับ รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 12 2) ผสู้ ำเรจ็ การศึกษาช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา จำนวนนกั เรียน (คน) จำนวนนกั เรียนท่ีจบ (คน) ร้อยละนักเรยี นทจ่ี บ 100 ปี 2562 22 22 100 100 ปี 2563 29 29 ปี 2564 29 29 150 ผสู้ าเรจ็ การศึกษาชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 100 100 100 100 50 ร้อยละนกั เรียนทจี่ บ 0 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2562 จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบร้อยละและจำนวนนักเรยี นทีส่ ำเรจ็ การศึกษาช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 จำแนกตามปีการศึกษา 2562-2564 พบว่า ปีการศึกษา 2562 นักเรียนจำนวน 22 คน สำเร็จการศกึ ษาจำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ปีการศึกษา 2563 นักเรียนจำนวน 29 คน สำเร็จการศึกษาจำนวน 29 คน คิด เป็นรอ้ ยละ100 ปกี ารศึกษา 2564 นกั เรียนจำนวน 29 คน สำเรจ็ การศึกษาจำนวน 29 คน เป็นร้อยละ 100 3) ร้อยละของนกั เรยี นที่มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 -3 อยใู่ นระดบั ดขี ึน้ ไป ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 -3 ปีการศึกษา 2564 วิชา จำนวนนักเรียนท่ไี ดเ้ กรด 3 ขึ้นไป รวม นร คิดเปน็ รวม นร คิดเป็น รอ้ ยละรวม ม.1 ม.2 ม.3 ภ.1.ระดับ รอ้ ยละ ภ.2.ระดบั รอ้ ยละ ปี 2564 3 ข้ึนไป 3 ขึ้นไป ภ.1 ภ.2 ภ.1 ภ.2 ภ.1 ภ.2 ภาษาไทย 5 11 8 8 10 8 23 35.93 27 42.18 39.05 คณติ ศาสตร์ 10 8 3 5 6 9 19 29.68 22 34.37 32.02 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3 1 1 4 7 5 11 17.18 10 15.62 16.4 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 22 23 11 8 13 14 46 71.87 45 70.31 71.09 ประวัตศิ าสตร์ 25 23 11 9 9 12 45 70.31 44 68.75 69.53 สขุ ศึกษา 32 32 14 8 14 14 60 93.75 54 84.37 89.06 ทัศนะศิลป์ 5 17 5 7 7 10 17 26.56 34 53.12 39.84 การงานอาชพี 32 32 13 13 14 14 59 92.18 59 92.18 92.18 ภาษาอังกฤษ 17 14 7 9 7 5 31 48.43 28 43.75 46.09 หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง (เพ่ิมเติม) 30 31 14 16 16 15 60 92.31 62 95.38 93.85 รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 13 รอ้ ยละของนักเรยี นชั้น ม.1-3 ทม่ี ีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ระดบั ดีข้นึ ไป ปีการศึกษา 2564 จาแนกตามรายวิชา ภาษาอังกฤษ 48.43 43.75 ศิลปะ 92.18 92.18 26.56 93.75 53.12 84.37 ประวตั ศิ าสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 70.31 68.75 297.61187.8.178 347.31075.3.612 ภาษาไทย 35.93 42.18 0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100% ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนต้ังแต่ 3 ข้ึนไป จาํ แนกตามรายวิชา ปีการศึกษา 2564 พบว่า รายวิชาการงานอาชีพ มีจำนวนนักเรียนท่ีได้ผลการเรยี นระดับ 3 ขนึ้ ไปมากท่ีสุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 71.25 รองลงมาคือ รายวิชาหนา้ ทพี่ ลเมือง รอ้ ยละ 68.75 ทัศนะศลิ ป์ ร้อยละ 61.87 การงานอาชีพ รอ้ ยละ 50.00 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ร้อยละ 49.37 ประวัติศาสตร์ ร้อยละ 48.75 ภาษาไทย ร้อยละ 41.87 คณิตศาสตร์ ร้อยละ 40.00 ภาษาอังกฤษ ร้อยละ 34.37 และวิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 23.75 ตามลำดบั 4) ผ้สู ำเรจ็ การศกึ ษาช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา จำนวนนกั เรยี น (คน) จำนวนนกั เรยี นท่จี บ (คน) รอ้ ยละนักเรียนที่จบ ปี 2562 20 19 95.00 ปี 2563 35 29 82.85 ปี 2564 16 15 88.23 100 ผูส้ าเร็จการศกึ ษาชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี3 95 95 90 88.23 85 82.85 ร้อยละนักเรยี นที่จบ 80 75 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 จากตารางและแผนภูมเิ ปรยี บเทยี บร้อยละและจำนวนนกั เรียนที่สำเรจ็ การศึกษาชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 จำแนกตามปกี ารศึกษา 2562-2564 พบวา่ ปีการศกึ ษา 2562 นักเรยี นจำนวน 20 คน สำเรจ็ การศึกษาจำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 95.00 ปีการศึกษา 2563 นักเรียนจำนวน 35 คน สำเร็จการศึกษาจำนวน 29 คน คิด เป็นร้อยละ 82.85 ปีการศึกษา 2564 นักเรียนจำนวน 16 คน สำเร็จการศึกษาจำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 88.23 รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 14 3) ข้อมลู ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องนักเรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 ปีการศึกษา 2564 ระดับช้ัน จำนวน จบ ดเี ยย่ี ม จำนวน/รอ้ ยละของนกั เรียนตามระดับคุณภาพ นักเรียน การศึกษา จำนวน รอ้ ยละ (คุณลักษณะอันพึงประสงค์) ทง้ั หมด ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ ป.1 20 20 20 100 0 0 0 0 0 0 ป.2 22 22 21 95.45 0 0 1 4.54 0 0 ป.3 17 17 17 100 0 0 0 0 0 0 ป.4 26 26 26 100 0 0 0 0 0 0 ป.5 25 25 25 100 0 0 0 0 0 0 ป.6 29 29 25 86.2 4 13.79 0 0 0 0 ม.1 32 32 22 68.75 10 31.25 0 0 0 0 ม.2 17 15 12 80.00 3 14.28 0 0 0 0 ม.3 16 15 11 68.75 5 31.25 0 0 0 0 รวม 208 201 179 89.05 22 12.29 1 4.54 0 0 สรุปการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปีการศึกษา2564 จํานวน ันกเ ีรยน 30 95.45 100 100 86.20 100 68.75 25 100 ป.4 ป.5 4.45 31.25 80.00 68.75 20 13.79 14.28 31.25 15 ป.2 ป.3 10 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 5 0 ป.1 ระดบั ชั้น ดเี ยยี่ ม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน จากตารางเปรียบเทียบผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึงช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 พบว่า นักเรียนทุกช้ันมีผลการประเมินในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 12.29 และมผี ลการประเมนิ ระดบั ดเี ย่ียม รอ้ ยละ 89.05 รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 15 4) ข้อมูลผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญท้งั 5 ดา้ น ของนกั เรยี นระดับขน้ั พ้นื ฐาน ปกี ารศึกษา 2564 รายการประเมิน จำนวน นร. ทัง้ หมด ผลการประเมนิ ระดับดีข้ึนไป รอ้ ยละ ผา่ น ดี ดเี ยีย่ ม ความสามารถในการส่ือสาร 205 34 88 83 171 83.34 ความสามารถในการคดิ 205 26 128 51 179 87.32 ความสามารถในการแก้ปญั หา 205 38 84 83 167 81.46 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ 205 16 107 82 189 92.20 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 205 29 91 85 176 85.85 รวม/เฉลี่ย 13.95 48.59 37.46 จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบผลการประเมินสมรรถนะสำคัญระดับข้ันพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2564 พบว่า สมรรถนะท่ีนักเรียนมีผลการประเมินระดับดีขึ้นไปสูงสุดคือ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ร้อยละ 92.20 รองลงมาคือ ความสามารถในการคิด ร้อยละ 87.32 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ร้อยละ 85.85 ความสามารถในการส่ือสาร รอ้ ยละ 83.34 และความสามารถในการแก้ปัญหา ร้อยละ 81.46 ตามลำดับ 1.6 ผลการทดสอบระดับชาตขิ องผเู้ รียน ปกี ารศกึ ษา 2564 1) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถในการอ่านชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 (RT) ประจำปีการศึกษา 2564 ดา้ น คะแนนเฉล่ียร้อยละของ คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ โรงเรียน ของระดบั เขตพ้นื ท่ี ของระดับประเทศ ด้านการอ่านออกเสียง 51.33 71.65 71.85 ด้านการอ่านรเู้ รอื่ ง 61.00 69.47 71.08 เฉลยี่ ทงั้ 2 ด้าน 56.16 70.56 71.46 ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถในการอ่านชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 (RT) ประจาปีการศึกษา 2563 100 51.33 71.65 71.85 61 69.47 71.08 56.16 70.56 71.46 0 ดา้ นการอา่ นรู้เรอื่ ง เฉล่ยี รวมทัง้ 2 ด้าน ด้านการอ่านออกเสียง คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละของโรงเรียน คะแนนเฉลย่ี ร้อยละของระดับเขตพื้นท่ี คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละของระดับประเทศ จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน (RT) จําแนกตามสมรรถนะท้ัง 2 ด้านของช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 พบว่า คะแนนเฉลี่ยในระดับ โรงเรียนท้ัง 2 ด้าน ต่ำกว่าระดับอื่น ๆ โดยได้คะแนนการอ่านออกเสียง ร้อยละ 51.33 และการอ่านรู้เร่ือง รอ้ ยละ 61.00 ตามลำดบั รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 16 2) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานผูเ้ รียนระดบั ชาติ ปกี ารศึกษา 2562 - 2564 2.1) เปรียบเทยี บผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถในการอ่านช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 (RT) และร้อยละผลต่าง ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2562 - 2564 ความสามารถ ปี 2562 ปี 2563 ผลต่าง 2562-2563 ปี 2564 ผลตา่ ง 2563- 2564 ดา้ นการอา่ นออกเสียง 25.59 44.54 +18.95 51.33 +6.79 ด้านการอา่ นรเู้ ร่อื ง 38.28 40.81 +2.58 61.00 +20.19 รวมเฉลีย่ ทั้ง 2 ดา้ น 31.94 42.68 +10.74 56.16 +13.48 เปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถในการอา่ นชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (RT) ระหวา่ งปี การศึกษา 2562-2564 100 25.59 44.54 51.33 38.28 40.81 61 31.94 42.68 56.16 ดา้ นการอ่านรเู้ รอื่ ง รวมเฉลย่ี ทั้ง 2 ด้าน 0 ดา้ นการอา่ นออกเสียง ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบค่าเฉล่ียของโรงเรียนจากผลการประเมินความสามารถด้านการ อ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) จําแนกตามความสามารถด้านการอ่านของช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปี การศึกษา 2562 – 2564 พบว่า สมรรถนะท้ังสองด้านในปี 2563 สูงกว่าปี 2562 ทั้งสองด้านเฉล่ีย +42.68 และเพ่ิมข้ึนท้ังสองด้านในปี 2564 เฉลย่ี 56.16 เม่ือเปรียบเทยี บผลตา่ งจากปี 2563 พบว่ามีผลต่าง อยูท่ ี่ +13.48 3) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานผูเ้ รยี นระดับชาติ (NT) ระดบั ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 3 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564 ด้าน คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละของ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ โรงเรยี น ของระดับเขตพน้ื ที่ ของระดบั ประเทศ ด้านคำนวณ 53.83 39.91 46.07 ดา้ นภาษา 61.79 49.13 53.84 เฉลย่ี ทั้ง 2 ด้าน 57.81 44.52 49.97 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานผูเ้ รยี นระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ประจาปีการศึกษา 2564 100 53.8339.9146.07 61.7949.1353.84 57.8144.5249.97 0 ดา้ นภาษา เฉล่ยี รวมทงั้ 2 ด้าน ด้านคํานวณ คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละของโรงเรยี น คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละของระดับเขตพนื้ ท่ี คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละของระดับประเทศ รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 17 จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบคะเเนนเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของระดับ โรงเรียนกับระดับเขตและระดับประเทศ จําแนกตามความสามารถทั้ง 2 ด้านของช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปี การศกึ ษา 2563 พบวา่ คะแนนเฉลี่ยในระดับโรงเรยี นท้ัง 2 ดา้ น สูงกว่าท้งั ระดับเขตพ้นื ทีแ่ ละระดบั ประเทศ 4) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานผู้เรียนระดบั ชาติ ปกี ารศกึ ษา 2562 - 2564 4.1) เปรยี บเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐาน ผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) และรอ้ ยละผลตา่ ง ระหวา่ งปีการศึกษา 2562 - 2564 ความสามารถ ปี 2562 ปี 2563 ผลต่าง 2562-2563 ปี 2564 ผลตา่ ง 2563-2564 ดา้ นภาษา 48.68 48.37 -0.31 53.83 +5.46 ด้านคำนวณ 52.00 46.70 -4.47 61.79 +15.09 รวมเฉลย่ี ทั้ง 2 ดา้ น 50.34 47.53 -2.81 57.81 +10.28 เปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานระดับชาติ (NT) ระหว่างปกี ารศกึ ษา 2562-2564 100 48.68 48.37 53.83 52 46.7 61.79 50.34 47.53 57.81 0 ด้านคํานวณ รวมเฉลยี่ ทง้ั 2 ดา้ น ด้านภาษา ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของโรงเรียนจากผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) จาํ แนกตามความสารถทั้ง 2 ด้าน ของชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2562-2564 พบวา่ ผลตา่ งทัง้ 2 ด้าน ระหว่างปี 2562-2563 อยู่ที่ -2.81 และผลต่างทั้ง 2 ด้านเมื่อเทียบปี 2563 และ ปี 2564 มีผลต่างอยู่ที่ +10.28 4.2) เปรยี บเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของนักเรียนระดับชาติ (NT) ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563 - 2564 จำแนกตามร้อยละของระดับคณุ ภาพ ระดับ ความสามารถดา้ นภาษา ความสามารถด้านคำนวณ คุณภาพ ปี2563 ปี 2564 ป2ี 563 ปี 2564 จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ปรับปรุง 5 20.83 1 8.33 8 33.33 0 00.00 พอใช้ 10 41.67 2 16.66 8 33.33 5 41.66 ดี 7 29.17 3 25.00 3 12.50 4 33.33 ดมี าก 2 8.33 6 50.00 5 20.83 3 25.00 รวม 24 12 24 12 รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 18 5) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานผเู้ รียนระดับชาติ (O-NET) 5.1) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานผเู้ รียนระดบั ชาติ(O-NET) ประจำปี การศกึ ษา 2564 ระดับช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 รายวิชา โรงเรยี น เขตพนื้ ที่ จงั หวดั ประเทศ ภาษาไทย (61) 46.81 49.05 50.29 50.38 ภาษาองั กฤษ (63) 32.19 32.32 35.32 39.22 คณติ ศาสตร์ (64) 28.90 34.92 35.67 36.83 วิทยาศาสตร์ (65) 29.38 32.52 33.54 34.31 แผนภมู ิเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET) ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นนิคมสรา้ งตนเอง 3 100 80 60 46.81 49.05 50.29 50.38 32.19 32.32 35.32 39.22 28.9 34.92 35.67 36.83 40 29.38 32.52 33.54 34.31 20 0 ภาษาองั กฤษ (63) คณติ ศาสตร์ (64) วทิ ยาศาสตร์ (65) ภาษาไทย (61) โรงเรียน เขตพ้ืนท่ี จงั หวดั ประเทศ 5.2) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้นื ฐานผเู้ รยี นระดบั ชาติ (O-NET) ประจำปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 รายวิชา โรงเรียน เขตพน้ื ท่ี จังหวัด ประเทศ ภาษาไทย (91) 52.21 46.65 50.55 51.19 ภาษาองั กฤษ (93) 25.42 26.18 29.09 31.11 คณติ ศาสตร์ (94) 30.02 20.91 23.60 24.47 วิทยาศาสตร์ (95) 32.47 29.42 31.16 31.45 แผนภูมิเปรียบเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นนคิ มสรา้ งตนเอง 3 100 80 60 52.21 46.65 50.55 51.19 40 25.42 26.18 29.09 31.11 30.02 20.91 23.6 24.47 32.47 29.42 31.16 31.45 20 0 ภาษาอโรังงกเฤรษียน(93) เขตพ้ืนท่ี จงั หควณัดิตศาสตปร์ร(ะ9เ4ท)ศ วิทยาศาสตร์ (95) ภาษาไทย (91) รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 19 5.3) เปรยี บเทยี บผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของนกั เรียนระดบั ชาติ (O-NET) ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2562 - 2564 รายวชิ า ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ผลต่าง (64-63) ภาษาไทย (61) 40.95 43.97 46.81 2.84 ภาษาอังกฤษ (63) 27.14 27.83 32.19 4.36 คณิตศาสตร์ (64) 23.33 22.61 28.90 6.29 วทิ ยาศาสตร์ (65) 30.49 30.35 29.38 -0.97 รวม 30.48 31.19 34.32 3.13 แผนภมู เิ ปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2562-2564 โรงเรยี นนิคมสร้างตนเอง 3 60 40.95 43.97 46.81 27.14 27.83 32.19 23.33 22.61 28.9 30.49 30.35 29.38 40 ภาษาอังกฤษ (63) คณิตศาสตร์ (64) วทิ ยาศาสตร์ (65) 20 0 ภาษาไทย (61) ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 5.4) เปรียบเทียบผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของนกั เรยี นระดบั ชาติ (O-NET) ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2561 - 2564 รายวิชา ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ผลตา่ ง (64-62) ภาษาไทย (91) 40.92 52.00 - 52.21 0.21 ภาษาองั กฤษ (93) 26.67 34.00 - 25.42 -8.58 คณติ ศาสตร์ (94) 25.33 23.29 - 30.02 6.73 วิทยาศาสตร์ (95) 30.17 30.09 - 32.47 2.38 รวม 30.77 34.84 - 35.03 0.19 แผนภูมิเปรียบเทยี บผลการทดสอบระดับชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2561-2564 โรงเรยี นนิคมสร้างตนเอง 3 60 52 52.21 40 40.92 26.67 34 25.3323.29 30.02 30.1730.09 32.47 25.42 20 0 0 0 0 ภาษาอังกฤษ (93) คณิตศาสตร์ (94) วิทยาศาสตร์ (95) 0 ภาษาไทย (91) ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 20 1.7 โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษาระดับปฐมวยั และการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ❖ โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั 1) ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย การศึกษาปฐมวยั เป็นการพัฒนาเดก็ ตั้งแต่แรกเกิด ถึง 6 ปีบริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวม บนพ้ืนฐาน การอบรมเลี้ยง และการส่งเสริมกระบวนการเรยี นรู้ทีสนองต่อธรรมชาติ และพัฒนาการของเด็กแต่ละคนตาม ศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรกั ความเอื้ออาทร และความเขา้ ใจของ ทุกคน เพ่ือสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง ครอบครวั สังคมและประเทศชาติ 2) วสิ ยั ทัศน์ สถานศึกษาเด็กปฐมวัยโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 มุ่งส่งเสริมและพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกคน ให้ได้รับ การพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง ได้รับการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีความสุขและเหมาะสมตามวัย มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและความเป็นไทย มีความพร้อมท่ีจะ เรียน ในชั้นต่อไป ภายใน 1 ปีการศึกษา โดยประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียน พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝา่ ยที่เกยี่ วข้องกบั การพฒั นาเด็ก 3) พนั ธกจิ 1. ครผู ูด้ ูแลเด็กจัดทำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรูท้ ม่ี ีคณุ ภาพ เน้นพฒั นาการท้ัง 4 ดา้ น 2. สรา้ งบรรยากาศการเรยี นร้ทู ี่ชว่ ยส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น 3. เฝ้าระวงั ดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหาร การดม่ื นมอยา่ งสม่ำเสมอ 4. จดั หาส่ือ แหลง่ การเรียนร้ทู เ่ี หมาะสมและหลากหลาย 5. มกี ารประเมนิ พัฒนาการเดก็ อยา่ งต่อเน่ือง และสม่ำเสมอ ด้วยวธิ กี ารและเครอื่ งมือทห่ี ลากหลาย 6. ครผู ู้ดแู ลเด็กไดร้ บั การพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง 7. ประสานความรว่ มมอื กับหน่วยงาน บคุ ลากร ผู้ปกครองและชมุ ชน เพือ่ ระดมความคดิ ทรพั ยากรมา ชว่ ยเหลอื ในการจัดการศึกษาในระดับปฐมวยั 4) เปา้ หมาย 1. เด็กปฐมวยั ทุกคนได้รับการพฒั นาการท้งั 4 ด้าน คอื ดา้ นรา่ งกาย อารมณจ์ ิตใจ สังคมและสติปัญญา 2. ครูผ้ดู แู ลเดก็ มีแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ทด่ี ี 3. เด็กระดับปฐมวัยทุกคน ได้รับการประเมินพัฒนาการและนำผลการประเมินนั้นไปปรับปรุงและพัฒนา แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 4. เด็กปฐมวัยทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามสภาพที่เอ้ือต่อการ เรียนรู้ 5. เด็กปฐมวัยได้มีการจัดบรรยากาศการเรียนรู้อย่างเหมาะสม การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม อยู่ร่วมกบั สงั คม ตามสภาพของท้องถิ่น ไดอ้ ย่างมคี วามสุข 5. เด็กปฐมวยั มีส่ือและแหลง่ การเรียนรทู้ เี่ หมาะสมและหลากหลายเดก็ มโี อกาสได้เรยี นรู้และสัมผัสจริง 6. ครผู ู้ดแู ลเดก็ เข้ารบั การอบรมทุกครงั้ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการศึกษาปฐมวัย 7. หนว่ ยงาน บุคลากร ผูป้ กครองและชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและพฒั นาหลักสูตร รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 21 ตารางวิเคราะห์มาตรฐาน / ตัวบง่ ชี้ และสภาพที่พงึ ประสงค์ ช้ันปฐมวัย (อายุ 3 – 6 ปี) พัฒนาการ มาตรฐาน ตวั บง่ ชี้ สภาพที่พงึ ประสงค์ ดา้ นรา่ งกาย มาตรฐานท่ี 1รา่ งกาย ตวั บง่ ชี้ท่ี 1.1 น้ำหนกั และ 1. มนี ้ำหนักตามเกณฑ์ของกรมอนามยั เจรญิ เตบิ โตตามวยั สว่ นสูงตามเกณฑ์ 2. มีส่วนสูงตามเกณฑข์ องกรมอนามัย และมสี ุขนิสยั ทด่ี ี ตวั บ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย 1. รับประทานอาหารทมี่ ีประโยชนแ์ ละด่ืมน้ำสะอาดเมอ่ื สขุ นสิ ยั ที่ดี มผี ชู้ ีแ้ นะ มาตรฐานที่ 2 2. ล้างมือกอ่ นรับประทานอาหารและหลงั จากการใช้ กล้ามเน้ือใหญแ่ ละ ตัวบง่ ชี้ที่ 1.3 รกั ษาความ หอ้ งนำ้ หอ้ งสว้ มเมอื่ มีผู้ชี้แนะ กล้ามเนื้อเลก็ แข็งแรง ปลอดภยั ของตนเองและผอู้ ่ืน 3. นอนพกั ผ่อนเป็นเวลา ใช้ได้อยา่ งคล่องแคล่ว 4. ออกกำลงั กายเป็นเวลา และประสาน ตวั บ่งช้ีที่ 2.1 เคลื่อนไหว 1. เล่น และทำกจิ กรรมอยา่ งปลอดภัยเมอ่ื มีผู้ช้ีแนะ สัมพันธก์ ัน ร่างกายอยา่ งคล่องแคลว่ 2. เล่นอย่างปลอดภยั ตามคำแนะนำของผู้ใหญ่ ประสานสัมพนั ธ์ และทรงตัว 3. ร้จู ักถอื ของแหลมคมทกุ ชนิดอยา่ งปลอดภัย โดยไม่วงิ่ ได้ 1. เดินตามแนวท่กี ำหนดได้ ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ใชม้ ือ-ตา 2. กระโดดสองขาขึ้นลงอยู่กบั ที่ได้ ประสานสัมพันธ์กนั 3. วิ่งและหยุดได้ 4. รับลกู บอลโดยใชม้ อื และลำตัวช่วย 1. ใช้กรรไกรตัดกระดาษขาดจากกันไดโ้ ดยใชม้ ือเดียว 2. เขยี นรปู วงกลมตามแบบได้ 3. ร้อยวัสดทุ ีม่ รี ขู นาดเสน้ ผ่าศูนย์กลาง 1 เซนติเมตรได้ พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บ่งชี้ สภาพท่พี ึงประสงค์ ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ มาตรฐานท่ี 3 มี ตวั บ่งชีท้ ี่ 3.1 แสดงออกทาง 1. แสดงอารมณ์ ความรสู้ ึกไดเ้ หมาะสมกับบาง สุขภาพจติ ดแี ละมี อารมณไ์ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม สถานการณ์ ความสุข 2. ควบคุมอารมณ์ของตนเองไดเ้ มอ่ื ประสบ เหตกุ ารณท์ ีไ่ มพ่ อใจหรอื เมอ่ื ทำกจิ กรรมท่ยี าก โดยมี ผูใ้ หญ่ชว่ ย ตัวบ่งช้ีที่ 3.2 มีความร้สู กึ ท่ี 1. กล้าพดู กล้าแสดงออก ดีตอ่ ตนเองและผู้อน่ื 2. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง มาตรฐานที่ 4 ชื่น ตัวบง่ ชท้ี ี่ 4.1 สนใจ มี 1. สนใจ มคี วามสุข และแสดงออกผ่านงานศลิ ปะ ชมและแสดงออกทาง ความสขุ และ แสดงออกผา่ น 2. สนใจ มีความสุข และแสดงออกผ่านเสยี งเพลง ดนตรี ศิลปะ ดนตรี การ งานศลิ ปะ ดนตรี และการ 3. สนใจ มีความสขุ และ แสดงท่าทาง/เคลื่อนไหว เคล่อื นไหว เคลื่อนไหว ประกอบเพลง จังหวะ และดนตรี มาตรฐานท่ี 5 มี ตัวบง่ ชที้ ่ี 5.1 ซือ่ สัตยส์ จุ รติ 1. บอกหรือชไ้ี ด้ว่าส่งิ ใดเปน็ ของตนเองและสงิ่ ใดเปน็ คุณธรรม จรยิ ธรรม ของผอู้ น่ื และมจี ิตใจที่ดีงาม 2. ไม่ลกั ขโมยเม่อื มีผู้ชแี้ นะ 3. มีความรบั ผดิ ชอบเมือ่ มผี ู้ชแ้ี นะ รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 22 พัฒนาการ มาตรฐาน ตวั บง่ ชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ ดา้ นสงั คม ตัวบง่ ชท้ี ่ี 5.2 มคี วามเมตตา 1. แบ่งปนั ผอู้ ืน่ ไดเ้ มื่อมผี ้ชู ี้แนะ มาตรฐานที่ 6 มี กรุณา มนี ้ำใจและชว่ ยเหลือ 2. ไม่เห็นแกต่ วั เมือ่ มผี ชู้ แี้ นะ ดา้ นสตปิ ัญญา ทักษะชวี ติ และ แบ่งปนั 3. แสดงสหี น้า หรือทา่ ทางรบั รู้ความรสู้ กึ ของผอู้ ืน่ สามารถปฏบิ ตั ติ น ตวั บ่งชี้ท่ี 6.1 ชว่ ยเหลอื 1. แต่งตัวโดยมผี ูช้ ว่ ยเหลือ ตามหลักปรชั ญาของ ตนเองในการปฏบิ ัติกจิ วตั ร 2. รับประทานอาหารดว้ ยตนเอง เศรษฐกจิ พอเพียง ประจำวนั 3. ใช้หอ้ งนำ้ ห้องสว้ มโดยมีผ้ชู ว่ ยเหลือ ตวั บ่งชี้ท่ี 6.2 มีวินัยใน 1. เกบ็ ของเลน่ ของใช้เข้าทีเ่ ม่อื มีผชู้ แ้ี นะ มาตรฐานท่ี 7 รัก ตนเอง 2. เขา้ แถวตามลำดับก่อนหลงั ได้เมอื่ มผี ชู้ ี้แนะ ธรรมชาติ ตวั บง่ ชที้ ี่ 6.3 ประหยัดและ 1. ใช้สิ่งของเครอื่ งใช้อยา่ งประหยดั เม่อื มผี ู้ชแ้ี นะ ส่ิงแวดล้อม พอเพยี ง 2. รู้จักความเพียงพอ ความพอดีเม่ือมผี ชู้ ้แี นะ วัฒนธรรมและความ ตวั บ่งชที้ ี่ 7.1 ดูแลรักษา 1. มสี ว่ นร่วมดแู ลดูแลรกั ษาธรรมชาติ และ เป็นไทย ธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม ส่งิ แวดล้อมเมอ่ื มผี ้ชู แี้ นะ 2. ทง้ิ ขยะได้ถูกท่ี มาตรฐานท่ี 8 อยู่ ตวั บง่ ชท้ี ่ี 7.2 มีมารยาทตาม 1. ปฏิบตั ิตามมารยาทไทยได้เมอื่ มผี ชู้ ี้แนะ ร่วมกบั ผ้อู ่นื ไดอ้ ยา่ งมี วฒั นธรรมไทย และรกั ความ 2. กล่าวคำขอบคณุ และขอโทษไดเ้ มอื่ มผี ูช้ ้ีแนะ ความสุข และปฏิบัติ เป็นไทย 3. หยุดยืนเมือ่ ไดย้ นิ เพลงชาตไิ ทยและเพลง ตนเป็นสมาชกิ ที่ดี สรรเสริญพระบารมี ของสังคมในระบอบ ตัวบ่งชท้ี ่ี 8.1 ยอมรับความ 1. ปฏิบัติตนอยา่ งสภุ าพกับทกุ คนปฏบิ ตั ิตนอยา่ ง ประชาธิปไตยอันมี เหมือนและความแตกตา่ ง สภุ าพกับทุกคน พระมหากษตั รยิ ท์ รง ระหวา่ งบุคคล 2. เล่นรว่ มกับเดก็ ทแ่ี ตกตา่ งไปจากตนเมอื่ มผี ้ชู แ้ี นะ เป็นประมขุ ตัวบง่ ชท้ี ี่ 8.2 มีปฏสิ มั พันธ์ท่ี 1. เล่นร่วมกับเด็กอืน่ ดีกับผ้อู ่ืน 2. พดู คยุ และเล่นกบั เพ่ือนเด็กดว้ ยกนั มาตรฐานที่ 9 ใช้ ตัวบ่งชี้ท่ี 8.3 ปฏบิ ัตติ น 1. ปฏบิ ัติตามข้อตกลงเม่อื มผี ชู้ แี้ นะ ภาษาส่ือสารได้ เบ้ืองต้นในการเปน็ สมาชิกท่ี 2. ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผนู้ ำ และผตู้ ามได้เมอื่ มผี ู้ช้ีแนะ เหมาะสมกบั วัย ดขี องสังคม 3. ยอมรบั การประนปี ระนอมแก้ไขปัญหาเมือ่ มีผชู้ แี้ นะ ตัวบง่ ชี้ที่ 8.4 มีความเขา้ ใจ 1. บอกลกั ษณะบางประการของสมาชิกในครอบครัวได้ เก่ียวกบั สงั คมรอบตัว 2. บอกบทบาทและการงานอาชพี ของคนตา่ ง ๆ ใน ชมุ ชนได้บ้าง ตัวบ่งชท้ี ี่ 9.1 สนทนา 3. บอกส่ิงดีๆ ในทอ้ งถ่นิ ไดบ้ ้าง โตต้ อบและเลา่ เร่อื งให้ผู้อื่น 4. บอกช่อื ประเทศ ธงชาติ ภาษาทกั ทายใน เขา้ ใจ ประชาคมอาเซียนได้บา้ ง ตัวบ่งชีท้ ี่ 9.2 อา่ น เขียน 1. ฟงั ผอู้ ่นื พดู จนจบและสนทนาโต้ตอบเรอื่ งทฟ่ี ัง ภาพหรือสญั ลกั ษณไ์ ด้ 2. เล่าเร่อื งด้วยประโยคสัน้ ๆ 1. อ่านและพูดขอ้ ความดว้ ยภาษาของตน 2. เขยี นขีดเขี่ยอยา่ งมที ศิ ทาง 3. อา่ นคำพน้ื ฐานไดบ้ ้างเม่อื มีผชู้ แี้ นะ รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 23 พฒั นาการ มาตรฐาน ตัวบง่ ช้ี สภาพท่พี งึ ประสงค์ มาตรฐานที่ 10 มี ความสามารถในการ ตวั บ่งช้ีท่ี 10.1 มีความ 1. บอกลกั ษณะ ของส่งิ ต่างๆ จากการสังเกต โดยใช้ คิด ที่เป็นพนื้ ฐานใน การเรียนรู้ สามารถในการคดิ รวบยอด ประสาทสมั ผสั มาตรฐานท่ี 11 มี 2. จับคหู่ รอื เปรยี บเทยี บสิง่ ตา่ งๆโดยใชล้ กั ษณะหรือ จินตนาการ และ ความคดิ สร้างสรรค์ หนา้ ที่การใชง้ านเพยี งลักษณะเดียว มาตรฐานท่ี 12 มี 3. คดั แยกสงิ่ ต่างๆตามลกั ษณะการใชง้ าน เจตคตทิ ีด่ ตี อ่ การ เรยี นรู้ และมี 4. เรียงลำดับสิง่ ของและเหตุการณอ์ ย่างน้อย 3 ลำดับ ความสามารถในการ แสวงหาความรไู้ ด้ ตวั บง่ ชีท้ ่ี 10.2 มคี วาม 1. ระบุผลท่เี กิดขนึ้ ในเหตกุ ารณห์ รอื การกระทำเม่ือ เหมาะสมกับวัย สามารถในการคิดเชิงเหตุผล มผี ชู้ ี้แนะ 2. คาดเดา หรอื คาดคะเนสิ่งทอี่ าจจะเกิดขน้ึ ตัวบ่งชี้ท่ี 10.3 มี 1. ตดั สนิ ใจในเร่อื งงา่ ยๆ ความสามารถในการคดิ 2. แก้ปัญหาโดยการลองผดิ ลองถกู แกป้ ญั หาหรอื ตดั สินใจ ตัวบง่ ชีท้ ่ี 11.1 ทำงานศลิ ปะ 1. สรา้ งผลงานศิลปะเพื่อสอื่ สารความคดิ ความรู้สกึ ตามจนิ ตนาการและ ของตนเอง ความคิดสร้างสรรค์ 2. ต่อของเล่นเปน็ รปู รา่ งหรือเรือ่ งราวตาม จินตนาการของตนเอง ตวั บง่ ช้ที ่ี 11.2 แสดงท่าทาง 1. เคลือ่ นไหวทา่ ทางเพอ่ื สื่อสารความคดิ ความรสู้ กึ / เคลือ่ นไหวตามจินตนาการ ของตนเอง อย่างสร้างสรรค์ 2. แสดงท่าทางหรือบทบาทสมมตติ ามจนิ ตนาการได้ ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติทด่ี ี 1. สนใจฟังหรืออ่านตวั หนงั สือดว้ ยตนเอง ต่อการเรยี นรู้ 2. กระตือรือร้นในการรว่ มกจิ กรรม ตวั บ่งชที้ ่ี 12.2 มี 1. คน้ หาคำตอบของขอ้ สงสยั ตา่ งๆ ตามวิธกี ารทม่ี ผี ู้ ความสามารถในการ ชีแ้ นะ แสวงหาความรู้ 2. ใชป้ ระโยคคำถามวา่ “ใคร” “อะไร” ในการ ค้นหาคำตอบ รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 24 ❖ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2564) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) จัดการศึกษา ดังนี้ โรงเรียนนคิ มสร้างตนเอง 3 ได้จัดเวลาเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุม่ สาระและกิจกรรมพัฒนา ผูเ้ รยี น โดยจดั ให้เหมาะสมตามบริบท จดุ เน้นของโรงเรยี นและสภาพของผูเ้ รียน ดงั นี้ ระดับประถมศึกษา : กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนพ้ืนฐานสำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม มี เวลาเรียนรวม 840 ชั่วโมงต่อปี กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 ช่ัวโมงต่อปี และรายวิชา/กิจกรรมท่ี สถานศึกษา จัดเพิ่มติมตามความพร้อมและจุดเน้นไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมงต่อปี รวมไม่น้อยกว่า 1,000 ช่ัวโมงต่อปี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานสำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม มีเวลาเรียนรวม 880 ชั่วโมงต่อปี (22 หน่วยกิต) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 ช่ัวโมงต่อปี และรายวิชา/ กจิ กรรมท่ีสถานศึกษาจดั เพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้นปีละไม่น้อยกวา่ 200 ชั่วโมงต่อปี รวมไมน่ ้อยกว่า 1,200 ช่วั โมงตอ่ ปี โครงสรา้ งหลักสตู ร โครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเอง 3 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2564) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ประกอบดว้ ย โครงสร้างเวลาเรียนและโครงสร้างหลักสูตรชนั้ ปี ดงั น้ี รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 25 • โครงสร้างเวลาเรยี น ระดบั ประถมศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นร้/ู กจิ กรรม เวลาเรียน ระดบั ประถมศกึ ษา ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6  กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 คณิตศาสตร์ 160 160 160 160 160 160 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 80 80 80 120 120 120 oวทิ ยาศาสตร์ (80) (80) (80) oเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) (40) (40) (40) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 80 80 120 120 120 o ประวัตศิ าสตร์ (40) (40) (40) (40) (40) (40) o ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม o วัฒนธรรมและการดำเนนิ ชวี ติ ใน สงั คม (40) (40) (40) (80) (80) (80) o เศรษฐศาสตร์ o ภูมศิ าสตร์ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 40 40 40 80 80 80 ศิลปะ 40 40 40 80 80 80 การงานอาชพี 40 40 40 40 40 40 ภาษาต่างประเทศ 200 200 200 80 80 80 รวมเวลาเรยี น (พ้ืนฐาน) 840 840 840 840 840 840  รายวชิ า / กจิ กรรม ท่ีสถานศกึ ษาจดั เพิ่มเติม ตามความพรอ้ มและจุดเนน้ ภาษาไทย -- - --- คณติ ศาสตร์ -- - --- วทิ ยาศาสตร์ -- - --- หนา้ ที่พลเมือง 40 40 40 40 40 40 ภาษาอังกฤษ -- - --- รวมเวลาเรยี น (เพ่ิมเตมิ ) 40 40 40 40 40 40  กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น (กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลาร)ู้ o กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40 o กจิ กรรมนักเรยี น - ลกู เสอื เนตรนารี 40 40 40 40 40 40 - ชุมนุม 30 30 30 30 30 30 o กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10 10 รวมเวลา กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 120 120 120 120 120 120 รวมเวลาทงั้ หมด 840 + 40 + 120 = 1,000 ชวั่ โมง 840 + 40 + 120 = 1,000 ชว่ั โมง รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 26 • โครงสรา้ งเวลาเรียน ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม เวลาเรยี น ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น  กลุ่มสาระการเรียนรู้ ม. 1 ม. 2 ม. 3 ภาษาไทย ชว่ั โมง นก. ชว่ั โมง นก. ชั่วโมง นก. 120 3 120 3 120 3 คณติ ศาสตร์ 120 3 120 3 120 3 160 4 160 4 160 4 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (120) (3) (120) (3) (120) (3) o วิทยาศาสตร์ (40) (1) (40) (1) (40) (1) o เทคโนโลยี 160 4 160 4 160 4 สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (40) (1) (40) (1) (40) (1) o ประวตั ศิ าสตร์ (120) (3) (120) (3) (120) (3) o ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม o วฒั นธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม 80 2 80 2 80 2 o ภมู ิศาสตร์ 80 2 80 2 80 2 o เศรษฐศาสตร์ 40 1 40 1 40 1 120 3 120 3 120 3 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 880 22 880 22 880 22 ศิลปะ การงานอาชีพ 40 1 40 1 40 1 ภาษาต่างประเทศ 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 รวมเวลาเรียน (พืน้ ฐาน) 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1 40 1  รายวชิ าเพ่มิ เตมิ 200 5 200 5 200 5 ภาษาไทย 40 - 40 - 40 - คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 40 - 40 - 40 - หนา้ ท่ีพลเมอื ง 30 - 30 - 25 - ภาษาต่างประเทศ 10 - 10 - 15 - 120 - 120 - 120 - รวมเวลาเรยี น (เพ่มิ เติม) 1,200 27 1,200 27 1,200 27  กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น (กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู)้ o กจิ กรรมแนะแนว o กจิ กรรมนักเรียน - ลกู เสอื เนตรนารี - ชุมนุม o กจิ กรรมเพ่ือสังคมและ สาธารณประโยชน์ รวมเวลากิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น รวม 880 + 200 + 120 = 1,200 รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 27 1.8 สรปุ การใช้แหล่งเรยี นรูภ้ ายในและภายนอกสถานศกึ ษาปกี ารศึกษา 2564 แหล่ง/ชน้ั จำนวนนักเรียนทใ่ี ช้แหล่งเรียนรูใ้ นโรงเรยี น ปีการศกึ ษา 2564 ห้องสมุด แปลงเกษตร ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 หอ้ งคอมพิวเตอร์ 20 22 17 26 25 29 32 17 16 20 22 17 26 25 29 32 17 16 20 22 17 26 25 29 32 17 16 จานวนนักเรยี นทใ่ี ช้แหลง่ เรียนรูใ้ นโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2564 100 32 32 32 32 50 20 22 17 26 25 29 32 17 32 0 20 22 17 26 25 29 17 20 22 17 26 25 29 17 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 หอ้ งสมุด แปลงเกษตร ห้องคอมพวิ เตอร์ จากตารางและแผนภูมิจำนวนนักเรียนท่ีใช้แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ปีการศึกษา2564 พบว่า ทุกช้ัน ใชแ้ หล่งเรยี นรใู้ นโรงเรียนท้ังหอ้ งสมดุ แปลงเกษตร และห้องคอมพิวเตอร์ 1.9 ข้อมูลงบประมาณ จำนวน/บาท รายจ่าย จำนวน/บาท 6,529,469 งบดำเนินการ 1,832,361 รายรับ เงนิ เดอื น-ค่าจา้ ง 4,697,100 เงินงบประมาณ งบพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา 38,858.97 งบอื่นๆ(ระบ)ุ เงินนอกงบประมาณ 74,369.66 - เงินอ่ืนๆ(ระบ)ุ - รวมรายจ่าย 6,568,327.97 รวมรายรับ 6,603,838.66 งบดำเนินการ คิดเปน็ รอ้ ยละ 27.75 ของรายรับ เงนิ เดือน เงินคา่ จ้าง คดิ เป็นร้อยละ 71.18 ของรายรบั งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา คดิ เป็นร้อยละ 1.12 ของรายรบั รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 28 1.10 ข้อมูลสภาพชมุ ชนโดยรวม 1) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ มีสวนยางพารา ที่อยู่อาศัย มีประชากรประมาณ 3,211 คน หมู่ 6 จำนวน 583 คน หมู่ 7 จำนวน 858 คน หมู่ 10 จำนวน 800 คน หมู่ 13 จำนวน 400 คน และหมู่ 14 จำนวน 570 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ วัด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ที่ อยู่อาศัยของผู้ปกครอง อาชีพหลักของชุมชน คือ เกษตรกรรม ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ ศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถิน่ ทเี่ ป็นท่ีรูจ้ ักโดยท่วั ไป คอื เครือ่ งเคลือบพันปปี ระเพณีบา้ นกรวด 2) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาตอนปลาย อาชีพหลัก คือ รับจ้างท่ัวไป ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉล่ียต่อครอบครัว ต่อปี 30,000 บาท จำนวนคน เฉลย่ี ต่อครอบครวั 3,000 บาท 3) โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 เป็นโรงเรียนที่อยู่ใกล้วัด ซ่ึงได้รับ การส่งเสริมสนับสนุนเร่ืองการอบรมธรรมะและอยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ เขื่อนเมฆา วัดป่าลานหินตัด แหล่ง เตาเผาตาเจียน ปราสาทเมืองต่ำ วัดป่าพระสบาย และปราสาทหินเขาพนมรุ้ง ซ่ึงได้รับความรู้จากวิทยากร ท้องถ่ิน ได้รับการสนับสนุนจากชุมชน ผู้นำชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เช่น ในเร่ืองการประชุม ปรึกษาหารือการจัดกิจกรรมของโรงเรียน การร่วมกิจกรรมทางโรงเรียน การสนับสนุนงบประมาณ ปัจจุบัน ทางโรงเรียนประสบปัญหาห้องเรียนไม่เพียงพอ รวมทั้งปัจจุบันพบแมลงปีกแข็งสีดำเป็นจำนวนมากในฤดูฝน และไมม่ ีทก่ี ำจดั ขยะมูลฝอย 1.11 ร่างผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบส่ี (พ.ศ.2559-2563) ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19 โรงเรยี นนคิ มสร้างตนเอง 3 ไดร้ บั การประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ.รอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) เมอ่ื วนั ท่ี 12 เดือนเมษายน พ.ศ. 2565 รา่ งรายงานผลการประเมนิ สรปุ ดังนี้ ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ จุดเน้น มีพฒั นาการครอบคลุมทง้ั 4 ดา้ น ผลการพจิ ารณา ตวั ชีว้ ัด สรุปผลประเมิน ✓ 1. มกี ารระบเุ ป้าหมายคณุ ภาพของเดก็ ปฐมวยั  ควรได้รับการพฒั นาให้เปน็ ไป ✓ 2. มกี ารระบุวธิ พี ฒั นาคณุ ภาพของเดก็ ปฐมวัยอยา่ งเป็นระบบ ตามเกณฑท์ ีก่ ำหนด ตามเปา้ หมายการพัฒนาเด็กปฐมวัย o ปรับปรุง (0-3 ข้อ) ✓ 3. มีพฒั นาการสมวยั ตามเปา้ หมายการพฒั นาเด็กปฐมวยั o พอใช้ (4 ข้อ) ✓ 4. มกี ารนำผลประเมินคณุ ภาพ ของเดก็ ปฐมวัยมาพัฒนาเด็ก  เปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีกำหนด ปฐมวยั ให้มีพัฒนาการสมวยั ดี (5 ข้อ) ✓ 5. มกี ารนำเสนอผลการประเมนิ คณุ ภาพของเดก็ ปฐมวยั ต่อผทู้ ่ี เกย่ี วขอ้ ง รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 29 ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ไดผ้ ลประเมนิ ระดบั สูงข้นึ สถานศึกษาควรระบุข้อมูลเพ่ิมเติมที่สถานศึกษาได้ดำเนินงานตามสภาพจริง ไวใ้ นรายงานการประเมิน ตนเอง (SAR) ในปีการศึกษาต่อไปให้ครบถ้วนชัดเจนเพิ่มข้ึน รวมถึงหลักฐานการดำเนินการโครงการหรือ กิจกรรมที่ดำเนินการ และกระบวนการหรือวิธีการดำเนินงานตามวงจร PDCA ให้เห็นกระบวนการพัฒนาเป็น รูปธรรมที่ชัดเจน เช่น กิจกรรมท่ีส่งเสริมเด็กในระยะเปล่ียนผ่าน ตลอดท้ังให้ทราบถึงการนำผลสู่การพัฒนา และแสดงหลักฐานถึงการปฏิบัติ มีวิธีการพัฒนาอย่างไร เพ่ือให้มั่นใจได้ว่าจะสามารถบรรลุเป้าหมายท่ีกำหนด ไว้ ควรระบุเคร่ืองมือ วิธีการและเกณฑก์ ารประเมินให้ชัดเจนและเหมาะสมกับช่วงวัยของเดก็ ในด้านการนำผล ประเมนิ คุณภาพของเดก็ ไปพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการทกุ อยา่ งสมดุลเต็มศกั ยภาพ ควรให้ความสำคัญกบั การนำ ผลประเมินไปพัฒนากลุ่มเด็กท่ีมีผลการประเมินไม่บรรลุเป้าหมาย และควรมีการนำเสนอผลการประเมิน คุณภาพของเด็กต่อผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นนพ้ืนฐาน ชุมชนโดยมีการ นำเสนอผลการประเมินคุณภาพของเด็กเพิ่มเติม จัดทำ Email เช่น เว็บไซต์ เฟซบุ๊ก ไลน์กลุ่มผู้ปกครอง เพ่ือ ความสมบรู ณ์ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ จุดเน้น การบรหิ ารจดั การหลักสูตรครอบคลมุ พฒั นาการท้ัง 4 ด้านสอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถนิ่ ผลการพิจารณา ตวั ช้ีวัด สรุปผลประเมนิ ✓ 1. มกี ารวางแผนการดำเนนิ การในแตล่ ะปกี ารศึกษา  ควรได้รบั การพฒั นาใหเ้ ป็นไป ✓ 2. มกี ารนำแผนการดำเนินการไปใช้ดำเนนิ การ ตามเกณฑ์ทกี่ ำหนด ✓ 3. มกี ารประเมินผลสัมฤทธขิ์ องการดำเนนิ การตามแผน o ปรบั ปรุง (0-3 ขอ้ ) ✓ 4. มีการนำผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการปรับปรุงแก้ไขในปี o พอใช้ (4 ขอ้ ) การศกึ ษาต่อไป  เป็นไปตามเกณฑ์ทกี่ ำหนด ✓ 5. มกี ารนำเสนอผลการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาใหผ้ มู้ สี ว่ น ดี (5 ข้อ) ไดส้ ว่ นเสยี ไดร้ ับทราบ ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ได้ผลประเมินระดับสงู ข้ึน สถานศึกษาควรนำเสนอข้อมูลในรายงานการประเมินตนเอง (SAR) เพิ่มเติมในประเด็นท่ีแสดงให้เห็น วา่ สถานศึกษามีการวางแผนการดำเนินงานจุดเน้น การบริหารจดั การหลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการท้งั 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ินในแต่ละปีการศึกษาอย่างเป็นระบบและชัดเจน มีการแยกเป็นแผนปฏิบัติการ ประจำปี ในการกำหนดโครงการหรือกิจกรรม โดยเฉพาะการเพิ่มข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับจุดเน้นการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ให้มีสาระที่ควรเรียนรู้ให้เหมาะสมกับบริบทของชุมชนและสภาพทางสังคม ใหม่ๆ เช่นการดูแลสุขภาพให้ปลอดโรค ปลอดภัย เป็นต้น มีการรายงานกิจกรรมการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ การดำเนินการตามแผนหรือการประเมินหลักสูตรให้ชัดเจนว่าดำเนินการอย่างไร ปรับหลักสูตรในประเด็นใด ระบุกระบวนการวัดและประเมินผลโครงการต่างๆ โดยเฉพาะโครงการท่ีมุ่งไปสู่การพัฒนาตามจุดเน้นต่างๆ ระบุข้อมูลการนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาที่ชัดเจน มีการประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง เพ่ือเป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาในปีการศึกษาต่อไป ระบุข้อมูลข้อเสนอแนะในการ รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 30 พัฒนา และระบุข้อมูลท่ีเป็นแบบอย่างท่ีดี (Best Practice) หรือ นวัตกรรม (Innovation)พร้อมทั้งนำเสนอ ข้อมูลผลการดำเนินงานต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบและจัดทำรายงานเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด และ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เช่นการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา การประชุม ผู้ปกครอง การประชาสมั พันธ์ทางเวบ็ ไซต์ของสถานศึกษา หรอื กลมุ่ ไลน์ ผู้ปกครอง เปน็ ต้น มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ จดุ เนน้ การจัดประสบการณใ์ หเ้ ดก็ มพี ฒั นาการครบทัง้ 4 ดา้ น ผลการพจิ ารณา ตวั ชีว้ ดั สรุปผลประเมนิ ✓ 1. ครูมีการวางแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรรู้ ายปี  ควรได้รับการพฒั นาใหเ้ ป็นไป ครบทุกหน่วยการเรยี นรู้ ทุกชนั้ ปี ตามเกณฑ์ทกี่ ำหนด ✓ 2. ครูทุกคนมีการนำแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ไปใช้ใน o ปรับปรุง (0-3 ข้อ) การจดั ประสบการณ์โดยใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ o พอใช้ (4 ข้อ) เรียนรู้ทเี่ ออื้ ตอ่ การเรียนรู้  เปน็ ไปตามเกณฑท์ กี่ ำหนด ✓ 3. มีการตรวจสอบและประเมินผลการจดั ประสบการณ์ ดี (5 ข้อ) อยา่ งเปน็ ระบบ ✓ 4. มีการนำผลการประเมนิ มาพฒั นาการจดั ประสบการณ์ของครู อย่างเป็นระบบ ✓ 5. มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และใหข้ อ้ มูลป้อนกลบั เพอื่ พฒั นา ปรับปรุงการจดั ประสบการณ์ ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ได้ผลประเมนิ ระดับสูงข้ึน สถานศกึ ษาควรมีการระบุขอ้ มูลใน SAR เพ่มิ เตมิ ใหช้ ดั เจนมากขนึ้ ในกระบวนการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ให้กับเด็ก จุดเน้นของครู คือ “การจัดประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการครบท้ัง 4 ด้าน” ครูควรจัดทำ แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับจุดเน้น กำหนดเป้าหมายเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพไว้ อย่างชัดเจน มีวิธีการพัฒนา อาจจัดทำโครงการการจัดประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน โดยมี กิจกรรมสนับสนุนโครงการหลายอย่าง เช่น 1) กิจกรรมเรารักสุขภาพ ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย ให้เด็ก รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกายด้วยเดินรอบสนามในช่วงเวลาท่ีเหมาะสม 2) กิจกรรมหาง เคร่ือง ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ให้เด็กได้เต้นรำประกอบจังหวะตามเพลงต่าง ๆ 3) กิจกรรม ช่วยกันฉันท์เพื่อน ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม ให้เด็กได้ร่วมทำงานท่ีได้รับมอบ เช่น เวรประจำวัน แบ่งเขต พ้ืนที่รับผิดชอบ การปลูกต้นไม้ในแปลงเดียวกัน เป็นต้น 4) กิจกรรมเถ้าแก่น้อย ส่งเสริมพัฒนาการ ด้านสติปัญญา ให้เด็กได้ขายสินค้ารู้จักคิดทุนกำไรทอนเงินได้ถูกต้อง มีการดำเนินงานตามโครงการและ กิจกรรมอย่างจรงิ จัง มีการตดิ ตาม ตรวจสอบประเมินผลโครงการและกจิ กรรม จดั ให้มีการและเปล่ียนเรียนนรู้ ตามกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC) แกไขปรับปรุงข้อบกพร่องให้ประสบความสำเร็จตาม เป้าหมาย สิ้นภาคเรียนหรือสิ้นปีการศึกษา ผู้รับผิดชอบโครงการสรุปผลรายงานเสนอต่อผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู คณะกรรมการสถานศกึ ษา และเผยแพร่ใหผ้ ูป้ กครอง ชุมชนทราบตอ่ ไป เปน็ ต้น รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 31 ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น จุดเนน้ จุดเน้น ผ้เู รยี นเป็นคนดี มปี ัญญา มีความสขุ ผลการพจิ ารณา ตัวชว้ี ัด สรปุ ผลประเมนิ ✓ 1. มกี ารระบเุ ปา้ หมายคณุ ภาพของผเู้ รียน  ควรได้รับการพัฒนาให้เปน็ ไป ✓ 2. มีการระบุวิธพี ฒั นาคณุ ภาพของเดก็ ปฐมวยั อยา่ งเป็นระบบ ตามเกณฑ์ทก่ี ำหนด ตามเปา้ หมายการพฒั นาผเู้ รียน o ปรับปรุง (0-3 ขอ้ ) ✓ 3. มีพัฒนาการสมวัยตามเปา้ หมายการพัฒนาผเู้ รยี น o พอใช้ (4 ข้อ) ✓ 4. มกี ารนำผลประเมนิ คณุ ภาพของผเู้ รียนมาพฒั นา  เป็นไปตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด ผ้เู รยี นดา้ นผลสัมฤทธิ์ใหส้ งู ข้ึน ดี (5 ขอ้ ) ✓ 5. มีการนำเสนอผลการประเมินคณุ ภาพของผเู้ รยี นต่อผทู้ ่ี เกย่ี วขอ้ ง ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมนิ ระดับสงู ข้นึ สถานศึกษาควรระบุข้อมูลในการดำเนินงานของสถานศึกษาเพ่ิมเติมไว้ในรายงานการประเมินตนเอง (SAR) เพือ่ เปน็ ขอ้ มลู ยืนยนั ว่าการดำเนินงานพัฒนามคี วามสอดคล้องกับผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ตลอดทั้งให้มีความน่าเชื่อถือในผลการประเมินมากยิ่งขึ้น ควรเพ่ิมเติมข้อมูลท่ีสนับสนุนกระบวนการพัฒนา คณุ ภาพดา้ นคณุ ภาพของผู้เรียนให้มี “ผ้เู รยี นเปน็ คนดี มีปัญญา มีความสขุ ” ระบโุ ครงการ/กิจกรรมที่ผเู้ รยี นได้ ปฏิบัติจริง โดยนำเสนอกระบวนการ หรือวิธีการผู้เรียนได้รับการพัฒนาจนสามารถบรรลุเป้าหมายที่ต้ังไว้ให้มี ความชัดเจน เช่น สถานศึกษาได้ดำเนินงานพัฒนาผู้เรียนตามโครงการ หรือกิจกรรมต่าง ๆ และควรระบุ ข้อเสนอแนะ หรือแนวทางการพัฒนาในอนาคตให้มีความชัดเจน เช่น นำเสนอวิธีการในการพัฒนาผู้เรียนเพ่ือ เป็นแนวทางในการนำไปปฏิบัติในการพัฒนาต่อไป ควรมีการตรวจทานเอกสารก่อนเผยแพร่ และควรระบุการ เปิดเผยข้อมูลผลการประเมินคุณภาพต่อผู้ปกครอง เช่น การลงเว็บไซต์ของสถานศึกษา ไลน์กลุ่มผู้ปกครองจุล สาร แผน่ พบั หรือจุลสาร เป็นการตอ่ ยอด เพิ่มคุณค่าให้กบั การดำเนนิ งานของสถานศึกษา ทำใหผ้ ลการประเมิน มีความนา่ เชือ่ ถอื มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ จุดเน้น มกี ารบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ผลการพิจารณา ตวั ชีว้ ัด สรปุ ผลประเมนิ ✓ 1. มีการวางแผนการดำเนนิ การในแตล่ ะปีการศึกษา  ควรได้รบั การพฒั นาใหเ้ ป็นไป ✓ 2. มีการนำแผนการดำเนนิ การไปใชด้ ำเนนิ การ ตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด ✓ 3. มีการประเมนิ ผลสัมฤทธข์ิ องการดำเนินการตามแผน o ปรบั ปรงุ (0-3 ข้อ) ✓ 4. มีการนำผลการประเมินไปใช้ในการปรบั ปรุงแก้ไข o พอใช้ (4 ข้อ) ในปกี ารศึกษาตอ่ ไป  เปน็ ไปตามเกณฑท์ ก่ี ำหนด ✓ 5. มกี ารนำเสนอผลการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษา ดี (5 ขอ้ ) ให้ผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ไดร้ บั ทราบ รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 32 ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ไดผ้ ลประเมนิ ระดับสูงขน้ึ สถานศึกษาควรระบุข้อมูลรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ให้ชัดเจนย่ิงข้ึนในประเด็นการบริหาร จดั การคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยสถานศกึ ษาระบุขอ้ มลู แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปี ท่ีแสดงให้เห็นถึงวิธีการ กระบวนการพัฒนาอยา่ งเป็นระบบ ระบุว่าผลการดำเนิน ตามจุดเน้นนั้นเป็นอย่างไร ระบุว่าผลการดำเนินการบรรลุตามเป้าหมายท่ีวางไว้ในประเด็นบ้าง มีประเด็นใดที่ ตอ้ งปรับปรุงพัฒนาใหด้ ีข้ึน ระบุแผนงานโครงการหรือกิจกรรมทีจ่ ะพัฒนาสถานศกึ ษาตามจุดเน้นประเด็นตา่ งๆ ในกรอบมาตรฐานการบริหารและการจัดการว่ามีอะไรบ้าง มีการดำเนินการอย่างไร สถานศึกษาเปิดโอกาสให้ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้เกี่ยวข้องอ่ืนๆมาร่วมวางแผนการดำเนินงาน ปฏิบัติและประเมินผลตามแผนงาน นำผลประเมินไปใช้และร่วมปรับปรุงแก้ไขในปีการศึกษาต่อไปอย่างไร ใน การดำเนินการตามแผนการวัดผลประเมินผล ผลการดำเนินงาน รวมทั้งมีการประเมินความพึงพอใจของผู้มี ส่วนได้เสีย ว่ามคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั ใด แลว้ นำผลการประเมนิ ไปวเิ คราะหห์ าจุดเดน่ จุดควรพัฒนา เพื่อใช้ ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในปีการศึกษาถัดไป พร้อมทั้งมีการประชาสัมพันธ์ผลการบริหารจดั การ ของสถานศกึ ษาใหผ้ ู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี ไดร้ บั ทราบผ่านช่องทางทหี่ ลากหลาย มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ จดุ เน้น การจดั การเรยี นรูท้ ีส่ ่งเสริมใหผ้ ้เู รียนเปน็ คนดี มปี ญั ญา และมีความสุข ผลการพจิ ารณา ตวั ชี้วัด สรุปผลประเมิน ✓ 1. ครูมกี ารวางแผนการจดั การเรยี นรู้ครบทกุ รายวชิ า ทุกช้นั ปี  ควรได้รับการพัฒนาให้เปน็ ไป ✓ 2. ครูทกุ คนมกี ารนำแผนการจดั การเรยี นรไู้ ปใชใ้ นการจัดการ ตามเกณฑท์ ีก่ ำหนด เรยี นการสอนโดยใช้สื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรียนรทู้ ่ี o ปรับปรงุ (0-3 ข้อ) เออื้ ต่อการเรยี นรู้ o พอใช้ (4 ขอ้ ) ✓ 3. มกี ารตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การเรยี นการสอน  เปน็ ไปตามเกณฑท์ ีก่ ำหนด อย่างเป็นระบบ ดี (5 ขอ้ ) ✓ 4. มีการนำผลการประเมินมาพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน ของครูอยา่ งเปน็ ระบบ ✓ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และใหข้ ้อมลู ป้อนกลับเพื่อพัฒนา ปรบั ปรุงการจดั การเรยี นการสอน ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ไดผ้ ลประเมินระดบั สงู ขึ้น สถานศึกษาควรมกี ารระบุขอ้ มลู ใน SAR เพิม่ เตมิ ในด้านการสง่ เสรมิ ให้ครจู ดั การเรยี นรตู้ ามจุดเน้น คือ “การจัดการเรยี นรู้ท่สี ่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนเปน็ คนดี มีปัญญา และมีความสุข” ครคู วรจัดทำแผนการจดั การเรียนรูใ้ ห้ สมั พนั ธ์กบั จุดเน้น ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนได้ปฏิบัติจริง มคี วามกระตือรือรน้ ในการร่วมกิจกรรม กำหนดเป้าหมายท้ัง เชิงปรมิ าณและเชงิ คุณภาพไวอ้ ยา่ งชัดเจน มวี ิธกี ารพฒั นาโดย อาจจัดทำโครงการการจดั การเรยี นรทู้ ่ีสง่ เสรมิ ให้ ผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา และมีความสุข มีกิจกรรมสนับสนุนโครงการ เช่น 1) กิจกรรมคนดีผีคุ้ม อาจเข้าค่าย อบรมคุณธรรมจริยธรรม ให้ผู้เรียนนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เป็นคนพูกด้วนวาจาไพเราะ รู้จักช่วยเหลือ แบ่งปัน มีการบันทึกความดี ประกาศคนดีประจำเดือน คนดีประจำภาคเรียน และคนดีประจำปีการศึกษา รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 33 2) กิจกรรมคนเก่งอาจจัดทำแสดงโชว์บนเวทีในเรื่องต่าง ๆ เช่น การอ่านทำนองเสนาะ การเล่านิทาน ประกอบการแสดง การนำเสนอโครงงานท่ีดีสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ เป็นต้น 3) กิจกรรมตามใจ ชอบ ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมตามความสมัครใจ หรือทำตามที่ใจชอบ เช่น การร้องเพลง การขายของ การเล่น ดนตรีที่ชอบ การเล่นกีฬาท่ีชอบ ซึ่งทุกกิจกรรมต้องมีการประกวดแข่งขัน มีรางวัลให้ตามความเหมาะสม ดำเนินงานโครงการและกจิ กรรมอย่างจริงจัง มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลโครงการและกิจกรรม จัดให้มี การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนทางวิชาชีพ(PLC) เม่ือส้ินภาคเรียนหรือส้ินปี การศึกษา ผู้รับผิดชอบโครงการ สรุปผลรายงานนำเสนอต่อผู้บริหารสถานศึกษา และผู้เก่ียวข้องทราบต่อไป เป็นต้น ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ สถานศึกษาควรระบุข้อความลงใน SAR เพื่อให้ชัดเจนย่ิงขึ้น เช่น โครงสร้างการบริหารของ สถานศึกษาข้อมูลอาคารสถานที่ มีอาคารเรียน อาคารประกอบกี่หลัง ห้องปฏิบัติการมีก่ีห้อง ห้องอะไรบ้าง ห้องพยาบาลมีกี่ห้องกี่เตียง ดำเนินการปฐมพยาบาล จ่ายยาอย่างไร ระบุแบบอย่างที่ดี (Best Practice) หรือ นวัตกรรม (Innovation) (ถ้ามี ระบุจำนวนครูท่ีสอนในระดับช้ันต่างๆทั้งชั้นอนุบาล ประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา ระบุร้อยละผู้สำเร็จการศึกษาชั้นอนุบาลปีที่ 3 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 จำนวนวันที่สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนจริงในปีการศึกษาท่ีประเมินทั้งระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับ ประถมศึกษาและระดับมัยมศึกษา และผู้อำนวยการสถานศึกษาควรลงลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic signature) ในคำนำของ SAR นวตั กรรมหรือตัวอยา่ งการปฏบิ ตั ิท่ดี ี (Good Practice) ของสถานศกึ ษาทีเ่ ป็นประโยชนต์ ่อสังคม ครูโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 มีการใช้สื่อนวัตกรรมที่ใช้ในการพัฒนานักเรียนครบร้อย เปอร์เซ็นต์ ได้แก่ นิทานแสนสนุก การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เพื่อส่งเสรมิ ทักษะด้านการฟัง การมีวินัย จากการเล่านิทานและเกม สำหรับนักเรียนปฐมวัย และส่ือการเรียนรู้ผสมคำ แบบฝึกภาษาไทย เร่ืองมาตรา ตัวสะกด ชุดฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ บทเรียนสำเร็จรูปประกอบการสอนแบบ รว่ มมอื และวดิ โี อประกอบการสอน เรือ่ งแนวคดิ เชิงคำนวณ บนสื่อโซเชียลมีเดีย และอ่ืน ๆ รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 34 ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ได้มีการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2564 (ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560) วเิ คราะห์หลักสูตรปฐมวัยและกำหนดการสอนจัดทำ แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยมีจุดเน้นในการพัฒนาเด็กแต่ละคนให้เต็มตาม ศักยภาพ และพัฒนาโดยองค์รวม โดยมีพัฒนาการท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา เรียนรู้ ผ่านการเล่นปนเรียน และลงมือปฏิบัติ มีทักษะในการดำรงชีวิตประจำวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ด้วยความรัก ความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตที่ดี โดยได้ดำเนินการพัฒนาตาม ประเด็นพิจารณา ดงั น้ี 1) มพี ัฒนาการดา้ นร่างกาย แข็งแรงมีสุขนิสัยทด่ี ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ เพ่ือให้เด็กมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน เคลื่อนไหว ร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือ และตาประสานสัมพันธ์ได้ดี ดูแล รักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย ปฏิบัติตนตามข้อตกลง เก่ียวกับความปลอดภัย หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค ส่ิงเสพติดและระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดล้อม และ สถานการณ์ที่เสี่ยงอันตรายโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 จึงกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาให้เด็กอย่างน้อย ร้อยละ80 ของเด็กทั้งหมด มีร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแล ความปลอดภัยของตนเองได้ในระดับดี โดยไดจ้ ัดโครงการสง่ เสรมิ พัฒนาการด้านรา่ งกาย สำหรับเด็กปฐมวัย โครงการเสริมสรา้ งศกั ยภาพนักเรยี นด้าน ศิลปะ ดนตรี และกีฬา รวมท้ังโครงการและกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้านร่างกายเป็นประจำ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ดงั นี้ - จัดโครงการอาหารกลางวันเพื่อส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานอาหารท่ีสะอาด ถูกสุขลักษณะปริมาณ เหมาะสมตามวัย มีการล้างมือก่อนรับประทานอาหาร ฝึกให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร ประจำวันสามารถรับประทานอาหารด้วยตนเองและมีมารยาทในการรับประทานอาหาร การแปรงฟันหลัง รบั ประทานอาหาร มกี ารควบคุมดูแลให้เด็กดื่มนมเป็นประจำทกุ วันอยา่ งสม่ำเสมอ รู้จักดูแลรักษาความสะอาด ทงั้ ภายในและนอกห้องเรียน มีการช่ังน้ำหนกั วดั สว่ นสงู ภาคเรียนละ 2 ครงั้ รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 35 - กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย อย่างอิสระตามจังหวะ โดยใช้เสียงเพลง คําคล้องจอง เคร่ืองเคาะจังหวะ และอุปกรณอื่นๆ มาประกอบการ เคล่ือนไหว ซ่ึงมีทั้งการเคล่ือนไห วอยู กับ ท่ี เชน ตบมือ ผงกศีรษ ะ ขยิบตา ชันเข า เคาะเท า เคล่ือนไหวมือและแขน มือและน้ิวมือ เทาและปลายเทา และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ เชน คลาน คืบ เดิน วิ่ง กระโดดควบมา กาวกระโดด เขยง กาวชิด เพือ่ พฒั นาอวัยวะทกุ สวนใหมกี ารประสานสมั พนั ธกนั อยางสมบูรณ์ - กิจกรรมกลางแจ้ง โรงเรียนได้จัดให้เด็กได้มีโอกาสออกไปนอกห้องเรียนเพ่ือออกกำลังกาย เคล่ือนไหวร่างกายและแสดงออกอย่างอิสระ โดยยึดความสนใจและความสามารถของเด็กแต่ละคนเป็นหลัก กิจกรรมกลางแจ้ง เช่น การเล่นเคร่อื งเล่นสนามที่เด็กได้ปีนป่าย โยกหรือไกว หมุน โหน เดินทรงตัว หรือ เล่น เคร่ืองเล่นล้อเลื่อน การเล่นทราย การเล่นน้ำ การเล่นสมมติในบ้านจำลอง การเล่นในมุมช่างไม้ การเล่นกับ อุปกรณ์กีฬา การเล่นเกมการละเล่น ฯลฯ โดยเน้นให้เด็กได้ใช้งานร่างกายให้ครบถ้วน และพัฒนาจนมี สมรรถนะดเี หมาะตามวยั ของเดก็ - มีการกำหนดข้อตกลงในห้องเรียน ฝึกปฏิบัติตามข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย หลีกเล่ียงจากอันตราย มีการจัดป้ายนิเทศให้ความรู้แก่เด็กเก่ียวกับโรคติดต่อในชุมชน โรคติดต่อจากการอยู่ ร่วมกัน อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นได้ในชีวิตประจำวัน จัดโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ให้ ความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติดและมีการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด มีการจัดโครงการสุขภาพดีมีสุขเพื่อ ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายให้กับเด็ก และได้รับความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขตำบลบึงเจริญ ใน การดแู ลสง่ เสริมสุขภาพอนามยั ของเด็กทงั้ การตรวจสุขภาพ การดูแลสขุ ภาพฟนั การฉีดวัคซีนและอนื่ ๆ 2) มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออก ทางอารมณ์ได้ เพื่อให้เด็กร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสม รู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความสามารถ และผลงานของตนเองและผู้อ่ืน มีจิตสํานึกและค่านิยมที่ดี มีความม่ันใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปัน เคารพสิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ อดทนอดกลั้น ซื่อสัตย์สุจริต มี คุณธรรม จริยธรรมตามท่ีสถานศึกษากำหนด ช่ืนชมและมีความสุขกับศิลปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว โรงเรียนจึงกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาให้เด็กอย่างน้อยร้อยละ 80 ของเด็กทั้งหมด มีพัฒนาการด้าน อารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออก ทางอารมณ์ได้ ในระดับดี โรงเรียนได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการ ด้านอารมณ์ จิตใจ สำหรับเด็กปฐมวัย รวมทั้งโครงการและกิจกรรมต่างๆที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้านอารมณ์ จติ ใจ เป็นประจำอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ดงั นี้ โรงเรียนได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ โครงการเสริมสร้างศักยภาพ นักเรียนด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา มีการจัดกิจกรรมทางด้านศิลปะ ดนตรี ให้นักเรียนได้วาดภาพ ระบายสี เพื่อสร้างจินตนาการและมีอารมณ์ผ่องใส ให้เด็กได้ทำกิจกรรมด้วยความสนุกสนาน มีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับเพื่อน ทัง้ ในและนอกห้องเรียน และมีการจัดกจิ กรรมร้อง เล่น เต้น อา่ น ให้เดก็ ได้แสดงออกตามศกั ยภาพของตน นอกจากนีย้ ังได้ดำเนนิ การจดั ประสบการณ์ตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ จัดกิจกรรม หลัก 6 กิจกรรมตามตารางกิจกรรมประจำวนั ดงั นี้ รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 36 - จัดกิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ เปนกิจกรรมที่จัดใหเด็กไดเคล่ือนไหวสวนตางๆ ของราง กายอยางอิสระตามจังหวะ โดยใชเสียงเพลง คําคลองจอง เคร่ืองเคาะจังหวะ และอุปกรณ อ่ืนๆ มา ประกอบการเคล่อื นไหวซงึ่ จังหวะและดนตรีที่ใชประกอบ ไดแก เสยี งตบมือ เสียงเพลง เสียงเคาะไม เคาะเหล็ก กรุงกร๋งิ รํามะนา กลอง กรบั การเคล่ือนไหวตามบทเพลง เปนการเคล่ือนไหวหรือทําทาทางประกอบเพลง เช น เพลงไก เพลงขามถนน เพลงสวสั ดี การทำทาทางกายบริหารประกอบเพลงหรือคาํ คลองจอง เปนการทำทา ทางการบริหารกายบรหิ ารตามจังหวะและทํานองเพลงหรือคําคลองจอง เชน เพลงกาํ มือแบมือ เพลงออกกําลัง กายรับแสงตะวัน คําคลองจองฝนตกพรำพรำ กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะช่วยให้เด็กเกิดความสนุกสนาน มคี วามสขุ ในการเรียนรู้ ม่ันใจในตนเอง กล้าแสดงออก มีความสุขกบั ดนตรี และการเคลอื่ นไหว - จดั กิจกรรมสรางสรรค เปนกิจกรรมท่ีมุงพัฒนากระบวนการคิดสรางสรรค การรบั รูเก่ียวกับ ความงามและสงเสริมกระตุนใหเด็กไดแสดงออกทางอารมณตามความรูสึก ความคิดริเร่ิมสรางสรรคและ จินตนาการ โดยใชศิลปะ เชน การวาดภาพและระบายสี เชน การวาดภาพดวยสีเทียน สีไม สีน้ํา การปนเชน การปนดินเหนียว การปนแปงปน การปนดินน้ํามัน การปนแปงขนมปง การพิมพภาพ เชน การพิมพภาพดวย พืช การพิมพภาพดวยวัสดุตางๆ การพับ ตัด ฉีก ปะ การพับ ฉีก ตัด ปะ เชน การพับใบตอง การฉีกกระดาษ เสน การตัดภาพตางๆ การปะติดวัสดุ การรอย เชน การรอยลูกปด การรอยหลอดกาแฟ การรอยหลอดดาย การสาน เชน การสานกระดาษ การสานใบตอง การสานใบมะพราว ฯลฯ ทำใหเ้ ดก็ เกิดความเพลิดเพลิน ชื่นชม ในสง่ิ ทส่ี วยงาม เกิดการยอมรับพอใจในความสามารถ และผลงานของตนเอง สง่ เสริมให้เด็กได้เล่นกีฬารว่ มแข่งขันกฬี ากลุ่มตามความสามารถ เพอื่ ให้รู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนใน การรอคอย ยอมรับและพอใจในความสามารถ และผลงานของตนเองและผู้อ่ืน มีการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา นอกสถานท่ี เพ่อื ส่งเสริมใหเ้ ดก็ ได้มกี ารเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เพ่ือฝกึ การชว่ ยเหลือแบ่งปัน เคารพสทิ ธิ รู้ หน้าท่ีรับผิดชอบ อดทนอดกลั้น จัดโครงการโรงเรียนคุณธรรม วิถีพุทธ จิตศึกษา โครงการสถานศึกษาสีขาว เพ่ือปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงการโรงเรียนจิตศึกษา เพ่ือพัฒนาปัญญา ภายใน 3) มีพัฒนาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชกิ ทีด่ ขี องสังคม เพ่ือให้เด็กช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน มีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง มีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ในและนอกห้องเรียน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การยิ้ม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ เป็นต้น ยอมรับหรือเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัว เช้ือชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ แก้ไข ข้อ ขัดแย้ง โดยปราศจากการใช้ความรุนแรง โรงเรียนจึงกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาให้เด็กอย่างน้อยร้อยละ 80 ของเด็กทั้งหมด มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม ในระดับดี โรงเรียนได้จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย รวมท้ังโครงการและกิจกรรมต่างๆที่ ส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ ดา้ นสังคม เป็นประจำอย่างต่อเนอื่ ง ดงั นี้ - จัดประสบการณ์ตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ จัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมตามตาราง กิจกรรมประจำวัน ดังนี้ จัดกิจกรรมเสรีหรือกิจกรรมการเลนตามมุม เปนกิจกรรมที่เปดโอกาสใหเด็กได้เล่น รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 37 กับสื่อและเคร่ืองเลนอยางอิสระตามมุมเลน/มุมประสบการณ ซึ่งพ้ืนที่หรือมุมตางๆ เหลานี้ เด็กมีโอกาสเลือก เล่นไดอยางเสรตี ามความสนใจ และความตองการของเดก็ ทั้งเปนรายบุคคลและเปนกลุมยอย โดยจัดให้เด็กได้ เลือกเล่นในมุมต่างๆ ดังนี้ มุมบทบาทสมมติ มุมบาน ในมุมบ้านมีเคร่ืองเล่นจัดให้เด็กเล่นดังน้ี ของ เลนเครื่องครัว เคร่ืองใชใน บาน เคร่ืองเลนตุกตา เครื่องแตงบานจําลอง เคร่อื งแตงกายบุคคลอาชีพตางๆ ที่ใช แลว ฯลฯ มุมหมอ จัดให้มีเครื่องเลนจําลองแบบเคร่ืองมือแพทยและอุปกรณการรักษาผูปวย เชน หูฟง เส้ือ คลุมหมอ เครื่องชั่งนํ้าหนัก วัด สวนสูง มุมรานคา มีผลไม ผักจําลอง อุปกรณประกอบการเลน เชน เคร่อื ง คิดเลข ลูกคิด ธนบัตรจําลอง ฯลฯ มุมบล็อก มี ไมบล็อกหรือแทงไมที่มีขนาดและรูปทรงตาง ๆ กัน มุม หนังสือ มุมวิทยาศาสตรหรือมุมธรรมชาติศึกษา มุมเครื่องเลนสัมผัสฯลฯ การเล่นตามมุมทำใหเด็กรูจัก ปรับตัวอยูรวมกบั ผูอน่ื มีวินยั เชงิ บวก รูจกั การ รอคอย เอ้ือเฟอเผอ่ื แผ เสยี สละ และใหอภยั - โรงเรียนสง่ เสรมิ ให้เด็กมพี ัฒนาการด้านสงั คม ช่วยเหลือตนเอง เปน็ สมาชิกที่ดขี องสงั คม โรงเรยี นได้ จัดโครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เพื่อให้เด็กมีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ มีมารยาทท่ีดี รู้จักดูแลรักษาความสะอาดท้ังภายในและนอกห้องเรียน โดยการจัดแบ่งเขตพื้นท่ีรับผิดชอบ รู้จักช่วยเหลือ แบ่งปันเพ่ือนในห้องเรียน ทำงานร่วมกบั เพ่ือนๆ ได้ โดยการใช้กิจกรรมกลุ่มในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ รู้จักเก็บของเล่น สิ่งของเครื่องใช้ ของตน และของส่วนรวม ปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักประเพณีวัฒนธรรม ด้วย โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ รู้จักทดแทนบุญคุณพ่อ แม่ ครู โดยจัดกิจกรรม วันสำคัญของชาติ กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา เช่น กิจกรรมวันพ่อ, กิจกรรมวันแม่, กิจกรรมวันไหว้ครู, กจิ กรรมวนั เขา้ พรรษา ,กิจกรรมวนั มาฆบูชา เปน็ ต้น 4) มพี ฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา ส่อื สารได้ มีทักษะการคิด พ้ืนฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ เพ่ือให้เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่าเร่ืองให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ตั้งคําถาม ในส่ิงที่ตนเองสนใจหรือสงสัย และ พยายามค้นหาคําตอบ อ่านนิทาน และเล่าเร่ืองที่ตนเองอ่านได้เหมาะสมกับวัย มีความสามารถในการคิดรวบ ยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิด แก้ปัญหาและสามารถตัดสนิ ใจในเรอ่ื งงา่ ย ๆ ได้ สร้างสรรค์ผลงาน ตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคลื่อนไหวท่าทาง การเล่นอิสระ เป็น ต้น และใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล เป็นต้น เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และ แสวงหาความรู้ได้ โรงเรียนจึงกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาให้เด็กอย่างน้อยร้อยละ 80 ของเด็กทั้งหมดมี พัฒนาการดา้ นสติปญั ญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิด พ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ในระดับดี โรงเรียนได้จัด โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาสำหรับเด็กปฐมวัย รวมท้ังโครงการและกิจกรรมต่างๆท่ีส่งเสริม พัฒนาการเด็กด้านสติปญั ญา เป็นประจำอย่างตอ่ เนือ่ ง ดังนี้ จัดประสบการณ์ตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ จัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมตามตาราง กจิ กรรมประจำวนั ดังนี้ - กิจกรรมเสริมประสบการณ/กิจกรรมในวงกลม ดำเนินการจัดกิจกรรมใหเด็กไดรับความรู และประสบการณดวยกิจกรรมหลายรูปแบบ คือ การสนทนาหรือการอภิปราย การเลานิทานหรือการอาน นิทาน การสาธิต การทดลอง/ปฏิบัติการ การประกอบอาหาร การเพาะปลูก การศึกษานอกสถานท่ี การ เล่นบทบาทสมมุติ การรองเพลง ทองคําคลองจอง การแสดงละคร ฯลฯ กิจกรรมเสริมประสบการณ/กจิ กรรม รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 38 ในวงกลม เปนกิจกรรมที่ทำใหเด็กไดพัฒนาทักษะการเรียนรู ทักษะการฟง การพูด การสังเกต การคิดแก้ ปญหา การใชเหตุผล และปฏิบัติการทดลอง โดยการฝกปฏิบัติรวมกัน และการทํางานเปนกลุม ทั้งกลุมยอย และกลุมใหญ เพ่ือใหเกิดความคิดรวบยอดเก่ียวกับเรื่องท่ีไดเรียนรูมากกวาเนื้อหา เมื่อเกิดการเรียนรตู าม กระบวนการจะทาํ ใหเด็กเกิดความรูความเขาใจในเนอื้ หานน้ั ๆ ดวยตนเอง - เกมการศกึ ษา ซง่ึ เกมการศึกษาท่ีจัดให้เด็กมีดังน้ี การจบั คู การตอภาพใหสมบรู ณ์ การวาง ภาพตอปลาย (โดมิโน) การจัดหมวดหมู เชน จัดหมวดหมูตามสี รูปทรง ขนาด ปริมาณ จำนวน ประเภท จัดหมวดหมกู ับสัญลักษณ จัดหมวดหมภู าพซอน การศึกษารายละเอียดของภาพ (ลอตโต) การจับคูแบบ ตารางสัมพันธ (เมตริกเกม) การพ้ืนฐานการบวก การหาความสัมพันธตามลำดับท่ีกําหนด เปนเกมการ เลนท่ีชวยพัฒนาสติปญญา ชวยสงเสริมใหเด็กเกิดการเรียนรูเปนพ้ืนฐานการศึกษา รูจักสังเกต คิดหาเหตุผล และเกิดความคิดรวบยอด เก่ียวกับสี รูปราง จำนวน ประเภท และความสัมพันธเกี่ยวกับพ้ืนท่ี ระยะ มีกฎ เกณฑกติกางายๆ เด็กสามารถเลนคนเดยี วหรอื เลนเปนกลุมก็ได้ โรงเรียนส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหา ความรู้ได้ โดยการเขา้ ร่วมโครงการบ้านนกั วิทยาศาสตรน์ ้อยแห่งประเทศไทย ทำให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติการทดลอง การสังเกต ความคิดสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา มีการจัดกิจกรรมโครงงานเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ให้เด็กรู้จักคิด วิเคราะห์ มีความสนใจเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว กล้าซักถามเพ่ือค้นหาคำตอบ เพื่อพัฒนาภาษาตามแนว ภาษาธรรมชาติ จัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน โดยการจัดมุมนิทานในห้องเรียนเพื่อส่งเสริมให้เด็กมี ทกั ษะทางภาษา มีนสิ ยั รกั การอา่ น สง่ เสริมให้เดก็ อ่านนิทานและเล่านิทานท่ตี นเองอ่าน แสดงบทบาทสมมตุ ิ ให้ ครูและเพื่อนได้ชม มกี ารสรา้ งสรรคผ์ ลงานด้านศลิ ปะโดยการวาดภาพระบายสี การตดั ฉีก ตดั ปะ สง่ เสริมให้ เด็กได้เสนอผลงานด้วยภาษาที่เหมาะสมตามวัย จัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อให้เด็กได้ปฏิสัมพันธ์ กับบุคคลภายนอก เรียนรู้นอกสถานที่ แก้ปัญหาในสถานการณ์จริง โรงเรียนได้ใช้กิจกรรมจิตศึกษาในการบ่ม เพาะด้านจิตใจให้มีความพร้อมท่ีจะพัฒนาปัญญาท้ังภายนอกและภายในส่งผลให้เด็กมีความรู้ตัวได้ดี มีความ พร้อมในการเรียนรู้ในระดับประถมต่อไป นอกจากนี้ โรงเรยี นได้จัดโครงการ/กิจกรรม เพ่ือสง่ เสริมสนบั สนุนการพฒั นาคณุ ภาพเด็กดงั ต่อไปนี้ 1. การปรบั ปรงุ พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา 2. การวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร จดั ทำแผนการจดั ประสบการณ์ กำหนดการจดั ประสบการณ์ 3. การผลิตสือ่ และนวัตกรรม เพอื่ ใชจ้ ัดประสบการณ์ 4. ครูวัดผลประเมนิ เด็กด้วยวิธีการท่หี ลากหลาย เช่น สังเกต, สอบถาม, สมั ภาษณ์, การทดสอบ เปน็ ต้น 5. ใชก้ ระบวนการวจิ ยั ในช้ันเรียนในการปรับปรงุ พัฒนาคุณภาพเดก็ 6. การดำเนนิ โครงการสง่ เสริมสขุ ภาพอนามยั ของนักเรยี น เชน่ การแขง่ ขันกฬี าสภี ายในตำบลบึงเจรฺิญ, กิจกรรมกฬี าสีโรงเรยี น เพื่อเสริมสรา้ งร่างกายของเด็กให้มีสุขภาพท่ีสมบูรณ์ แข็งแรงตามวยั รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 39 7. จัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน/โครงงานคุณธรรม ,กิจกรรมกลุ่ม เพื่อฝึกให้เด็กได้มี ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ไข ปัญหาในสถานการณต์ ่าง ๆ 8. โครงการส่งเสริมหลักสูตร ได้แก่ กิจกรรมวันสำคัญของชาติ/วันสำคัญอ่ืน ,กิจกรรมวันเข้าพรรษา และวนั อาสาฬหบูชา, กิจกรรมวันมาฆบูชา ,กิจกรรมวันวิสาขบูชา, กิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระประจำสัปดาห์ , กิจกรรมวันไหว้ครู , กิจกรรมวันงดด่ืมสุรา, กิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ, กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ,กิจกรรมส่งเสริม ประชาธิปไตยในโรงเรียน กิจกรรมโรงสถานศกึ ษาสขี าว 9. โครงการส่งเสริมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเช่น กิจกรรมสหกรณ์ กิจกรรมการออม ทรัพย์ กิจกรรมมารยาทงาม กิจกรรมปลูกผักสวนครัว กิจกรรมตลาดนัดวิถีพอเพียง กิจกรรมการจัด ประสบการณ์บูรณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นต้น 10. โครงการโรงเรยี นคุณธรรม วถิ ีพุทธ จิตศึกษา โครงการสถานศกึ ษาสขี าว เพื่อปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงการโรงเรียนจิตศึกษา เพ่ือพัฒนาปัญญาภายในหรือความฉลาด ด้านใน พัฒนาด้านจิตวิญญาณ (Spiritual Quotient: SQ) และความฉลาดด้านอารมณ์ (Emotional Quotient: EQ) เพอื่ ทำให้เกิดความรู้เท่าทนั ตอ่ อารมณ์และความรู้สึกของตนเองและผูอ้ ่ืน แยกแยะสาเหตุและ เข้าถึงความจริง ทำให้เกิดการเปลี่ยนมุมมองเก่ียวกับโลกและผู้อ่ืนจากด้านใน ทำให้เกิดความสุข ปัญญาและ ความรกั อนั ไพศาลต่อเพ่ือนมนุษย์และสรรพสง่ิ 11. จดั ประสบการณก์ ารสอนภาษาไทยผ่านวรรณกรรม เพ่อื พัฒนาภาษาตามแนวภาษาธรรมชาติ 12. จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะด้านดนตรี ศิลปะ ดนตรี นาฎศิลป์, กิจกรรมแข่งขันทักษะทาง วิชาการ, กจิ กรรมจดั นิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ (Open House) นอกจากน้ี โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 3 ยงั ได้นำข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี จาก สมศ.แนะว่า ควรมีการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมเด็กในระยะเปลี่ยนผ่าน ฝึกทักษะกระบวนการ โดยโรงเรียน ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย 2. ผลที่เกดิ จากการพัฒนา 2.1 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยท่ีดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ จากการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย เด็กอนุบาล 2 และอนุบาล 3 รวมท้ังหมดจำนวน 26 คน พบว่าเด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายในระดับดี จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซ่ึงสูงกว่าค่าเป้าหมายท่ี กำหนด อย่างต่อเน่ือง 3 ปีการศึกษา จากกระบวนการพัฒนาส่งผลให้เด็กมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์ มาตรฐาน เคล่ือนไหว ร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือและตาประสานสัมพันธ์ได้ดี ดูแล รักษาสุขภาพ อนามัยตนเองและปฏิบัติจนเป็นนิสัย รับประทานอารหารกลางวันได้เอง แปรงฟัน ปฏิบัติตนตามข้อตกลง เกี่ยวกับความ ปลอดภัย หลีกเล่ียงสถาณการณ์ท่ีเสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติดและระวังภัยจากบุคคล ส่ิงแวดล้อม และสถานการณ์ ที่เสย่ี งอันตรายได้ รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 40 2.2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ จากการประเมินพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ เด็กจำนวน 26 คน พบว่าเด็กมีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ในระดับดี จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซ่ึงสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง 3 ปี การศึกษา จากกระบวนการพัฒนาส่งผลให้เด็กร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสม รู้จักยับย้ังช่ัง ใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่นมีจิตสำนึกและ ค่านิยมท่ีดี มีความม่ันใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปัน เคารพสิทธิ รู้หน้าท่ีรับผิดชอบ อดทนอด กล้ัน ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรมตามท่ีสถานศึกษากำหนด ชื่นชม และมีความสุขกับงานศิลปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว 2.3 เดก็ มพี ัฒนาด้านสังคม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ทด่ี ขี องสังคมได้ จากการประเมินพัฒนาการด้านสังคม เด็ก จำนวน 26 คน พบว่าเด็กมีพัฒนาการด้านสังคมใน ระดับดี จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซ่ึงสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง 3 ปีการศึกษา จาก กระบวนการพัฒนาส่งผลให้เด็กช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน มีวินัยในตนเอง ประหยัดและ พอเพียง มีส่วนร่วมดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม ในและนอกห้องเรียน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การยิ้ม ทักทาย การน่ัง การเดินและมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ เป็นต้น ยอมรับหรือเคารพความ แตกต่าง ระหว่างบุคคล เชน่ ความคิด พฤติกรรม พ้ืนฐานครอบครัว เชอ้ื ชาติ ศาสนา วฒั นธรรม เป็นต้น เลน่ และทำงาน รว่ มกับผ้อู ่นื ได้ แก้ไข ขอ้ ขดั แย้ง โดยไมใ่ ชค้ วามรนุ แรง 2.4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปญั ญา สือ่ สารได้ มีทกั ษะการคิดพน้ื ฐาน และแสวงหาความร้ไู ด้ จากการประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา เด็ก จำนวน 26 คน พบว่าเด็กมีพัฒนาการด้าน สติปัญญาในระดบั ดี จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 96.29 ซึ่งสูงกว่าคา่ เป้าหมายที่กำหนด ระดับพอใช้จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 5.88 จากกระบวนการพัฒนาส่งผลให้เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ ต้ัง คำถาม ในส่ิงที่ตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามค้นหาคำตอบ อ่านนิทาน และเล่าเรื่องท่ีตนเองอ่านได้ เหมาะสม กับวัย มีความสามารถในการคิด รวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การ คดิ แกป้ ญั หา และสามารถตัดสินใจในเร่ืองง่าย ๆ ได้ สรา้ งสรรค์ผลงาน ตามความคิดและจนิ ตนาการ เชน่ งาน ศิลปะ การ เคลื่อนไหวท่าทาง การเล่นอิสระ เป็นต้น และใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้อง ดิจิตอล เป็นต้น เป็น เครื่องมือในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ได้ โรงเรียนมีการรายงานและเปิดเผยผลการ ประเมินคุณภาพของเด็ก ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต้นสังกัด และผู้มีส่วน เก่ียวข้อง โดยการเผยแพร่ข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้ สมุดรายงานผลพัฒนาการของเด็ก จดหมายข่าว ผ่านเพจ โรงเรียน กลุ่มLine ในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา การประชุมผู้ปกครอง รวมถึงการจัดส่งรายงานการ ประเมินตนเองของสถานศึกษาให้หน่วยงาน ต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้องในทุกปีการศึกษา เม่ือพิจารณาผลการ ประเมินคุณภาพของเด็กทั้ง 4 ประเด็น สรุปได้ว่า เด็กระดับปฐมวัยมีพัฒนาการด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาบรรลุตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษากำหนด และมีการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ตาม หลักสูตรและมีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเสริมในการพัฒนาเด็กอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง จึงมี ผลการ ประเมินอยู่ในระดบั คุณภาพ ดีเลิศ ซึง่ บรรลคุ ่าเปา้ หมายตามทโี่ รงเรียนได้กำหนดไว้ รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 41 3. ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ท่ีสนบั สนุนผลการประเมิน ประเดน็ พจิ ารณา โครงการ/กิจกรรม หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์/ผลงานโดดเด่น 1. มีพัฒนาการดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มี - โครงการส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ น - แบบบนั ทึกนำ้ หนัก สว่ นสงู - แบบบันทกึ การด่ืมนม สุขนิสัยท่ีดี และดแู ล ความปลอดภัยของ รา่ งกายสำหรบั เด็กปฐมวยั - แบบบนั ทึกสขุ ภาพ - แบบประเมินสขุ ภาวะ ตนเองได้ - โครงการอาหารกลางวนั และอาหาร - แบบบนั ทึกการแปรงฟัน - แบบประเมนิ พฒั นาการเด็ก เสรมิ (นม) -รายงานผลการทดสอสมรรถภาพ - แผนการจัดประสบการณ์ - กจิ กรรมกฬี าสี กีฬากล่มุ -บันทกึ ผลการจดั ประสบการณ์ - บนั ทกึ การวเิ คราะหเ์ ด็กเป็นรายบุคคล - กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย - แบบบนั ทกึ พฤตกิ รรม - สมดุ รายงานประจำตวั นกั เรียน - กจิ กรรมสง่ เสรมิ ทักษะชวี ติ -แฟม้ สะสมงานของเด็กรายบุคคล –รายงานการพฒั นาคณุ ภาพ - กิจกรรมเคลอ่ื นไหวและจังหวะ การศกึ ษาปฐมวัยประจำปี - ภาพถ่ายกจิ กรรม - กจิ กรรมกลางแจง้ -รายงานผลโครงการสง่ เสริมพัฒนาการ - กจิ กรรมสำรวจบริเวณรอบโรงเรยี น ดา้ นร่างกายสำหรับเดก็ ปฐมวยั - รายงานผลการจดั กิจกรรม 2. มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ - กิจกรรมนกั เรยี น ดา้ นศลิ ปะ ดนตรี - แบบบนั ทกึ การจดั กจิ กรรม ควบคมุ และแสดงออก ทาง อารมณไ์ ด้ และกีฬา - แบบบันทกึ การร่วมกจิ กรรม - กิจกรรมศลิ ปะ ดนตรี วาดภาพ - แบบประเมินพฒั นาการเดก็ ระบายสี - แผนการจดั ประสบการณ์ -กิจกรรมรอ้ ง เลน่ เต้น อ่าน - บนั ทึกผลการจดั ประสบการณ์ -กจิ กรรมแขง่ ขันกีฬากลมุ่ –บนั ทึกการวิเคราะห์เดก็ เป็นรายบุคคล -กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานท่ี -สมุดรายงานประจำตัวนกั เรยี น -โครงการโรงเรียนคุณธรรม วถิ ีพทุ ธ -แฟ้มสะสมงานของเดก็ รายบุคคล -โครงการสถานศึกษาสขี าว -รายงานการพัฒนาคณุ ภาพ การศึกษา ปฐมวัยประจำปี -ภาพถ่ายกิจกรรม รายงานการประเมินตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564

ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ต น เ อ ง ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า | 42 ประเด็นพจิ ารณา โครงการ/กิจกรรม หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์/ผลงานโดดเดน่ 3. มพี ฒั นาการด้านสงั คม ชว่ ยเหลอื -โครงการส่งเสรมิ พัฒนาการด้าน สังคม -รายงานผลโครงการส่งเสรมิ พัฒนาการ ตนเอง และเป็นสมาชิก ทด่ี ีของสงั คม สำหรับเดก็ ปฐมวยั ดา้ นสังคมสำหรบั เด็กปฐมวัย -การทำงานตามพืน้ ทร่ี ับผิดชอบ รายงานผลการจดั กจิ กรรม -โครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม -แบบบนั ทกึ การจัดกจิ กรรม และค่านยิ มอนั พงึ ประสงค์ -แบบบนั ทกึ การรว่ มกิจกรรม -กิจกรรมวันสำคัญของชาติ เช่น กจิ กรรม -แบบประเมินพฒั นาการเดก็ วนั พอ่ , กจิ กรรมวนั แม่, -แผนการจดั ประสบการณ์ -กิจกรรมวนั สำคัญทางศาสนา -บนั ทกึ ผลการจดั ประสบการณ์ - บันทึก เช่น กจิ กรรมวนั ไหว้ครู, กิจกรรมวนั การวเิ คราะห์เด็กเป็น เข้าพรรษา ,กิจกรรมวันมาฆบูชา รายบุคคล -สมุดรายงานประจำตัวนกั เรยี น 4. มีพัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา สื่อสารได้ -โครงการสง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ น -รายงานผลโครงการส่งเสรมิ พฒั นาการ ด้านสตปิ ัญญาสำหรับเดก็ ปฐมวยั มีทกั ษะการคดิ พน้ื ฐาน และแสวงหา สตปิ ญั ญาสำหรบั เดก็ ปฐมวยั -รายงานผลการจดั กจิ กรรม - แบบบนั ทึกการจดั กจิ กรรม ความรูไ้ ด้ -โครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย -แบบบันทึกการรว่ มกจิ กรรม -แบบประเมินพัฒนาการเด็ก แห่งประเทศไทย -แผนการจัดประสบการณ์ -บนั ทกึ ผลการจดั ประสบการณ์ -กจิ กรรมโครงงาน -บนั ทึกการวิเคราะหเ์ ดก็ เปน็ รายบคุ คล -สมดุ รายงานประจำตวั นกั เรยี น -กจิ กรรมสง่ เสริมนสิ ัยรกั การอ่าน -แฟม้ สะสมงานของเดก็ รายบคุ คล -รายงานการพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษา -แสดงบทบาทสมมุติ ปฐมวยั ประจำปี - ภาพถา่ ยกิจกรรม -ร่วมการแขง่ ขนั ทักษะทางวิชาการ -เกียรตบิ ตั ร/ปา้ ยบ้านนักวทิ ยาศาสตร์ นอ้ ยแหง่ ประเทศไทย -การวาดภาพระบายสี การตัด ฉกี ตดั ปะ -กจิ กรรมการเรยี นรนู้ อกหอ้ งเรยี น -จติ กรรมจติ ศึกษา รายงานการประเมนิ ตนเอง SAR โรงเรยี นนคิ มสรา้ งาตนเอง 3 ของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook