Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CBL ผ.บ.ก. รุ่นที่ 35(2) กลุ่ม 1

CBL ผ.บ.ก. รุ่นที่ 35(2) กลุ่ม 1

Published by satakorn, 2022-08-11 01:39:30

Description: CBL ผ.บ.ก. รุ่นที่ 35(2) กลุ่ม 1

Search

Read the Text Version

รายงานผลการศึกษา การบรหิ ารยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านสาธารณสขุ โดยกระบวนการ Community Based Learning (CBL) กรณีศึกษา อำเภอเมอื ง จงั หวดั สงขลา จัดทำโดย ผ้เู ขา้ รับการอบรมหลักสูตรผบู้ รหิ ารการสาธารณสุขระดบั กลาง รุ่นท่ี 35 (2) กล่มุ ที่ 1 ปีงบประมาณ 2565 วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสริ ินธร จังหวดั ยะลา

รายงานผลการศึกษา การบรหิ ารยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านสาธารณสขุ โดยกระบวนการ Community Based Learning (CBL) กรณีศึกษา อำเภอเมอื ง จงั หวดั สงขลา จัดทำโดย ผ้เู ขา้ รับการอบรมหลักสูตรผบู้ รหิ ารการสาธารณสุขระดบั กลาง รุ่นท่ี 35 (2) กล่มุ ที่ 1 ปีงบประมาณ 2565 วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสริ ินธร จังหวดั ยะลา

1 คำนำ รายงานนี้เป็นส่วนหน่งึ ของการเข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) กลุ่มที่ 1 รุ่นที่ 35 (2) ประจำปีงบประมาณ 2565 รายวิชา “ การบริหารยุทธศาสตร์ชาติด้าน สาธารณสุข โดยกระบวนการ Community Based Learning (CBL) ณ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จงั หวัดยะลา ซ่งึ เป็นหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุข โดยวทิ ยาลัยนกั บรหิ ารสาธารณสุข เพ่ือพัฒนาสมรรถนะ ท่ีพึงประสงค์สำหรบั ผูบ้ ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง ให้สามารถบริหารจดั การ และบริหารงานได้อย่างมือ อาชีพเป็นแบบอยา่ งที่ดีด้านคุณธรรมมีจิตสำนกึ ในความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าท่ี และจรรยาบรรณวชิ าชีพ เสริมสร้างความสามัคคี และใช้ความสามารถในความหลากหลายของทีมงานในการทำงานร่วมกันเป็น เครือข่ายการบริหารงาน ในการร่วมกันขับเคลื่อนภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข และเป็นผู้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตทดี่ ีเหมาะสมกบั บทบาทหน้าทีผ่ บู้ ริหาร ผู้เข้ารับการอบรมอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผบก.) กลุ่มที่ 1 รุ่นที่ 35 (2) ขอขอบพระคุณท่านวิทยากร และคณาจารย์/เจ้าหน้าที่ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา ทุกท่าน ที่กรุณาให้ความรู้ ให้คำปรึกษา และสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดหลักสูตร ซึ่งจะทำให้ บรรลุวัตถุประสงค์ของรายวิชาดังกล่าว ในครั้งนี้ทุกประการ และหวังว่าเอกสารสรุปการเรียนรู้ฉบับนี้จะเป็น ประโยชนใ์ นการทบทวนความรูส้ ำหรับผู้บรหิ ารการสาธารณสุขระดับกลางตอ่ ไป คณะผจู้ ัดทำ CBL กลมุ่ 1 หลกั สตู รผบู้ รหิ ารการสาธารณสขุ ระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รนุ่ ท่ี 35 (2) ประจำปงี บประมาณ 2565 18 สงิ หาคม 2565

2 1 2 บทนำ 3 สารบญั รายนามผู้เขา้ รับการอบรม ผ.บ.ก. กลุม่ 1 5 บทที่ 1 บริบทชุมชนและองค์กร 8 1.1 ข้อมลู ทั่วไป 10 1.2 ข้อมูลสขุ ภาพ 11 บทท่ี 2 วเิ คราะหป์ ัญหาและจดั ลำดบั ความสำคัญ 2.1 การวิเคราะห์จุดออ่ น จดุ แขง็ โอกาส และภยั คุกคาม 12 2.2 กำหนดประเด็นสำคัญในการจดั ทำแผนกลยทุ ธ์ บทที่ 3 การวางแผนกลยุทธ์ และตวั ชีว้ ดั การดำเนินการ 14 3.1 วเิ คราะห์จดั ทำแผนกลยุทธ์และตวั ชีว้ ัด 14 บทท่ี 4 สรุปบทเรียนกระบวนการ CBL 15 4.1 ด้านการพัฒนาตนเองและทมี งาน 4.2 ดา้ นการพฒั นางาน ภาพกจิ กรรมกระบวนการ CBL กลุ่ม 1

3 รายนามอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา /รายนามสมาชิกประจำกลุ่ม 1 รายนามอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา 1.อาจารย์ ภก. อวริ ทุ ธ์ สงิ หก์ ุล รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ วิจยั และบรกิ ารวิชาการ 2.อาจารย์ ดร. ภคั ณัฐ วีรขจร หวั หนา้ กลุ่มงานศนู ยศ์ ึกษาการแพทยฉ์ ุกเฉนิ รายนามสมาชิกประจำกล่มุ 1 1.นายจอมชัย คงมณกี าญจน์ นักวชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ สสจ.พษิ ณโุ ลก ประธานกล่มุ 2.นายอมร หวดั สนิท นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ สสอ.พุนพนิ รองประธานฯ 3.นางบงกชรัตน์ จันทร์สนทิ ศรี พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ รพ.อทุ ุมพรพสิ ัย รองประธานฯ 4.นายศตกร ธนสู นธิ์ ผู้จัดการกลุ่มภารกิจ สปสช.เขต ๑ เชยี งใหม่ รองประธานฯ 5.นางปทั มา ผาติภทั รกลุ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพเิ ศษ วพบ.สระบรุ ี เลขานกุ าร 6.นางสาวศริ ประภาว์ ผลสิ ินเอ่ยี ม ผูจ้ ดั การฝา่ ยสอื่ ดจิ ิทัลและสรา้ งสรรค์ สปสช. 7.นางพรรณิภา ไชยรัตน์ พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ สสจ.ขอนแกน่ 8.นางสาวรุ่งนภา เขยี วชอ่ำ พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการพิเศษ วพ.พระปกเกลา้ จันทบุรี 9.นางสาวฐิตริ ัตน์ โสธรเจริญสินธ์ุ พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ รพ.สต.บางซอ่ น 10.นางสาวสชุ าดา ทวีรตั นพันธ์ ทันตแพทยช์ ำนาญการพเิ ศษ รพ.เทพรัตนเวชชานกุ ลู ฯ 11.นางวภิ าดา ธรรมศริ ิ พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการ โรงพยาบาลแม่วาง 12.นายสมจติ ร สนิ ธุโทวงศ์ นกั วชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ สสอ.ทงุ่ สง 13.นางสาววรรณเพญ็ ดวงวิชัย นักวิชาการเงินและบญั ชีชำนาญการ กรมสขุ ภาพจิต 14.นายซำสดุ ิน หามะ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สสอ.รอื เสาะ 15.นายฟาฏลิ อะหะหมดั สาและอารง นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ รพ.นราธิวาสราชนครินทร์ 16.นายสวุ ฒั น์ ทองเลก็ นักวชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการ สสอ.แว้ง 17.นางสภุ ัทรา มูนะ นักเทคนคิ การแพทย์ชำนาญการพเิ ศษ รพ.นราธิวาสราชนครนิ ทร์ 18.นายสิรวชิ ญ์ พันธนา เภสัชกรชำนาญการ รพ.บึงกาฬ 19.นายนาซรี หะสาเมาะ นักจดั การงานทั่วไปชำนาญการ รพ.สมเดจ็ พระยุพราชยะหา 20.นางมนี า เอย่ี มสุวรรณ นักวชิ าการเงินและบัญชีชำนาญการ รพ.ยะลา 21.นางสาวสุวนันท์ กาลัญกุล พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการพิเศษ รพ.ยะลา 22.นายสถติ ปัสกูล เจ้าพนักงานสาธารณสุขอาวุโส โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลบางงา 23.นางสาวชุลพี ร วงพรม เจา้ พนกั งานสาธารณสขุ อาวุโส รพ.สต.บุฮม 24.นางพนารัตน์ ณรงคศ์ ักด์ิ นักวชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ รพ.สต.หาดทรายขาว 25.นายวชิรากรณ์ ตลับนาค เจา้ พนกั งานสาธารณสุขอาวุโส รพ.สต.โคกขม้นิ 26.นายคเชนทร์ ใขคำ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน สสอ.อากาศอำนวย 27.นางปรศิ นา บญุ สรอ้ ย นกั วชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ รพ.สต.บา้ นม่วงไขน่ ้อย 28.นางสาวพิมใจ ขันทองคำ เจ้าพนกั งานสาธารณสขุ ชำนาญงาน รพ.สต.บา้ นโปร่งเจริญ 29.นายทองคำ ใบโพธ์ิ พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ รพ.ฮอด

4 รายนามอาจารย์ที่ปรกึ ษา /รายนามสมาชิกประจำกล่มุ 1 (ต่อ) รายนามสมาชกิ ประจำกลมุ่ 1 30.นายปยิ ะสวุ รรณ ตุง้ แก้ว ผู้จัดการกลมุ่ ภารกจิ สปสช.เขต ๑๒ สงขลา 31.นายอนนั ท์ เสียมไหม นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ สสอ.ทงุ่ หวา้ 32.นางวชิ มุ า พชิ ญ์วรกุล นักวชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ สสอ.ละงู 33.นางขนิษฐา สวนแสน นักวิชาการหลกั ประกันสขุ ภาพ สปสช.เขต ๑๒ สงขลา 34.นายพรเทพ ธาราเวชรักษ์ นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ รพ.สต.นำ้ ริด 35.นายประทิน บญุ เฉลียว นกั วชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ รพ.สต.นาทุ่ง 36.นางปารสิ า ศรโี ท พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ สสอ.ตระการพืชผล 37.นางผ่องศิริ สะนัย พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ รพ.สต.โนนยาง

5 บทท่ี 1 บริบทชมุ ชนและองคก์ ร 1.1 ข้อมลู ทั่วไป คำขวัญ “เมอื งใหญ่ตระการตา งามสงา่ สะพานตณิ ทักษิณคดสี ถาน ตำนานรัฐบรุ ษุ สงู สดุ เขาตังกวน เสน่ห์ล้วนผ้าเกาะยอ” ประวัติความเปน็ มาของอำเภอเมืองสงขลา ความเป็นมา สงขลาเป็นเมืองท่าที่สำคัญเมืองหนึ่งตั้งอยู่ทางฝั่งทะเลตะวันตกของอ่าวไทยตั้งแต่ สมัยโบราณมีชมชนโบราณและเมืองเก่าแก่หลายเมือง มีศิลปะโบราณวัตถุโบราณสถานขนบธรรมเนียม ประเพณีภาษา การละเล่นพื้นเมือง ศิลปพื้นเมืองเป็นมรดกทางวัฒนธรรมจังหวดสงขลา ปัจจุบันปรากฏว่า มี ร่องรอยหลักฐานทางด้านโบราณคดีที่มีอายเก่าแก่กว่าสมัยอยุธยา เช่น บริเวณอำเภอสทิงพระได้พบซาก อาคารสถาปัตยกรรม ประติมากรรม เช่น พระโพธิสัตว์ เทวรูปที่เกี่ยวเนื่องในศาสนาพุทธลัทธิมหายาน และ ศาสนาพราหมณ์มีอายุในศตวรรษที่ 13 เช่นกัน ซึ่งแสดงให้เห็นว่าในเขตอำเภอดังกล่าว เป็นเมืองโบราณ ปรากฏช่อื ในจดหมายจดหมายเหตจุ นี ของหลวงจีนอ้ีซงิ “เซโลถิง” ซงึ่ อาจตรงกบั คำวา่ “สทงิ พระ” กเ็ ป็นได้ซึ่ง อยูใ่ นสมยั ท่นี ักโบราณคดีเรยี กวา่ “ศรวี ชิ ยั ” ตอ่ มา สงขลาไดป้ รากฏชื่อในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาสม ยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 แห่ง กรุงศรีอยุธยา พ.ศ. 1893 เป็นเมืองประเทศราชในจำนวน 16 เมือง ที่ตั้งตัว เมืองในสมัยอยู่ในท้องที่หมู่ที่ 7 ตำบลหัวเขา อำเภอสิงหนคร (บริเวณเขาแดง) ยังมีโบราณสถานป้องคูเมือง และทฝ่ี ังศพเจ้าเมอื ง (สลุ ตา่ นสไุ ลมาน) ใหศ้ กึ ษาอยู่ เมื่อ พ.ศ. 2185 ในสมัยพระเจ้าปราสาททองแห่งกรุงศรีอยุธยาเจ้าเมืองสงขลา ตั้งตัวขึ้นเป็น อิสระไม่ยอมขึ้นแก่กรุงศรีอยุธยา ทางกรุงศรีอยุธยาส่งกองทัพมาปราบ แต่ไม่เป็นผลสำเร็จ จนถึง พ.ศ. 2223 สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช สง่ กองทพั มาปราบสงขลาได้ สงขลาจึงขึน้ ต่อกรุงศรอี ยุธยาตลอดมา พ.ศ. 2310 ประเทศสยามเสียกรงุ ศรอี ยธุ ยาแก่พม่าได้เกิดกก๊ ตา่ งๆ ขึ้น เจ้าพระยามหานคร ซึ่งตั้ง ตัวเป็นใหญ่ ได้ตั้ง นายวิเถียรญาติ มาเป็นเจ้าเมือง เมื่อพระเจ้ ากรุงธนบุรีปราบก๊กเจ้านครได้แล้ว พ.ศ. 2312 - 2325 ได้ตั้งให้ จีนเหยี่ยง แซ่เฮา ซึ่งเป็นนายอากรรังนกขึ้นเป็นเจ้าเมือง ได้รับพระราชทานนาม เป็น “หลวงสุวรรณคีรีสมบัติ” (ต้นตระกูล ณ สงขลา) มีตัวเมืองตั้ง อยู่ในท้องที่ หมู่ที่ 1 (แหลมสน) ตำบลหัว เขา อำเภอสงิ หนคร คนละฟากฝั่งกบั สงขลาปัจจบุ ัน (บ่อยาง) ขณะนี้ ยังมีหลกั ฐานซง่ึ ชาวบ้านเรยี กว่า “ท่ีวัง” ซึ่งเป็นที่ตั้งวังเจ้าเมืองและตัวเมือง สมัยรัตนโกสินทร์และยกสงขลาขึ้นเป็นเมืองเอกขึ้น ต่อกรุงเทพมหานคร ปกครองเมืองปัตตานี กลันตัน ตรงั กานู จนกระทั่ง พ.ศ. 2370 สมยั ของสมเด็จพระรามาธบิ ดีที่ 3 แหง่ รตั นโกสนิ ทร์ (พระบาทสมเด็จพระ นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2367 - 2394) โปรดเกล้าฯ ให้พระยาวิเชียรคีรี (เถี้ยนเส้น) ผู้สำเร็จราชการเมือง สงขลา ก่อสร้างปอ้ มกำแพงเมืองระหว่างที่สร้างนี้ ตวนกอู าหมดั สะอัด ชกั ชวนหวั เมืองไทรบรุ ี ปัตตานี และหัว เมืองทงั้ 7 ยกมาตสี งขลา เมอ่ื ปราบขบถราบคาบแล้ว จงึ ไดส้ ร้างปอ้ มและกำแพงเมืองสงขลาจนเสรจ็ สิน้ โปรด เกล้าฯ ให้ฝังหลักเมือง โดยพระราชทานเทียนชัยพฤกษ์กับเครื่องไทยทานอาราธนาสมเด็จอุดมปิฎำ พระสงฆ์ อินเดยี 8 รูปเปน็ ประธาน พระอษั ฎาจารยพ์ ราหมณ์ มชี อ่ื 8 นาย ออกมาใหพ้ ระยาสงขลาฝงั หลักเมือง พระยา

6 สงขลาได้จัดแจงทำโรงพิธีกลางและโรงพิศ 4 มุมเมือง กับโรงพิธีพราหมณ์เสร็จแล้ว ณ วันศุกร์ ขึ้น 10 ค่ำ ปี ขาล จุลศกั ราช 1204 เวลาเช้าโมงหนึ่งกับสิบนาที (ตรงกับวนั ศุกร์ ท่ี 10 มนี าคม 2385 เวลา 07.10 น. ) ได้ฝงั หลักชัยพฤกษ์ลงไว้กลางเมืองสงขลา (ปัจจุบันเป็นศาลเจ้าเมืองหลักเมือง) ตัวเมืองที่ย้ายมานี้ คือตัวเมืองทาง ฝั่งตะวันออกของแหลมสน หรือที่เรียกว่า “บ่อยาง” คือในเขตเทศบาลเมืองสงขลาปัจจุบันนี้เอง ในสมัย ราชการที่ 5 ได้ปฏิรูปการปกครองเป็นมณฑลเทศาภิบาล เมืองสงขลาจึงเปน็ ที่ตัง้ ของมณฑลเทศาภิบาล เมือง สงขลาจึงเป็นทต่ี ัง้ ของมณฑลนครศรีธรรมราช ต่อมาเมื่อประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบยี บบริหารราชการแผ่นดนิ พ.ศ. 2495 จงึ เป็นที่ตั้งภาค 9 แม้ภายหลังจึงยุบเลิกภาค และประกาศใช้คณะปฏิวัติฉบับที่ 218 ลงวันที่ 29 กันยายน 2509 แทน พระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแผ่นดิน พ.ศ. 2495 แล้วก็ตาม การบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัด สงขลา กย็ งั เป็นทตี่ ั้งของของเขตและภาคอยู่ในบันทกึ ของพ่อค้าชาวฮอลันดา ทีเ่ ขา้ มาติดต่อค้าขายในสมัยกรุง ศรีอยุธยาเรียก เมืองสงขลาว่า “แซงกลา” แต่ในหนังสือประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่ง ราชอาณาจักรสยามของ นายนิโคลาส แซร์แวส เรียกชื่อเมืองสงขลา ว่า “เมืองสิงขร” จึงทำให้มีการสนั นิฐาน ว่าที่มาของชื่อเมืองสงขลานั้นมีสอง แนวด้วยกัน คือ แนวแรกคือ ชื่อสงขลาเพี้ยนมาจาก ชื่อ“สงหลา” หรือ “สิงขร” ซึ่งแปลวา่ ภูเขา คือ เกาะหนูและเกาะแมว เมื่อมองจากทะเลด้านนอก จะเห็นเป็นสิงหส์ องตัวหมอบ อย่จู รงิ จึงเรยี กเมอื งสงขลาว่า “เมอื งสงิ ห์” แนวที่สองก็อ้างวา่ เมืองสงขลามภี ูเขามากมาย เพราะต้ังอยู่บริเวร เขาชิงแดง และสมัยหลงั มีการพระราชทานนามเจ้าเมืองสงขลาว่า “วิเชียร” จึงน่าจะมาจากชื่อ “สิงขร” หรือ “สขิ ร” ลักษณะภูมอิ ากาศ อำเภอเมอื งสงขลา มี 2 ฤดูกาล คอื ฤดรู ้อน และฤดูฝน 1. ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนตุลาคม ระยะนี้เป็นช่วงฤดูมรสุม หลังจากสิ้นฤดู มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อากาศเริ่มร้อนและมีอากาศร้อนที่สุดในเดอื นเมษายน แต่ไม่ร้อนนัก เนื่องจากอยู่ ใกล้ทะเล กระแสลมและไอน้ำพัดผ่านทำให้อากาศร้อนเบาบางลง และในราวเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน เป็น ชว่ งที่มรสุมตะวนั ออกเฉียงใต้ ซึ่งเปน็ มาสุมหนา้ รอ้ นพัดผ่านมหาสมทุ รอินเดีย นำความชนื้ และไอน้ำมาปกคลุม และฝนตกโดยท่วั ไป 2. ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม-มกราคม อำเภอเมืองสงขลา ตั้งอยู่ชายทะเลอ่าวไทย ได้รับ อทิ ธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ทพี่ ัดผา่ นอ่าวไทย ทำให้มฝี นตกชุกในทะเลคลื่นลมแรงมาก ซึง่ เป็นช่วง ทช่ี าวนาไดป้ ระกอบอาชพี ทำนาจา้ ง โดยอาศัยนำ้ ฝนจากมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนอื ลกั ษณะภมู ิประเทศ จังหวัดสงขลาทางตอนเหนือเป็นคาบสมุทรแคบและยาว ยื่นมาทางใต้ เรียกว่าคาบสมุทรสทิง พระ กับส่วนที่แผ่นแผ่นดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าทางตอนใต้ ผืนดินทั้งสองส่วนเชื่อมต่อกัน โดยสะพานติณสูลา นนท์ พื้นที่ส่วนใหญ่ทางทิศเหนือส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ทิศตะวันออกเป็นที่ราบริมทะเล ทิศใต้และทิศ ตะวนั ออกเป็นทีร่ าบสูงและภูเขา ซงึ่ เปน็ แหล่งกำเนดิ ตน้ น้ำลำธารทีส่ ำคัญ

7 การปกครอง อำเภอเมืองสงขลาประกอบด้วย 6 ตำบล คือ ตำบลเขารูปช้าง ตำบลพะวง ตำบลเกาะแต้ว ตำบลท่งุ หวัง ตำบลเกาะยอ และตำบลบอ่ ยางซึ่งเป็นเขตเทศบาลเมืองสงขลา แผนท่อี ำเภอเมืองสงขลา ประชากร เชื้อชาติ ภาษา ประชากรในอำเภอเมืองสงขลามีทั้งคนท้องถิ่นที่เป็นคนไทย พูดภาษาไทยแบบภาษาถิ่นสงขลา ซึ่งตั้งถิ่นฐานสืบต่อมาไม่น้อยกว่าพุทธศตวรรษที่ 18 แล้ว ยังมีการเข้ามาตั้งถิ่นฐานของกลุ่มพ่อค้าอาหรับ- มาเลย์ มาตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 22 การเข้าตั้งถิ่นฐานของผู้คนจากมาเลเซียที่นับถือศาสนาอิสลาม และการ เขา้ มาตั้งถน่ิ ฐานอย่างตอ่ เนอื่ งและเปน็ จำนวนมากของคนจีน ในตน้ พุทธศตวรรษท่ี 24 สว่ นคนที่มเี ชอ้ื สายอื่นๆ เช่น อินเดยี และชาวตะวนั ตก มีอยไู่ ม่มากนัก และเพิม่ ในพทุ ธศตวรรษท่ี 26

8 1.2 ข้อมลู สขุ ภาพ ข้อมลู หนว่ ยบริการ o โรงพยาบาลท่วั ไป 1 แห่ง o ศนู ย์สุขภาพชุมชน 6 แห่ง o โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบล 10 แหง่ o สำนักงานสาธารณสขุ อำเภอ 1 แห่ง ขอ้ มูลบคุ ลากร

9 จากการศกึ ษาข้อมูลดา้ นสาธารณสุขสามารถระบปุ ัญหาสาธารณสุขได้ ดงั นี้ 1. โรคไม่ติดตอ่ เรื้อรงั ไดแ้ ก่ โรคเบาหวาน โรคความดนั และภาวะแทรกซอ้ น 2. โรคอุบตั ิใหมแ่ ละโรคประจำถ่ิน (COVID-19) 3. ปัญหาสุขภาพมารดา ทารก 4. การอุปโภคและบรโิ ภคผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพทเ่ี ป็นอนั ตรายและการโฆษณาเกินจริง ปัญหาสาธารณสุขข้างต้น เมื่อนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดลำดับความสำคัญของปัญหาด้วย ขนาดของปญั หา ความรนุ แรง ความยากงา่ ย และความรว่ มมือ/ ความเปน็ ไปได้ในการแกป้ ัญหา พบว่า โรคไม่ ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดัน และภาวะแทรกซ้อน เป็นปัญหาที่มีความจำเป็นเร่งด่วนและมี ความเปน็ ไปไดใ้ นการแกไ้ ขปัญหา เป็นอันดบั ท่ี 1 วิเคราะห์สถานการณ์ในพื้นที่โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุข และเป็นสาเหตุการป่วย และการตายอันดับตน้ ๆ ของประชาชน ในอำเภอสงขลา และมีแนวโนม้ เพิ่มขึ้น พบว่า ระหว่างปี 2562-2564 อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ เท่ากับ 32.80, 46.73 และ 49.10 โรคความดันโลหิตสูง เท่ากับ 157.45,147.56 และ 161.00 โรคหลอดเลือดสมอง เท่ากับ 65.81,57.86 และ 55.11 และอัตราตายด้วย โรคเบาหวาน เท่ากับ 74.17, 65.09 และ 67.56 ตามลำดบั พบว่าปญั หาในการดำเนินงานควบคุมและป้องกัน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2564 ในประเด็นดังต่อไปนี้ เช่น การคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและ เบาหวาน ผลงานร้อยละ 83.93 และ 84.42 ยังต่ำกว่าเป้าหมาย และ ค่า Base line ของเขต/ประเทศ ( 90.75/84.62 ) เป็นต้น ในเขตเมืองและเขตเทศบาล คัดกรองได้ต่ำกว่าเป้าหมาย และการติดตามกลุ่มสงสัย ป่วยโรคเบาหวานเพื่อยืนยันวินิจฉัย ผลงาน ร้อยละ 36.85 ยังไม่บรรลุตามเป้าหมาย (เป้าหมาย ร้อยละ 60) และต่ำกว่า Base line ของเขต/ประเทศ (51.71/60.27) และ ผู้ป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวาน ไม่ได้เกิดจาก กลมุ่ เส่ยี งดว้ ยโรคเบาหวาน แต่เกดิ จากกลมุ่ ปกติ ร้อยละ 97.15 ผู้ป่วยเบาหวานท่ีสามารถควบคุมระดับนำ้ ตาล ในเลือด (HbA1c) ได้ตามเกณฑ์ ผลงาน ร้อยละ 19.89 ต่ำกว่าเกณฑ์เป้าหมาย(เป้าหมายร้อยละ 40), ผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ ร้อยละ 43.05 ยังต่ำกว่าเกณฑ์เป้าหมาย (เป้าหมาย ร้อยละ 50) และต่ำกว่า Base line ระดับเขตและระดับประเทศ (46.96/46.92) รวมถึงความ ครอบคลมุ ในการขนึ้ ทะเบยี นผปู้ ่วยโรคเบาหวาน ร้อยละ 78.86 ความดันโลหิตสูง รอ้ ยละ 78.20 ซึ่งต่ำกว่าค่า เปา้ หมาย (เปา้ หมาย รอ้ ยละ 90) ความครอบคลุมของการตรวจภาวะแทรกซ้อนประจำปี รอ้ ยละ 43.62 ซึ่งตำ่ กวา่ คา่ เปา้ หมาย (เปา้ หมายรอ้ ยละ 60) คณุ ภาพของการส่งออกข้อมลู ในบางแฟ้ม สง่ ผลถึงการเชื่อมโยงระบบ ข้อมูลที่มีคุณภาพในการดูแลผู้ป่วย (ผลการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2565 ตั้งแต่ วันท่ี 1 ตลุ าคม 2564- 31มีนาคม 2565 จากฐานขอ้ มูล HDC ณ วันท่ี 31 มีนาคม 2565)

10 บทที่ 2 วิเคราะหป์ ัญหาและจดั ลำดบั ความสำคญั 2.1 การวิเคราะหจ์ ดุ ออ่ น จุดแข็ง โอกาส และภัยคกุ คาม วเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มองค์กรในการจดั การปัญหา (SWOT) Strengths (จดุ แขง็ ) - นโยบายผู้บรหิ ารชัดเจน - บคุ ลากรมีความรกั ผกู พนั ธ์องค์กร และมุ่งมั่นทุ่มเท - วิเคราะห์ประเดน็ ไดส้ อดคล้องกบั ปัญหาด้านสุขภาพในพนื้ ที่ - การบรหิ ารจดั การทโ่ี ปร่งใส - สถานบริการไดม้ าตรฐาน Weaknesses (จดุ อ่อน) - งบประมาณไมเ่ พยี งพอ - การกระจายพยาบาลวชิ าชพี ในพนื้ ท่ียงั ไม่เหมาะสม - สมรรถนะของบุคลากรในเครือข่ายยังขาดองค์ความรูใ้ นการปฏิบัติงาน - บุคลากรขาดความรู้ ทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยีท่ที ันสมยั - การประสานงานภายในขาดประสิทธภิ าพ Opportunities (โอกาส) - นโยบายภาครัฐท่ีเออ้ื ต่อการดูแลสขุ ภาพของประชาชน - มีนโยบายระดบั จังหวดั ทมี่ ุ่งเน้นการดแู ลโรค NCD - มีกองทนุ สนบั สนนุ โรค NCD ที่ชัดเจนจาก สปสช. - ผูน้ ำชมุ ชนเห็นความสำคญั และใหค้ วามรว่ มมือในการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข - มเี ครือขา่ ย อสม.และชมุ ชนที่เขม้ แข็งมีความรู้ความสามารถในการคัดกรองโรค NCD - ประชาชนมคี วามเชอ่ื มน่ั และพงึ พอใจในบรกิ ารสาธารณสุข - มพี นื้ ที่สาธารณะสำหรับทำกิจกรรมและการออกกำลังกาย Threats (อุปสรรค) - สถานการณ์การระบาดของ COVID-19 - เปน็ พ้ืนท่ีเขตเมืองสง่ ผลใหป้ ฏิบตั ิงานยาก - ผู้ป่วยโรค NCD กลุ่มผสู้ ูงอายุทภ่ี าวะพึง่ พงิ และกลมุ่ เปราะบาง มจี ำนวนมาก - การเขา้ ถงึ การบริการทางการแพทย์ ของผปู้ ว่ ยโรค NCD กลุ่มผูส้ ูงอายุทภี่ าวะพ่ึงพิง และกลุ่มเปราะบางเ - ประชาชนในพน้ื ท่ีขาดความรอบรูท้ างสุขภาพ (HL)

11 2.2 กำหนดประเด็นสำคัญในการจดั ทำแผนกลยทุ ธ์ ความได้เปรยี บเชิงกลยุทธ์ - การจัดการโรค NCD ท้ัง 4 มิตโิ ดยการมีสว่ นรว่ มของสหวิชาชพี และภาคเี ครือขา่ ย - สนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ ศกั ยภาพในการจดั การโรค NCD ภายใต้ทรัพยากรที่มคี วามพรอ้ ม - สถานบริการมีมาตรฐาน การบรหิ ารจดั การโปร่งใส ประชาชนเช่อื มั่นและพงึ พอใจในบริการ สาธารณสขุ ความท้าทาย - การบริการจดั การบคุ ลากรให้มกี ารกระจายทเี่ หมาะสมกบั พ้นื ท่แี ละภาระงาน - พฒั นาศักยภาพบุคลากรและภาคีเครือขา่ ยใหม้ ีความพร้อมในการจัดการโรค NCD โดยใช้เทคโนโลยีท่ี ทนั สมัย ประเด็นการพฒั นา/ แผนงานโครงการ จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กรเพ่ือวางแผนแก้ไขปญั หาโรคไม่ตดิ ตอ่ เรื้อรงั ก่อใหเ้ กิด แผนกลยุทธ์ในการดำเนินงาน คอื แผนกลยุทธ์การจดั การโรค NCD ในประชาชนพื้นทอ่ี ำเภอเมอื งสงลา ประกอบด้วย 5 ประเด็น คือ กลยทุ ธ์ 1 การบรหิ ารการจดั การดา้ นสาธารณสขุ โดยม่งุ ผลสมั ฤทธ์ิในรปู แบบ องค์กรอัจฉรยิ ะ SMARTกลยุทธ์ 2 สถานบรกิ ารได้มาตรฐาน กลยุทธ์ 3 การบริหารจดั การใหม้ ีความโปรง่ ใส กลยุทธ์ 4 บคุ ลากรมีความสขุ และสมรรถนะ และกลยุทธ์ 5 ประชาชนมีสุขภาพดี

12 บทที่ 3 การวางแผนกลยทุ ธ์ และตัวชีว้ ดั การดำเนนิ การ 3.1 วิเคราะหจ์ ดั ทำแผนกลยทุ ธ์และตัวชีว้ ดั กลยุทธ์ 1 การบรหิ ารการจดั การดา้ นสาธารณสุขโดยมงุ่ ผลสมั ฤทธ์ใิ นรปู แบบองค์กรอัจฉรยิ ะ SMART โครงการ 1.1 การป้องกนั และควบคุมโรค SMART NCD วตั ถุประสงค์ : 1) พฒั นาเทคโนโลยีเพื่อดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค NCD 2) เพ่ือเพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการดำเนินงานดา้ นการป้องกันและควบคุมโรค NCD ในพน้ื ท่ี KPI : ร้อยละ 60 ของสถานบรกิ ารพฒั นาเทคโนโลยีเพอ่ื ใช้ในการดำเนนิ งานป้องกนั และควบคุมโรค NCD โครงการ 1.2 การพฒั นาเพื่อรองรับการเข้าส่สู ังคมผู้สงู อายุ และกลุ่มเปราะบาง (LTC) วัตถุประสงค์ : 1) พฒั นาเทคโนโลยีเพื่อดำเนินงานป้องกันและควบคมุ โรค NCD 2) เพือ่ เพมิ่ ประสิทธิภาพในการดำเนนิ งานด้านการเขา้ ส่สู ังคมผ้สู ูงอายุและกลมุ่ เปราะบาง (LTC) KPI : ร้อยละ 60 ของสถานบริการพฒั นาเทคโนโลยเี พอ่ื ใช้ในการดำเนินงานดูแลผสู้ งู อายุและกลุ่มเปราะบาง ( LTC) โครงการ 1.3 พฒั นาระบบสารสนเทศและการส่อื สารสาธารณะ วัตถปุ ระสงค์ 1) พฒั นาระบบสารสนเทศดา้ นข้อมูลสขุ ภาพ 2) พฒั นาศักยภาพบุคลากรด้านการใชเ้ ทคโนโลยแี ละระบบสารสนเทศ KPI : ร้อยละ 90 ของบุคลากรไดร้ ับการพัฒนาศักยภาพดา้ นเทคโนโลยีและการใชร้ ะบบสารสนเทศ โครงการ 1.4 ส่งเสริมการบริหารงานแบบบูรณาการและมสี ่วนร่วม วตั ถปุ ระสงค์ : เพื่อพฒั นาระบบการทำงานด้วยกลไก พชอ./พชต. KPI : รอ้ ยละ 90 ของตำบล มีกลไก พชอ./พชต. กลยทุ ธ์ 2 สถานบรกิ ารไดม้ าตรฐาน โครงการ 2.1 โครงการพฒั นาสถานบรกิ ารไดม้ าตรฐาน รพ.สต. ติดดาว วตั ถุประสงค์ : เพื่อให้สถานบรกิ ารไดร้ ับการพฒั นามาตรฐานตามเกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว KPI : ร้อยละ 80 ของรพ.สต.ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.ตดิ ดาว โครงการ 2.2 : โครงการพัฒนาระบบหนว่ ยบริการปฐมภูม(ิ PCC) วัตถปุ ระสงค์ : 1) เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพบริการปฐมภมู ิ 2) เพ่ือลดความแออดั ของโรงพยาบาล KPI : ร้อยละ 80 ของสถานบริการผา่ นเกณฑห์ นว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิ PCC กลยทุ ธ์ 3 การบรหิ ารจัดการใหม้ ีความโปรง่ ใส โครงการ 3.1 โครงการส่งเสริมความโปร่งใสในการบรหิ ารจัดการ วตั ถปุ ระสงค์ : เพ่ือใหบ้ ุคลากรในหน่วยงานมีความรเู้ บ้ืองต้นเกีย่ วกับระเบยี บ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง และไดร้ บั การพัฒนาความรอู้ ย่างสมำ่ เสมอ KPI : หนว่ ยงานไดร้ ับการตรวจการบริหารความเสีย่ งและควบคมุ ภายในอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง

13 กลยุทธ์ 4 บคุ ลากรมคี วามสุขและสมรรถนะ โครงการ 4.1 โครงการคนสำราญ งานสำเรจ็ วัตถปุ ระสงค์ : เพื่อใหบ้ ุคลากรมีคณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี KPI : 1) รอ้ ยละ 80 ของบุคลากรมรี ะดบั ความสุขผ่านเกณฑ์ 2) ร้อยละ 80 ของบุคลากรมสี มรรถภาพทางกายผ่านเกณฑ์ 3) รอ้ ยละ 100 ของบคุ ลากรได้รบั การตรวจสุขภาพประจำปี 4) สถานบริการมีผลงานวิชาการ, วิจยั , นวัตกรรม อย่างน้อย 1 เรอื่ ง กลยทุ ธ์ 5 ประชาชนมีสุขภาพดี โครงการ 5.1 โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพภาคเี ครือขา่ ยให้เขม้ แข็ง วตั ถุประสงค์ : เพื่อสรา้ งการมีสว่ นร่วมของภาคีเครือข่ายทกุ ภาคส่วนในการส่งเสริมสขุ ภาพและป้องกันโรค ของคนในชุมชน KPI : ร้อยละ 70 ของจำนวนประชากรกลุม่ เปา้ หมายท่ีมคี วามรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ และพฤตกิ รรมสุขภาพ ในระดับดขี ้ึนไป

14 บทท่ี 4 สรุปบทเรยี นกระบวนการ CBL 4.1 ด้านการพฒั นาตนเองและทีมงาน - เรียนรกู้ ารทำงานเปน็ ทีมเน่ืองด้วยจำนวนสมาชิกในกลุ่มมีจำนวนมากความคิดเห็นอาจมีความแตกตา่ ง - ฝึกการเป็นผู้ฟังที่ดี แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซง่ึ กันและกัน - ร่วมแรงร่วมใจในการทำงานให้สำเร็จลลุ ่วง - การมีจำนวนสมาชิกมากแต่ละคนมีความสามารถแตกต่างดึงศักยภาพของแตล่ ะคนร่วมกันทำงานเปน็ ทมี 4.1 ดา้ นการพฒั นางาน - เรียนรู้การเป็นผ้บู ริหารทม่ี ีวิสยั ทศั น์กว้างไกล สามารถกำหนดแผนยุทธศาสตรข์ องหน่วยงานได้ ใชห้ ลักการ วิเคราะห์จุดแข็งจดุ อ่อน (SWOT Analysis) นำไปสู่การวางแผนกลยทุ ธ์ โครงการ/ กิจกรรม กำหนด วตั ถุประสงค์ ตวั ช้ีวัด เพ่อื ใหผ้ ู้บรหิ ารระดบั ต้นและผปู้ ฏิบตั งิ าน ได้นำไปปฏิบัติและพัฒนางานในหนว่ ยงานของ ตนเองต่อไป - ผบู้ ริหารและผ้ปู ฏบิ ัติ มีการเรยี นรเู้ ทคโนโลยี สารสนเทศ รว่ มกันและนำเทคโนโลยีทที่ ันสมัยลงสกู่ ารปฏบิ ตั ิ จรงิ

15 ภาพกิจกรรมกระบวนการ CBL ผ.บ.ก. 35(2) กล่มุ 1

16


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook