Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ติดดาว รพ.สต.บ้านดงบัง 65

ติดดาว รพ.สต.บ้านดงบัง 65

Published by Guset User, 2022-08-04 19:02:48

Description: เอกสารประกอบการประเมิน ติดดาว รพ.สต.บ้านดงบัง 65

Search

Read the Text Version

92 1.จัดทาแผนงาน/โครงการอบรมความปลอดภยั ดา้ นอาหารและการคมุ้ ครองผูบ้ ริโภค 2.ออกตรวจเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพท่ผี ิดกฎหมายร่วมกับเครอื ข่ายตาบลดงอจี าน 3.อบรมใหค้ วามรู้เครอื ขา่ ยคุ้มครองผ้บู ริโภค มกี ารเรียนร้แู ละทบทวนกระบวนการดแู ลพัฒนาให้สอดคลอ้ งกับภารกจิ ทจี่ าเป็นอยา่ งเปน็ ระบบ ประชาชนมีความรู้ความสามารถเกย่ี วกบั การสง่ เสรมิ การดูแลสขุ ภาพและแนวทางการดูแล สขุ ภาพของผปู้ ว่ ย/กล่มุ เสยี่ งและผูป้ ระกอบการร้านคา้ รา้ นชาในชมุ ชน เพ่ือให้ประชาชนมคี วามร้คู วามเข้าใจ

93 ในการดูแลตนเอง รบั ประทานยาทถ่ี กู ต้อง เลือกรับประทานอาหารทมี่ ีคณุ ภาพ สามารถดแู ลตนเองเพอื่ ป้องกัน โรคโควิด-19 ในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรค 4.7 ระบบสนบั สนนุ บรกิ าร 4.7.1 ระบบข้อมูลสารสนเทศดา้ นสุขภาพ สว่ นท่ี 1 ระบบคุณภาพขอ้ มลู 1.1 การจดั ระบบบนั ทกึ ขอ้ มูล 1.โปรแกรมคอมพวิ เตอรม์ าใชใ้ นการบนั ทึกขอ้ มลู บริการของ รพ.สต. มปี ระสิทธิภาพและปรบั ปรุงเป็นปัจจุบนั ข้อมลู ณ 31 กรกฏาคม 2565

94 2. บันทึกข้อมลู บริการ (OP) ขณะให้บรกิ ารหรือบนั ทึกเสร็จส้ินภายในวนั ทใี่ หบ้ ริการหรอื บันทกึ เสรจ็ สนิ้ ภายใน วันท่บี ริการและตรวจนับร้อยละการบนั ทึกข้อมลู จากตาราง visit ของ JHICH หรอื ตาราง visit ของ HOSXP PCU 1.2 การตรวจสอบและการจัดส่งข้อมูล 1. มกี ารจดั ส่ง 43 แฟ้ม สมา่ เสมอ 2. มีการตรวจสอบคุณภาพขอ้ มูลก่อนสง่ ให้อาเภอ/จังหวัดอย่างต่อเน่ือง มีเอกสาร electronic file ใน การตรวจสอบข้อมลู

95 1.3 คุณภาพของข้อมลู 1. มเี ครอ่ื งคอมพิวเตอร์เพยี งพอต่อการทางานของเจ้าหน้าที่ทุกคนใน รพ.สต. และพรอ้ มใช้งาน ท้ัง คอมพวิ เตอร์ Notebook 2 เครอื่ ง และ PC 8 เคร่ือง มีเจ้าหน้าที่ 9 คน

96 2. มีเคร่อื งคอมพิวเตอรแ์ มข่ ่าย (server) หรอื เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ท่จี ดั เก็บข้อมูลเฉพาะ เครอ่ื งแม่ขาย (server) ใชร้ ะบบปฏิบัตกิ าร Linux ใช้เฉพาะกบั ฐานข้อมลู เท่าน้นั 3. มกี ารสารองฐานขอ้ มลู ตามโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทใ่ี ชใ้ นการบนั ทกึ ข้อมลู บรกิ ารของ รพ.สต. มีการสารองข้อมูลไว้ในไดรฟ์ C บนเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ สารองข้อมลู ทุกวันทาการและจดั เกบ็ ข้อมูล มกี ารเก็บข้อมูลไวใ้ นท่ีปลอดภัยสารองข้อมลู ใน External Harddisk

97 4. มรี ะบบการดูแลบารงุ รักษาเคร่อื งคอมพิวเตอรแ์ ละแผนรองรบั เม่อื เครื่องมือมีปญั หา 4.1 แผนดแู ลรกั ษาและแก้ไขปญั หา(ทา Flow Chart) ท่สี าคัญท่ีเกิดขน้ึ ในหนว่ ยบริการ มแี ผนการจดั ระบบสารองข้อมูล

98 มแี ผนป้องกนั ระบบป้องกนั ความเสียหายจากระบบไฟฟ้าขดั ข้อง มีแผนระบบป้องกันภัยจากไวรสั คอมพวิ เตอร์

99 4.2 เครอ่ื ง Sever ใช้ระบบปฏิบัติการ Linux 4.3ใชเ้ ครือ่ งสารองไฟฟา้ กบั PC ทุกเคร่ือง รวมทง้ั เครือ่ ง Sever 5. มกี ารพัฒนาทักษะด้านการบริหารจัดการระบบขอ้ มลู และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

100 การอบรมพัฒนาทกั ษะ 6. มรี ะบบรกั ษาความลบั และห้องกนั การรัว่ ไหลของขอ้ มลู ในบรกิ ารขอ้ มูลและสารสนเทศ มีระบบล็อคอนิ เข้าใช้งานบน PC รวมทงั้ Notebook ทุกเคร่ือง มีระบบเข้าใชง้ าน HOSXP PCU สาหรับเข้าใช้งานของเจา้ หนา้ ทีท่ กุ คน และมีระบบ Admin

101 ๕.๗.๓ ระบบคณุ ภาพและมาตรฐานทางหอ้ งปฏิบตั กิ ารดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ (LAB) โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ รายงานการตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ าร ๑. การตรวจวเิ คราะห์น้าตาลในเลือดจากปลายน้ิว ๒. การตรวจวเิ คราะหน์ ้าตาลและโปรตนี ในปสั สาวะ ๓. การวเิ คราะหก์ ารต้ังครรภ์ ๔. การตรวจหาปรมิ าตรเมด็ เลือดแดงอัดแนน่ ๑.บคุ ลากร มีเจ้าหน้าทผ่ี รู้ ับผดิ ชอบงานมาตรฐานทางหอ้ งปฏิบตั ิการด้านการแพทย์และสาธาธณสุข(LAB) โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลบา้ นดงบงั คือ นางละอองดาว นยิ มวรรณ ตาแหนง่ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ ผู้รบั ผดิ ชอบผ่านการ ฝึกอบรมการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทโ่ี รงพยาบาลโนนสุวรรณและมีอากรมอบหมายงานเป็นหนงั สือคาสงั่ ทชี่ ัดเจนมี บันทึกการสอนหน้างาน

102 ๒.สถานท่ที าการทดสอบ/พืน้ ทป่ี ฏบิ ตั ิงาน แบ่งเป็นสัดสว่ น มโี ตะ๊ ทแ่ี ขง็ แรงในการวางเครือ่ งป่ัน Hematocrit

103 ๓.น้ายาและเคร่อื งมือทดสอบ ๑. มีสมุดการเบกิ จ่ายวสั ดุทางกานแพทย์ท่เี ป็นปัจจบุ นั ๒. มกี ารระบุวนั เปดิ ใช้และวนั หมดอาจุตามเอกสารการกากับยา ๓. มที ะเบยี นประวตั เิ คร่ืองมอื และแผนการสอบเทยี บและบารุงรกั ษาเปน็ ประจาทุกปีและเปน็ ปัจจบุ นั ๔. มีบนั ทกึ การสอบเทียบและยารงุ รักษาเครื่องมอื ทเ่ี ปน็ ปจั จบุ นั ๔.ขน้ั ตอนก่อนการทดสอบ ๑.มีและใช้คมู่ ือของกรวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์และใบสง่ ตรวจมรี ายละเอียดครบถ้วน ไดแ้ ก่ ชื่อ-สกลุ เลขประจาตัว ผปู้ ว่ ย อายุ เพศ ผสู้ ่งตรวจ รายการตรวจระบไุ วช้ ดั เจน ๒.ใบสง่ ตรวจมีรายละเอยี ดครบถว้ น ไดแ้ ก่ ช่ือ-สกุล CID อายุ เพศ ผสู้ ง่ ตรวจ รายการทตี่ รวจ ๓.อุปกรณ์สะอาด ฉลากตดิ ภาชนะบรรจตุ วั อยา่ งทีส่ ะอาด ๕.ขั้นตอนการทดสอบ ๑.มีคมู่ อื การเก็บตวั อยา่ งครบทกุ รายการทีใ่ หบ้ รกิ ารและปฏบิ ตั ิตามขน้ั ตอนทีร่ ะบุไว้ ๖.ขนั้ ตอนหลังการทดสอบและความปลอดภัย ๑.มนี า้ ยาฆา่ เช้ือโรค และมคี ูม่ อื ปอ้ งกนั การติดเชอื้ จากการใหบ้ รกิ ารทางการแพทย์และสาธารณสขุ ๗.การรายงานผลการทดสอบ

104 ๑.มีทะเบยี นผลการทดสอบที่เปน็ ปัจจุบัน ๒.ใบรายงานผลการทดสอบมีรายละเอียดของผู้ปว่ ยครอบถ้วนและเก็บสาเนาผลการทดสอบไว้

105 ๓. การจัดการมลู ฝอยทกุ ชนดิ อยา่ งถกู สขุ ลักษณะ - มีการคัดแยกมูลฝอยตามประเภทของมูลฝอย ได้แก่ มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยอินทรีย์ มูลฝอยอันตราย และ นาไปกาจัดตามมาตรฐานที่หนว่ ยงานกาหนด ๔. การจัดการมูลฝอยตดิ เช้ือ รพ.สต. มีการประเมินมาตรฐานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกาจัดมูล ฝอย ติดเชื้อ พ.ศ.๒๕๔๕ ใน ๖ หัวขอ้ คือ ๑. บุคลากร ๑) มเี จ้าหน้าที่รับผิดชอบดแู ลระบบการเก็บ ขนและกาจัดมูลฝอยตดิ เช้อื ซึ่งไดร้ ับการอบรมหลักสูตร การป้องกันและระงับการแพร่เช้ือหรืออันตรายท่ี อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อตามประกาศ กระทรวง สาธารณสุข ๒) ผู้ปฏิบัติงานมูลฝอยติดเช้ือได้รับการอบรมหลักสูตรการปูองกัน และระงับการแพร่ เช้ือหรือ อันตรายท่ีอาจเกิดจากมูลฝอยติดเช้ือตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข หรือได้รับการถ่ายทอด ความรู้เรื่อง การปอู งกนั และระงบั การแพร่เชือ้ หรอื อนั ตรายทอ่ี าจเกดิ จากมูลฝอยตดิ เช้ือ

106 ๒. การคัดแยกมลู ฝอยติดเช้อื ๑) มกี ารแยกมลู ฝอยตดิ เช้อื ออกจากมูลฝอยอ่นื ๆ ณ แหล่งกาเนิด ๒) มกี ารแยกมูลฝอยตดิ เชอ้ื ระหวา่ งวัสดขุ องมคี ม และวสั ดขุ องไมม่ ีคม ๓) ภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเช้ือประเภทวัสดุของไม่มีคม มีลักษณะเป็นถุงสีแดงทึบแสง ท าจาก พลาสติกหรือวัสดุอื่นที่มีความเหนียว ไม่ฉีกขาดง่าย ทนทานต่อสารเคมีและการรับน้าหนัก กันน้าได้ ไม่รั่วซึม และไม่ดดู ซมึ ๔) มูลฝอยติดเช้ือประเภทวัสดุของไม่มีคม ต้องบรรจุไม่เกิน ๒ ใน ๓ ส่วนของถุงและมัด ปากถุงด้วย เชือกหรอื วตั ถุอ่นื ใหแ้ นน่ ๕) มเี ครอ่ื งหมายและคาเตือนทบี่ ง่ บอกให้บุคคลท่ัวไปทราบวา่ เปน็ ภาชนะบรรจุมูลฝอยตดิ เช้ือ ๖) ภาชนะสาหรับบรรจุมลู ฝอยติดเชื้อ (ถุงแดงและกลอ่ งใสม่ ูลฝอยติดเชอ้ื ) มีการใช้งานเพียงครง้ั เดียว และทาลาย พร้อมกบั การกาจดั มูลฝอยตดิ เช้ือ

107 ๔ การเคลือ่ นย้ายมูลฝอยติดเชื้อ ๑) ผู้ปฏิบัติงานเคล่ือนย้ายมูลฝอยติดเช้ือ สวมอุปกรณ์ปูองกันอันตรายส่วนบุคคล ประกอบด้วย ถุงมือยางหนา ผ้ากนั เป้ือน ผา้ ปิดปาก-ปดิ จมูก และรองเทา้ พืน้ ยางหมุ้ แข้ง ในขณะ ปฏบิ ัตงิ าน ๒) ใช้ภาชนะรองรับมลู ฝอยตดิ เชื้อ เวลาเคล่อื นยา้ ย ๓) มกี ารเคลอ่ื นยา้ ยภาชนะบรรจมุ ลู ฝอยตดิ เชอื้ ไปเกบ็ กกั ทพี่ ักรวมทุกวนั ๔) มีการทาความสะอาดภาชนะรองรับและอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานทกุ วัน ในบริเวณที่ จัดไว้เฉพาะ และน้าเสียท่ีเกิดจากการล้างทาความสะอาดมีการระบายลงสู่ระบบบาบัดน้าเสีย เช่น บ่อเกรอะ บ่อซึม ถงั บาบดั น้าเสยี สาเร็จรปู เป็นตน้

108 ๕ บรเิ วณทพี่ กั ภาชนะบรรจุมลู ฝอยตดิ เช้อื ๑) แยกเปน็ สดั สว่ นเฉพาะ ไมอ่ ับชน้ื ๒) ไม่ตั้งอยู่ในบริเวณที่เก็บเคร่ืองมือ อุปกรณ์ในการรักษาสถานท่ีประกอบ ปรุง เก็บ หรือสะสม อาหาร ๓) ภาชนะรองรบั มูลฝอยติดเชอ้ื พน้ื ผวิ เรยี บทาความสะอาดง่ายไม่รั่วซมึ มีฝาปิดมดิ ชดิ ๔) ภาชนะรองรบั มูลฝอยติดเชื้อ มคี วามจเุ พยี งพอ ๕) มขี ้อความแสดงซ่ึงมขี นาดและสีท่ีสามารถเหน็ ไดช้ ัดเจนวา่ “ทีพ่ ักรวมมูลฝอยตดิ เชื้อ” ๖ การกาจดั มลู ฝอยติดเชอ้ื ทางโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลบา้ นดงบังได้สง่ มูลฝอยตดิ เชอ้ื ให้โรงพยาบาลโนนสุวรรณกาจัด มลู ฝอยติดเช้อื ต่อไปโดยยดึ หลักเกณฑ์ คอื ๑) มีหนังสือ/เอกสารแสดงชื่อหน่วยงานท่ีรับมูลฝอยติดเช้ือไปกาจัด และแสดงชื่อสถานที่กาจัดที่ เชอ่ื ได้ว่ามกี ารนามลู ฝอยตดิ เช้อื ไปกาจัดดว้ ยวิธีท่ีถกู ตอ้ ง ๒) ภาชนะรวบรวมมูลฝอยตดิ เชือ้ สาหรับสง่ กาจดั ทโ่ี รงพยาบาล ตอ้ งมลี ักษณะ ดงั น้ี - เปน็ ภาชนะทมี่ ีพื้นและผนังทึบ ทาด้วยวัสดทุ า ความสะอาดง่าย มีฝาปิดมดิ ชิด ปูองกัน การ ร่วั ไหลของเหลวภายในได้ และมรี ะบบปอู งกันการตกหล่นในระหว่างการเคล่ือนยา้ ย - ด้านข้างภาชนะมีข้อความว่า “ภาชนะรวบรวมมูลฝอยติดเช้ือ ห้ามเปิด ห้ามนาไปใช้ใน กจิ การอื่น”

109 4.2.5 NCD (DM,HT,Stroke,CKD) 1.มีช่องทางการเขา้ ถงึ บรกิ าร เชงิ รกุ เชิงรบั 1.1 มชี ่องทางการส่ือสารการจัดบริการระบบให้คาปรึกษาแพทย์(สื่อสารทางแอปพเิ คชัน่ LINE)

110 1.2 โครงสร้างหนา้ ท่คี วามรับผิดชอบ โครงสร้างหนา้ ทค่ี วามรับผิดชอบโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลดงบงั 1.3 ตารางการปฏิบัตงิ าน ตารางการให้บรกิ ารระบบจัดควิ

111 2.ระบบบริการ 2.1 มี CPG รายบรกิ ารทีส่ นับสนนุ จากแม่ขา่ ย CPG Hypoglycemia CPG Stroke CPG STEMI

112 ปรกึ ษาแนวทางการดแู ลผปู้ ่วย CKD ผู้ปว่ ย CKD 1. วดั สญั ญาณชพี 2. ซักประวัติและตรวจรา่ งกาย อาการปกติ อาการผิดปกติ เช่น ตาบวม ขา บวม ตวั บวม ปัสวะออกน้อย หายใจเหน่อื ยหอบ เปน็ ต้น 1.จา่ ยยาตามแนวทางของโรคร่วม ปรกึ ษาแพทยผ์ ่าน Line NCD ( DM,HT) และแนะนาพฤติกรรม 2.แนะนาใหป้ รับพฤติกรรม

113 3.เครือ่ งมือบรกิ าร 3.1 มเี ครื่องมอื ทพ่ี ร้อมใช้ สอดคลอ้ งกบั การบริการ (การบารงุ รกั ษา สอบเทยี บ)

114 4. มรี ะบบส่งตอ่ – รบั กลับ 5. การบนั ทึกข้อมูล 5.1 การบนั ทึกข้อมูลทีใ่ หบ้ ริการในเวชระเบียน

115 -มกี ารออกบริการจรวจคดั กรองสุขภาพประจาปใี ห้กับประชาชนตาบลดงอจี าน ทง้ั 13 หมบู่ ้าน เพื่อคน้ หา ผปู้ ่วยเบาหวานความดันรายใหม่ -การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซอ้ นในผ้ปู ว่ ยเบาหวานความดันเปน็ ประจาทุกปี - การรกั ษาต่อเนือ่ ง (รบั ยาต่อเน่ือง) มีการสง่ ยาทีบ่ ้านในชว่ งสถานการณโ์ ควิดใหก้ ับผปู้ ่วยเบาหวานความดันเพ่ือการรบั ยาท่ีต่อเนอื่ ง

116 ตดิ ตามเย่ยี มบา้ นผ้ปู ่วยโรคหลอดเลอื ดสมอง 4.5 การใหบ้ ริการในชมุ ชน 4.5.1 COC/LTC(4กลมุ่ เป้าหมาย) มีการเยี่ยมบา้ นตามหลกั เวชศาสตรค์ รอบครัวและฟืน้ ฟสู ภาพในชุมชนโดยทมี สหวิชาชีพ โดย มีช่องทางการสื่อสารภายใน คปสอ.ทงั้ Line โทรศัพท์ และโปรแกรม thaicocที่มีการประสานงานกันอยา่ ง ต่อเนื่อง มกี ารแต่งตงั้ ผรู้ ับผดิ ชอบงานชัดเจน มี CPG การทางานเยีย่ มบา้ นและมีการฟื้นฟูความรใู้ ห้แก้ เจา้ หน้าทแ่ี ละ อสม.เป็นประจา และมีการลงบนั ทึกหลังการเยย่ี มบา้ นทัง้ ในโปรแกรม และ Family Folder ระบบการพฒั นาดแู ลผ้สู ูงอายุของโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบา้ นดงบังมีขั้นตอนการดาเนนิ งานดงั น้ี 1) วางแผน กาหนดเปา้ หมายการดาเนนิ งานให้สอดคล้องกับทศิ ทางการดาเนินงานของจังหวดั บุรีรมั ย์ 2) สารวจขอ้ มลู และคัดกรอง ผ้สู งู อายุ โดยแบ่งออกเป็น 3 กลมุ่ คือ กลุ่มตดิ สังคม ติดบา้ น ติดเตียง 3) พัฒนาชมรมผู้สงู อายุใหไ้ ดม้ าตรฐานตามเกณฑ์ 4) ดาเนินการเย่ยี มบ้าน ให้การดแู ลกลุ่มเปา้ หมาย คือ กลุ่มผสู้ งู อายุ

117 5) จดั ทาแนวทางการดแู ลผู้ปว่ ยในกลุ่มติดบา้ น และติดเตียง เพื่อใหส้ ามารถดาเนินงานเปน็ แนวทางเดียวกัน ของพ้นื ที่

118 หมวด 5 ประชาชนมีสุขภาพดี ผลลัพธ์

119 ลาดับ ตัวช้ีวัด เกณฑ์เปา้ หมาย จานวน ผลงาน เป้าหมาย จานวน ร้อยละ ๕.๒.๑ ตัวชีว้ ัดพ้นื ทกี่ าหนดเกี่ยวกบั OTOP (ตามบรบิ ทพน้ื ทก่ี าหนด) ๐ ๐ ๑๐๐ การดาเนินงานป้องกันโรคโควิด 19 1,913 1,816 94.93 ๕.๒.๒ ตวั ชวี้ ัดกระทรวง (จาก HDC ) 19 12 63.16 ๑. ร้อยละประชากร 35 ปี ข้ึนไป ทไี่ ด้รับการคัดกรอง ≥ ร้อยละ90 14 14 100 เบาหวาน 14 13 92.86 14 14 100 ๒. ร้อยละหญงิ ต้ังครรภ์ท่ีไดร้ ับการดแู ลก่อนคลอด ๕ ≥ ร้อยละ๘๐ 14 14 100 ครั้ง ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 14 14 100 14 13 92.86 ๓. ความครอบคลุมวคั ซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑใ์ น ≥ รอ้ ยละ90 14 14 100 เดก็ อายุครบ 1 ปี(Fully immunized) - ความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีทีไ่ ด้รับ ≥ รอ้ ยละ90 วคั ซีน BCG - ความครอบคลุมของเดก็ อายคุ รบ 1 ปีทีไ่ ด้รับ ≥ ร้อยละ90 วัคซีน HBV1 - ความครอบคลุมของเดก็ อายุครบ 1 ปี ที่ ≥ รอ้ ยละ90 ไดร้ บั วัคซนี DTP-Hb3 - ความครอบคลมุ ของเดก็ อายคุ รบ 1 ปี ท่ี ≥ รอ้ ยละ90 ไดร้ บั วคั ซีน OPV3 - ความครอบคลมุ ของเด็กอายุครบ 1 ปี ที่ ≥ รอ้ ยละ90 ได้รับวคั ซีน MMR1 - ความครอบคลมุ ของเดก็ อายคุ รบ 1 ปี ท่ี ≥ ร้อยละ90 ได้รับวคั ซีน IPV - ความครอบคลุมของเด็กอายคุ รบ 1 ปี ที่ ≥ ร้อยละ90 ได้รับวคั ซีน Rota2

120 การพฒั นารูปแบบการติดตามอาการผ้ปู ว่ ยโควดิ 19 ที่รกั ษาตวั ที่บา้ น โดยใช้แอพพลเิ คชน่ั ไลน์ ออฟฟเิ ชยี ล โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบา้ นดงบัง ตาบลดงอีจาน อาเภอโนนสุวรรณ จงั หวดั บุรีรัมย์ บทคดั ย่อ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 มี ระดับความรุนแรงของการแพร่ระบาดขยายวงกว้างเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยมีจานวนเพิ่มมากข้ึน จนทาให้เตียงใน โรงพยาบาลไม่เพียงพอ ผู้ป่วยมีอาการน้อย ส่วนใหญ่จะค่อยๆ ดีขึ้น เพอื่ ลดความแออัดและเพ่ิมประสิทธิภาพ การติดตามดูแลผู้ป่วยมากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านดงบัง จึงมีการจัดบริการ Home Isolation และมกี ารติดตามอาการผูป้ ่วยอย่างนอ้ ยวันละ 2 ครงั้ เป็นระยะเวลา 10 วัน นับต้ังแต่การได้รบั การ ตรวจยืนยันโดย Professional Use โดยผปู้ ่วยต้องรายงานอาการผ่านระบบสือ่ สารไลนก์ ล่มุ ดว้ ยจานวนผปู้ ่วย ที่เพิม่ มากข้ึน ทาใหก้ ารรายงานอาการผ่านไลน์กลุ่มมขี ้อความจานวนมาก ทาให้เกิดการสับสนและยากต่อการ จัดเก็บและติดตามข้อมูลคนไข้รายบุคคล การวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนา รูปแบบการติดตามอาการผปู้ ่วยโควิด19 ทรี่ กั ษาตวั ท่บี ้าน โดยใช้แอพพลิเคชนั่ ไลน์ออฟฟเิ ชยี ล ประเมนิ ผลโดย ใช้แบบประเมินการใชง้ านระบบไลน์ออฟฟิเชียล กลุ่มตวั อย่างคือผู้ป่วยโควิด19 ท่ีรักษาตัวที่บ้านในตาบลดงอี จาน เดือนมนี าคม-เมษายน 2565 จานวน 421 ราย และเจ้าหนา้ ท่ีโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลบ้านดงบัง จานวน 6 คน รวม 427 คน ระยะเวลาการศกึ ษา มีนาคม-เมษายน 2565 สถิตเิ ชงิ พรรณนาด้วยค่ารอ้ ยละ ผลการศึกษา พบว่า หลังการพัฒนารปู แบบโดยใช้ไลน์ออฟฟิเชยี ลในการติดตามอาการผปู้ ่วย ทาให้ การติดตามผูป้ ่วยเข้าระบบได้ทนั เวลาเพิม่ ข้ึนร้อยละ 98.34 ติดตามอาการได้ครบถว้ นตามระยะเวลารักษาร้อย ละ 96.67 ติดตามอาการคนไข้ท่ีอาการแย่ลงและส่งต่อได้ทันเวลา ร้อยละ 100 ความสะดวกในการใช้งาน ระดับมากร้อยละ 73.15 รองลงมามากท่ีสุดร้อยละ 23.51 ความเป็นส่วนตัวในการติดต่อระดับมากที่สุดร้อย ละ 100 ความรวดเร็วในการตอบกลับระดับมากร้อยละ 60.80 การจัดเก็บข้อมูลเป็นระเบียบระดับมาก ร้อย ละ 100 ความพึงพอใจการใช้งานโดยรวมระดับมากท่ีสุด ร้อยละ 99.04 ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตขณะรักษาตัวใน ระบบ Home Isolation คาสาคัญ การพัฒนารปู แบบ,การติดตามอาการผู้ป่วยโควิด19,Home Isolation, LINE Official

121 สาระสาคัญ ความเป็นมา โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 มีระดับความรุนแรงของการแพร่ระบาดขยายวงกว้างเพ่ิมข้ึน ผู้ป่วยมีจานวนเพ่ิมมากข้ึน จนทาให้ เตียงในโรงพยาบาลไม่เพียงพอ ผู้ป่วยมีอาการน้อย ส่วนใหญ่จะค่อยๆ ดีข้ึน เพ่ือลดความแออัดและเพิ่ม ประสิทธิภาพการติดตามดูแลผู้ป่วยมากข้ึน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านดงบัง จึงมีการจัดบริการ Home Isolation และมีการติดตามอาการผู้ป่วยอย่างน้อยวันละ 2 คร้ัง เป็นระยะเวลา 10 วัน นับต้ังแต่การ ได้รับการตรวจยืนยันโดย Professional Use โดยผู้ป่วยต้องรายงานอาการผ่านระบบส่ือสารไลน์กลุ่ม ด้วย จานวนผู้ป่วยที่เพิ่มมากขึ้น ทาให้การรายงานอาการผ่านไลน์กลุ่มมีข้อความจานวนมาก ทาให้เกิดการสับสน และยากตอ่ การจัดเก็บและติดตามข้อมลู คนไข้รายบุคคล การวจิ ัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยและพฒั นา มวี ัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนารูปแบบการติดตามอาการผู้ป่วยโควิด19 ที่รักษาตัวท่ีบ้าน โดยใช้แอพพลิเคชั่นไลน์ออฟฟิเชียล ประเมินผลโดยใช้แบบประเมินการใช้งานระบบไลน์ออฟฟิเชียล กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโควิด19 ที่รักษาตัวที่ บ้านในตาบลดงอีจาน เดือนมีนาคม-เมษายน 2565 จานวน 421 ราย และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบลบ้านดงบัง จานวน 6 คน รวม 427 คน ระยะเวลาการศึกษา มีนาคม-เมษายน 2565 สถิติเชิง พรรณนาด้วยค่าร้อยละ ผลการศึกษา พบว่า หลังการพัฒนารูปแบบโดยใช้ไลน์ออฟฟิเชียลในการติดตามอาการผู้ป่วย ทาให้ การติดตามผ้ปู ่วยเข้าระบบได้ทนั เวลาเพมิ่ ขึ้นร้อยละ 98.34 ติดตามอาการไดค้ รบถ้วนตามระยะเวลารักษารอ้ ย ละ 96.67 ติดตามอาการคนไข้ท่ีอาการแย่ลงและส่งต่อได้ทันเวลา ร้อยละ 100 ความสะดวกในการใช้งาน ระดับมากร้อยละ 73.15 รองลงมามากท่ีสุดร้อยละ 23.51 ความเป็นส่วนตัวในการติดต่อระดับมากที่สุดร้อย ละ 100 ความรวมเร็วในการตอบกลับระดับมากร้อยละ 60.80 การจัดเก็บข้อมูลเป็นระเบียบระดับมาก ร้อย ละ 100 ความพึงพอใจการใช้งานโดยรวมระดับมากที่สุด ร้อยละ 99.04 ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตขณะรักษาตัวใน ระบบ Home Isolation คาสาคัญ การตดิ ตามอาการผู้ปว่ ยโควิด19,Home Isolation, LINE Official วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื พัฒนารปู แบบการติดตามผูป้ ่วยโควิด19 ที่รกั ษาตัวท่ีบา้ น ตาบลดงอีจาน อาเภอโนนสุวรรณ จังหวดั บุรรี มั ย์ วธิ ีการศึกษา การวิจัยและพัฒนา กลุ่มตัวอยา่ งคือผู้ป่วยโควิด19 ท่ีรกั ษาตัวท่ีบ้านในระบบ Home Isolation ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านดงบัง ตาบลดงอีจาน อาเภอโนนสุวรรณ จังหวัดบุรีรัมย์ เดือน มีนาคม – เมษายน 2565 และเจ้าหน้าท่ีผู้ดูแลผู้ป่วย จานวน 6 คน รวมทั้งหมด 427 คน โดยมีขั้นตอนการ ดาเนินงาน ดงั นี้ 1.เกบ็ รวบรวมข้อมูลผ้ปู ่วยยนื ยันโควิด 19 บนั ทึกข้อมูลลงระบบ HIH 2.วิเคราะห์ปญั หาการดาเนินงานติดตามเย่ยี มผปู้ ว่ ยโควดิ 19 ท่ีรกั ษาตัวทีบ่ ้าน 3.วิเคราะห์รูปแบบการตดิ ตามอาการผปู้ ่วยโควดิ 19 ทร่ี กั ษาตัวทบี่ า้ น 4.พฒั นารูปแบบการติดตามอาการผ้ปู ่วยโควดิ 19 ทรี่ กั ษาตัวที่บา้ น

122 รูปแบบเก่า รูปแบบทีพ่ ฒั นา ผลลพั ธ์ 1.ตดิ ตามอาการผู้ป่วยยืนยันโควิด 1.ตดิ ตามอาการผ้ปู ่วยยนื ยันโควดิ 1.ติดตามผู้ป่วยเข้าระบบได้ 19 ที่รกั ษาตัวท่ีบา้ นผา่ นไลน์กรปุ๊ 19 ท่รี กั ษาตัวท่บี ้านผ่านไลน์ออฟ ทนั เวลาภายในวนั นัน้ ๆ ฟิเชยี ล 2.ติดตามอาการได้ครบถ้วนมาก ขึน้ 2.แจก QR Code Line Official 3. ติดตามอาการคนไข้ที่อาการ ไวใ้ นซองยา แยล่ งและส่งต่อไดท้ นั เวลา 4 . ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร ใ ช้ ง า น มากข้นึ 5.เพ่ิมความเป็นส่วนตัวในการ ติ ด ต่ อ ท า ใ ห้ ค น ไ ข้ ก ล้ า ท่ี จ ะ สอบถามขอ้ สงสัยมากขึน้ 6. ความรวดเร็วในการตอบกลับ มากขึ้น 7.การจัดเก็บข้อมูลเป็นระเบียบ มากข้ึน ผลการศึกษา พบว่า หลังการพัฒนารูปแบบโดยใช้ไลน์ออฟฟิเชียลในการติดตามอาการผู้ป่วย ทาให้การ ติดตามผู้ป่วยเข้าระบบได้ทันเวลาเพิ่มขนึ้ ร้อยละ 98.34 ติดตามอาการได้ครบถ้วนตามระยะเวลารักษาร้อยละ 96.67 ติดตามอาการคนไข้ท่ีอาการแย่ลงและส่งต่อได้ทันเวลา ร้อยละ 100 ความสะดวกในการใช้งานระดับ มากรอ้ ยละ 73.15 รองลงมามากที่สดุ ร้อยละ 23.51 ความเป็นส่วนตัวในการตดิ ต่อระดับมากที่สุดร้อยละ 100 ความรวมเร็วในการตอบกลับระดับมากร้อยละ 60.80 การจัดเก็บข้อมูลเป็นระเบียบระดับมาก ร้อยละ 100 ความพึงพอใจการใช้งานโดยรวมระดับมากท่ีสุด ร้อยละ 99.04 ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิตขณะรักษาตัวในระบบ Home Isolation อภิปรายผล จากการศึกษาการพัฒนารูปแบบการติดตามอาการผู้ป่วยโควิด19 ท่ีรักษาตัวท่ีบ้าน โดยใช้ แอพพลิเคชั่นไลน์ออฟฟิเชียล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านดงบัง ตาบลดงอีจาน อาเภอโนนสุวรรณ จงั หวัดบุรรี ัมย์ ทาให้เกดิ การจัดเก็บข้อมูลทีเ่ ป็นระบบระเบียบ จึงสง่ ผลทาใหผ้ ู้ป่วยได้รบั การเข้าถึงบริการและ เข้ารับการติดตามอาการขณะรกั ษาได้ดีข้ึน ทาให้การประเมนิ ติดตามอาการและส่งต่อได้รวดเร็วและปลอดภัย มากขนึ้ ผ้ปู ่วยและผู้ดแู ลมีความพึงพอใจการใชง้ าน

123 ข้อเสนอแนะ สามารถใชโ้ ปรแกรม Line Official ในการติดตามอาการผู้ป่วยกลมุ่ อื่นๆ หรือใชก้ ารตอบคาถาม สุขภาพระหว่างประชาชนและหนว่ ยงานทางด้านสุขภาพได้ เพ่ือยกระดบั ให้เข้ากับ telemedicine คอื การนา เทคโนโลยีท่ีช่วยให้ผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์สามารถพูดคุยกันได้แบบ Real-time เช่นเดียวกับการ สื่อสารผ่านระบบ VDO conference ที่คู่สนทนาสามารถมองเหน็ หนา้ และสนทนากันไดท้ ้ัง 2 ฝ่าย ไร้ข้อจากัด ในเร่ืองเวลาและสถานที่ ง่าย สะดวกสบาย ประหยัดเวลา ท้ังยังได้รับบริการเหมือนกับการมารับบริการท่ี โรงพยาบาล เอกสารอา้ งอิง 1.วุฒิพงษ์ ชินศร.ี วิไลลกั าณ์ ตรีพชื .2564.การพฒั นาระบบบริหารการเขา้ ร่วมกจิ กรรมผา่ นไลนอ์ อฟฟเิ ชียลแอค เคาท์ [อนิ เตอรเ์ น็ต]. 2564 [เข้าถึงเมอื่ 2565 ม.ี ค. 1]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : : https://so06.tci-thaijo.org › article › download 2.วราภรณ์ สมดี.2564.การพัฒนาแนวทางการดูแลและการพยาบาลผูป้ ว่ ย COVID-19 โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราชเดชอดุ ม. [อินเตอรเ์ นต็ ]. 2564 [เข้าถึงเม่ือ 2565 มี.ค. 2]. เข้าถงึ ได้จาก : https://he02.tci-thaijo.org/index.php/odpc10ubon/article/view/252651 3.ระนอง เกตุดาว.และคณะ.2563.การพัฒนารูปแบบการเฝา้ ระวัง ป้องกนั และควบคุมโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล จงั หวัดอดุ รธานีUdon Model COVID-19 . [อินเตอร์เนต็ ]. 2564 [เข้าถึงเมอ่ื 2565 ม.ี ค. 4]. เข้าถงึ ไดจ้ าก :https://thaidj.org › JHS › article › download ผลทไี่ ด้รบั ตารางแสดงผลการดาเนินงานและส่งเคลมค่ารกั ษา ดูแลผูป้ ่วยโควดิ 19 ตาบลดงอีจาน ประเภท เปา้ หมาย ผลงาน จานวนเงิน OPSI 359 359 317,000 HI 142 142 1,164,000 ATK 823 823 219,550 รวมรายรบั 1,700,550


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook