Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ติวเข้มภาษาไทย นางรองพิทยาคม

ติวเข้มภาษาไทย นางรองพิทยาคม

Published by phisit.yaemnun, 2020-01-01 23:37:02

Description: cover-thai

Search

Read the Text Version

วิชาภาษาไทย O-NET อาจารยว รธน อนันตวงษ

กวดวชิ าภาษาไทยอาจารย์กอล์ฟ 1. ขอ้ ใดมีคาํ ที-สะกดผดิ อยดู่ ว้ ย 1. ร้างรา สะบดั กระโตกกระตาก 2. กระชาย ละมุนละไม เลือนลาง 3. ตะลีตะลาน บนั ลือ กะแช่ 4. กะทดั รัด สารพดั พะเยบิ พะยาบ 5. กะเทาะ เรี-ยไร ชะงกั 2. ขอ้ ใดใชค้ าํ ผดิ ความหมาย 1. เดก็ คนนKีช่างไปสรรหาคาํ พดู มาใชร้ าวกบั ผใู้ หญ่ 2. คนร้ายเลด็ ลอดเขา้ ไปขโมยของในโกดงั สินคา้ ของบริษทั 3. แม่มกั จะออกรับแทนเมื-อพอ่ บ่นวา่ ลูกชายใชเ้ งินเปลือง 4. จดหมายลงทะเบียนท-ีบริษทั ส่งไปถูกตีคืนเพราะผรู้ ับยา้ ยที-อยแู่ ลว้ 5. ผอู้ าํ นวยการนอนใจวา่ เลขานุการของเขาเตรียมการประชุมไดเ้ รียบร้อย 3. คาํ ในขอ้ ใดใชไ้ ดท้ Kงั ความหมายตามตวั และความหมายเชิงอุปมาทุกคาํ 1. เข่าอ่อน ถอยฉาก แช่เยน็ 2. ซกั ฟอก คนดงั ควนั หลง 3. ตKงั ตน้ ปล่อยเกาะ หกั คอ 4. คลื-นไส้ ขา้ มรุ่น เป่ าปี- 5. ไดก้ ล-ิน ตกมนั ออกแรง 4. ขอ้ ใดใชภ้ าษากาํ กวม 1. รัฐบาลมุ่งแกป้ ัญหาจราจรในกรุงเทพฯ ภายใน 3 เดือน 2. ใกลส้ วนสาธารณะมีร้านขายไก่ยา่ งหมกั ซอสราคาถูก 3. นKาํ ลน้ เขื-อนแก่งกระจานทะลกั ท่วมตลาดเพชรบุรีคืนนKี 4. ผลิตภณั ฑจ์ ากสารสกดั ขมิKนชนั มีสรรพคุณบรรเทาอาการทอ้ งอืดทอ้ งเฟ้อ 5. มีผรู้ ้องเรียนวา่ เจา้ หนา้ ที-ไม่อาํ นวยความสะดวกในการขอทาํ บตั รประชาชนแบบอเนกประสงค์ 5. สาํ นวน “ลิKนสองแฉก” มีความหมายตามขอ้ ใด 1. ใส่ร้ายป้ายสี 2. ชอบยกตวั เอง โออ้ วด 3. พดู สบั ปลบั เช-ือถือไม่ได้ 4. ถามอยา่ งหน-ึงตอบไปอีกอยา่ งหน-ึง 5. วา่ อยา่ งเจบ็ แสบทาํ ใหเ้ สียหายอยา่ งรุนแรง 6. ขอ้ ใดใชส้ าํ นวนไม่ถูกตอ้ ง 1. ปริศนาขอ้ นKีหาคาํ ตอบไดไ้ ม่ยากเลย แต่เธอกลบั นึกไม่ถึง เหมือนเสน้ ผมบงั ภูเขา 2. พวกเราทาํ งานไปเรียนไป กวา่ จะเรียนจนจบมีงานทาํ ช่างยากลาํ บากราวกบั พายเรือทวนนKาํ 3. มีคนปล่อยข่าววา่ พนกั งานหา้ งเราบางคนพดู จาไม่สุภาพ เราเป็นปลาขอ้ งเดียวกนั เลยพลอยเหมน็ ไปดว้ ย 4. เพื-อน 2 คนนี-เกลือจิKมเกลือจริง ๆ จbิบยมื เสKือไปใส่แลว้ ไม่คืน เจbียบกเ็ ลยหยบิ รองเทา้ จิbบไปใส่บา้ ง 5. พี-นอ้ งคู่นKีทาํ งานหนกั ทKงั กลางวนั กลางคืนเกินกาํ ลงั หวงั จะใหม้ ีรายไดเ้ ยอะ ๆ เพราะเชื-อวา่ เรือล่มใน หนองทองจะไปไหน

7. ขอ้ ความต่อไปนKีส่วนใดใชภ้ าษาระดบั ทางการ 1) เคร-ืองบินรบ SU-35 เป็นความภูมิใจของรัสเซียวา่ ใชเ้ ทคโนโลยชี นิดไม่เป็นสอง / 2) สามารถบิน ผาดโผนในฟากฟ้าไดเ้ หนือชKนั จริง ๆ / 3) SU-35 บินหมุนตวั เปลี-ยนทิศทางกะทนั หนั โดยไม่ตอ้ งตีวงเลKียว / 4) บางจงั หวะกห็ ยดุ กึกลอยอยกู่ บั ท-ีแบบเฮลิคอปเตอร์เลย / 5) ในการรบแบบพนั ตูระยะประชิดสามารถ วกเขา้ หลงั ขา้ ศึกไดอ้ ยา่ งฉบั พลนั 1. ส่วนที- 1 2. ส่วนที- 2 3. ส่วนท-ี 3 4. ส่วนท-ี 4 5. ส่วนที- 5 8. ขอ้ ความต่อไปนKีส่วนใดใชร้ ะดบั ภาษาต่างกบั ส่วนอ-ืน 1) ปัจจยั ท-ีมีผลต่อการตดั สินใจซKืออาหารแช่เยน็ ในร้านสะดวกซKือคือ ดา้ นราคา / 2) ผปู้ ระกอบการ ตอ้ งตKงั ราคาใหด้ ูแลว้ คุม้ เพราะคนซKือมกั ชอบเทียบราคาสินคา้ กบั ร้านอ-ืนอยบู่ ่อย ๆ / 3) ร้านใดมีโปรโมชนั- น่าสนใจกจ็ ะเป็นจุดขายเพื-อดึงดูดลูกคา้ / 4) ไม่วา่ จะเป็นการลด แลก แจก แถมสินคา้ หรือของสมนาคุณ / 5) การจดั กิจกรรมเพิ-มยอดขายนKีจะทาํ ใหล้ ูกคา้ หนั มาซKือผลิตภณั ฑม์ ากขKึน 1. ส่วนที- 1 2. ส่วนท-ี 2 3. ส่วนที- 3 4. ส่วนท-ี 4 5. ส่วนที- 5 9. ขอ้ ใดเป็นประโยค 1. GMP หรือ ขอ้ กาํ หนดพKืนฐานที-ใชใ้ นการผลิตอาหารเพื-อความปลอดภยั ไดม้ าตรฐาน 2. การตรวจสอบและติดตามผลเพ-ือลดความเส-ียงของการบริโภคอาหารท-ีไม่มีคุณภาพ 3. ระบบประกนั คุณภาพซ-ึงครอบคลุมตKงั แต่สถานท-ีผลิต โครงสร้างอาคาร และกระบวนการผลิต 4. การขนส่งท-ีเกบ็ รักษาอยา่ งเหมาะสมก่อนถึงผบู้ ริโภคป้องกนั การปนเปKื อนและการเส-ือมสลายได้ 5. คุณภาพและความสะอาดของวตั ถุดิบรวมทKงั การใชว้ ตั ถุเจือปนอาหารตามที-กฎหมายกาํ หนด 10. ขอ้ ใดไม่เป็นประโยค 1. การสะสมโลหะหนกั ในหอยตลบั เป็นการบ่งบอกประสิทธิภาพของระบบบาํ บดั นKาํ เสียของชุมชน 2. ผลการวเิ คราะห์พบวา่ โลหะหนกั ในเนKือเยอื- หอยตลบั อยใู่ นเกณฑม์ าตรฐานไม่เป็นอนั ตรายต่อผบู้ ริโภค 3. ฤดูฝนหอยตลบั มีการสะสมโลหะหนกั มากกวา่ ฤดูร้อน เน-ืองจากนKาํ ฝนชะลา้ งของเสียลงสู่พKืนที-ชายฝ-ัง มากขKึน 4. การเกบ็ ตวั อยา่ งหอยตลบั ช่วงเวลานKาํ ทะเลต-าํ สุดในเดือนกนั ยายนซ-ึงเป็นฤดูฝนและเดือนมีนาคมซ-ึงเป็น ฤดูร้อน 5. การนาํ หอยตลบั มาแช่นKาํ ทะเลไม่สามารถลดความเขม้ ขน้ ของโลหะหนกั ได้ แต่เราสามารถลดความ เขม้ ขน้ ไดโ้ ดยวธิ ีตม้ 11. ขอ้ ใดแสดงเจตนาของผสู้ ่งสารต่างกบั ขอ้ อ-ืน 1. ปัญหากากกาแฟท-ีเหลือทิKงจาํ นวนมากส่งผลกระทบต่อส-ิงแวดลอ้ ม 2. ของเสียจากกากกาแฟมีองคป์ ระกอบของสารอินทรียอ์ ยเู่ ป็นจาํ นวนมาก 3. ในแต่ละวนั ร้านคา้ ท-ีขายกาแฟ และภาคอุตสาหกรรมผลิตเคร-ืองดื-มมีกากกาแฟเหลือใช้ 4. แท่งเชKือเพลิงท-ีผลิตจากกากกาแฟไม่แตกร่วน ไม่เปKื อนมือ ติดไฟง่าย ไม่มีควนั ในขณะเผาไหม้ 5. กากกาแฟไม่ควรทิKงเพราะสามารถนาํ มาผลิตแท่งเชKือเพลิงจาํ หน่ายเป็นรายไดเ้ สริมแก่ครอบครัว 2

12. คาํ ภาษาองั กฤษในขอ้ ใดใชค้ าํ ไทยแทนได้ 1. นวนิยายที-เธอเขียนมีพลอ็ ตดีมากถูกใจผอู้ ่านจนมีการสร้างเป็นละคร 2. กรณีมีสินคา้ วางจาํ หน่ายไม่ครบทุกร้าน สามารถสง-ั ซKือไดท้ างอินเทอร์เน็ต 3. ควรใหเ้ ดก็ กินฟลูออไรดเ์ มด็ เพ-ือป้องกนั ฟันผตุ Kงั แต่เดก็ อายุ 6 เดือนถึง 16 ปี 4. ออร่าเป็นคล-ืนพลงั รัศมีของมนุษย์ มีลกั ษณะเป็นสนามแม่เหลก็ ไฟฟ้ารอบร่างกาย 5. เคร-ืองสาํ อางชนิดใหม่สามารถเสริมกระบวนการผลดั เซลลผ์ วิ หนา้ ชKนั นอกอยา่ งอ่อนโยน 13. ราชาศพั ทท์ ี-ขีดเสน้ ใตใ้ นขอ้ ใดใชถ้ ูกตอ้ ง 1. ตามค่านิยมและประเพณี พระมหากษตั ริยไ์ ทยมกั ทรงเป็นทหาร 2. หม่อมเจา้ วรชยั ประทานพระราชานุเคราะห์แก่ราษฎรที-ประสบอุบตั ิภยั 3. ประชาชนที-มารอรับเสดจ็ กราบบงั คมทูลขอบพระทยั สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั 4. ประชาชนนิยมไปกราบถวายบงั คมพระราชานุสาวรียพ์ ระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั 5. สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟ้าจุฬาภรณวลยั ลกั ษณ์อคั รราชกมุ ารีทรงลงพระปรมาภิไธยในสมุดเยย-ี ม 14. คาํ พดู ตามขอ้ ใดมีเจตนาแนะนาํ 1. ถา้ คุณไม่รีบตดั สินใจซKือบา้ นหลงั นKีภายใน 2 อาทิตย์ กไ็ ม่รู้เม-ือไหร่จะไดร้ าคาดีเท่านKีอีกแลว้ 2. ดูจากภาพกราฟิ กของกรมอุตุฯ ขณะนKีแทบทุกพKืนที-ไดเ้ ตรียมรับมือพายฝุ นรุนแรงกนั หมดแลว้ 3. ทุกวนั นKีบุคลากรทางการแพทยถ์ ูกทาํ ร้ายทKงั ทางร่างกายและจิตใจ เราจะไม่หาทางแกไ้ ขกนั หรือ 4. เรามาช่วยกนั เชียร์ทีมชาติรุ่นไม่เกิน 12 ปี กนั เถอะ เพราะพวกเขาจะไปประกาศศกั ดlิศรีแขง้ เยาวชนไทย 5. ตอ้ งเขา้ ใจเสียก่อนวา่ 2 – 3 ปี มานKี งบพฒั นาหมู่บา้ นกระจดั กระจายมาก เราจึงไม่เห็นผลออกมาเป็นเนKือ เป็ นหนงั 15. คาํ พดู ของนKาํ หวานขอ้ ใดท-ีทาํ ใหน้ Kาํ ออ้ ยไดค้ าํ ตอบเป็นท-ีพอใจ นKาํ ออ้ ย : เมื-อตอนเดก็ ๆ เธอเป็นหอบหืดมาก ตอนนKีหายแลว้ เธอทาํ ยงั ไงนะ นKาํ หวาน : ..................................................................................................... 1. ใครบอกวา่ ฉนั เป็นหอบหืด เธอไปเอาขอ้ มูลนKีมาจากไหน 2. ไม่รู้เหมือนกนั รู้แต่วา่ หยดุ เรียนบ่อยมากจนเรียนไม่ทนั เพื-อน 3. วา่ ยนKาํ สิ เคยแข่งขนั วา่ ยนKาํ ไดเ้ หรียญรางวลั ดว้ ยนะ ฉนั เลยแขง็ แรง 4. หายเองมงbั นานมากแลว้ เลยจาํ ไม่ได้ ลืมไปเลยวา่ ฉนั เคยเป็นหอบหืด 5. ขอบใจเธอมากท-ีเป็นห่วงเป็นใยอาการเจบ็ ป่ วยของฉนั ตอนนKีฉนั หายดีแลว้ 16. ขอ้ ใดไม่อาจอนุมานไดว้ า่ เป็นบุคลิกภาพของผพู้ ดู ตามขอ้ ความต่อไปนKี เยน็ นKีอยากไปวง-ิ แต่ชวนใครไม่มีใครไปวงิ- กบั เราเลย เอาไงดี ค่อยไปวงิ- วนั หลงั ดีกวา่ วนั นKีทาํ รายงาน ใหเ้ สร็จก่อน เวลาที-เหลือจะไดอ้ ่านหนงั สือเตรียมสอบ 1. ขยนั 2. มีเหตุผล 3. รักสุขภาพ 4. รับผดิ ชอบ 5. เช-ือมนั- ในตวั เอง 3

17. ขอ้ ใดเรียงลาํ ดบั ขอ้ ความต่อไปนKีไดถ้ ูกตอ้ ง 1. แต่กลบั ตอ้ งนาํ เขา้ ปี ละหลายแสนตนั 2. ปัจจุบนั ความตอ้ งการใชข้ า้ วโพดเป็นวตั ถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารสตั วแ์ ละอุตสาหกรรมอื-นๆ เพ-ิมมากขKึน 3. และส่งออกจาํ หน่ายต่างประเทศเป็นอนั ดบั ตน้ ๆ ของโลก 4. จึงแทบไม่ไดส้ ่งจาํ หน่ายต่างประเทศ 5. ประเทศไทยเคยผลิตขา้ วโพดไร่ไดม้ ากที-สุดใน พ.ศ. 2528 1. 2 – 3 – 1 – 4 – 5 2. 2 – 1 – 4 – 5 – 3 3. 2 – 5 – 3 – 4 – 1 4. 5 – 3 – 2 – 4 – 1 5. 5 – 1 – 4 – 2 – 3 ใชข้ อ้ ความต่อไปนKีตอบคาํ ถามขอ้ 18 – 19 1) นกั วจิ ยั เช-ือมน-ั วา่ แขนเทียมนKีจะทาํ ใหผ้ พู้ ิการสามารถใชป้ ระโยชนไ์ ดเ้ หมือนจริงที-สุด 2) ล่าสุดนกั วจิ ยั อิตาเลียนออกแบบแขนเทียมชนิดใหม่โดยตKงั เซนเซอร์ที-ต่อสญั ญาณไฟฟ้าจากสมอง ไปยงั กลา้ มเนKือ 3) นกั วจิ ยั หลายคนพยายามพฒั นากายอุปกรณ์ เช่น แขนเทียม ใหม้ ีประสิทธิภาพมากขKึน 4) แขนเทียมนKีจึงสามารถควบคุมนิKวไดด้ ี หยบิ จบั ส-ิงต่างๆ คล่องแคล่วเป็นธรรมชาติ 5) แขนเทียมรุ่นเดิมมีนKาํ หนกั มาก เปราะบาง ไม่ทนทานและมีราคาสูง 18. เม-ือเรียงลาํ ดบั ขอ้ ความขา้ งตน้ ใหถ้ ูกตอ้ งแลว้ ขอ้ ใดเป็นลาํ ดบั ท-ี 3 1. ขอ้ ท-ี 1 2. ขอ้ ที- 2 3. ขอ้ ท-ี 3 4. ขอ้ ที- 4 5. ขอ้ ท-ี 5 19. ขอ้ ใดเป็นจุดประสงคข์ องผเู้ ขียน 1. ชKีจุดอ่อนของแขนเทียมรุ่นเก่า 2. เปรียบเทียบสมรถนะของแขนเทียม 2 รุ่น 3. เตือนใหเ้ ห็นอนั ตรายของการใชแ้ ขนเทียมรุ่นปัจจุบนั 4. นาํ เสนอแขนเทียมรุ่นล่าสุดที-ใชง้ านไดเ้ หมือนแขนจริง 5. สนบั สนุนใหม้ ีการคิดคน้ ประดิษฐแ์ ขนเทียมรุ่นใหม่ๆ ต่อไป 20. ขอ้ ความต่อไปนKีควรเป็นส่วนใดของเรียงความเร-ือง “การมีภาวะผนู้ าํ ” ผนู้ าํ ในยคุ ปัจจุบนั จะตอ้ งมีคุณสมบตั ิหลายประการดงั ที-กล่าวมาขา้ งตน้ ซ-ึงจะเห็นไดว้ า่ ตอ้ งมาจากความ ตKงั ใจจริง การแสดงศกั ยภาพของตวั เอง และการปรับระบบความคิดบางอยา่ ง กลา้ ท-ีจะเปลี-ยนจากส-ิงที-ตน เคยเป็นไปสู่ส-ิงท-ีดีกวา่ ในที-สุด กจ็ ะเกิดผลดีต่อตวั เองในอนาคต 1. โครงเรื-อง 2. ความนาํ 3. ส่วนขยายความนาํ 4. ตวั เรื-อง 5. ความลงทา้ ย 4

21. ขอ้ ความต่อไปนKีใชว้ ธิ ีเขียนตามขอ้ ใด คนนาํ ทางพาพวกเราขKึนจากแพเดินเขา้ ไปในถKาํ ซ-ึงค่อนขา้ งมืด หลายคนจึงถือตะเกียง บางคนถือไฟฉาย ไปดว้ ย คนที-เป็นผใู้ หญ่คอยช่วยเดก็ ๆ ใหผ้ า่ นพน้ ช่วงที-ล-ืนและท-ีมีแง่หินแหลมคม เพ-ือไม่ใหเ้ กิดอนั ตราย เป้าหมายของเราอยไู่ ม่ไกลนกั นนั- คือ ถKาํ คา้ งคาว ซ-ึงเป็นที-อาศยั ของคา้ งคาวจาํ นวนมาก 1. การอธิบาย 2. การบรรยาย 3. การพรรณนา 4. การอธิบายและการบรรยาย 5. การบรรยายและการพรรณนา 22. ขอ้ ความต่อไปนKีส่วนใดเป็นพรรณนาโวหาร 1) รุ่งสางแลว้ ชยั แหงนมองใบไมเ้ หนือศีรษะ เหมือนผา้ ลูกไมโ้ ปร่งดว้ ยแสงแดดรําไรท-ีสาดลงมา / 2) เขากา้ วออกไปสมทบกบั โชค ทKงั สองเดินชา้ ๆ ไปพร้อมกนั สกั พกั / 3) โชคเล่าถึงอาการของววั ทอ้ งแก่ ท-ีบา้ นเขา / 4) ถา้ ไดล้ ูกววั กอ็ าจตอ้ งขายใหเ้ พ-ือนบา้ นหลงั ตากหยา่ นมแลว้ / 5) เขาตอ้ งการเงินไปลงทุน ซ่อมโรงววั ก่อนจะถึงฤดูฝน 1. ส่วนท-ี 1 2. ส่วนท-ี 2 3. ส่วนท-ี 3 4. ส่วนที- 4 5. ส่วนที- 5 23. ขอ้ ความต่อไปนKีส่วนใดมีการใชเ้ หตุผลต่อเนื-องกนั 1) ทองคาํ เป็นธาตุชนิดหน-ึงท-ีเกิดขKึนตามธรรมชาติ / 2) จดั อยใู่ นจาํ พวกโลหะมีค่าอยา่ งหน-ึง / 3) มนุษยน์ าํ ทองคาํ มาทาํ เคร-ืองใชแ้ ละเครื-องประดบั ตกแต่งร่างกายมากวา่ 5,000 ปี แลว้ / 4) ทองคาํ มีสีเหลือง สุกปลง-ั สวยงามไม่หมอง ไม่เป็นสนิมและคงทนถาวร / 5) ประกอบกบั ทองคาํ ที-พบมีปริมาณอยไู่ ม่มาก 1. ส่วนท-ี 1 และ 2 2. ส่วนท-ี 1 และ 3 3. ส่วนที- 2 และ 5 4. ส่วนที- 3 และ 4 5. ส่วนที- 4 และ 5 24. ขอ้ ใดไม่มีการใชเ้ หตุผล 1. มนั สาํ ปะหลงั เป็นท-ีสะสมแป้ง เป็นอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตท-ีใหพ้ ลงั งานแก่มนุษยแ์ ละสตั ว์ 2. ในมนั สาํ ปะหลงั มีโปรตีนร้อยละ 20 – 30 ใชเ้ ป็นอาหารเสริมใหโ้ คกระบือกินในฤดูแลง้ 3. ในหวั มนั สาํ ปะหลงั มีแป้งเป็นองคป์ ระกอบอยมู่ าก เรามกั ใชเ้ ป็นวตั ถุดิบในการผลิตเอทานอลได้ 4. แป้งมนั สาํ ปะหลงั ใชเ้ ป็นอาหารของมนุษยแ์ ละเป็นสาระสาํ คญั ท-ีใชใ้ นอุตสาหกรรม เช่น การทาํ กาว และ การทาํ กระดาษ 5. ในอดีตการปลูกมนั สาํ ปะหลงั มีปัญหาโรคและแมลงศตั รูไม่มากนกั เกษตรกรไม่ตอ้ งใชส้ ารเคมีกาํ จดั แมลง 25. ขอ้ ความต่อไปนKีส่วนใดเป็นการแสดงทรรศนะ 1) ปริมาณขยะอิเลก็ ทรอนิกส์ในประเทศไทยกาํ ลงั เพ-ิมมากขKึนจากความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี / 2) ขยะอิเลก็ ทรอนิกส์ส่วนใหญ่เป็นการนาํ เขา้ จากต่างประเทศกวา่ ร้อยละ 90 / 3) แมข้ ยะประเภทนKีจะมี ส่วนประกอบของแร่โลหะที-มีมูลค่าสูง ทาํ ใหเ้ กิดรายได้ / 4) แต่ในแร่โลหะกม็ ีอนั ตรายและเส-ียงต่อมลพิษ ซ-ึงมีผลกบั ชีวติ คนไทย / 5) ผเู้ ก-ียวขอ้ งทุกหน่วยงานตอ้ งร่วมมือกนั เพ-ือดาํ เนินการแกป้ ัญหาขยะ อิเลก็ ทรอนิกส์อยา่ งจริงจงั 1. ส่วนท-ี 1 2. ส่วนที- 2 3. ส่วนท-ี 3 4. ส่วนท-ี 4 5. ส่วนท-ี 5 5

26. ขอ้ ใดมีการแสดงทรรศนะ 1. เทคนิคการทาํ เคร-ืองสงั คโลกกลุ่มบา้ นเกาะนอ้ ย จงั หวดั สุโขทยั ไดร้ ับการถ่ายทอดมาตKงั แต่บรรพบุรุษ 2. ผผู้ ลิตเคร-ืองสงั คโลกไดพ้ ยายามอนุรักษร์ ูปแบบการทาํ ทKงั การหมกั เนKือดิน และการเขียนลวดลาย 3. งานสงั คโลกสุโขทยั ยงั เป็นที-ตอ้ งการของตลาด แต่ช่างท-ีทาํ มีนอ้ ย ไม่สามารถผลิตไดค้ รKังละมากๆ 4. การเพิ-มมูลค่าเคร-ืองสงั คโลกตอ้ งสร้างความรับรู้เก-ียวกบั ลวดลาย และภาครัฐควรสนบั สนุนงานดา้ นนKีให้ มากขKึน 5. ลวดลายของเคร-ืองสงั คโลกเป็นลายแบบธรรมชาติทKงั ท-ีเป็นดอกไม้ และสตั วต์ ่างๆ ซ-ึงต่างกบั ของจีนและ ยโุ รป 27. ขอ้ ใดเป็นประเดน็ โตแ้ ยง้ ของขอ้ ความต่อไปนKี ร่างพระราชบญั ญตั ิการขนส่งทางบก พ.ศ. .... ปรับปรุงจากกฎหมายเดิมโดยเพิ-มโทษสูงขKึนสาํ หรับผู้ ขบั ขี-ท-ีไม่มีหรือลืมพกพาใบอนุญาตขบั ขี- เพ-ือเสริมสร้างวนิ ยั การขบั ขี-และลดอุบตั ิเหตุบนทอ้ งถนน แนว ความคิดดงั กล่าวเป็นเร-ืองท-ีดีเพราะจะทาํ ใหผ้ ขู้ บั ขี-ตระหนกั และปฏิบตั ิตามกฎจราจรอยา่ งเคร่งครัด แต่การ เพิ-มโทษเก-ียวกบั การใชใ้ บอนุญาตขบั ข-ีจากเดิมค่าปรับ 1,000 – 2,000 บาท เป็นจาํ นวนถึง 10,000 – 50,000 บาท กบั โทษจาํ คุกจากไม่เกิน 1 เดือน เป็นไม่เกิน 3 เดือน นKนั อาจเกิดปัญหาไดเ้ พราะเป็นช่องทางให้ เจา้ หนา้ ท-ีบางส่วนหาประโยชนโ์ ดยทุจริตไดง้ ่าย 1. การเพ-ิมโทษเกี-ยวกบั การใชใ้ บอนุญาตขบั ข-ีสามารถลดอุบตั ิเหตุไดห้ รือไม่ 2. การปรับปรุงกฎหมายเกี-ยวกบั ใบอนุญาตขบั ขี-ทาํ ใหม้ ีการทุจริตไดห้ รือไม่ 3. การเพิ-มอตั ราโทษปรับและจาํ คุกที-สูงมากในร่าง พ.ร.บ. ฉบบั ใหม่เหมาะสมหรือไม่ 4. พ.ร.บ. การขนส่งทางบกฉบบั ท-ีใชป้ ัจจุบนั ไม่สามารถแกป้ ัญหาวนิ ยั การขบั ขี-ไดจ้ ริงหรือ 5. ร่าง พ.ร.บ. การขนส่งทางบกท-ีปรับปรุงใหม่จะทาํ ใหผ้ ขู้ บั ขี-ปฏิบตั ิตามกฎจราจรเคร่งครัดจริงหรือ 28. ขอ้ ใดเป็นขอ้ สนบั สนุนประเดน็ การโตแ้ ยง้ “ร่างพระราชบญั ญตั ิยาฉบบั ใหม่ที-กาํ หนดใหก้ ลุ่มวชิ าชีพอ-ืน สามารถจ่ายยาได้ เหมาะสมหรือไม่” 1. ทุกวชิ าชีพดา้ นสุขภาพและสามารถทาํ งานร่วมกนั ไดเ้ พ-ือประโยชนข์ องประชาชน 2. พยาบาลวชิ าชีพมีความรู้เรื-องยาเพียงพอท-ีจะปฏิบตั ิงานกบั ผปู้ ่ วยและประชาชนได้ 3. บางกลุ่มวชิ าชีพไม่ไดศ้ ึกษาเรื-องยามาโดยตรงทาํ ใหเ้ ส-ียงต่อความปลอดภยั ของประชาชน 4. ถา้ ใหพ้ ยาบาลหรือวชิ าชีพอื-นจ่ายยาไดจ้ ะทาํ ใหป้ ระชาชนท-ีมาใชบ้ ริการในโรงพยาบาลไดร้ ับความ สะดวกมากขKึน 5. พยาบาลซ-ึงตอ้ งทาํ หนา้ ที-จ่ายยาแทนเภสชั กรในโรงพยาบาลเลก็ ๆ จะไม่มีความเส-ียงต่อการผดิ กฎหมาย 6

29. ขอ้ ใดมีการโนม้ นา้ วใจ 1. บา้ นบางหล่อไดร้ ับคดั เลือกเป็นหมู่บา้ นดีเด่นในระดบั เขตตรวจราชการของโครงการบา้ นสวย – เมืองสุข 2. ขอเชิญชวนเยาวชนไทยมาร่วมกนั เรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และธรรมชาติวทิ ยาในงาน “มหกรรมวทิ ยาศาสตร์ 2561” 3. คณะพาณิชศาสตร์และการบญั ชีจดั งาน “บทเพลงแห่งกาลเวลา” รายไดม้ อบใหม้ ูลนิธิการกศุ ลหลายแห่ง 4. กระทรวงสาธารณสุขส่งเสริมการปลูกและจดั หาขมิKนชนั ท-ีมีคุณภาพป้อนใหโ้ รงงานผลิตยาขององคก์ าร เภสชั กรรม 5. ผเู้ ขา้ อบรมการช่วยชีวติ ขKนั พKืนฐานนอกจากจะไดค้ วามรู้ในการช่วยชีวติ ผปู้ ่ วยแลว้ ยงั ไดร้ ับสิทธิตรวจ สุขภาพโดยไม่เสียค่าใชจ้ ่าย 30. ขอ้ ใดกล่าวไม่สอดคลอ้ งกบั ขอ้ ความต่อไปนKี ยเู อวหี รือโดรน เป็นอากาศยานท-ีมีแรงขบั เคล-ือน บินโดยอตั โนมตั ิ หรือควบคุมจากระยะไกลโดยไม่มี ผบู้ งั คบั โดยสารไปดว้ ย โดรนมีทKงั แบบใชแ้ ลว้ ทิKงหรือนาํ กลบั มาใชใ้ หม่ และมีระวางบรรทุกอาวธุ หรือ อุปกรณ์ชนิดอื-น ๆ ได้ ดงั นKนั ขีปนาวธุ หรือจรวดร่อนจึงไม่นบั วา่ เป็นยเู อวี เพราะอากาศยานดงั กล่าว เป็น อาวธุ ในตวั ของมนั เองท-ีถูกส่งขKึนไปเพ-ือใชใ้ นกิจการสงคราม 1. เราสามารถขนยา้ ยสิ-งต่าง ๆ ไปกบั โดรนได้ 2. โดรนใชก้ ารบงั คบั จากระยะไกลโดยไม่ตอ้ งมีผขู้ บั 3. ขีปนาวธุ เป็นอากาศยานท-ีส่งขKึนไปเพ-ือการทาํ ลายลา้ ง 4. ขีปนาวธุ และโดรนต่างกเ็ ป็นอากาศยานไร้ผขู้ บั แต่มีวธิ ีใชต้ ่างกนั 5. ทKงั โดรนและขีปนาวธุ เมื-อปล่อยออกไปแลว้ นาํ กลบั มาใชใ้ หม่ได้ 31. ขอ้ ใดไม่สอดคลอ้ งกบั ขอ้ ความต่อไปนKี หลายคนรู้จกั อินเดียในฐานะตน้ กาํ เนิดศาสนาสาํ คญั ของโลก จากสถานท-ีท่องเท-ียว ไดแ้ ก่ ทชั มาฮาล และจากบุคคลสาํ คญั คือ มหาตมะ คานธี ผนู้ าํ การเรียกร้องเอกราชจากองั กฤษ แต่พวกเขายงั เขา้ ใจอินเดียผดิ วา่ ชาวอินเดียส่วนใหญ่เป็น “มงั สวริ ัติ” เพราะรับประทานมงั สวริ ัติมากถึง 480 ลา้ นคน คอลมั นิสตช์ าว อินเดียจึงเขียนบทความอธิบายวา่ ความจริงแลว้ ชาวอินเดียส่วนใหญ่หรือราวร้อยละ 60 รับประทาน เนKือสตั ว์ มีคนรับประทานมงั สวริ ัติร้อยละ 40 จากประชากรทKงั สิKน 1,200 ลา้ นคน ดว้ ยเหตุเช่นนKีจึงอาจกล่าว ใหถ้ ูกตอ้ งวา่ “อินเดียเป็นประเทศที-มีประชาชนรับประทานมงั สวริ ัติมากที-สุดในโลก” 1. อินเดียเป็นชาติท-ีเคร่งครัดศาสนาจึงมีประชากรรับประทานมงั สวริ ัติมากที-สุด 2. จากสถิติพบวา่ ประชากรอินเดียรับประทานเนKือสตั วม์ ากกวา่ รับประทานมงั สวริ ัติ 3. อินเดียมีช-ือเสียงดา้ นศาสนาสาํ คญั สถานที-ท่องเท-ียว และบุคคลสาํ คญั ทางการเมือง 4. คอลมั นิสตช์ าวอินเดียตอ้ งการอธิบายใหค้ นทวั- ไปเขา้ ใจเรื-องเกี-ยวกบั อินเดียอยา่ งถูกตอ้ ง 5. จาํ นวนประชากรท-ีมีมากมายของอินเดียทาํ ใหส้ รุปไดว้ า่ ชาวอินเดียรับประทานมงั สวริ ัติมากท-ีสุดในโลก 7

32. จากขอ้ ความต่อไปนKี “ป๋ ุยสง-ั ตดั ” มีความหมายตามขอ้ ใด โครงการจดั หาป๋ ุยสงั- ตดั ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มุ่งปรับเปลี-ยนพฤติกรรมการใชป้ ๋ ุยของ เกษตรกรใหเ้ หมาะสม เนน้ ใหใ้ ส่ป๋ ุยตามค่าวเิ คราะห์ดินและตรงตามความตอ้ งการธาตุอาหารของพืช ซ-ึงจะ ช่วยแต่งเติมการใชป้ ๋ ุยไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการ ทKงั ยงั ไดป้ ๋ ุยท-ีมีอาหารพืชเหมาะสมตามค่าวเิ คราะห์ธาตุ อาหารพืชที-เป็นปัจจุบนั อยา่ งไรกต็ ามเกษตรกรตอ้ งวเิ คราะห์ดินรายแปลงเพื-อเป็นขอ้ มูลใชใ้ นการจดั หาป๋ ุย สงั- ตดั ได้ 1. ป๋ ุยธรรมชาติท-ีมีคุณสมบตั ิพิเศษเพ-ือใชแ้ ทนป๋ ุยเคมี 2. ป๋ ุยท-ีผสมใหม้ ีสดั ส่วนของสารอาหารสูงกวา่ ปกติ 3. ป๋ ุยท-ีมีราคาต-าํ เพ-ือช่วยลดตน้ ทุนการผลิตของเกษตรกร 4. ป๋ ุยที-ใชไ้ ดเ้ ฉพาะกบั ดินที-มีการวเิ คราะห์สารอาหารพืชแลว้ 5. ป๋ ุยท-ีผลิตใหม้ ีสารอาหารเหมาะกบั ชนิดของพืชและผลการตรวจสภาพดิน 33. จากขอ้ ความต่อไปนKี “การสร้างสรรค”์ มีความหมายตรงตามขอ้ ใด “การสร้างสรรค”์ เป็นการสร้างใหม้ ีขKึนเพิ-มขKึน มกั จะตรงขา้ มกบั การทาํ ลาย การผลิตในทางเศรษฐกิจ โดยปกติจะเกิดการทาํ ลายพร้อมไปดว้ ย เช่นทาํ ลายทรัพยากรธรรมชาติ กระบวนการผลิตบางครKังปล่อยของ เสียไปในอากาศ หรือลงไปในดินในนKาํ เป็นตน้ การผลิตตอ้ งทาํ ดว้ ยความรอบคอบเพื-อก่อใหเ้ กิดส-ิงที-ดีงาม ทาํ ใหเ้ กิดประโยชนส์ ุข และทาํ ใหช้ ีวติ มนุษยด์ ีขKึน สงั คมดีขKึน จึงจะนบั เป็นการสร้างสรรค์ 1. การทาํ สิ-งใหม่ใหเ้ กิดผลดี 2. การทาํ ใหส้ ิ-งใดสิ-งหน-ึงปรากฏขKึน 3. การผลิตที-ไม่ทาํ ลายสิ-งแวดลอ้ ม 4. การใชท้ รัพยากรโดยไม่ใหเ้ กิดผลเสีย 5. การใชค้ วามรู้ในการผลิตทางเศรษฐกิจ 34. ขอ้ ใดไม่ใช่ส-ิงที-ผเู้ ขียนหวาดหวน-ั สภาวะโลกร้อนส่งผลกระทบต่อสายพานแห่งมหาสมุทร ซ-ึงเป็นพลงั ขบั เคล-ือนนKาํ ในมหาสมุทรให้ หมุนเวยี นไปทวั- โลกอยา่ งเป็นระบบ การเปลี-ยนแปลงของนKาํ แน่นอนวา่ ยอ่ มสะเทือนไปถึงเผา่ พนั ธุ์บนโลก สภาวะโลกร้อนที-กาํ ลงั แผก่ วา้ งจะชะลอการไหลเวยี นของสายพานแห่งสมุทร เป็นเหตุใหเ้ ดือดร้อนกนั ไป ทวั- เช่น เกิดสภาพอากาศรุนแรงขKึน ระดบั นKาํ ทะเลสูงขKึน และที-สาํ คญั เพ-ิมโอกาสใหเ้ กิดการปิ ดสายพานแห่ง มหาสมุทรอยา่ งถาวร นบั เป็นส-ิงที-น่าหวาดหวนั- เหลือเกิน 1. ภูมิอากาศแปรปรวนมากขKึน 2. บริเวณชายฝั-งมหาสมุทรมีนKาํ ท่วมสูง 3. ส-ิงมีชีวติ ทKงั หลายสูญพนั ธุ์ไปจากโลก 4. ชีวติ คนสตั วพ์ ืชประสบปัญหาอยา่ งหนกั 5. ระบบการเคลื-อนที-ของนKาํ ในมหาสมุทรยตุ ิลง 8

35. ขอ้ ใดเป็นประเดน็ สาํ คญั ของขอ้ ความต่อไปนKี การเที-ยวชมธรรมชาติในถKาํ เป็นกิจกรรมท-ีน่าต-ืนเตน้ ผเู้ ขา้ ชมจะไดเ้ รียนรู้เก-ียวกบั ธรณีวทิ ยา หินงอก หินยอ้ ย และประวตั ิศาสตร์จากภาพเขียนสี ถKาํ ส่วนใหญ่สามารถเท-ียวชมไดต้ ลอดปี ถKาํ บางประเภทท-ีมี นKาํ ไหลหรือถKาํ ธารลอดควรเที-ยวเฉพาะฤดูร้อนเท่านKนั ถKาํ ที-ติดทะเลบางแห่งจะเท-ียวไดเ้ ฉพาะช่วงนKาํ ลง หากตอ้ งไปเท-ียวถKาํ ควรศึกษาขอ้ มูลเพื-อความปลอดภยั เช่น ประวตั ิดินถล่ม นKาํ ท่วม ไม่ควรเที-ยวถKาํ ท-ียงั ไม่มี การสาํ รวจ 1. ประเภทต่าง ๆ ของถKาํ 2. ประโยชนข์ องการเท-ียวชมถKาํ 3. คาํ แนะนาํ ในการเที-ยวชมถKาํ 4. ลกั ษณะของถKาํ ท-ีเป็นอนั ตราย 5. ความงามของถKาํ ตามธรรมชาติ 36. ขอ้ ใดเป็นสาระสาํ คญั ของขอ้ ความต่อไปนKี เครื-องแต่งกายในการแสดงโขนมีขนบมาแต่โบราณ ประดิษฐใ์ หว้ จิ ิตรตระการตา โดยเลียนแบบมาจาก เคร-ืองทรงของพระมหากษตั ริย์ หวั โขนเป็นเครื-องประดบั ศีรษะ แสดงถึงยศถาบรรดาศกั ดlิและตาํ แหน่งของ ตวั ละครแต่ละกลุ่ม คือ เทวดา พระ ยกั ษ์ และลิง สีของเสKือผา้ จะบ่งบอกถึงสีผวิ กายของตวั ละคร เช่น พระรามและทศกณั ฐม์ ีกายสีเขียวเครื-องนุ่งห่มจึงเป็นสีเขียว หนุมานมีกายสีขาวเครื-องนุ่งห่มจึงเป็นสีขาว 1. สีกายของตวั ละครในโขนเป็นไปตามสีเครื-องนุ่งห่ม 2. เครื-องแต่งกายของตวั ละครในโขนมีศิลปะที-งดงาม 3. การแต่งกายในการแสดงโขนมีลกั ษณะเฉพาะตามแบบแผนที-กาํ หนด 4. ฐานะและตาํ แหน่งของตวั ละครในโขนแต่ละกลุ่มดูไดจ้ ากเคร-ืองแต่งกาย 5. โขนเป็นการแสดงขKนั สูงจึงใชเ้ ครื-องแต่งกายท-ีเลียนแบบเครื-องทรงของกษตั ริย์ 37. ขอ้ ใดเป็นสาระสาํ คญั ของขอ้ ความต่อไปนKี รถวงิ- ยอ้ นศรสวนทางกบั รถท-ีมาอยา่ งปกติ คนขบั ข-ีดว้ ยความเร็วสูง ฝ่ าไฟแดงอยา่ งทา้ ทาย ขบั ขี-หรือ จอดบนทางเทา้ อยา่ งสบายใจ เยาวชนท-ียงั ไม่มีใบขบั ขี-กอ็ อกทอ้ งถนนชนิดท-ีพอ่ แม่ออกจะภูมิใจดว้ ยซKาํ ใน ขณะท-ีคนท-ีไม่มีส่วนเก-ียวขอ้ งดว้ ยเลย บางครKังกลบั เป็นเหยอ-ื อุบตั ิเหตุจนบาดเจบ็ หรือถึงกบั เสียชีวติ 1. การขบั ขี-ยานยนตอ์ ยา่ งผดิ กฎหมายมีหลายลกั ษณะ 2. การบงั คบั ใชก้ ฎหมายควบคุมการขบั ข-ีควรกระทาํ อยา่ งจริงจงั 3. การแกป้ ัญหาการขบั ขี-ที-ไม่ปลอดภยั มีความจาํ เป็นอยา่ งยงิ- 4. การขบั ขี-อยา่ งผดิ กฎหมายก่อใหเ้ กิดอนั ตรายร้ายแรงถึงชีวติ 5. การสร้างจิตสาํ นึกของพอ่ แม่เกี-ยวกบั การขบั ข-ีของลูกเป็นเร-ืองสาํ คญั 9

38. ส่วนใดเป็นการสรุปความคิดของผเู้ ขียนขอ้ ความต่อไปนKี 1) สงั คมไทยไดก้ ลายเป็นสงั คมที-นิยมตะวนั ตก ของนอก นกั เรียนนอก วฒั นธรรมฝรั-ง / 2) หลายคน ยกยอ่ งความเป็นอยแู่ ละบริโภคเทคโนโลยแี ละผลผลิตของชาติตะวนั ตก / 3) ความรู้ท-ีไปเรียนจาก ต่างประเทศ แมเ้ ป็นวชิ าที-เฉพาะเจาะจง ไม่มีใครรู้จกั ไม่สมั พนั ธ์กบั ชีวติ ไทย กไ็ ดร้ ับการยกยอ่ ง / 4) ใครท-ี พดู เรื-องเหล่านKีกลายเป็นนกั วชิ าการชKนั ยอดระดบั นานาชาติ / 5) แต่ความรู้นKนั ไม่เป็นประโยชนแ์ ก่ประเทศ ไทย ไม่ใช่เพ-ือการพฒั นาไทย เพราะผพู้ ดู ไม่รู้อะไรเก-ียวกบั ไทยเลย 1. ส่วนท-ี 1 และ 3 2. ส่วนที- 1 และ 4 3. ส่วนท-ี 2 และ 4 4. ส่วนที- 2 และ 5 5. ส่วนที- 3 และ 5 39. จากขอ้ ความต่อไปนKี “ปี กนก” หมายถึงอะไร นกั เขียนต่างมารวมกบั เพ-ือประกวดผลงานที-เสริมสร้างความสมั พนั ธ์อนั ดีระหวา่ งประเทศสมาชิก ลุ่มแม่นKาํ โขง ทุกคนพยายามถ่ายทอดประสบการณ์ชีวติ ของผคู้ น 2 ฝั-งนKาํ นกั เขียนเปรียบเหมือนนกซ-ึง บินไดเ้ พราะวฒั นธรรมของชาติตน พวกเขายงั ตอ้ งเกบ็ เก-ียววถิ ีชีวติ ของเพื-อนสมาชิกที-มีความหลากหลาย แลว้ เลือกเอาส-ิงเหล่านKนั มาเสริม “ปี กนก” ใหแ้ ขง็ แกร่งมากขKึน บินไดไ้ กลไดส้ ูงยง-ิ ๆ ขKึนไป 1. ผลงานของผเู้ ขียน 2. คุณภาพของงานเขียน 3. ประสบการณ์ของผเู้ ขียน 4. ฝีมือในการสร้างงานเขียน 5. ความสมั พนั ธ์อนั ดีระหวา่ งประเทศสมาชิก 40. ขอ้ ใดเป็นจุดประสงคข์ องผเู้ ขียนขอ้ ความต่อไปนKี พลงั งานเป็นสิ-งจาํ เป็นแก่การดาํ รงชีวติ ของมนุษย์ และทวคี วามสาํ คญั ยงิ- ๆ ขKึนตามกระแสโลกาภิวตั น์ ปัจจุบนั การพยายามแสวงหาพลงั งานเพื-อสนองความตอ้ งการของมนุษยท์ าํ ใหพ้ ลงั งานนิวเคลียร์ไดร้ ับการ พิจารณาเป็นอนั ดบั ตน้ ๆ เพื-อใชใ้ นการผลิตไฟฟ้า ดว้ ยเหตุนKีจึงเกิดโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ซ-ึงใช้ พลงั งานความร้อนจากเครื-องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ยง-ิ ไปกวา่ นKนั โรงไฟฟ้าพลงั งานนิวเคลียร์ยงั ปราศจากมลพิษ ช่วยชะลอการเกิดภาวะโลกร้อนไดอ้ ีกดว้ ย 1. แนะนาํ ใหร้ ู้จกั พลงั งานนิวเคลียร์ 2. สนบั สนุนการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 3. ชKีแจงการทาํ งานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 4. อธิบายประโยชนข์ องพลงั งานนิวเคลียร์ในยคุ โลกาภิวตั น์ 5. เตือนใหพ้ ิจารณาขอ้ ดีขอ้ เสียของการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 10

41. ขอ้ ใดเป็นจุดประสงคข์ องผเู้ ขียนขอ้ ความต่อไปนKี ในแต่ละวนั เฉลี-ยแลว้ คนไทยหยบิ มือถือขKึนมาดูถึง 150 ครKัง และใชเ้ วลาจอ้ งมองมือถือมากถึง 5 ชว-ั โมง การเล่นมือถือก่อนนอนทาํ ใหห้ ลบั ยาก เพราะร่างกายตอบสนองต่อแสงสีนKาํ เงินทาํ ใหร้ ู้สึกตื-นตวั และยบั ยKงั การหลงั- ฮอร์โมนเมลาโทนิน จึงไม่รู้สึกง่วง บางคนเขา้ นอนไปพร้อมๆ กบั มือถือ จากสถิติพบวา่ คนอเมริกนั ร้อยละ 60 วางมือถือไวบ้ นเตียงนอน ร้อยละ 40 นอนนอ้ ยกวา่ ท-ีแนะนาํ คือควรนอนวนั ละ 7 ชวั- โมง การ นอนหลบั ไม่เพียงพอจะส่งผลเสียต่อภูมิคุม้ กนั ของร่างกาย 1. วเิ คราะห์สาเหตุต่างๆ ท-ีทาํ ใหค้ นนอนไม่หลบั 2. ใหข้ อ้ มูลการเสพติดมือถือในชีวติ ประจาํ วนั ของคนไทย 3. แนะนาํ ใหน้ อนหลบั อยา่ งเพียงพอซ-ึงจะส่งผลดีต่อร่างกาย 4. อธิบายผลกระทบต่อสุขภาพที-มาจากการเล่นมือถือก่อนนอน 5. เล่าถึงพฤติกรรมการใชม้ ือถือของคนไทยและคนอเมริกนั ในปัจจุบนั 42. ขอ้ ใดเป็นจุดประสงคข์ องผเู้ ขียนขอ้ ความต่อไปนKี พาราเบนคือสารเคมีท-ีอยใู่ นกลุ่มของสารกนั เสีย มีคุณสมบตั ิยบั ยKงั การทาํ งานของเชKือโรคต่างๆ จึง ทาํ ใหผ้ ลิตภณั ฑไ์ ม่เน่าเสีย คงสภาพการใชง้ านต่อได้ อยา่ งไรกต็ ามอนั ตรายจากพาราเบนคือเป็นตวั ก่อมะเร็ง ทางเลือกที-ปลอดภยั คือการใชส้ ารกนั เสียท-ีเป็นสารสกดั จากธรรมชาติ เช่น สารสกดั จากเปลือกสน เปลือก ตน้ พะยอม 1. ชKีใหเ้ ห็นอนั ตรายของสารเคมีพาราเบน 2. ชKีแจงคุณสมบตั ิของสารสกดั จากธรรมชาติ 3. แนะนาํ ใหผ้ ผู้ ลิตใชส้ ารกนั เสียจากธรรมชาติ 4. อธิบายสาเหตุท-ีตอ้ งใชส้ ารกนั เสียในผลิตภณั ฑ์ 5. เตือนใหผ้ บู้ ริโภคเลือกใชผ้ ลิตภณั ฑท์ ี-ปราศจากสารเคมี 43. ขอ้ ใดเป็นแนวคิดของขอ้ ความต่อไปนKี “อะไรนะ คุณชมวา่ กาํ แพงนKีงดงามไดอ้ ยา่ งไร ไม่เห็นหรอกหรือวา่ มีอิฐ 2 กอ้ นก่อไม่เรียบร้อยยน-ื โปน ออกมาจากผนื กาํ แพง” “เห็นครับ แต่ผมกเ็ ห็นอิฐท-ีก่ออีกเป็นร้อยกอ้ นท-ีเรียงเป็นระเบียบ งดงามไม่มีที-ติ” 1. ควรละเลยขอ้ บกพร่องของส-ิงต่างๆ 2. ควรสนใจเฉพาะส่วนที-มีปริมาณมากของสิ-งต่างๆ เท่านKนั 3. ควรใหค้ วามสาํ คญั แก่สิ-งท-ีถูกตอ้ งดีงามมากกวา่ ส่วนบกพร่อง 4. ควรยอมรับวา่ สิ-งต่างๆ จะตอ้ งมีขอ้ บกพร่องแทรกอยดู่ ว้ ยเสมอ 5. ควรตระหนกั วา่ สิ-งที-แตกต่างกบั ส่วนอ-ืนทาํ ใหส้ -ิงนKนั มีอตั ลกั ษณ์ของตวั เอง 11

44. ขอ้ ใดเป็นแนวคิดสาํ คญั ของขอ้ ความต่อไปนKี ไวโอลินเก่าตวั หน-ึง เม-ือมนั อยใู่ นมือของนกั ดนตรีมีชื-อ มนั กลายเป็นไวโอลินที-มีเสียงไพเราะ มีราคา กลบั กนั หากมนั อยใู่ นร้านขายของเก่า กไ็ ม่ต่างอะไรกบั ไวโอลินธรรมดาๆ ท-ีไม่มีราคา มา้ ตวั หน-ึง เม-ือมนั อยู่ กบั ชาวไร่ มนั เป็นเพียงสตั วเ์ พื-อเป็นพาหนะขนยา้ ยพืชผล แต่หากมนั อยกู่ บั แม่ทพั มนั อาจกลายเป็นมา้ ศึกที- นาํ ชยั ชนะมาสู่กองทพั 1. ส-ิงทKงั หลายในโลกนKีมกั อยเู่ ป็นคู่ 2. ของเก่ามกั มีค่าไม่ทางใดกท็ างหน-ึง 3. คนเราควรทาํ ภารกิจใหต้ รงตามความถนดั ของตน 4. ส-ิงต่างๆ อาจมีคุณค่ามหาศาลเมื-ออยกู่ บั ผมู้ ีฝีมือในการใช้ 5. ผมู้ ีปัญญามกั ปรับใชท้ ุกสิ-งรอบตวั ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อตนเอง 45. ขอ้ ใดเป็นแนวคิดของขอ้ ความต่อไปนKี คุณตอ้ งการเป็นเจา้ ของบริษทั ไหม ตอ้ งการเป็นเศรษฐีไหม แน่นอนวา่ ทุกคน “อยาก” แต่จะไม่มีทาง เป็นจริงไดถ้ า้ มวั แต่คิดแลว้ ไม่ลงมือทาํ เราตอ้ งวางเป้าหมายใหส้ ูงเขา้ ไว้ เพราะไม่เสียหายอะไร บางครKัง ความลม้ เหลวอาจเป็นส่วนหน-ึงของความสาํ เร็จได้ ขอใหแ้ น่ใจวา่ ไดล้ งมือทาํ และทาํ ทีละนอ้ ย หมนั- ทาํ บ่อยๆ ใหค้ ิดวา่ สิ-งเดียวท-ีเราตอ้ งการกค็ ือ ความสาํ เร็จอนั ยงิ- ใหญ่ท-ีรอเราอยู่ 1. เราควรคิดใหญ่ แต่เริ-มทาํ จากจุดเลก็ ๆ อยา่ งสม-าํ เสมอ 2. แรงบนั ดาลใจทาํ ใหค้ นเราเกิดการตKงั เป้าหมายในชีวติ 3. คนท-ีไม่รู้จกั ผดิ พลาด คือคนท-ีไม่เคยลงมือทาํ อะไรเลย 4. สิ-งที-น่ากลวั ในชีวติ มนุษยค์ ือการตKงั เป้าหมายไวส้ ูงเกินไป 5. เป้าหมายไม่มีคาํ วา่ เป็นไปไม่ได้ เพียงแต่เราตอ้ งตKงั ใจจริง 46. ขอ้ ใดไม่อาจอนุมานไดจ้ ากขอ้ ความต่อไปนKี นKาํ เป็นทรัพยากรที-สาํ คญั ต่อการพฒั นาประเทศ การใชน้ Kาํ อยา่ งประหยดั และคุม้ ค่าจึงเป็นส-ิงจาํ เป็น ตวั อยา่ งหน-ึงของการใชน้ Kาํ อยา่ งคุม้ ค่าคือการพฒั นาแหล่งนKาํ ควบคู่ไปกบั การพฒั นาพลงั งาน โดยเฉพาะ การพฒั นาไฟฟ้าพลงั นKาํ ขนาดเลก็ เน-ืองจากการพฒั นาไฟฟ้าพลงั นKาํ ขนาดเลก็ ก่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อ สิ-งแวดลอ้ มนอ้ ยมาก นอกจากนKีไฟฟ้าพลงั นKาํ ขนาดเลก็ ยงั ใชเ้ ทคโนโลยไี ม่ซบั ซอ้ นและสามารถผลิตขKึน ไดเ้ องในประเทศเป็นส่วนใหญ่ 1. การพฒั นาไฟฟ้าพลงั นKาํ ขนาดเลก็ สามารถทาํ ไดง้ ่ายและใชท้ ุนนอ้ ย 2. ประเทศไทยควรมีการพฒั นาไฟฟ้าพลงั นKาํ ขนาดเลก็ ในทุกแหล่งนKาํ 3. การพฒั นาแหล่งนKาํ และแหล่งพลงั งานควรคาํ นึงถึงส-ิงแวดลอ้ มดว้ ย 4. การใชแ้ หล่งนKาํ ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นการผลิตไฟฟ้าถือวา่ ใชน้ Kาํ อยา่ งคุม้ ค่า 5. การสร้างไฟฟ้าพลงั นKาํ ขนาดเลก็ นบั เป็นการพฒั นาประเทศดา้ นสาธารณูปโภค 12

47. ขอ้ ใดอาจอนุมานไดจ้ ากขอ้ ความต่อไปนKี ปัจจุบนั มีการพฒั นาอยา่ งต่อเนื-องเพื-อทาํ ใหห้ ุ่นยนตป์ ัญญาประดิษฐห์ รือ AI ขKึนแท่นแรงงานคุณภาพ ซ-ึงสามารถทดแทนการทาํ งานของมนุษยใ์ นดา้ นต่างๆ ใชส้ มองแทน เช่น คิดหรือตดั สินใจบางเรื-องแทน คาํ พดู เช่น ตอบรับในระบบอตั โนมตั ิแทนการปฏิบตั ิงาน เช่น ตรวจหาวตั ถุระเบิด เป็นแขนกลในโรงงาน อยา่ งไรกต็ าม ในขณะนKีหุ่นยนตก์ ย็ งั ไม่สามารถทดแทนมนุษยใ์ นเรื-องจิตใจ เช่น แสดงความจริงใจในงาน บริการ แต่ในอนาคตกน็ ่าจะพฒั นาเรื-องจิตใจในระดบั เบKืองตน้ ไดบ้ า้ ง 1. มนุษยต์ Kงั ใจใชห้ ุ่นยนตใ์ นโรงงานเฉพาะงานที-เส-ียงอนั ตรายเท่านKนั 2. มนุษยม์ ุ่งมน-ั ท-ีจะประดิษฐห์ ุ่นยนตใ์ หก้ า้ วสู่การทาํ งานท-ีหลากหลายซบั ซอ้ นยง-ิ ขKึน 3. มนุษยม์ นั- ใจวา่ ในอนาคตหุ่นยนตจ์ ะเขา้ มาทดแทนการทาํ งานของมนุษยไ์ ดท้ ุกมิติ 4. หุ่นยนตย์ งั ขาดความสามารถในการใชค้ วามคิดของตนเองและการเลือกสรรสิ-งต่าง ๆ 5. ในอนาคตการพฒั นาหุ่นยนตใ์ หม้ ีอารมณ์ความรู้สึกเป็นเป้าหมายสาํ คญั ที-สุด 48. ขอ้ ใดอาจอนุมานไดจ้ ากขอ้ ความต่อไปนKี สิ-งมีชีวติ เช่น ตวั หKาํ ตวั เบียน และเชKือจุลินทรีย์ นาํ มาใชค้ วบคุมศตั รูพืชได้ เชKือจุลินทรียท์ -ีเป็นเชKือรา บางชนิดมีคุณสมบตั ิเหมือนสารเคมี สามารถกาํ จดั โรคพืชและแมลงศตั รูพืชไดโ้ ดยไม่เป็นอนั ตรายต่อผใู้ ช้ ผบู้ ริโภค และไม่มีฤทธlิตกคา้ งในส-ิงแวดลอ้ ม ที-สาํ คญั เกษตรกรสามารถผลิตใชเ้ องได้ 1. จุลินทรียท์ -ีเป็นเชKือรากาํ จดั โรคพืชและแมลงศตั รูพืชไดด้ ีกวา่ สารเคมี 2. การใชจ้ ุลินทรียท์ ี-เป็นเชKือรากาํ จดั ศตั รูพืชช่วยลดตน้ ทุนการผลิตของเกษตรกรได้ 3. เกษตรกรที-ใชส้ -ิงมีชีวติ ตามธรรมชาติเพ-ือควบคุมศตั รูพืชจะปราศจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ 4. เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ตอ้ งการใชส้ ารเคมีแต่ขาดความรู้เกี-ยวกบั จุลินทรียก์ าํ จดั ศตั รูพชื 5. เกษตรกรนิยมใชต้ วั หKาํ ตวั เบียน มากกวา่ การใชจ้ ุลินทรียเ์ พื-อกาํ จดั แมลงศตั รูพืชและโรคพืช 49. จากขอ้ ความต่อไปนKี ขอ้ ใดไม่ใช่บุคลิกลกั ษณะของผเู้ ขียน เกือบสิบปี แลว้ ท-ีขา้ พเจา้ ตอ้ งมาทาํ งานอยตู่ ่างแดน จาํ ไดว้ า่ เม-ือมาใหม่ๆ พดู ภาษาไม่ค่อยคล่องแต่กด็ ี ขKึนแลว้ การใชช้ ีวติ โดยทว-ั ไปบางครKังกเ็ หมือนไร้ญาติขาดมิตร รู้วา่ ถูกเจา้ ของประเทศกดขี-อยบู่ า้ งแต่ก็ เหมือนนKาํ ท่วมปาก อะไรปรับตวั ไดก้ ป็ รับไป เราตอ้ งอยใู่ หร้ อดเท่านKนั 1. อดทน 2. มุมานะ 3. กลา้ หาญ 4. มน-ั ใจในตวั เอง 5. มีมนุษยส์ มั พนั ธ์ 50. จากขอ้ ความต่อไปนKีขอ้ ใดไม่ใช่ความคิดของเจา้ ของร้านวดี ีโอ ไม่วา่ หนงั ตลาด นอกกระแส สญั ชาติไหน เรามีหมด เราเป็นร้านแรก ๆ ในกรุงเทพฯ ที-มีหนงั บรรยาย ไทย เราเคยจ่ายค่าลิขสิทธlิของหนงั มากถึงเดือนละ 7 หม-ืนบาท ความท-ีร้านเราอยใู่ กลม้ หาวทิ ยาลยั และแหล่ง ท่องเท-ียว ผทู้ ี-เดินเขา้ ออกร้านจึงมีทKงั อาจารย์ นกั ศึกษา ผกู้ าํ กบั หนงั และนกั ท่องเท-ียว ยามหลงั เลิกงานกม็ ี คนทาํ งานแวะเวยี นเขา้ มาเช่าวดี ีโอไปดูกนั ในครอบครัว 1. ความรุ่งเรืองของกิจการ 2. ความคุม้ ค่าในการลงทุน 3. ความหลากหลายของลูกคา้ 4. ความทนั สมยั ของภาพยนตร์ในร้าน 5. ความคิดริเร-ิมในการเขา้ ถึงผชู้ มวดี ีโอ 13


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook