Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มี.ค. 63 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.โพหัก อ.บางแพ จ.ราชบุรี

มี.ค. 63 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.โพหัก อ.บางแพ จ.ราชบุรี

Published by kl_1270060000, 2020-10-30 02:03:40

Description: ตำบลโพหัก-มี.ค.

Search

Read the Text Version

ทำเนียบภมู ปิ ญั ญำท้องถิน่ ประจำเดอื นมนี ำคม 2563 กศน.ตำบลโพหัก ศูนยก์ ำรศกึ ษำนอกระบบ และกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอบำงแพ สำนกั งำนส่งเสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยจงั หวดั รำชบุรี สำนักงำนส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัย สำนักงำนปลดั กระทรวงศึกษำธิกำร กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

คำนำ ภูมิปัญญาชาวบ้าน หรือภูมิปัญญาท้องถ่ิน หมายถึง ความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคนเรา ผ่านกระบวนการศึกษา สังเกตคิดวิเคราะห์จนเกิดปัญญา และตกผลึกมาเป็นองค์ความรู้ท่ีประกอบกันข้ึนมา จากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง ความรู้ดังกล่าวไม่ได้แยกย่อยออกมาเป็นศาสตร์ เฉพาะสาขาวิชาต่าง ๆ อาจกล่าวไว้ว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นจัดเป็นพื้นฐานขององค์ความรู้สมัยใหม่ท่ีจะช่วยในการเรียนรู้ การแก้ปัญหา การจัดการ และการปรับตัวในการดาเนินชีวิตของคนเรา ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคม ชุมชนและในตัวของผู้รู้เอง หากมีการสืบค้นหาเพื่อศึกษา และนามาใช้ก็จะเป็นที่รู้จักกันเกิดการยอมรับ ถา่ ยทอด และพัฒนาไปสคู่ นรนุ่ ใหมต่ ามยุคตามสมยั ได้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตาบลโพหัก ได้จัดทาข้อมูลเร่ืองทาเนียบ ภูมิปัญญาท้องถ่ินฉบับน้ีข้ึน เพื่อรวบรวมประวัติ และผลงานของบุคคลในสาขาต่าง ๆ ที่เป็นผู้ท่ีสืบทอดมรดก ทางศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของชุมชน ในตาบลโพหัก เพ่ือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาหรับผู้ที่ศึกษาค้นคว้า และสนใจอันจะเป็นประโยชน์และตระหนักถึงความสาคัญในคุณค่าของมรดกทางด้านศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน และมีส่วนรว่ มในการจรรโลงและรกั ษาไวส้ บื ต่อไป กศน.ตาบลโพหัก มีนาคม 2563

สำรบัญ หนำ้ คำนำ 1 สำรบญั 4 7 กศน.ตาบลโพหัก ภูมิปญั ญา ลเิ กไทย : นายคันธารัตน์ คาสุข ภมู ิปัญญา การร้อยพวงมาลัย : นางสาวสุนิสา พนั ธเสน ภมู ิปญั ญา ตอกฉัตร : นายอรุณ นว่ มไข่ คณะผจู้ ดั ทา

1 แบบบันทกึ ชดุ ข้อมลู คลังปญั ญำ-ภมู ปิ ัญญำท้องถิ่น ตำบลโพหัก อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี ชอ่ื ภมู ปิ ัญญำ ลิเก ขอ้ มูลพืน้ ฐำน รำยบคุ คล เจ้ำของภมู ิปัญญำท้องถ่ิน/บุคคลคลังปัญญำ ช่ือ นายคันธารตั น์ นำมสกุล คาสขุ วนั เดอื น ปเี กิด 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 ท่ีอยู่ปัจจบุ นั (ท่ีสำมำรถตดิ ต่อได)้ บา้ นเลขที่ 13 หมูท่ ่ี 10 ตาบล/แขวงโพหัก อาเภอ/เขตบางแพ จังหวดั ราชบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ 70160 โทรศพั ท์ 098-4643299 โทรสำร- Lind ID 087-4105476 E-mail address: [email protected] Facebook น้องบอล พรพ่อแก่ ควำมเปน็ มำของภมู ิปญั ญำ ภาครวม ลิเกมีมานานนับร้อยปี ต้ังแต่สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ สมัยรัชกาลที่ 5 ลิเกมีข้ึนคร้ังแรกใน ประเทศไทย เม่ือชาวมลายูได้เข้ามาอยใู่ นเมืองไทยได้สวดถวายตัวในงานบาเพญ็ พระราชกุศลปี ค.ศ.2432 คา วา่ ลิเก เพยี้ นมาจาก \"ดิเก\" ในภาษามลายู แปลวา่ การขับรอ้ งลานาต่างๆ การเล่นลิเกของชาวมลายูนั้นนั่งล้อม วงประมาณ 10 คน ตีราระนาทและรอ้ งเพลงไปพรอ้ มๆกัน ทานองเรียกวา่ \"บนั ตน\" ประวัติผู้ให้ข้อมูล สืบทอดการแสดงลิเกจากคุณยายเพื่อเป็นรักษาการแสดงลิเกไทยท่ีมีมาต้ังแต่สมัย โบราณไมใ่ ห้สูญหายไป เพราะลิเกเปน็ การแสดงทค่ี ู่กับคนไทย ในทุกมติ ิ เชน่ งานวัด งานบุญ งานแก้บนตา่ งๆ จดุ เด่นของภูมิปัญญำท้องถ่นิ - เป็นคนรุ่นใหม่ที่เห็นคุณค่าของการแสดงศิลปะด้านลิเกและสืบทอดศิลปะด้านการแสดงสามารถ สร้างรายไดส้ ่งตวั เองเรยี นจนจนระดับปรญิ ญาตรี วัตถุดบิ ท่ีใชป้ ระโยชนใ์ นผลติ ภัณฑท์ ่ีเกดิ จำกภมู ปิ ัญญำ ซึ่งพื้นที่อน่ื ไมม่ ี - รำยละเอยี ดของภมู ิปัญญำทอ้ งถน่ิ - รปู แบบในการถา่ ยทอดความรู้ รปู แบบและลักษณะกำรถ่ำยทอด กำรประชำสมั พันธ์ เผยแพร่ภูมปิ ญั ญำท้องถนิ่  ยังไม่เคยมีการเผยแพร/่ ใชเ้ ฉพาะบุคคล  เคยเผยแพร่เฉพาะในชมุ ชน  มีการเผยแพร่ผ่านส่อื มวลชนและส่อื อ่ืนอย่างแพรห่ ลาย  มกี ารดูงานจากบุคคลภายนอกจานวน…………………. ครั้ง จานวน…………………..คน  มกี ารนาไปใช้  อ่ืนๆ (ระบ)ุ รับงานแสดงทั่วราชอาณาจักร

2 ลกั ษณะของภมู ิปัญญำท้องถ่นิ กำรพัฒนำตอ่ ยอดภูมปิ ัญญำให้เปน็ นวัตกรรม คุณคำ่ (มูลค่ำ) และ ควำมภำคภูมิใจ  ภูมิปัญญาท้องถ่นิ /นวัตกรรมทค่ี ิดค้นขนึ้ มาใหม่  ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ด้ังเดมิ ได้รับการถ่ายทอดมาจาก  ภมู ิปัญญาท้องถ่ินทไ่ี ดพ้ ัฒนาและตอ่ ยอด แบบเดิมคอื แรกเริ่มเดมิ ทผี ู้ทจี่ ะสามารถแสดงลิเกได้ จะต้องเป็นผู้มคี วามสามารถ และเก่งกาจในเรือ่ งราว ของวรรณคดี ซง่ึ แตกต่างจากลเิ กปจั จุบนั ท่ีผ้แู สดงไม่มีความรคู้ วามเขา้ ใจในเรื่องราวนนั้ ๆ มากนกั เพราะมี ผูเ้ ขียนใหร้ อ้ ง จึงไมเ่ กิดการเรียนรู้ ในสมยั ก่อน การหดั ร้อง หัดราลิเกน้นั เปน็ เรอื่ งท่ีค่อนขา้ งยาก เพราะตอ้ งเรมิ่ จากการหัดราแม่บท หดั รอ้ งเพลง และท่สี าคัญตอ้ งหดั รอ้ งให้เป็นเรอ่ื งราว กำรพฒั นำต่อยอดคือ จากอดีตสู่ปัจจบุ ันการแสดงลิเกถูกพัฒนาเครอ่ื งแต่งกาย เวที แสง สี เสียงจน ตระการตา มิหนาซ้าเร่ืองราวการแสดงลิเกได้ถูกปรับประยุกต์ให้เข้ากับสมัยนิยม จึงทาให้ \"ลิเก ทรงเครือ่ ง\" เลือนหายไปตามกาลเวลา เน่อื งจากวธิ กี ารฝกึ หัดกระบวนท่ารา การร้อง การดน้ กลอนแบบโบราณ ไมไ่ ดร้ ับความนิยม ลิเกสมยั น้ีเอาความสวยงามเป็นหลกั แต่กลับให้นา้ หนกั ของความสมจรงิ เป็นเร่ืองรอง ซง่ึ แตกต่างจาก ลิเกสมัยก่อน สมมติว่าบทบาทของคนขอทาน ลักษณะการแต่งกายของลิเกในปัจจุบันจะประดับด้วยเพชร เต็มตัว แต่ในความเป็นจริง หากถือขันไปขอทาน แต่เพชรเต็มตัวไปหมด ก็เกิดการขัดแข้งกับเรื่องท่ีแสดง ขณะที่บทโกง ลิเกสมัยน้ีจะโหวกเหวกโวยวายวา่ ตวั เองเป็นคนโกง ท้ังๆ ทีช่ ีวิตจริงมแี ต่แอบโกงกินกนั ไม่มีใคร โกงเปิดเผย ดังน้ัน ลักษณะของลิเกโกงจะต้องประจบสอพอผู้ใหญ่ เป็นทหารก็ประจบเจ้า ด้วยปัจจัยต่างๆ ท่วี ่ามานี้ จงึ ทาใหม้ นตเ์ สน่ห์ของการแสดงลเิ กลดนอ้ ยถอยลง ลิเก การแสดงนาฏศลิ ป์พื้นบ้านของคนไทย ที่มมี ายาวนานโดยลิเกเป็นศิลปะแขนงหน่ึงทมี่ ีเอกลักษณ์ ในความสวยงามอ่อนช้อย ทั้งท่ารา บทร้องและเครื่องแต่งกายท่ีมีความงดงาม ซึ่งแสดงถึงความเจริญรุ่งเรือง ทางด้านวัฒนธรรมของคนไทยรวมถึงสะท้อนลักษณะการดารงชีวิตและอุปนิสัยของคนไทยที่ชอบร้องราทา เพลงและรักสงบได้เป็นอย่างดี

3 รูปภำพเจ้ำของภมู ิปญั ญำ การแสดงลิเก

4 แบบบนั ทึกชุดข้อมลู คลังปญั ญำ-ภมู ิปญั ญำทอ้ งถ่นิ ตำบลโพหัก อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี ชือ่ ภูมิปัญญำ การรอ้ ยมาลัย ขอ้ มูลพ้นื ฐำน รำยบุคคล เจ้ำของภูมิปัญญำทอ้ งถิน่ /บุคคลคลังปัญญำ ชอื่ นางสาวสุนิสา นำมสกุล พันธเสน วันเดือนปีเกดิ 2 ธนั วาคม พ.ศ. 2539 ท่ีอยู่ปัจจบุ ัน (ท่ีสำมำรถติดตอ่ ได)้ บ้านเลขที่ 29/10 หมทู่ ี่ 3 ตาบล/แขวงโพหัก อาเภอ/เขตบางแพ จังหวดั ราชบุรี รหสั ไปรษณยี ์ 70160 โทรศัพท์ 062-5356269 โทรสำร- Lind ID - E-mail address: [email protected] Facebook sunisa Pantasen ควำมเป็นมำของภมู ิปญั ญำ นางสาวสุนิสา พันธเสนเป็นผู้เรียนรู้การร้อยมาลัยจากครอบครัว และบวกกับความสนใจของตนเอง ได้ฝึกฝนการร้อยมาลัยมาหลากหลายแบบ จนเกิดความชานาญจนสามารถสร้างเป็นอาชีพท่ีภูมิใจได้ การร้อย มาลัยใช้เพียงเข็มและเชือกเป็นหลักและใช้ดอกไม้หรือช้ินส่วนต่างๆ ของพืชมาร้อยบวกกับจินนาการและ ความคิดสร้างสรรค์ของผู้ร้อยเป็นคนออกแบบก็จะได้พวงมาลัยในแบบท่ีผู้ร้อยหรือผู้ที่มาให้ทาตามรูปแบบที่ ตอ้ งการ พวงมาลัยใชไ้ ดใ้ นหลายโอกาสและเทศกาล เชน่ การบชู าพระ ทาบญุ จุดเดน่ ของภมู ปิ ัญญำท้องถ่นิ - พวงมาลยั ใช้ในการไหวพ้ ระหรอื บูชาสง่ิ ศกั ดแ์ิ ละความสาคญั ทางศาสนา และเป็นการสร้างมูลค่า วัสดุธรรมชาติ เช่นดอกไม้ ใบไม้ การนาดอกไม้มาบูชาพระมีมาแต่สมัยโบราณ พวงมาลัยก็เกิดจาก ความคิดสร้างสรรค์ของตนเองท่ีสามารถดัดแปลงจากดอกไม้ มาเป็นพวงมาลัยที่ถูกร้อยออกมาอย่าง ปราณตี และการร้อยยังเป็นการฝึกสมาธิไดอ้ กี ด้วย วัตถดุ บิ ทใ่ี ชป้ ระโยชนใ์ นผลติ ภัณฑท์ ่เี กิดจำกภูมปิ ญั ญำ ซ่งึ พ้นื ทอี่ ่ืนไมม่ ี - ใชว้ สั ดจุ ากธรรมชาตภิ ายในท้องถิ่น รำยละเอยี ดของภูมปิ ัญญำท้องถิ่น - เปน็ วชิ าชพี ช้ันสูงตอ้ งใชค้ วามสามารถเฉพาะตัว มีการใชค้ วามคิดสร้างสรรคใ์ นการคดิ ประดษิ ฐ์ ลวดลายรูปแบบใหม่ รปู แบบและลกั ษณะกำรถ่ำยทอด กำรประชำสัมพันธ์ เผยแพร่ภูมปิ ัญญำท้องถิ่น  ยังไม่เคยมกี ารเผยแพร่/ใชเ้ ฉพาะบคุ คล  เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชมุ ชน  มีการเผยแพร่ผ่านสอ่ื มวลชนและสื่ออืน่ อย่างแพรห่ ลาย  มกี ารดูงานจากบคุ คลภายนอกจานวน...............ครั้ง จานวน.................. คน  มีการนาไปใช้  อนื่ ๆ (ระบ)ุ

5 ลกั ษณะของภูมปิ ัญญำท้องถิน่ กำรพฒั นำตอ่ ยอดภูมปิ ัญญำให้เปน็ นวตั กรรม คุณค่ำ (มูลคำ่ ) และ ควำมภำคภมู ใิ จ  ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น/นวัตกรรมที่คดิ คน้ ขึ้นมาใหม่  ภูมิปัญญาท้องถ่ินด้งั เดมิ ได้รบั การถา่ ยทอดมาจาก  ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ท่ีได้พฒั นาและตอ่ ยอด แบบเดมิ คอื – เป็นพวงมาลัยสาหรบั ไหวพ้ ระ กำรพฒั นำต่อยอดคอื – เป็นร้อยพวงมาลัยเปน็ ลวดลายทส่ี วยงาม และหลากหลายรปู แบบเพ่ิมมลู ค่า พวงมาลัย

6 รปู ภำพเจ้ำของภูมปิ ัญญำ นางสาวสุนสิ า พนั ธเสน ภูมิปญั ญา การรอ้ ยพวงมาลัย การร้อยมาลัย

7 แบบบันทึกชุดข้อมูลคลงั ปญั ญำ-ภูมิปญั ญำท้องถ่นิ ตำบลโพหัก อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี ช่ือภมู ิปัญญำ ตอกฉตั ร ข้อมูลพืน้ ฐำน รำยบุคคล เจ้ำของภมู ิปัญญำทอ้ งถนิ่ /บคุ คลคลังปญั ญำ ชอื่ นายอรุณ นำมสกลุ น่วมไข่ วนั เดอื น ปเี กิด - - พ.ศ. 2488 ทอ่ี ยู่ปจั จุบัน (ทีส่ ำมำรถตดิ ตอ่ ได้) บ้านเลขที่ 203 หมู่ที่ 6 ตาบล/แขวงโพหกั อาเภอ/เขตบางแพ จังหวดั ราชบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ 70160 โทรศพั ท์- โทรสำร- ind ID- E-mail address- Facebook - ควำมเป็นมำของภมู ิปัญญำ นายอรุณ น่วมไข่ เป็นผู้เรียนรู้การตอกฉัตรด้วยตนเอง มีความสนใจในการตอกฉัตรได้ฝึกฝนจนเกิด ความชานาญ โดยร่างแบบท่ีต้องการในกระดาษแขง็ เช่นลวดลายดอกไม้ สัตว์ในวรรณคดี รปู สตั ว์ประจาปีนัก สัตว์ตามราศีของผู้ท่ีจะอุปสมบท รูปสัตว์ต่างๆ หรือรูปพระ แล้วค่อยนากระดาษว่าวสีสันต่างๆมาพับซ้อนกัน หลายๆแผ่น วางกระดาษแข็ง ลงบนกระดาษสีที่พับไว้ให้เสมอกันแล้วก่อน ใช้เข็มกลัดๆ 4 มุม ก่อนการ ตอกฉัตร เพื่อไม่ให้กระดาษเล่ือนเวลาตอกลวดลาย คนในตาบลทีจ่ ะมีงานอุปสมบทของบุตร หลาน ก็จะมาขอ ความชว่ ยเหลือใหต้ อกฉัตรให้ จุดเดน่ ของภมู ิปญั ญำทอ้ งถิ่น - เป็นวิทยากรถา่ ยทอดความรู้ให้กับนักเรยี นในชมุ ชนตาบลโพหกั วัตถุดบิ ที่ใชป้ ระโยชนใ์ นผลิตภณั ฑท์ เี่ กิดจำกภมู ิปญั ญำ ซึ่งพนื้ ทอี่ ่ืนไม่มี - รำยละเอียดของภมู ปิ ญั ญำท้องถิ่น - รูปแบบในการถ่ายทอดความรู้ รปู แบบและลกั ษณะกำรถ่ำยทอด กำรประชำสมั พันธ์ เผยแพร่ภมู ปิ ัญญำท้องถ่นิ  ยังไมเ่ คยมีการเผยแพร่/ใชเ้ ฉพาะบคุ คล  เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชมุ ชน  มกี ารเผยแพร่ผา่ นสอื่ มวลชนและส่ืออนื่ อยา่ งแพร่หลาย  มกี ารดงู านจากบุคคลภายนอกจานวน……………………ครง้ั จานวน………………. คน  มีการนาไปใช้  อ่ืนๆ (ระบ)ุ

8 ลกั ษณะของภมู ปิ ัญญำท้องถน่ิ กำรพัฒนำต่อยอดภูมปิ ัญญำให้เปน็ นวัตกรรม คุณคำ่ (มูลค่ำ) และ ควำมภำคภูมใิ จ  ภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ /นวัตกรรมท่ีคดิ ค้นขน้ึ มาใหม่  ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ดั้งเดมิ ไดร้ บั การถา่ ยทอดมาจาก  ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นทีไ่ ดพ้ ฒั นาและตอ่ ยอด แบบเดมิ คอื การตอกฉัตรจะเป็นรูปแบบลายไทย แบบโบราณ กำรพัฒนำต่อยอดคือ ฉัตรมีบทบาทสาคัญในการประกอบพิธีกรรมในปัจจุบันจะมีการตอกฉัตรเป็น รูปสัตว์ในตานาน งานมงคลของคนในพื้นที่ตาบล โพหัก โดยเฉพาะพิธีการอุปสมบท ทาการพิธีมงคล พิธี ครอบครู เพื่อถวายสิ่งศักดิ์สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ การยกฉัตรเก้าชั้นในงานอุปสมบทน้ันจะต้องมีการ เตรยี มฉัตรก่อนงานอุปสมบทเจ้าภาพต้องหาไมไ้ ผ่ลายาวๆ โดยมยี อดไผต่ ิดมาดว้ ย นาผิวไม้ไผม่ าโค้งเป็นวงกลม ติดรอบเสาและร่มฉัตร นิยมเอากระดาษสีต่างๆ มาตอกให้เป็นลวดลายต่างๆ การตอกฉัตรจะอาศัยการ ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น ปัจจุบันลดน้อยลงเพราะการตอกฉัตรนั้นเป็นศิลปะช้ันสูงอีกชนิดหนึ่ง ที่อาศัยความ ชานาญและความอดทนในการฝึกฝนต้องมีสมาธิ มิฉะนั้นลวดลายของกระดาษจะไม่เป็นรูปร่างตามแบบที่ ตอ้ งการใช้ติดในงานอปุ สมบท และเป็นครสู อนการตอกฉัตรใหก้ บั เด็กนักเรียนภายในตาบล

9 รปู ภำพเจ้ำของภูมปิ ญั ญำ นายอรุณ นว่ มไข่ ภมู ิปญั ญา ตอกฉัตร การตอกฉตั ร

10 ท่ปี รกึ ษำ คณะผู้จดั ทำ นางอรพร ผลกจิ ครชู านาญการพิเศษผู้ รักษาการในตาแหน่ง ผอู้ านวยการ ผู้จัดทำ กศน.อาเภอบางแพ นางนิภาภร ถาถว้ ย ครู กศน.ตาบลโพหัก บรรณำธิกำร/จดั ทำรูปเลม่ นางม่ิงขวัญ คอยชนื่ บรรณารักษ์ชานาญการพเิ ศษ นางสาวทฤฒมน ชนิ ณบดี บรรณารกั ษ์อัตราจ้าง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook