Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พ.ย.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.โพหัก อ.บางแพ จ.ราชบุรี

พ.ย.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.โพหัก อ.บางแพ จ.ราชบุรี

Published by kl_1270060000, 2020-10-05 23:30:43

Description: ตำบลโพหัก-พ.ย.

Search

Read the Text Version

ทำเนียบภูมปิ ัญญำทอ้ งถิ่น ประจำเดอื นพฤศจกิ ำยน 2562 กศน.ตำบลโพหกั ศูนยก์ ำรศกึ ษำนอกระบบ และกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัยอำเภอบำงแพ สำนกั งำนส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั จงั หวดั รำชบรุ ี สำนกั งำนสง่ เสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั สำนักงำนปลดั กระทรวงศกึ ษำธิกำร กระทรวงศกึ ษำธิกำร

คำนำ ภูมิปัญญาชาวบ้าน หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคนเรา ผ่านกระบวนการศึกษา สังเกตคิดวิเคราะห์จนเกิดปัญญา และตกผลึกมาเป็นองค์ความรู้ท่ีประกอบกันขึ้นมา จากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง ความรู้ดังกล่าวไม่ได้แยกย่อยออกมาเป็นศาสตร์ เฉพาะสาขาวิชาต่าง ๆ อาจกล่าวไว้ว่า ภูมิปัญญาท้องถ่ินจัดเป็นพื้นฐานขององค์ความรู้สมัยใหม่ท่ีจะช่วยในการเรียนรู้ การแก้ปัญหา การจัดการ และการปรับตัวในการดาเนินชีวิตของคนเรา ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นความรู้ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคม ชุมชนและในตัวของผู้รู้เอง หากมีการสืบค้นหาเพื่อศึกษา และนามาใช้ก็จะเป็นที่รู้จักกันเกิดการยอมรับ ถา่ ยทอด และพัฒนาไปสคู่ นร่นุ ใหม่ตามยคุ ตามสมยั ได้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตาบลโพหัก ได้จัดทาข้อมูลเรื่องทาเนียบ ภูมิปัญญาท้องถิ่นฉบับน้ีขึ้น เพื่อรวบรวมประวัติ และผลงานของบุคคลในสาขาต่าง ๆ ท่ีเป็นผู้ท่ีสืบทอดมรดก ทางศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของชุมชน ในตาบลโพหัก เพ่ือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาหรับผู้ท่ีศึกษาค้นคว้า และสนใจอันจะเป็นประโยชน์และตระหนักถึงความสาคัญในคุณค่าของมรดกทางด้านศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ และมสี ว่ นร่วมในการจรรโลงและรกั ษาไวส้ ืบต่อไป กศน.ตาบลโพหกั พฤศจกิ ายน 2562

สำรบัญ หนำ้ คำนำ 1 สำรบญั 4 7 กศน.ตาบลโพหัก ภูมิปญั ญา การตอกฉัตร : นายสมาน เพิกจินดา ภมู ปิ ญั ญา หมผ่ี ัดโบราณโพหัก : นางวาสนา โพธ์มิ ี ภมู ปิ ญั ญา การจักสาน : นายสมพงษ์ คงแปน้ คณะผจู้ ดั ทา

1 แบบบันทกึ ชดุ ข้อมูลคลังปญั ญำ-ภูมปิ ญั ญำทอ้ งถิ่น ตำบลโพหกั อำเภอบำงแพ จงั หวดั รำชบรุ ี ชอื่ ภมู ิปัญญำ : การตอกฉตั ร ขอ้ มูลพื้นฐำน รำยบคุ คล เจ้ำของภูมิปัญญำท้องถ่ิน/บุคคลคลังปัญญำ ช่ือ นายสมาน นำมสกลุ เพกิ จินดา วันเดือนปเี กดิ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2497 ที่อยู่ปัจจุบัน (ทสี่ ำมำรถตดิ ตอ่ ได)้ :บ้านเลขท่ี 156 หมู่ท่ี 3 ตาบล/แขวง โพหกั อาเภอ/เขต บางแพ จงั หวดั ราชบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ 70160 โทรศพั ท์ 087-4105476 โทรสำร - Lind ID: 087-4105476 E-mail address:- Facebook: SamanPhoekechinda ควำมเป็นมำของภมู ิปญั ญำ นายสมาน เพิกจนิ ดา เป็นผู้เรยี นรู้การตอกฉตั รด้วยตนเอง มีความสนใจในการตอกฉัตรได้ฝึกฝนจน เกิดความชานาญ โดยร่างแบบที่ต้องการในกระดาษเอ 4 ก่อน เช่นลวดลายดอกไม้ สัตว์ในวรรณคดี รูปสัตว์ ประจาปีนักสัตว์ตามราศีของผู้ที่จะอุปสมบท รูปสัตว์ต่างๆ หรือรูปพระนางในละครโทรทัศน์ (บุพเพสันนิวาส) แล้วค่อยนากระดาษว่าวสีสันต่างๆ มาพับซ้อนกันหลายๆ แผ่น วางกระดาษเอ 4 ลงบนกระดาษสีท่ีพับไว้ให้ เสมอกนั แล้วตอกด้วยตะปู 4 มุม เพือ่ ไม่ใหก้ ระดาษเล่ือนเวลาตอกลวดลาย การตอกลวดลายจะใช้ไขควงเบอร์ เล็กกับค้อนตอกตะปูเท่าน้ัน โดยมีภรรยาและบุตรคอยให้การสนับสนุนซื้ออุปกรณ์ เตรียมอุปกรณ์ให้ ความช่วยเหลืออานวยความสะดวกในการตอกฉตั รแต่ละคร้ัง ตลอดจนคนในตาบลท่ีมีงานอุปสมบทของบุตร หลาน ก็จะมาขอความช่วยเหลือให้ตอกฉัตรให้ ก็จะทาให้ล่วงหน้าโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใดๆทั้งส้ินจะทาให้ฟรี บางทีเจ้าภาพก็จะซ้ือวัสดุในการตอกฉัตรมาให้ บางทีก็จะซ้ือวัสดุในการตอกฉัตรเองเพื่อร่วมทาบุญกับ เจ้าภาพ จุดเดน่ ของภมู ปิ ัญญำ - การประกอบพธิ ีกรรม งานมงคลของคนในพน้ื ที่ตาบลโพหัก - การตอกฉัตรนนั้ เปน็ ศลิ ปะชั้นสูง - ต้องมสี มาธแิ ละความอดทน - เปน็ สถานทถ่ี า่ ยทอดความรู้ - เป็นแหลง่ ศกึ ษาดูงาน วตั ถดุ ิบทีใ่ ชป้ ระโยชน์ในผลติ ภัณฑท์ ี่เกดิ จำกภูมปิ ัญญำ ซ่ึงพ้ืนทอ่ี ื่นไม่มี - รำยละเอยี ดของภมู ปิ ัญญำท้องถน่ิ - รูปแบบในการถ่ายทอดความรู้ ด้านการศึกษาดูงาน

2 รปู แบบและลกั ษณะกำรถำ่ ยทอด กำรประชำสมั พนั ธ์ เผยแพรภ่ ูมปิ ญั ญำทอ้ งถ่นิ ยังไมเ่ คยมีการเผยแพร/่ ใช้เฉพาะบคุ คล เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชมุ ชน มีการเผยแพร่ผา่ นสอื่ มวลชนและสอื่ อื่นอยา่ งแพร่หลาย  มีการดูงานจากบคุ คลภายนอกจานวน .......คร้ัง จานวน............คน มีการนาไปใช้ อน่ื ๆ (ระบ)ุ ลักษณะของภูมิปัญญำท้องถ่ิน กำรพัฒนำต่อยอดภูมิปัญญำให้เป็นนวัตกรรม คุณค่ำ (มูลค่ำ) และ ควำม ภำคภมู ใิ จ ภูมิปญั ญาท้องถิน่ /นวัตกรรมทค่ี ิดคน้ ข้นึ มาใหม่ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินด้ังเดิมไดร้ บั การถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ท่ีได้พฒั นาและต่อยอด แบบเดิมคอื การตอกฉตั รจะเปน็ รูปแบบลายไทย แบบโบราณ กำรพัฒนำต่อยอดคือ ฉัตรมีบทบาทสาคัญในการประกอบพิธีกรรมในปัจจุบันจะมีการตอกฉัตรเป็น รูปสตั ว์ในตานาน รปู พระเอกนางเอกในละครบุพเพสนั นิวาส งานมงคลของคนในพน้ื ท่ีตาบล โพหกั โดยเฉพาะ พิธีการอุปสมบท ทาการพิธีมงคล พิธีครอบครู เพื่อถวายส่ิงศักด์ิสืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ การยกฉัตร เกา้ ช้นั ในงานอปุ สมบทนั้นจะต้องมีการเตรียมฉัตรกอ่ นงานอุปสมบทเจ้าภาพต้องหาไมไ้ ผล่ ายาวๆ โดยมียอดไผ่ ตดิ มาดว้ ย นาผิวไมไ้ ผม่ าโคง้ เปน็ วงกลมติดรอบเสาและร่มฉตั ร นิยมเอากระดาษสีต่างๆ มาตอกให้เปน็ ลวดลาย ต่างๆ การตอกฉตั รจะอาศัยการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น ปัจจุบันลดน้อยลงเพราะการตอกฉตั รนน้ั เป็นศิลปะช้ันสูง อกี ชนิดหนึ่ง ท่อี าศัยความชานาญและความอดทนในการฝึกฝนต้องมีสมาธิ มิฉะนนั้ ลวดลายของกระดาษจะไม่ เป็นรูปร่างตามแบบที่ต้องการใช้ติดในงานอุปสมบท และมีคณะอาจารย์ นักศึกษา จากมหาวิทยาลัยราชภัฎ นครปฐมมาศึกษาดงู าน

3 รปู ภำพเจ้ำของภมู ิปญั ญำ นายสมาน เพิกจนิ ดา ภมู ิปญั ญา การตอกฉัตร การตอกฉัตร

4 แบบบนั ทกึ ชดุ ขอ้ มลู คลังปัญญำ-ภูมิปัญญำท้องถ่ิน ตำบลโพหกั อำเภอบางแพ จงั หวัดราชบุรี ช่ือภูมปิ ัญญำ : หมี่ผัดโบราณโพหัก ข้อมูลพนื้ ฐำน รำยบคุ คล เจ้ำของภมู ิปัญญำทอ้ งถ่ิน/บคุ คลคลงั ปญั ญำ ชื่อ นางวาสนา นำมสกลุ โพธิม์ ี วนั เดอื นปเี กิด 15 เมษายน พ.ศ. 2493 ทอ่ี ยู่ปัจจบุ ัน (ทสี่ ำมำรถติดต่อได)้ :บา้ นเลขที่ 74 หม่ทู ่ี 3 ตาบล/แขวงโพหัก อาเภอ/เขต บางแพ จังหวดั ราชบุรี รหสั ไปรษณีย์ 70160 โทรศพั ท์ 089-7551818 โทรสำร- Lind ID:- E-mail address:- . Facebook:- ควำมเปน็ มำของภมู ิปญั ญำ นางวาสนา โพธ์ิมี เป็นผู้เรียนรู้การทาหม่ีผัดโบราณมาจากบรรพบุรุษมีการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น มีการพัฒนาสูตรการหมี่ผัดทาโบราณโพหัก จนเป็นสูตรท่ีอร่อยเพราะเป็นสูตรเฉพาะของโพหัก นางวาสนา โพธิ์มี มคี วามสนใจในการทาอาหารท้องถ่ินหลากหลายชนดิ ฝกึ ฝนจนเกิดความชานาญเป็นที่ยอมรบั ของคนใน ชมุ ชน และเปน็ หัวหน้าแมค่ รวั ในงานเทศกาลต่างๆ ของคนในตาบลโพหักและตาบลใกลเ้ คยี ง จดุ เด่นของภมู ิปัญญำ - เป็นสถานท่ถี ่ายทอดความรู้ วัตถุดบิ ทใ่ี ชป้ ระโยชน์ในผลติ ภณั ฑท์ ี่เกิดจำกภูมปิ ัญญำ ซ่ึงพ้นื ท่ีอน่ื ไมม่ ี - รำยละเอยี ดของภมู ิปัญญำท้องถ่นิ - รปู แบบในการถา่ ยทอดความรู้ รูปแบบและลกั ษณะกำรถำ่ ยทอด กำรประชำสัมพนั ธ์ เผยแพร่ภมู ปิ ญั ญำทอ้ งถิ่น ยงั ไมเ่ คยมกี ารเผยแพร/่ ใช้เฉพาะบุคคล  เคยเผยแพร่เฉพาะในชมุ ชน มีการเผยแพร่ผา่ นส่อื มวลชนและส่ืออ่ืนอย่างแพรห่ ลาย มีการดูงานจากบุคคลภายนอกจานวน .......ครั้ง จานวน............คน มกี ารนาไปใช้ อ่ืนๆ (ระบุ) ลักษณะของภูมิปัญญำท้องถ่ิน กำรพัฒนำต่อยอดภูมิปัญญำให้เป็นนวัตกรรม คุณค่ำ (มูลค่ำ) และ ควำม ภำคภมู ิใจ ภมู ิปัญญาท้องถิน่ /นวตั กรรมท่คี ดิ คน้ ขึน้ มาใหม่ ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ดง้ั เดิมได้รบั การถา่ ยทอดมาจากบรรพบรุ ุษ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ท่ีได้พฒั นาและตอ่ ยอด

5 แบบเดิมคือ หมี่ผัดโบราณโพหักมักจะทารับประทานกันเองในครัวเรือน และไว้สาหรับต้อนรับแขก ผู้มาเยือน กำรพัฒนำต่อยอดคือ หม่ีผัดโบราณโพหักจะทาในเทศกาลออกพรรษาและงานกฐิน อาหารใน เทศกาลน้ีไม่เน้นว่าจะเป็นอาหารชนิดใด แต่ต้องทาเป็นจานวนมาก ส่วนใหญ่จะเป็นอาหารแห้งท่ีห่อด้วยใบ บัวหรือใบตอง เพ่ือนาไปทาบุญและนาไปใส่ท่ีเรือองค์กฐินสาหรับนาไปแจกจ่ายให้ฝีพายท่ีมาแข่งขันเรือยาว ในช่วงน้าข้ึน ส่วนขนมจะเป็นประเภท ข้าวต้มมัด ข้าวต้มลูกโยนและหม่ีผัดโบราณโพหัก เทศกาลงานบวช งานบวชเป็นงานท่ีใหญ่โตที่สุดของชาว โพหักเพราะเป็นความเชื่อว่าเป็นงานบุญท่ียิ่งใหญ่เป็นความมีหน้ามีตา ของพ่อแม่และญาติพ่ีน้อง ในอดีตต้องมีการเตรียมตัวล่วงหน้าเป็นเดือนๆ สาหรับอาหารท่ีนิยมทากันมากคือ อาหารประเภทแกงส้ม แกงค่ัว ต้มเครื่องในววั และที่ขาดไม่ได้คือหม่ีผัดโบราณโพหัก ส่วนของหวานเปน็ พวก ขนมช้ัน ขนมถ้วยฟู และขนมเม็ดขนุนเป็นต้น สาหรับหมี่ผัดโบราณโพหัก และขนมจะต้องทาไว้เป็นจานวน มาก สว่ นหน่ึงจะนาไปทาบญุ เล้ียงพระ และเลย้ี งแขกที่มาร่วมงาน อกี สว่ นหนงึ่ เอาไว้มอบใหก้ ับผู้ที่มาชว่ ยงาน ทีเ่ รยี กกนั วา่ แถมพก

6 รูปภำพเจ้ำของภมู ปิ ญั ญำ นางวาสนา โพธิม์ ี ภูมปิ ญั ญา หมี่ผดั โบราณโพหัก สาธติ การผัดหมโ่ี บราณ

7 แบบบันทกึ ชุดขอ้ มูลคลงั ปัญญำ-ภมู ปิ ัญญำทอ้ งถ่นิ ตำบลโพหกั อำเภอบางแพ จังหวดั ราชบรุ ี ช่อื ภูมปิ ัญญำ : จกั สาน ขอ้ มูลพื้นฐำน รำยบุคคล เจ้ำของภมู ิปญั ญำท้องถ่นิ /บุคคลคลังปญั ญำ ช่อื นายสมพงษ์ นำมสกุล คงแปน้ วันเดือนปีเกิด - - พ.ศ.2496 ท่ีอยู่ปจั จบุ ัน (ทีส่ ำมำรถตดิ ต่อได้) : บา้ นเลขท่ี 59 หมู่ที่ 3 ตาบล/แขวง โพหัก อาเภอ/เขต บางแพ จังหวดั ราชบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ 70160 โทรศพั ท์ 087-9139636 โทรสำร- Lind ID: 087-9139636 E-mail address:- Facebook:- ควำมเป็นมำของภูมิปญั ญำ นายสมพงษ์ คงแป้น เป็นผู้เรียนรู้การจักสานเคร่ืองใช้ในครัวเรือนจากบิดา ที่บ้านปลูกไผ่ ตัดไม้ไผ่ และจักตอกด้วยตนเอง มีความสนใจในการจักสานจึงได้ฝึกฝนจนเกิดความชานาญ มีความสามารถใน การจักสานเคร่ืองใช้หลากหลายชนดิ ต้ังแต่การทาภาชนะเคร่ืองใช้ เช่น กระบงุ ตะกร้า กระจาด จนกระท่ังทา เป็นเคร่ืองมือดักจับหรือขังสัตว์น้า เช่น ตะข้อง กระชัง สุ่ม อีจู้ ลอบ ไซ ชนาง นอกจากน้ียังมีลูกค้ามาส่ัง ผลิตภณั ฑ์ถงึ ที่บา้ น และมีนักศกึ ษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบงึ มาศึกษาดงู าน จุดเดน่ ของภูมปิ ัญญำ - การทาเครอื่ งจกั สาน - เปน็ สถานทถี่ า่ ยทอดความรู้ - เปน็ แหล่งศึกษาดงู าน วตั ถุดบิ ทีใ่ ชป้ ระโยชน์ในผลติ ภัณฑท์ เ่ี กดิ จำกภมู ปิ ัญญำ ซ่งึ พืน้ ที่อ่นื ไม่มี - การใช้ไม้ไผ่ท่ปี ลกู เองในการจกั สาน รำยละเอียดของภูมิปญั ญำท้องถิน่ - รปู แบบในการถ่ายทอดความรู้ ด้านการศกึ ษาดูงาน - รปู แบบและลักษณะกำรถ่ำยทอด กำรประชำสัมพันธ์ เผยแพรภ่ มู ิปัญญำทอ้ งถน่ิ ยังไมเ่ คยมีการเผยแพร่/ใชเ้ ฉพาะบคุ คล เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชมุ ชน มีการเผยแพรผ่ า่ นสื่อมวลชนและสื่ออ่นื อย่างแพรห่ ลาย  มีการดูงานจากบคุ คลภายนอกจานวน .......ครงั้ จานวน............คน มกี ารนาไปใช้ อ่นื ๆ (ระบุ)

8 ลักษณะของภูมิปัญญำท้องถิ่น กำรพัฒนำต่อยอดภูมิปัญญำให้เป็นนวัตกรรม คุณค่ำ (มูลค่ำ) และ ควำม ภำคภมู ิใจ ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน/นวัตกรรมที่คดิ คน้ ขึ้นมาใหม่  ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ด้ังเดมิ ไดร้ บั การถ่ายทอดมาจากบรรพบรุ ุษ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินที่ไดพ้ ฒั นาและต่อยอด แบบเดิมคือจะจักสานเครื่องใช้หลากหลายชนิด ตั้งแต่ทาเป็นพวกภาชนะเคร่ืองใช้ เช่น กระบุง ตะกรา้ กระจาด กำรพัฒนำต่อยอดคือ คนโพหักเอาใจใส่เร่ืองเครื่องจักสานกันเป็นพิเศษ อาจจะเน่ืองจากโพหักมี ทรพั ยากรทางการช่างอยูใ่ กล้ตัวท่สี ุดคอื ไม้ไผ่และกระบวนการทางการจกั สานน้ันเปน็ วิธฝี ึกคนให้มคี วามมานะ พยายาม รู้จักเรียนรู้จากผู้อื่นและรู้จักสร้างสรรค์ด้วยตนเอง โดยเฉพาะสมัยก่อนการกาหนดเงื่อนไขให้ชาย หนุ่มสานกระบุง สานกระจาด เพื่อมอบให้สาวคนรักในวัฒนธรรมอาสาของคนโพหักรุ่นก่อน ๆ น้ัน ทาให้ เคร่ืองจักสานกลายเป็นส่ิงมีคุณค่า เพราะเกี่ยวพันกับชีวิตรักและการเริ่มต้นครอบครัวของคนโพหัก กระบุง อาสา กระจาดอาสา จึงงดงามประณีต มีคุณค่าต่อผู้เป็นเจ้าของอย่างแท้จริง จึงมีการเก็บรักษาเป็นอย่างดี เมอ่ื ทางราชการจัดใหม้ ีการประกวดเคร่อื งจกั สานโพหักข้ึน จงึ พบว่า เคร่ืองจักสานโพหกั จานวนไม่น้อยท่ีมีอายุ กว่าร้อยปีขึ้นไป เคร่ืองจักสานที่ใช้กันอยู่ในครอบครัวคนโพหัก ซ่ึงสามารถจัดประกวดได้เมื่อ พ.ศ. 2536 มี ถงึ 47รายการ เช่น กระบุงหาบ กระบงุ อาสา กระจาดอาสา กระเชอ กระบาย กระล่อม กระทาย ฯลฯ มี ผลงานกว่า 1,000 ช้ิน มีทั้งผลงานท่ีทาขึน้ ใหม่และมรดกตกทอดที่ทาต่อเนื่องกันมาหลายช่ัวอายุคน ผลของ การประกวดและแสดงเคร่ืองจักสานในครั้งนี้ ทาให้เกิดการตื่นตัว อนุรักษ์มรดกช่างฝีมือของชาวโพหักเอง เพราะลูกหลานท่ีเกิดข้ึนในภายหลังได้พลอยเห็นและรับรู้ความสาคัญของสิ่งท่ีอยู่ในครอบครัวของตนเกิดการ สืบตอ่ มรดกวฒั นธรรม สว่ นน้ีใหค้ งอย่สู บื ตอ่ ไปด้วย

9 รปู ภำพเจ้ำของภูมปิ ัญญำ นายสมพงษ์ คงแปน ภูมปิ ัญญา การจักสาน การจกั สานเครอื่ งใช้ในครัวเรือน

10 ท่ปี รึกษำ คณะผจู้ ัดทำ นายสจั จา จันทรวเิ ชียร นางอรพร ผลกิจ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางแพ ครูชานาญการพิเศษ ผู้จดั ทำ นางนิภาภร ถาถ้วย ครู กศน.ตาบลโพหัก บรรณำธิกำร/จดั ทำรูปเลม่ บรรณารักษช์ านาญการพิเศษ นางม่งิ ขวญั คอยชนื่ บรรณารกั ษ์อตั ราจ้าง นางสาวทฤฒมน ชินณบดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook