Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 45385-Article Text-105189-1-10-20160111

45385-Article Text-105189-1-10-20160111

Published by Sakeenah Dueruemo, 2018-10-10 02:14:58

Description: 45385-Article Text-105189-1-10-20160111

Search

Read the Text Version

Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะISSN 1906 - 3431 ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สงิ หาคม 2558 การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ระดับบณั ฑิตศกึ ษา สาหรับบัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร* The Development of Information System to Manage Researches and Creative Works for Graduate School, Silpakorn University หทัยชนก แจ่มถิ่น (Hathaichanok Jamthin)** อนิรุทธ์ สตมิ น่ั (Anirut Satiman)***บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนม้ี ีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื 1) ศึกษาความคิดเห็นของผูเ้ ช่ยี วชาญในการพฒั นาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร2) เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับบัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศิลปากร 3) เพ่อื ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของระบบสารสนเทศเพือ่ การจดั การงานวจิ ัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้งั น้ีแบ่งเปน็ 2 กลมุ่ ไดแ้ ก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาระบบ จานวน 3 ทา่ น ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัยจานวน 3 ทา่ น และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีสาเร็จการศึกษาในภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2557จานวน 80 คน โดยวิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ครั้งน้ีประกอบด้วย1) แบบสัมภาษณ์ผูเ้ ชี่ยวชาญ 2) ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการงานวจิ ยั และงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา 3) แบบประเมินประสิทธภิ าพของระบบสารสนเทศเพอื่ การจัดการงานวิจยั และงานสรา้ งสรรคร์ ะดับบณั ฑิตศึกษา สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู ไดแ้ ก่ ค่าเฉล่ยี และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน * บทความนี้เป็นส่วนหน่ึงของการค้นคว้าอิสระระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง “การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสรา้ งสรรค์ระดับบณั ฑติ ศึกษา สาหรบั บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศิลปากร” A research paper submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Master ofEducation in Educational Technology, Department of Educational Technology, Faculty of Education, Graduate School,Silpakorn University in the title of The Development of Information System to Manage Researches and Creative Worksfor Graduate School, Silpakorn University ** นกั ศกึ ษาหลกั สตู รศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร email address : [email protected] ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อนิรุทธ์ สตมิ ั่น อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาวิทยานิพนธ์ A student in a Master of Education in Educational Technology program, Department of EducationalTechnology, Faculty of Education, Graduate School, Silpakorn University. e-mail address : [email protected], ThesisAdvisors: Asst. Prof. Anirut Satiman,Ph.D. *** ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. อาจารยป์ ระจาภาควชิ าเทคโนโลยีการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร Asst.Prof.Anirut Satiman,Ph.D. in Educational Technology, Department of Educational Technology,Faculty of Education. 893

ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Slipakorn Universityปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2558 ISSN 1906 - 3431 ผลการวิจยั พบว่า 1. ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นผู้เช่ียวชาญทั้ง 2 ด้านพบว่า ภาษา PHP และระบบจัดการฐานขอ้ มูล MySQL มีความเหมาะสมในการพัฒนาระบบสารสนเทศ ซ่ึงระบบที่พัฒนาขึ้นควรมีความสามารถในการเพ่ิม/แก้ไข/ลบ ค้นหาข้อมูลในรูปแบบตามเง่ือนไขต่าง ๆ รวมทั้งการจัดทารายงานควรนาเสนอได้ทั้งรูปแบบเอกสารและรูปแบบของกราฟ ควรมีการกาหนดบทบาทผู้ใช้งาน โดยการ Login เพื่อเข้าสู่ข้อมูลตามบทบาทของผู้ใช้ ในส่วนของการเก็บข้อมูลของระบบควรแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ข้อมูลด้านการวิจัย เช่น ช่ืองานวิจยั ไทย–อังกฤษ บทคัดย่อไทย–อังกฤษ คาสาคัญ การ Download file เอกสาร การนาเสนอข้อมูลตามกลุ่มของบทความ เช่น ศิลปะ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ รายละเอียดข้อมูลการตีพิมพ์/นาเสนอ เช่น ประเภทตีพิมพ์/นาเสนอ ปีที่ตีพิมพ์/นาเสนอ ระดับการตีพิมพ์/นาเสนอ (ชาติ/นานาชาติ) ข้อมูลดา้ นผ้วู จิ ัย เชน่ ช่อื ผู้วิจัย สาขาวิชา/ภาควชิ า/คณะวชิ า และปกี ารศึกษา 2. ผลการวิเคราะห์ ออกแบบ และพฒั นาระบบ ที่ใช้งานกบั ระบบเครอื ขา่ ยภายในของมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยระบบสารสนเทศน้ีมีคุณสมบัติในด้านต่าง ๆ คือ การนาข้อมูลเข้าระบบ การค้นหาข้อมูลการสรุปผลข้อมูล และมีโมดูลสาหรับผู้ใช้งาน 4 กลุ่มคือ โมดูลสาหรับบุคคลทั่วไป โมดูลสาหรับนักศึกษาโมดลู สาหรบั เจ้าหนา้ ที่ และโมดลู สาหรับผูด้ ูแลระบบ หรือ Administrator 3. ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศโดยผู้เชี่ยวชาญพบว่า ระบบสารสนเทศมีประสิทธิภาพท้ัง 4 ดา้ น อยใู่ นระดบั มากโดยมีคา่ เฉล่ยี ( = 4.30 ) และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D. = .59)และผลการประเมนิ โดยกลมุ่ ผูใ้ ช้งานท่ัวไปพบว่า ระบบสารสนเทศมปี ระสทิ ธิภาพอยู่ในระดับมาก โดยมคี า่ เฉล่ีย( =4.39) และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D = .59)Abstract The objectives of the research were 1) to investigate experts’ opinions on thedevelopment of information system to manage researches and creative works for GraduateSchool, Silpakorn University; 2) to develop the information system to manage researches andcreative works for Graduate School, Silpakorn University; and 3) to evaluate the effectivenessof the information system to manage researches and creative works for Graduate School,Silpakorn University. There were two groups of samples for this study using purposive samplingtechnique. The first group contained with three Information Technology experts and threeResearch & Methodology experts. The second group of samples was eighty graduate studentswho graduated in the second semester of academic year 2014. The research instruments usedfor this study were: 1) expert interview form; 2) information system to manage researches andcreative works for Graduate School, Silpakorn University; and 3) effectiveness evaluation formof the information system to manage researches and creative works for Graduate School,Silpakorn University. The mean and standard deviation of items were used to analyze the data.894

Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะISSN 1906 - 3431 ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สงิ หาคม 2558The research findings were as follows: 1. The experts in two areas, Information Technology and Research & Methodologysuggested that PHP language and MySQL database are suitable for the development ofinformation system to add, edit, erase and search different types of data. The report should bein the forms of both document and graphs. The login to the program should be used to reachthe information as the roles of users. The data should be stored in two parts which are 1)Research Information such as title in Thai and English title, abstract in Thai and in English,keywords and file downloading, and 2) Data Arrangement due to areas of the articles(Humanity, Social Science, Science); details of publication/ presentation such as types, year,level (national/ international) of publication/ presentation; researcher bibliography such asname of researcher, section, department and year of graduation. 2. The design and system development to link to Silpakorn University Website couldhelp install, search, and summarize data. There were four modules to serve four groups ofusers who are outsiders, Silpakorn students, staff, and programmers/ administrators. 3. The evaluation of the effectiveness of the information system by expertsindicated that the information system was at the high level ( =4.30, S.D. = .59 ). Also theevaluation of the effectiveness of the information system by outsiders found that theinformation system was at the high level ( =4.39, S.D. = .59).ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา บัณฑติ วทิ ยาลยั เปน็ หน่วยงานกลางทก่ี ่อตงั้ ข้ึนเพ่ือดาเนินงานการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทาหน้าที่บริหาร วางแผน วางนโยบายจัดการศึกษา ควบคุมมาตรฐานการศึกษาและการวิจัย ทาการประสานงานและสนับสนุนให้ความสะดวกในการจัดการศึกษา การวิจัย แก่คณะที่เปิดทาการสอน อีกทั้งยังจะทาหน้าที่ประเมินและสรปุ ผลการศกึ ษาวจิ ยั อกี ดว้ ย ซ่งึ จะเป็นการแบ่งเบาภาระงานของคณะท่ีจะทาการสอน อันจะทาให้งานสอนมปี ระสทิ ธภิ าพและไดม้ าตรฐานเท่าเทียมกันทุกสาขาวิชาท่ีร่วมกับคณะวิชาหรือหน่วยงานท่ีเรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะวิชาที่เปิดสอนระดับบัณฑิตศึกษา มีฐานะเทียบเท่าคณะวิชาหนึ่งในมหาวิทยาลัยศิลปากรตามพ.ร.บ.มหาวิทยาลัยศิลปากรอยู่ภายใต้การบริหารของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย โดยมีคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ทาหน้าที่กาหนดนโยบายเกี่ยวกับการบริหารงานในบัณฑิตวิทยาลัย ส่วนงานด้านการเรียนการสอน ดาเนินงานโดยภาควิชาท่ีเปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา และมีสานักงานเลขานุการบัณฑิตวิทยาลัย ทาหน้าท่ีปฏิบัติงานด้านธุรการและให้บริการทางวิชาการ โดยมี ขอบข่ายหน้าที่และความรับผิดชอบสาหรับหนว่ ยงานในสังกดั เช่น หน่วยประกนั คุณภาพการศกึ ษา มีหน้าที่ดาเนินการเร่ืองการประกันคุณภาพการศึกษาจดั ทาประกาศ คาสงั่ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง ประสานงานจดั ดาเนินการประเมินคุณภาพการศึกษา การจัดทารายงานผลการดาเนินงานประจาปี เพ่ือใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในและภายนอก การจัดให้มีการพัฒนาระบบประกันและประเมินคุณภาพการศึกษาท่ีเหมาะสมกับบัณฑิตวิทยาลัย รวมท้ังการจัดทารายงานประจาปี การจัด 895

ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Slipakorn Universityปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2558 ISSN 1906 - 3431ให้มกี ารพฒั นาระบบราชการและรายงานผลการดาเนินงานต่อคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.) และระบบการควบคุมคุณภาพภายใน หน่วยส่งเสริมงานวิจัยมีหน้าท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบงานท่ีเก่ียวข้องกับงานวจิ ยั และหนว่ ยเผยแพรค่ วามรูส้ ชู่ ุมชนมหี นา้ ทเี่ กยี่ วกับการเผยแพรอ่ งค์ความรู้จากวิทยานิพนธ์และงานวิจัยสู่ชมุ ชน ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาในปี 2551 กาหนดประเภทหรือกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเป็น 4 กลุ่มโดยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากรจัดอยู่ ในกลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทางหมายความถึงสถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางหรือเฉพาะกลุ่มสาขาวิชาทั้งสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์กายภาพวิทยาศาสตร์ชีวภาพสังคมศาสตร์หรือมนุษยศาสตร์รวมท้ังสาขาวิชาชีพเฉพาะทางสถาบันอาจเน้นการทาวิทยานพิ นธห์ รือการวจิ ัยหรอื เน้นการผลติ บัณฑติ ท่มี คี วามรู้ความสามารถทักษะและสมรรถนะในการประกอบอาชีพระดับสูงหรือเนน้ ท้ังสองดา้ นรวมทง้ั สถาบนั อาจมบี ทบาทในการพัฒนาภาคการผลิตจริงท้ังอุตสาหกรรมและบริการและกลุ่ม ง สถาบันท่ีเน้นการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอกหมายความถงึ สถาบนั ท่ีเน้นการผลิตบัณฑติ ระดับบัณฑติ ศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอกและเน้นการทาวิทยานิพนธ์และการวิจัยรวมถึงการวิจัยหลังปริญญาเอกสถาบันเน้นการผลิตบัณฑิตท่ีเป็นผู้นาทางความคิดของประเทศสถาบันมีศักยภาพในการขับเคล่ือนอุดมศึกษาไทยให้อยู่ในแนวหน้าระดับสากลมุ่งสร้างองค์ความรู้ทฤษฎีและข้อค้นพบใหม่ทางวชิ าการ จากสถติ ิจานวนผูส้ าเรจ็ การศกึ ษาในรายงานประจาปี 2557 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากรพบวา่ มผี ูส้ าเรจ็ การศกึ ษาจานวน 1,024 คน และจากเกณฑ์การสาเร็จการศึกษา ผู้สาเร็จการศึกษาในแต่ละปีการศกึ ษาจะต้องนาเสนอผลงานวจิ ยั ทอ่ี ยใู่ นรูปแบบวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ คนละ 1 เรอ่ื ง รวม 1,024เรอ่ื ง ผลงานวิจัยเหลา่ นจี้ ะถกู จัดเก็บในห้ิงของหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากรจดั สง่ เผยแพร่ไปยงั หอสมุดแห่งชาติและสานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติทุกปี ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวจิ ัยและงานสรา้ งสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ทั้งนี้เพ่อื ให้การดาเนนิ งานดงั กล่าวมีความสะดวก ถกู ต้อง รวดเร็ว ผู้วิจยั ได้ดาเนนิ การตามกระบวนการและข้ันตอนของการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและใช้คุณสมบัติของระบบสารสนเทศในการจัดการกับข้อมูลท่ีมีอยู่เป็นจานวนมาก โดยมุ่งเน้นการพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบณั ฑติ ศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากรให้เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ และเพ่ือรองรับการตรวจประเมนิ จากสานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน) (สมศ.)วัตถุประสงค์การวิจยั 1. เพ่ือศึกษาความคดิ เหน็ ของผู้เช่ียวชาญในการพฒั นาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรคร์ ะดบั บณั ฑติ ศกึ ษา สาหรับบณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 2. เพ่ือพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษาสาหรบั บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร 3. เพือ่ ประเมนิ ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบณั ฑิตศึกษา สาหรับบณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร896

Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะISSN 1906 - 3431 ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือนพฤษภาคม – สงิ หาคม 2558กรอบแนวคิดในการวจิ ยั การวจิ ัยครงั้ นี้ ผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษาเอกสาร ตารา งานวิจัยทเ่ี กยี่ วข้องกบั การวเิ คราะหแ์ ละการพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยได้กาหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสรา้ งสรรคร์ ะดบั บณั ฑติ ศกึ ษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 2ด้านคือผู้เช่ียวชาญด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศ และผู้เช่ียวชาญด้านการวิจัย เพื่อทาการพัฒนาระบบสารสนเทศโดยใช้หลักทฤษฎีวงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) (โอภาสเอ่ียมสริ ิวงศ์, 2554) จากน้ันทาการหาประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศซึ่งได้จากการประเมินโดยผู้เช่ียวชาญด้านการพัฒนาระบบ จานวน 3 ทา่ น ดา้ นการวจิ ัยจานวน 3 ท่านและผู้ใชง้ าน ทฤษฎวี งจรการพัฒนาระบบ งานวจิ ัยและงานสรา้ งสรรค์ บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร(System Development Life Cycle : SDLC)1. การกาหนดปญั หา (Problem Definition)2. การวเิ คราะห์ (Analysis)3. การออกแบบ (Design)4. การพัฒนา (Development)5. การทดสอบ (Testing)6. การติดตั้งและการใชง้ าน (Implement)7. การบารงุ รักษา (Maintenance) ที่มา โอภาส เอ่ยี มสริ ิวงศ์, 2554 ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวจิ ยั และงานสร้างสรรคร์ ะดับบณั ฑิตศึกษา สาหรบั บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร 1. ประเมนิ ประสทิ ธิภาพระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ 2. ประเมินประสทิ ธภิ าพระบบโดยผู้ใช้งาน (นักศกึ ษา)ภาพท่ี 1 แสดงกรอบแนวคิดในการวจิ ัยขอบเขตการวิจัย 1. การวิจัยคร้งั นี้ เปน็ การวจิ ยั และพัฒนา โดยทาการพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การงานวิจัยและงานสร้างสรรคร์ ะดบั บณั ฑติ ศึกษา สาหรบั บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร โดยผู้วิจัยได้ออกแบบและพัฒนาในรปู แบบของเว็บแอพลเิ คชน่ั (Web Application) 2. ข้อมูลท่ีใช้ในการทดลองกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นข้อมูลจริงของผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ของผู้สาเร็จการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ทีส่ าเร็จการศกึ ษาปีการศกึ ษา 2555 897

ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ Veridian E-Journal, Slipakorn Universityปที ี่ 8 ฉบับท่ี 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2558 ISSN 1906 - 3431 3. ประชากร ทใี่ ชใ้ นการวิจยั ครง้ั นี้ แบง่ ออกเปน็ 2 กลมุ่ ไดแ้ ก่ 3.1 ประชากรที่ใช้ในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา คือ จานวนบทความจากงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษาของผู้สาเร็จการศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลัยศิลปากร ปีการศกึ ษา 2555 - 2558 ท้ังหมด 371 บทความ 3.2 ประชากรทใี่ ช้ในการหารปู แบบระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา คือ ผู้เช่ียวชาญด้านการพฒั นาระบบสารสนเทศ จานวน 5 ท่าน และผู้เช่ียวชาญด้านการวิจยั จานวน 5 ทา่ น 4. กลุ่มตัวอย่าง ท่ีใช้ทดสอบประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรคร์ ะดบั บณั ฑิตศกึ ษา ไดแ้ ก่ 4.1 ผู้เช่ียวชาญด้านการพัฒนาระบบ จานวน 3 ท่าน และผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัย จานวน3 ทา่ น ไดจ้ ากการเลอื กแบบเจาะจง 4.2 นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่สาเร็จการศึกษาในภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2557จานวน 80 คน โดยวธิ ีการเลอื กแบบเจาะจง 5. ตัวแปรทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ครั้งน้ี ไดแ้ ก่ 5.1 ตัวแปรต้น คือ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑติ ศกึ ษา 5.2 ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ 5.2.1 ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรคร์ ะดับบณั ฑติ ศกึ ษา 5.2.2 ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสรา้ งสรรคร์ ะดบั บณั ฑิตศกึ ษา โดยผใู้ ช้งาน (นกั ศึกษา)เครื่องมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั การวิจัย เร่ือง การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบณั ฑติ ศกึ ษา สาหรบั บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ประกอบด้วยเครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ดังน้ี 1. แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เพื่อใช้สอบถามผู้เช่ียวชาญ จานวน 10 ท่าน คือ ผู้เช่ียวชาญดา้ นการวจิ ัยจานวน 5 ท่าน และดา้ นการพัฒนาระบบ จานวน 5 ทา่ น 2. ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ระดับบณั ฑิตศึกษา 3. แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดบั บณั ฑิตศึกษา โดยผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการวิจัยจานวน 3 ท่าน และด้านการพัฒนาระบบจานวน 3 ทา่ น 4. แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดบั บัณฑิตศกึ ษา โดยผู้ใช้งาน (นักศึกษา)898

Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะISSN 1906 - 3431 ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สงิ หาคม 2558วิธดี าเนนิ การวิจัย ผ้วู จิ ัยดาเนนิ การวจิ ัย โดยแบง่ เปน็ 3 ขัน้ ตอน ดังนี้ 1. ขั้นเตรยี มการ 1.1 ผู้วิจัยนาแบบสัมภาษณ์ท่ีได้พัฒนาขึ้นให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 ท่านตรวจสอบหาค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ หรอื เน้อื หา (IOC) และแกไ้ ขตามข้อเสนอ 1.2 ผู้วจิ ยั ติดต่อผู้เชย่ี วชาญ จานวน 10 ทา่ น ไดแ้ ก่ ผเู้ ช่ียวชาญดา้ นการวจิ ยั จานวน 5 ท่านและผู้เช่ียวชาญดา้ นการพัฒนาระบบสารสนเทศ จานวน 5 ท่าน เพือ่ นดั วนั สมั ภาษณ์เกยี่ วกับการพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสรา้ งสรรค์ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา 1.3 ผู้วิจัยนาหนังสือขอสัมภาษณ์จากภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา จัดส่งไปยังผู้เช่ียวชาญเพื่อขอความอนุเคราะห์ในการไปสมั ภาษณผ์ เู้ ชี่ยวชาญ 1.4 ผวู้ ิจยั ติดตอ่ ประสานงานเจ้าหน้าทที่ เี่ กี่ยวขอ้ งเพอื่ เตรียมสถานท่ที ีใ่ ช้ในการสมั ภาษณ์ 2. ข้ันทดลอง 2.1 จัดทาบันทึกขออนุญาตคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย เพ่ือขอทดลองระบบและเก็บข้อมูลกับนักศึกษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษาท่สี าเรจ็ การศกึ ษาในภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2557 2.2 ผู้วิจัยจัดทาคาชี้แจง วัตถุประสงค์ และวิธีการใช้ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบณั ฑติ ศึกษา โดยแสดงไว้ในหน้าเวบ็ reg.su.ac.th 2.3 นาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 80 คน โดยให้นักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาในภาคปลาย ปีการศึกษา 2557 ท่ีย่ืนคาร้องขอสาเร็จการศึกษา กรอกข้อมูลการตีพิมพ์ผลงานวิจัยในระบบสารสนเทศที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น เพ่ือเป็นการทดลองใช้ระบบและประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของระบบซงึ่ ผูใ้ ช้ระบบสามารถตอบแบบสอบถามออนไลน์ได้ ผู้วจิ ัยได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลในระหวา่ งเดอื นเมษายน – เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2558 3. ข้ันหลงั ทดลอง 3.1 แกไ้ ขตามข้อเสนอแนะของผู้ใช้ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดบั บณั ฑิตศกึ ษากลมุ่ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ กลุ่มผู้เชีย่ วชาญ และกล่มุ ผู้ใชง้ าน (นักศกึ ษา) 3.2 ให้ผู้เชี่ยวชาญทาแบบประเมินประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรคร์ ะดับบัณฑิตศึกษา 3.3 ให้ผู้ใช้งานทาแบบประเมินประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสรา้ งสรรคร์ ะดับบัณฑติ ศกึ ษา 3.4 รวบรวมข้อมลู การประเมนิ ระบบ ทาการบนั ทึกขอ้ มลู จากแบบสอบถามทผ่ี ู้ใชต้ อบกลับมาในรปู แบบไฟล์ (Microsoft Excel) เพือ่ นาข้อมลู ไปวเิ คราะห์ทางสถติ ิ 3.5 จัดทาคมู่ อื การใช้โปรแกรม 899

ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Slipakorn Universityปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือนพฤษภาคม – สงิ หาคม 2558 ISSN 1906 - 3431ผลการวจิ ยั การวิจัย เร่ือง การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการการวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research andDevelopment) ผ้วู จิ ัยขอนาผลการวจิ ัยโดยแบ่งออกเปน็ 3 ตอน ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นผู้เช่ียวชาญในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวจิ ัยและงานสรา้ งสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรบั บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศิลปากร ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการสมั ภาษณผ์ ู้เช่ยี วชาญดา้ นการวิจยั สรุปไดด้ งั น้ี 1. ข้อมูลของผู้วิจัย ควรประกอบไปด้วย ชื่อ – สกุล ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย อาจารย์ที่ปรึกษาสาขาวชิ า คณะวชิ า สถาบนั การศึกษา ปีท่ที าการวจิ ยั 2. ข้อมลู ของงานวิจยั และงานสรา้ งสรรค์ ควรประกอบด้วย ชือ่ งานวจิ ยั บทคัดยอ่ คาสาคญั ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บทความฉบบั เตม็ (Fulltext) 3. ข้อมูลอื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง ควรประกอบด้วย รายละเอียดข้อมูลการตีพิมพ์ / นาเสนอ เช่นประเภทตพี มิ พ์/นาเสนอ ปีท่ีตพี ิมพ/์ นาเสนอ ระดับการตพี ิมพ/์ นาเสนอ (ชาติ / นานาชาต)ิ 4. การแสดงผลลพั ธ์รายงาน ควรแสดงผลขอ้ มลู ในระบบทั้งในส่วนของขอ้ มูลผู้วจิ ยั ขอ้ มูลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ รวมท้ังข้อมูลอืน่ ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 5. การเข้าถงึ ข้อมูลของผใู้ ชง้ านทั่วไปผใู้ ช้งานทัว่ ไปสามารถเข้าถึงได้ ควรประกอบด้วยชื่องานวิจัยช่ือผู้วิจัย บทคัดย่อ คาสาคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บทความฉบับเต็ม (Fulltext) สาขาวิชากลุ่มสาขาวชิ า และแหล่งขอ้ มูลการตีพมิ พ์ / นาเสนอ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลทไ่ี ด้จากการสัมภาษณ์ผ้เู ช่ียวชาญด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศ สรุปได้ดงั น้ี 1. ภาษาทเี่ หมาะสมสาหรบั การพฒั นาระบบสารสนเทศ สรุปได้ว่าภาษา PHP และระบบจัดการฐานข้อมูล MySQL มีความเหมาะสมในการพฒั นาระบบสารสนเทศ 2. ความสามารถของระบบ ควรมีความสามารถในการเพิม่ /แกไ้ ข/ลบ คน้ หาขอ้ มูลในรปู แบบตามเง่ือนไขต่าง ๆ รวมทั้งการจัดทารายงานควรนาเสนอได้ทั้งรูปแบบเอกสารและรูปแบบของกราฟ ควรมีการกาหนดบทบาทผู้ใช้งาน โดยการ Login เพือ่ เข้าสขู่ อ้ มูลตามบทบาทของผใู้ ช้ 3. ข้อมูลที่ควรเก็บในระบบ ควรแบง่ เปน็ 2 ส่วน คือ ข้อมูลด้านการวิจัย เช่น ชื่องานวิจัยไทย– องั กฤษ บทคดั ย่อไทย–องั กฤษ คาสาคัญ การ Download file เอกสาร และข้อมูลการนาเสนอข้อมูลตามกลุ่มของบทความ เช่น ศิลปะ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ ข้อมูลด้านผู้วิจัย เช่น ชื่อผู้วิจัยสาขาวิชา/ภาควชิ า/คณะวิชา อาจารยท์ ี่ปรึกษา และปีการศึกษา 4. หนา้ จอตดิ ตอ่ กบั ผใู้ ช้ (User Interface) ควรออกแบบให้ใช้งานง่าย ตัวอักษรอ่านง่าย ชัดเจนสะดวกต่อการใช้งาน ควรนาเสนอข้อมูลผ่าน User Interface ที่เรียบง่าย คานึงถึงความแตกต่างของผู้ใช้งานเนน้ การจดั วาง content ท่สี วยงามและเขา้ ถึงไดง้ า่ ย 5. ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ สรุปไดว้ ่า ระบบควรเน้นที่การค้นหา ทั้ง basic search และ advancesearch คอื คน้ ไดม้ ากกวา่ 1 field เชน่ ค้นจากชื่อ และสาขาวิชาหรือ ปีการศกึ ษา นอกจากนี้ยงั ตอ้ งสามารถค้น900

Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สงิ หาคม 2558บางส่วนของประโยคได้ ควรแสดงการนาเสนอข้อมลู ในส่วนของการตพี มิ พ์ผลงานวจิ ยั ของนกั ศกึ ษา และคานึงถึงการนาขอ้ มูลมาวเิ คราะห์เป็นค่าสารสนเทศทางสถิติ เพื่อให้การทางานมปี ระสิทธิภาพและน่าเชอ่ื ถอื มากข้นึ ตอนท่ี 2 ผลการวเิ คราะห์ ออกแบบ และพฒั นาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสรา้ งสรรค์ระดับบณั ฑติ ศึกษา สาหรับบัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ผลจากการวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบสารสนเทศเรียบร้อยแล้ว ได้ระบบสารสนเทศท่ีสามารถใชไ้ ด้กับคอมพวิ เตอร์ทเี่ ชอ่ื มโยงกับเครือข่ายภายในของมหาวิทยาลัยศิลปากร ซ่ึงระบบสารสนเทศน้ีจะทางานด้วยโปรแกรม Web Browser สามารถทางานได้ดีทั้งในโปรแกรม Internet Explorer , MozillaFirefox และ Google Chrome โดยค่าความละเอียดหน้าจอท่ีเหมาะสมที่สุดคือ 1024 x 768 pixelผู้วิจัยได้ตั้งชื่อระบบสารสนเทศนี้ว่า “ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบณั ฑิตศึกษา สาหรับบณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร” โดยระบบสารสนเทศน้ีมคี ณุ สมบัติในด้านต่าง ๆดงั น้ี 1. การนาขอ้ มูลเข้าระบบ ผู้สาเร็จการศึกษาท่ีสาเร็จการศึกษาในภาคปลาย ปีการศึกษา 2557นาข้อมูลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ท่ีได้นาเสนอหรือ ตีพิมพ์ลงในวารสาร โดยการกรอกข้อมูลลงในระบบท่ีพัฒนาขึ้น ซึ่งรายละเอียดข้อมูลประกอบด้วย ชื่อบทความวิจัย ชื่อผู้วิจัย สาขาวิชา บทคัดย่อ คาสาคัญโดยแสดงข้อมูลทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รวมทั้งไฟล์ข้อมูลรายละเอียดการนาเสนอ/การตีพิมพ์ เมื่อกรอกขอ้ มูลครบถว้ นแลว้ ระบบจะบนั ทกึ ขอ้ มูลทงั้ หมดไว้ในฐานขอ้ มลู และสามารถแสดงผลขอ้ มลู ออกมาทางหนา้ จอ 2. การค้นหาข้อมูล สามารถจาแนกการค้นหาได้เป็น 2 ส่วนคือ การค้นหาแบบปกติ (Search)ระบบจะทาการค้นหาจากช่ือผู้วิจัย ช่ือเรื่อง บทคัดยอ่ และคาสาคัญ หลงั จากน้ันนามาประมวลผลโดยเรียงลาดับจากบทความทค่ี น้ เจอจากคาน้ันมากท่ีสุดจะอยู่บนสุดและการค้นหาขั้นสูง (Advance Search) ระบบจะทาการค้นหาจาก ช่ือบทความ หรือ ชื่อผู้วิจัย หรือ คาสาคัญ หรือ บทคัดย่อ แล้วแต่จะเลือก หากไม่เลือกหัวข้อใดระบบจะทาการคน้ หาแบบปกตเิ ท่าน้นั 3. การสรปุ ผลข้อมูล สามารถดงึ ข้อมลู มาใช้ทาประโยชนไ์ ด้ โดยการระบแุ ละเงอ่ื นไขของข้อมูลที่ต้องการ ระบบจะทาการดึงข้อมลู แสดงผลออกมาในรปู แบบของกราฟและตารางสรปุ ผลข้อมูล ตอนที่ 3 ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดบั บณั ฑติ ศึกษา สาหรับบัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศิลปากร 1. ผลการประเมนิ ระบบสารสนเทศโดยผู้เช่ียวชาญ 2 ด้าน คือด้านการวิจัย จานวน 3 ท่านและด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศ จานวน 3 ทา่ น ดงั แสดงในตารางท่ี 1 และตารางท่ี 2 ดงั นี้ 901

ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Slipakorn Universityปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สงิ หาคม 2558 ISSN 1906 - 3431ตารางที่ 1 ผลการประเมนิ จากผู้เชย่ี วชาญดา้ นการวจิ ยั จานวน 3 ทา่ น หวั ข้อการประเมนิ ผลการประเมิน ̅������ S.D. แปลผล1. การติดตอ่ กับผู้ใช้1.1 การออกแบบหนา้ แรกและหน้าหลักมีความเหมาะสม 4.00 .00 มาก1.2 เมนู / หวั ข้อ มีความเหมาะสมกบั งานวิจัยและงานสรา้ งสรรค์ 4.00 .00 มาก1.3 ภาษาทีใ่ ช้ในส่วนต่าง ๆ มีความชดั เจนเข้าใจงา่ ย 4.33 .58 มาก1.4 รูปแบบของตัวอกั ษร ขนาด และสใี นภาพรวมมคี วามเหมาะสม 4.33 .58 มากค่าเฉลยี่ รายด้าน 4.17 .29 มาก 4.00 1.00 มาก2. การบนั ทึกและการแก้ไขข้อมลู2.1 แบบฟอรม์ บันทึกข้อมลู ครอบคลมุ กบั งานวจิ ัยและงานสรา้ งสรรค์2.2 บันทกึ ขอ้ มลู สามารถบนั ทกึ รายละเอียดครบถว้ น 4.00 1.00 มาก2.3 แบบฟอรม์ สาหรบั บนั ทึกข้อมูลมคี วามเหมาะสมใชง้ านง่าย 4.00 1.00 มาก2.4 การแก้ไขขอ้ มลู ทาไดส้ ะดวก รวดเร็ว ใชง้ านง่ายและมีความถูกตอ้ ง 4.33 .58 มาก2.5 การแก้ไขขอ้ มูลสามารถทาได้ครบถว้ น ครอบคลุมงานวจิ ยั 4.00 1.00 มาก และงานสร้างสรรค์คา่ เฉลีย่ รายด้าน 4.07 .92 มาก 4.67 .58 มากที่สุด3. การสืบคน้ ข้อมลู และการออกรายงาน3.1 การออกแบบหน้าจอสาหรับการสบื คน้ และการออกรายงาน มคี วามเหมาะสม3.2 การสบื ค้นขอ้ มลู ทาไดง้ ่ายและสะดวก 4.33 .58 มาก3.3 ข้อมลู ทีไ่ ดจ้ ากการสืบค้น มีความถกู ต้อง เหมาะสม 4.33 1.15 มาก3.4 รูปแบบของตวั อักษรขนาดและสใี นการแสดงผลขอ้ มูลมคี วามเหมาะสม 5.00 .00 มากทส่ี ุด3.5 การออกรายงาน ทาได้งา่ ย สะดวก และ ถกู ตอ้ ง 4.33 .58 มากค่าเฉลยี่ รายด้าน 4.53 .58 มากทส่ี ุด902

Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะISSN 1906 - 3431 ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดือนพฤษภาคม – สงิ หาคม 2558ตารางที่ 1 ผลการประเมนิ จากผ้เู ชี่ยวชาญดา้ นการวจิ ัย จานวน 3 ทา่ น (ต่อ)หัวขอ้ การประเมิน ผลการประเมิน ̅������ S.D. แปลผล4. ลกั ษณะโดยรวมของระบบสารสนเทศฯ4.1 ระบบสารสนเทศฯ นี้ ทาใหผ้ ูป้ ฏบิ ัติงานมีความสะดวกรวดเร็ว 4.33 .58 มาก4.2 ระบบสารสนเทศฯ น้ี ชว่ ยอานวยความสะดวกในการ 4.33 .58 มาก ปฏบิ ัตงิ านดา้ นงานวจิ ัยและงานสรา้ งสรรค์ 4.67 .58 มากที่สดุ4.3 ระบบสารสนเทศฯ น้ี มีความเหมาะสมและควรท่ีจะนามาใช้ 4.44 .58 มาก ในการจดั การงานวิจัยและงานสร้างสรรคร์ ะดับบณั ฑิตศกึ ษา 4.30 .59 มากคา่ เฉลยี่ รายด้านคา่ เฉลี่ยรวมทงั้ 4 ดา้ น จากตารางที่ 1 ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัย พบว่า ระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การงานวิจัยและงานสรา้ งสรรค์ระดับบณั ฑติ ศึกษา สาหรับบณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ทั้ง 4 ด้าน มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉล่ีย ( ̅ = 4.30) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = .59) เมื่อนาค่าเฉล่ยี มาเปรียบเทยี บกับเกณฑ์ซ่ึงจะอยู่ในช่วงคะแนน 3.51 – 4.50 หมายถึงมปี ระสทิ ธิภาพอยู่ในระดับมาก แสดงว่าระบบสารสนเทศทผ่ี ูว้ ิจยั พฒั นาขึน้ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมินและสามารถนาไปใชง้ านได้ เม่ือพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า ด้านการสืบค้นข้อมูลและการออกรายงาน มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉล่ีย ( ̅ = 4.30) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D. = .58) ด้านการติดต่อกับผู้ใช้มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉล่ีย ( ̅= = 4.17) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D. = .29) ด้านการบันทึกและการแก้ไขข้อมลู มปี ระสทิ ธภิ าพอยู่ในระดบั มาก โดยมีคา่ เฉล่ยี ( ̅= = 4.07) และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D. = .92) และลักษณะโดยรวมของระบบสารสนเทศ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก โดยมีคา่ เฉล่ีย ( ̅= = 4.44) และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = .58)ตารางท่ี 2 ผลการประเมินจากผู้เชีย่ วชาญดา้ นการพัฒนาระบบ จานวน 3 ด้าน หวั ข้อการประเมิน ผลการประเมิน ���̅��� S.D. แปลผล1. ด้านความสามารถทางานตรงตามความตอ้ งการ (Functional Requirement Evolution)1.1 ระบบสามารถเพม่ิ – ลบ ข้อมูลงานวจิ ัยและงานสร้างสรรค์ได้ 4.00 1.00 มาก1.2 ระบบสามารถบนั ทึก–แกไ้ ขข้อมูลงานวจิ ยั และงานสร้างสรรค์ได้ 3.67 1.53 มาก1.3 ระบบสามารถสืบคน้ ขอ้ มลู งานวจิ ยั / งานสรา้ งสรรคแ์ ละ 4.33 .58 มากสว่ นอื่น ๆ ได้ 903

ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Slipakorn Universityปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สิงหาคม 2558 ISSN 1906 - 3431ตารางท่ี 2 ผลการประเมนิ จากผู้เชย่ี วชาญด้านการพฒั นาระบบ จานวน 3 ดา้ น (ตอ่ ) หัวข้อการประเมิน ผลการประเมิน ���̅��� S.D. แปลผล 1.4 ระบบสามารถออกรายงานงานวิจยั / งานสร้างสรรค์ และ 4.33 .58 มาก สว่ นอืน่ ๆ ได้ 3.67 .58 มาก 1.5 ข้อมูลท่ีได้จากการสบื ค้นและรายงานมคี วามถูกตอ้ งนา่ เชอื่ ถือ 4.00 .85 มากค่าเฉลยี่ รายดา้ น2. ด้านความถูกต้องของระบบ (Function Evolution) 3.67 1.53 มาก 3.67 1.53 มาก 2.1 ความถกู ตอ้ งในการเพมิ่ – ลบ ข้อมลู งานวิจยั และงานสรา้ งสรรค์ 4.00 1.00 มาก 2.2 ความถูกต้องในการบันทกึ – แก้ไขขอ้ มลู 3.33 .58 ปานกลาง 2.3 ความถกู ต้องของการสืบคน้ ข้อมลู 3.67 1.15 มาก 2.4 ความถูกตอ้ งของการจัดทารายงาน 3.67 1.16 มาก 2.5 ความถูกตอ้ งของการสรปุ รายงานค่าเฉลี่ยรายดา้ น 4.33 .58 มาก3. ดา้ นการใช้งานโปรแกรม (Usability Evolution) 3.67 1.53 มาก 3.1 ระบบนีพ้ ฒั นาขึ้นมคี วามเหมาะสม สะดวก และใช้งานง่าย 3.2 แบบฟอร์มสาหรับบนั ทึกข้อมลู เหมาะสม สะดวกในการ 3.67 .58 มาก 4.00 1.00 มาก บนั ทกึ ขอ้ มูลซ้า 4.00 1.00 มาก 3.3 การประมวลผลในแต่ละข้นั ตอนมีความรวดเร็ว 3.4 การสืบคน้ ขอ้ มูล การออกรายงานทาได้ง่ายและไดข้ อ้ มลู ที่ถกู ตอ้ ง 3.93 .94 มาก 3.5 รปู แบบของตวั อักษร ขนาด และสีในการแสดงผลขอ้ มลู 3.87 .98 มาก มีความเหมาะสมค่าเฉลีย่ รายด้านคา่ เฉลยี่ รวมทัง้ 3 ดา้ น จากตารางที่ 2 ผลการประเมนิ ประสิทธภิ าพของระบบโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาระบบ พบว่าระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร ท้ัง 3 ด้าน มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉล่ีย ( ̅= 3.87) และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D. = .98) เม่ือนาค่าเฉล่ียมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ซ่ึงจะอยู่ในช่วงคะแนน 3.51 – 4.50หมายถงึ มปี ระสิทธภิ าพอยใู่ นระดับมาก แสดงวา่ ระบบสารสนเทศท่ีผู้วิจัยพัฒนาข้ึนมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ และสามารถนาไปใชง้ านได้904

Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2558 เม่ือพจิ ารณาในแต่ละดา้ นพบว่า ดา้ นความสามารถทางานตรงตามความต้องการ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก โดยมีคา่ เฉล่ยี ( ̅= 4.00) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. = .85) ด้านการใช้งานโปรแกรมมปี ระสทิ ธภิ าพอยใู่ นระดับมาก โดยมีคา่ เฉลี่ย ( ̅= 3.93) และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D. = .94) และด้านความถกู ต้องของระบบ มปี ระสิทธภิ าพอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉล่ีย ( ̅= 3.67) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D. = 1.16) 2. ผลประเมนิ การใชง้ านระบบสารสนเทศโดยกลมุ่ ผู้ใชง้ านท่ัวไป (End User) ซึ่งได้แก่นักศึกษาท่ีสาเร็จในภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2557 โดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง จานวน 80 คน พบว่าระบบสารสนเทศเพอ่ื การจัดการงานวจิ ยั และงานสรา้ งสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ทั้ง 3 ด้าน มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉล่ีย ( = 4.39) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D=.586) ดงั ตารางท่ี 3ตารางท่ี 3 ตารางแสดงผลการประเมินระบบสารสนเทศโดยกล่มุ ผูใ้ ช้งานทั่วไป (นักศึกษา)หวั ขอ้ การประเมิน ผลการประเมิน แปลผล ���̅��� S.D มาก1. ดา้ นการออกแบบหน้าจอติดตอ่ กับผ้ใู ช้ 4.40 .59 มาก 1.1 การออกแบบหนา้ แรกและหน้าหลกั มคี วามเหมาะสม มาก มาก1.2 การจัดเรยี งลาดับเมนู / หัวขอ้ มีความเหมาะสม 4.46 .57 มาก มาก1.3 เมน/ู หัวขอ้ มคี วามเหมาะสม 4.39 .54 มาก1.4 ภาษาท่ีใช้มคี วามชดั เจนเขา้ ใจงา่ ย 4.43 .59 มาก1.5 รูปแบบของตวั อกั ษร ขนาด และสี มีความเหมาะสม 4.40 .54 มากค่าเฉลยี่ รายด้าน 4.42 .57 มาก2. ด้านการประมวลผลและการแสดงผล มาก มาก2.1 การออกแบบหนา้ จอสาหรบั การสบื คน้ และการออกรายงาน 4.34 .59 มีความเหมาะสม2.2 การสืบคน้ ข้อมูล ทาไดง้ า่ ยและสะดวก 4.35 .602.3 การสบื คน้ ขอ้ มูล มคี วามถกู ต้อง 4.38 .562.4 รูปแบบของตัวอักษร ขนาด และสี ในการแสดงผลขอ้ มลู 4.40 .59 มคี วามเหมาะสม2.5 การออกแบบรายงานสามารถทาไดง้ ่าย สะดวก และ ถูกต้อง 4.34 .62ค่าเฉลย่ี รายดา้ น 4.36 .59 905

ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ Veridian E-Journal, Slipakorn Universityปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สงิ หาคม 2558 ISSN 1906 - 3431ตารางท่ี 3 ตารางแสดงผลการประเมินระบบสารสนเทศโดยกลุ่มผใู้ ชง้ านท่วั ไป (นักศึกษา) (ต่อ)หวั ข้อการประเมนิ ผลการประเมนิ3. ดา้ นลักษณะโดยรวมของระบบสารสนเทศฯ ���̅��� S.D แปลผล3.1 ระบบสารสนเทศฯ นี้ มคี วามสะดวก ใชง้ านงา่ ย 4.38 .60 มาก3.2 ระบบสารสนเทศนี้ สามารถประมวลผลและสรปุ ผล 4.35 .62 มากได้ถกู ตอ้ งแมน่ ยา3.3 ระบบสารสนเทศน้ี สอดคล้องกบั ความตอ้ งการท่ีจะนาไปใช้งาน 4.40 .59 มาก3.4 ระบบสารสนเทศน้ี ช่วยอานวยความสะดวกในการจดั เตรยี ม 4.36 .60 มากข้อมลู3.5 ระบบสารสนเทศฯ นี้ มปี ระโยชนเ์ หมาะสมทจี่ ะนามาใชง้ าน 4.43 .59 มากไดจ้ รงิคา่ เฉลีย่ รายด้าน 4.38 .60 มากคา่ เฉล่ียรวมท้งั 3 ดา้ น 4.39 .59 มาก จากตารางท่ี 3 ผลการประเมินระบบสารสนเทศโดยกลุม่ ผู้ใช้งานท่ัวไป พบวา่ ระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การงานวจิ ยั และงานสรา้ งสรรคร์ ะดับบณั ฑิตศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ท้ัง 3ด้าน มีประสิทธิภาพอยใู่ นระดบั มาก โดยมีคา่ เฉล่ีย ( ̅= 4.39) และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D = .59) เม่ือพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า ด้านการออกแบบหน้าจอติดต่อกับผู้ใช้ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉล่ยี ( ̅ = 4.42) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D = .57) ดา้ นการประมวลผลและการแสดงผลมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉล่ีย ( ̅ = 4.36) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D = .59) ด้านลักษณะโดยรวมของระบบสารสนเทศฯ มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย ( ̅= 4.38) และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D = .60) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร สามารถสรุปได้ดังนี้ รูปแบบของตัวอักษรขนาด และ สี ในการแสดงผลควรเพม่ิ ขนาดตัวอักษรใหใ้ หญ่กว่าน้ี ระบบมีความเหมาะสมทุกอย่างดีแล้ว เป็นระบบทีใ่ ช้งานง่าย และสะดวกดมี าก อนาคตควรเพ่ิมให้เป็นระบบทส่ี ามารถตรวจสอบความผดิ พลาดของการส่งขอ้ มลู ของนกั ศึกษาเป็นไปในทางออนไลน์ และสามารถใหน้ กั ศึกษาปรบั แก้ทางออนไลนไ์ ดเ้ ลยสรุปและอภปิ รายผลการวจิ ัย ผลการดาเนนิ การวิจัย เรือ่ ง “การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การงานวิจัยและงานสรา้ งสรรค์ระดบั บัณฑิตศกึ ษา สาหรบั บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ผวู้ จิ ัยขอนาไปสูก่ ารอภปิ รายผลดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ได้จากการ906

Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 8 ฉบับที่ 2 เดอื นพฤษภาคม – สิงหาคม 2558สมั ภาษณผ์ ู้เช่ยี วชาญดา้ นการวจิ ัย สรปุ ไดค้ อื ข้อมูลของผวู้ ิจยั ควรประกอบไปด้วย ช่ือ – สกุล ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย อาจารย์ท่ีปรึกษา สาขาวิชา คณะวิชา สถาบันการศึกษา ปีท่ีทาการวิจัย สอดคล้องกับงานวิจัยของพนดิ า ศักดิ์ศรี และ เยาวเรศ เสอื กระจ่าง (2550:บทคัดย่อ) ซ่ึงทาวิจยั เรือ่ ง “ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิชาการและกิจการนักศึกษา กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเจ้าพระยา จังหวัดนครสวรรค์” สรุปได้ว่าผู้วิจัยทาการวิเคราะห์และออกแบบระบบโดยใช้การพัฒนาระบบแบบ SDLC ซ่ึงครอบคลุมถึงการบันทึกข้อมูล เพิ่มลบ แก้ไข คน้ หาและเรียกดรู ายงานของสว่ นงานสารสนเทศดา้ นงานวชิ าการ คือ ข้อมลู หลกั สตู ร ขอ้ มูลรายวิชาข้อมูลสาขาวิชา ข้อมูลกลุ่มวิชา ข้อมูลวิชาบังคับก่อน ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ส่วนข้อมูลของงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ควรประกอบด้วย ชื่องานวิจัย บทคัดย่อ คาสาคัญท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษบทความฉบับเต็ม (Fulltext) ข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ควรประกอบด้วย รายละเอียดข้อมูลการตีพิมพ์ /นาเสนอ เชน่ ประเภทตีพมิ พ์/นาเสนอ ปที ต่ี ีพิมพ์/นาเสนอ ระดบั การตีพิมพ/์ นาเสนอ (ชาติ / นานาชาติ) ซ่ึงการสัมภาษณผ์ ู้เช่ียวชาญด้านการวิจัยดังกล่าวสอดคล้องกับงานวิจัยของ อโนมา รัตนน้อย (2553:31) ได้ทาวิจัยเรื่อง “สภาพและปัญหาอุปสรรคในการทางานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของอาจารย์คณะมัณฑนศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร” พบว่า การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการเก็บข้อมูลภาคสนามและเก็บข้อมูลจากเอกสารเป็นส่วนประกอบ เพื่อให้ข้อมูลมีความน่าเช่ือถือและครอบคลุมประเด็นท่ีต้องการวิจัยรูปแบบการเก็บข้อมูลภาคสนามผู้วิจัยใช้แนวคาถามในการสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูลหลัก และหลังจากเก็บข้อมูลเรียบร้อยแล้วผู้วิจัยนาข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียงและจัดหมวดหมู่เพื่อนามาใช้ในการวิเคราะห์ต่อไป การแสดงผลลัพธ์รายงาน ควรแสดงผลข้อมูลในระบบทั้งในส่วนของข้อมูลผู้วิจัย ข้อมูลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์รวมท้ังข้อมูลอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง การเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้งานทั่วไปผู้ใช้งานทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ ควรประกอบด้วย ช่ืองานวิจัย ช่ือผู้วิจัย บทคัดย่อ คาสาคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บทความฉบับเต็ม(Fulltext) สาขาวชิ า กลมุ่ สาขาวชิ า และแหล่งข้อมลู การตีพิมพ์ / นาเสนอ ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการสมั ภาษณ์ผูเ้ ช่ียวชาญดา้ นการพัฒนาระบบสารสนเทศ สรุปได้ดังนี้ภาษา PHP และระบบจดั การฐานขอ้ มลู MySQL มคี วามเหมาะสมในการพฒั นาระบบสารสนเทศ สอดคล้องกับงานวิจัยของ วีระวัฒน์ จันละ (2551:บทคัดย่อ จ) ได้ทาวิจัยเร่ือง “ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานระเบียนนักศึกษาวิทยาลัยอินเตอร์ลาปาง” ก็ได้พัฒนาระบบโดยใช้ภาษา PHP และระบบจัดการฐานข้อมูลMySQL จากการทดสอบการทางานของระบบดว้ ยขอ้ มลู จริงบางส่วนของมหาวทิ ยาลัย พบวา่ ผลการทางานของระบบสามารถทางานได้ถูกต้องและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ และสอดคล้องกับงานวิจัยของพเิ ชษฐ์ สงิ หเดช (2553:บทคัดย่อ) ใช้ Apache เป็น Web Server ภาษา PHP ในการพัฒนาระบบเพ่ือจะใช้เชื่อมโยงฐานข้อมูลด้วย MySQL เน่ืองจากสามารถอานวยความสะดวกในด้านการจัดเก็บข้อมูล และง่ายต่อการสืบคน้ ข้อมลู การพฒั นาระบบได้ออกแบบให้ มีคาส่ังและเมนูตา่ ง ๆ รวมถงึ ระบบโตต้ อบกบั ผใู้ ช้เป็นภาษาไทยเพื่อเป็นการงา่ ยต่อการใช้งาน นอกจากน้ผี ้พู ัฒนาระบบได้คานงึ ถึงระบบการรักษาความปลอดภัยโดยได้พัฒนาให้ระบบมีการตรวจสอบขอ้ มูลรหัสประจาตวั และรหัสผ่านจากผู้ใชง้ านท่ีทางงานทะเบยี นได้เป็นผู้กาหนด ทั้งน้ีก็เพ่ือจาแนกส่วนการใช้งาน และความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้นอกจากนี้ผู้ใช้งานสามารถทาการเปล่ียนแปลงรหัสผ่านที่เป็นของตัวเองได้ ซ่ึงระบบการรักษาความปลอดภัยดังกล่าวสอดคล้องกับงานวิจัยของณัฐกานต์ คามา(2552:15) ได้ทาวิจัยเร่ือง “การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานบริการด้านซอฟต์แวร์ของศูนย์ 907

ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ Veridian E-Journal, Slipakorn Universityปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื นพฤษภาคม – สงิ หาคม 2558 ISSN 1906 - 3431ประมวลผลการทะเบยี น ภาค 5 จังหวัดเชียงใหม่” พบว่า ผู้วิจัยได้กาหนดให้ผู้ที่เก่ียวข้องกับระบบต้องระบุชอ่ื ผูใ้ ช้งานและรหสั ผา่ นทุกคร้ังกอ่ นการเขา้ ใชร้ ะบบจะตรวจสอบสิทธิในการเข้าสู่ระบบของผู้ใช้งานแต่ละบุคคลเมือ่ เข้าส่รู ะบบแล้วผู้ใช้งานจะได้รับสิทธิในการจัดการข้อมูลที่แตกต่างกันไป และในการพัฒนาน้ัน ได้ใช้ภาษาพีเอชพี (PHP) และระบบจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล (MySQL) จากการทดสอบการทางานของระบบด้วยข้อมลู จรงิ บางสว่ นของวทิ ยาลัย ความสามารถของระบบ ควรมีความสามารถในการเพ่มิ / แก้ไข / ลบ ค้นหาข้อมูลในรูปแบบตามเง่ือนไขต่าง ๆ สอดคล้องกับงานวิจัยของกิตติศักด์ิ คาผัด (2553:39) ได้ทาวิจัยเร่ือง“ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานครูท่ีปรึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยเทคนิคแพร่” ในการพัฒนาระบบผู้วิจัยได้มีการกาหนดสิทธิในการเข้าระบบต่างกันตามลักษณะงานคือ ครูท่ีปรึกษา สามารถเพ่ิม ลบ แก้ไข ค้นหาขอ้ มูลนกั ศึกษา ข้อมูลผู้ปกครอง ข้อมูลการเรียน ข้อมูลการขาดเรียน ข้อมูลการพบนักศึกษา ข้อมูลนักศึกษาพบครูและข้อมลู พฤติกรรมของนกั ศึกษา ในส่วนของขอ้ มูลทค่ี วรเก็บในระบบ ควรแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ข้อมูลดา้ นการวจิ ัย เช่น ช่ืองานวิจัย บทคัดย่อ คาสาคัญ การ Download file เอกสาร และข้อมูลการนาเสนอขอ้ มูลตามกลุ่มของบทความ เช่น ศิลปะ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ ข้อมูลด้านผู้วิจัย เช่นชื่อผู้วิจัย สาขาวิชา/ภาควิชา/คณะวิชา อาจารย์ท่ีปรึกษา และปีการศึกษา หน้าจอติดต่อกับผู้ใช้ (UserInterface) ควรออกแบบใหใ้ ช้งานง่าย ตัวอักษรอ่านง่าย ชัดเจน สะดวกต่อการใช้งาน ควรนาเสนอข้อมูลผ่านUser Interface ท่เี รียบง่าย คานงึ ถงึ ความแตกต่างของผู้ใช้งาน เนน้ การจดั วาง content ท่สี วยงามและเข้าถึงไดง้ ่าย สอดคล้องกับงานวิจัยของธนกร เปี่ยมสินธ์ุ (2551:83) ได้ทาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่ การจดั การงานสารบรรณ ของคณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร” มกี ารออกแบบให้มีการใช้งานแบบมีโครงสร้าง กล่าวคอื ผูใ้ ชง้ านสามารถเลือกใชง้ านได้ตามตัวเลือกท่ีมีให้ในทุกขั้นตอน และสามารถเข้าถึงข้อมูลไดต้ ามระดับสิทธิในการเขา้ ถงึ ข้อมูล มกี ารออกแบบหนา้ จอให้งา่ ยต่อการใช้งานและคานงึ การใช้งานของผใู้ ช้เป็นหลกั ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ สรปุ ได้ว่า ระบบควรเน้นทกี่ ารค้นหา ท้ัง basic search และ advance searchคือค้นได้มากกว่า 1 field เช่น ค้นจากชื่อ และสาขาวิชา หรือ ปีการศึกษา นอกจากนี้ยังต้องสามารถค้นบางส่วนของประโยคได้ ควรแสดงการนาเสนอข้อมูลในส่วนของการตพี ิมพผ์ ลงานวิจยั ของนกั ศึกษา และคานงึ ถึงการนาข้อมลู มาวเิ คราะห์เปน็ คา่ สารสนเทศทางสถิติ เพอื่ ให้การทางานมีประสิทธภิ าพและน่าเชอ่ื ถือมากข้นึ 2. ผลการวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ระบบสารสนเทศท่ีสามารถใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ท่ีเช่ือมโยงกับเครือข่ายภายในของมหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งระบบสารสนเทศนี้จะทางานด้วยโปรแกรม Web Browser สามารถทางานได้ดีท้ังในโปรแกรม Internet Explorer , Mozilla Firefoxและ Google Chrome โดยคา่ ความละเอียดหน้าจอทีเ่ หมาะสมท่ีสุดคือ 1024 x 768 pixel ผู้วิจัยได้ต้ังชื่อระบบสารสนเทศนี้ว่า “ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร” โดยระบบสารสนเทศนี้มีคุณสมบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. การนาข้อมลู เขา้ ระบบ ผสู้ าเร็จการศึกษาทีส่ าเร็จการศึกษาในภาคปลาย ปีการศึกษา 2557 นาข้อมลู งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ท่ีได้นาเสนอหรือ ตีพิมพ์ลงในวารสาร โดยการกรอกข้อมูลลงในระบบที่พัฒนาขึ้น ซ่ึงรายละเอียดข้อมูลประกอบด้วย ชื่อบทความวิจัย ชื่อผู้วิจัย สาขาวิชา บทคัดย่อ คาสาคัญ และไฟล์ข้อมูลรายละเอียดการ908

Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 8 ฉบับท่ี 2 เดือนพฤษภาคม – สงิ หาคม 2558นาเสนอ/การตีพิมพ์ เมื่อกรอกข้อมูลครบถ้วนแล้วระบบจะบันทึกข้อมูลท้ังหมดไว้ในฐานข้อมูล และสามารถแสดงผลข้อมูลออกมาทางหน้าจอ 2. การค้นหาข้อมูล สามารถจาแนกการค้นหาได้เป็น 2 ส่วนคือ การค้นหาแบบปกติ (Search) ระบบจะทาการค้นหาจากช่ือผวู้ จิ ัย ชื่อเรือ่ ง บทคัดยอ่ และคาสาคัญ หลังจากนั้นนามาประมวลผลโดยเรียงลาดับจากบทความท่ีค้นเจอจากคานั้นมากที่สุดจะอยู่บนสุดและการค้นหาข้ันสูง(Advance Search) ระบบจะทาการค้นหาจาก ชื่อบทความ, ช่ือผู้วิจัย, คาสาคัญ หรือ บทคัดย่อ แล้วแต่จะเลือกหากไม่เลอื กหัวข้อใดระบบจะทาการค้นหาแบบปกติเท่าน้ัน 3. การสรุปผลข้อมูล สามารถดึงข้อมูลมาใช้ทาประโยชน์ได้ โดยการระบุและเง่ือนไขของข้อมูลท่ีต้องการ ระบบจะทาการดึงข้อมูลแสดงผลออกมาในรปู แบบของกราฟและตารางสรปุ ผลข้อมลู 3. ผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยผู้เช่ียวชาญ 2 ด้าน คือ ด้านการวิจัยจานวน 3 ท่าน และดา้ นการพัฒนาระบบสารสนเทศ จานวน 3 ท่าน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง พบว่า ด้านการวิจัย ทั้ง 4 ด้าน มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉล่ีย ( ̅ = 4.30) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D.= .59) เมื่อนาค่าเฉลี่ยมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ซ่ึงจะอยู่ในช่วงคะแนน 3.50– 4.50 หมายถึง มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก แสดงว่าระบบสารสนเทศที่ผู้วิจัยพัฒนาข้ึนมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมินและสามารถนาไปใช้งานได้ ผลประเมินการใช้งานระบบสารสนเทศโดยกลุ่มผู้ใช้งานท่ัวไป(End User) ซึ่งได้แก่นักศึกษาท่ีสาเร็จในภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา2557 โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจงจานวน 80 คน พบว่าระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ระดับบัณฑิตศึกษา สาหรับบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ทั้ง 3 ด้าน มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉล่ีย ( ̅ = 4.39)และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D = .59) สอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของนัดมน สังข์ทอง (2553:135) ได้ทาวิจัยเร่ือง “ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานด้านภาระงานของอาจารย์ กรณีศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์” ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจเก่ียวกับการใช้งานระบบสารสนเทศฯ ผลรวมทั้งหมดพบว่าบคุ ลากรมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์ ส่วนใหญม่ ีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก โดยค่าเฉล่ียรวมท้ังหมดอยู่ที่4.17 และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานอยู่ที่ .26 สอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของ กติ ติศักด์ิ คาผัด (2553:84) ได้ทาวิจัยเร่ือง “ระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การครูทปี่ รกึ ษา กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคนคิ แพร่” ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉล่ียรวมของประสิทธิภาพของระบบเท่ากับ 3.34 สรุปว่าประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการใช้งานโปรแกรมโดยรวมมีประสิทธิภาพมากและพึงพอใจต่อผใู้ ชง้ านขอ้ เสนอแนะทั่วไป 1. ในขนั้ ตอนของการบนั ทกึ ข้อมลู พบปญั หาผูใ้ ชท้ ั่วไป (นักศกึ ษา) ไม่ไดเ้ ลือกขอ้ มูลสาขาวิชาจึงทาให้ไมส่ ามารถแสดงผลข้อมูลได้ ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาระบบให้มีการแจ้งเตือนหากผู้ใช้ทั่วไปกรอกข้อมูลไม่ครบหรือกรอกขอ้ มูลไม่ถูกต้อง 909

ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะ Veridian E-Journal, Slipakorn Universityปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2558 ISSN 1906 - 3431 2. ในขั้นตอนของการประเมินประสิทธิภาพของระบบ ผู้ใช้ท่ัวไป (นักศึกษา) พบปัญหาของการแสดงผลข้อมูลและได้เสนอแนะให้ปรับรูปแบบของตัวอักษร เช่น ขนาด และ สี ให้ใหญ่กว่าน้ี ผู้วิจัยจึงได้กาหนดขนาดของการแสดงผลทางจอภาพใหเ้ หมาะสมและเปน็ มาตรฐาน 3. การนาระบบสารสนเทศที่ผู้วิจัยพัฒนาข้ึนมาใช้งาน ควรเพิ่มเติมในส่วนของการแก้ไขข้อมูลโดยผู้ใช้งานสามารถแก้ไขข้อมูลของตนเองได้ เน่ืองจากโดยภาพรวมระบบมีความเหมาะสมทุกอย่างดีแล้ว เช่นสามารถเพม่ิ ลบ แกไ้ ข และแสดงผลได้ชัดเจน ใชง้ านง่าย และสะดวกข้อเสนอแนะในการวจิ ยั ครงั้ ต่อไป 1. ควรพฒั นาระบบสารสนเทศการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือใช้ในการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาหรบั บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 2. ควรพัฒนาระบบการจดั การความรู้ดา้ นงานบรกิ ารการศกึ ษา 3. ควรพฒั นาระบบการจดั การทนุ วจิ ยั สาหรับนกั ศกึ ษาระดับบณั ฑิตศกึ ษาเอกสารอา้ งองิภาษาไทยกิตติศกั ดิ์ คาผดั . (2553). “ระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การงานครูท่ปี รึกษา กรณศี ึกษา วิทยาลัยเทคนคิ แพร่”. วิทยานพิ นธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลยั นเรศวร.คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ (สานกั งานกพร.). (2010). ความหมายของงานสรา้ งสรรค์ จากคารบั รอง การปฏบิ ัตริ าชการของสานกั งาน ก.พ.ร. เข้าถึงเมือ่ 1 สงิ หาคม 2556 เขา้ ถึงไดจ้ าก http://portal.in.th/learninghome/pages/12176/จีรวรรณ บุตรศรี (2557). \"การพัฒนาโปรแกรมออกแบบระบบผนังกระจก และถอดปริมาณวัสดุ \" วารสารวชิ าการ Veridian E-Journal ฉบับมนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ ปที ี่ 8 ฉบับท่ี 1 มกราคม – เมษายน 2557) : 759 - 772.ณัฐกานต์ คามา. (2552). “การพฒั นาระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การงานบรกิ ารด้านซอฟต์แวร์ของศูนย์ ประมวลผลการทาเบียน ภาค 5 จังหวดั เชยี งใหม่”.วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่.ธนกร เปีย่ มสนิ ธ.์ุ (2551). “ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานสารบรรณของคณะวิทยาศาตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร”. วทิ ยานิพนธป์ ริญญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลยั นเรศวร.นดั มน สังข์ทอง. (2553). “ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการงานดา้ นภาระงานของอาจารย์ กรณศี ึกษา คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์”. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญา วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลยั นเรศวร.910

Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะISSN 1906 - 3431 ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือนพฤษภาคม – สงิ หาคม 2558พนิดา ศักด์ศิ รี และ เยาวเรศ เสอื กระจ่าง. (2550). “ระบบสารสนเทศเพ่อื การจัดการงานวิชาการและ กิจการนักศกึ ษา กรณศี กึ ษามหาวทิ ยาลัยเจา้ พระยา จงั หวดั นครสวรรค์”. วิทยานิพนธป์ ริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร.พิเชษฐ์ สงิ หเดช. (2553). “ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานสาหรับกลมุ่ ทอผ้าในเขตภาคเหนือตอนล่าง”. วิทยานิพนธ์ปริญญาวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลยั นเรศวร.วรี ะวัฒน์ จันละ. (2551). “ระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การงานระเบียนนักศึกษาวทิ ยาลัยอินเตอรล์ าปาง”. วิทยานพิ นธป์ ริญญาวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่ เขา้ ถึงเม่ือ 27 พฤษภาคม 2558. บทคัดยอ่ จาก โครงการเครอื ข่ายห้องสมุด ในประเทศไทย ThaiLIS – Thai Library Integrated Systemสขุ ุมาล ปล้มื กมล. (2557). \"การออกแบบระบบการจดั เก็บและสบื คน้ แฟ้มข้อมูลแบบก่อสร้างภมู ิสถาปัตยกรรม.\" วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ฉบับมนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 3 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2557) : 1648 – 1664.อโนมา รตั นน้อย. (2553). “สภาพและปัญหาอปุ สรรคในการทางานวิจยั และงานสรา้ งสรรค์ของอาจารย์คณะ มัณฑนศิลป์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร” วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการจัดการ ภาครัฐและภาคเอกชน บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. เข้าถงึ เมือ่ 27 พฤษภาคม 2558. บทคดั ย่อจาก โครงการเครอื ขา่ ยห้องสมุดในประเทศไทย ThaiLIS – Thai Library Integrated System http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=291942& query=%CA%C0%D2%BE%E1%C5%D0%BB%D1%AD%CB%D2%CD%D8%BB%CA%C3%C 3%A4%E3%B9%A1%D2%C3%B7%D3%A7%D2%B9%C7%D4%A8%D1%C2&s_mode=any& d_field=&d_start=00000000&d_end=25580702&limit_lang=&limited_lang_code=&order=& order_by= &order_type=& result_id=1&maxid=1โอภาส เอ่ยี มสริ ิวงศ์. (2554). ระบบสารสนเทศเพอื่ การจดั การ = Management Information System : MIS. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยเู คชัน่ . 911


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook