Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประชุม คกก2564_ครั้งที่7

รายงานประชุม คกก2564_ครั้งที่7

Published by codopa.dopa, 2021-08-24 09:53:26

Description: รายงานประชุม คกก2564_ครั้งที่7

Search

Read the Text Version

รายงานประชุม ชุดที่ 59 ครงั้ ท่ี 7 รายงานการประชุม คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ออมทรพั ยก์ รมการปกครอง จากัด ชดุ ที่ 59 ประจาปี 2564 คร้งั ที่ 7 วันศุกรท์ ่ี 30 กรกฎาคม 2564 ณ หอ้ งประชมุ ปค.1 ชัน้ 2 กรมการปกครอง

รายงานประชุม ชุดที่ 59 ครัง้ ท่ี 7 สารบญั ระเบียบ เรื่อง หน้า วาระที่ 2 เร่ืองท่ปี ระธานแจง้ ใหท้ ี่ประชมุ ทราบ 2 1 รับรองรายงานการประชุม ครง้ั ที่ 6 2 เรอ่ื งสืบเนอื่ ง 2 3 12 4 เสนอโดยคณะอนกุ รรมการกองทนุ ชว่ ยเหลือผู้กแู้ ละฌาปนกิจสงเคราะห์ สอ.ปค. 18 5 3.1 การแก้ไขเพ่มิ เตมิ ระเบียบสหกรณฯ์ เพอ่ื รองรับการดาเนินการชว่ ยเหลอื 6 19 สมาชิกผูก้ ู้เงินสามัญ 7 รายงานผลการดาเนินงาน 31 รายงานผลการตรวจสอบของผตู้ รวจสอบกจิ การ 32 เรื่องเพือ่ พิจารณา 34 37 เสนอโดยคณะอนกุ รรมการเงนิ กู้ 6.1 มาตรการให้ความช่วยเหลือสมาชิก 42 1) การขยายวงเงินกูส้ ามญั 43 2) เปิดโครงการเงินกู้สวัสดิการสมาชิกผู้รับเงินบานาญ เสนอโดยคณะอนกุ รรมการสวัสดิการ 45 6.2 การปรบั แผนกลยุทธก์ ารเช่าห้องพักของสัมมนาคาร (จดั โปรโมชนั่ พิเศษใหแ้ ก่สมาชิก 46 ในการเช่าห้องพักของสัมมนาคาร) 47 6.3 การขอยกเว้นการบังคบั ใชร้ ะเบียบสหกรณฯ์ กรณสี งเคราะห์สมาชกิ ผู้ประสบภยั 47 ราย นายธีระศกั ด์ิ ฑยี าพงศ์ และแกไ้ ขระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยการสงเคราะห์สมาชิกฯ ขอ้ 8 (3) 48 6.4 การมอบทุนส่งเสริมการศึกษา ประจาปี 2564 (ประถมศึกษา – อาชวี ศึกษา ปวส.) และขยายระยะเวลาการยื่นขอรับทุนฯ ของสมาชกิ และบุตรสมาชิกทุกระดับช้ัน 6.5 การพิจารณาคัดเลือก บรษิ ัท เมอื งไทยประกันชวี ติ จากัด (มหาชน) เข้าร่วมจัดสวสั ดิการ การประกนั ชวี ติ และอุบตั ิเหตุหมู่ ประจาปี 2565 – 2566 เสนอโดยคณะอนกุ รรมการนโยบายการบรหิ ารการเงินฯ 6.6 สหกรณ์ออมทรัพยส์ าธารณสุขชยั ภมู ิ จากัด แจง้ ปรบั ลดอตั ราดอกเบ้ยี เงินฝากของสหกรณฯ์ จานวน 100.001 ลา้ นบาท (ตง้ั แตว่ ันที่ 1กรกฎาคม 2564) เดมิ อัตราร้อยละ 3.80 ตอ่ ปี เป็นอัตรารอ้ ยละ 3.30 ต่อปี 6.7 การพจิ ารณากาหนดมาตรการงด (ชว่ั คราว) หรอื ลดสง่ เงนิ คา่ หนุ้ รายเดือน เรอ่ื งเพ่ือทราบ (โดยเอกสาร) เสนอโดยคณะอนกุ รรมการเงนิ กู้ 7.1 การใหเ้ งนิ กู้ 7.2 ผลการดาเนินงาน “การช่วยเหลอื สมาชิกผ้คู ้าประกันเงนิ กสู้ ามญั ” 7.3 การเรยี กเกบ็ ค่าใช้จา่ ยของสมาชิกกู้เงนิ ฉุกเฉนิ ATM 7.4 มาตรการใหเ้ งนิ กสู้ ามัญโดยสมาชกิ ต้องมเี งนิ คา่ หุ้นสะสมในสหกรณ์ไมน่ อ้ ยกวา่ 2,000 บาท (ใชบ้ งั คบั ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563) 7.5 โครงการเงนิ กูพ้ เิ ศษเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ิต

รายงานประชุม ชดุ ที่ 59 คร้ังที่ 7 -2- ระเบยี บ เรอื่ ง หน้า วาระท่ี เสนอโดยคณะอนุกรรมการนโยบายการบรหิ ารการเงินฯ 48 7.6 รายงานฐานะทางการเงนิ ของสหกรณฯ์ 53 7.7 การลงทุนกบั สหกรณ์ออมทรัพย์อื่น (สอ.ครขู อนแกน่ จากัด จานวน 50 ลา้ นบาท) 53 7.8 เงินฝากสหกรณ์ฯ ครบกาหนด (ฝากต่อ/ขอปรับลดอตั ราดอกเบย้ี ) (สอ.สาธารณสุขอบุ ลราชธานี จากดั /สอ.ตารวจเชียงใหม่ จากัด/สอ.ส่ือสารทหาร จากัด) 54 7.9 เสนอโดยคณะอนกุ รรมการสวสั ดิการ รายงานผลการดาเนินงานของสมั มนาคาร ประจาเดือนมกราคม – มถิ ุนายน 2564 55 7.10 เสนอโดยฝา่ ยจัดการ 56 7.11 รายงานความเคลอ่ื นไหวของบญั ชเี งินรอจ่ายคืน เดือนมถิ นุ ายน 2564 ขออนมุ ตั ใิ ช้งบประมาณรายจ่าย หมวดเงินสารองจ่ายกรณีฉุกเฉินและเหตจุ าเป็น 58 7.12 ช่วงท่ีตอ้ งปฏิบตั ติ ามมาตรการเฝ้าระวงั ฯ ระหวา่ งวันท่ี 6 – 15 กรกฎาคม 2564 การรับโอนสมาชิกระหวา่ งสหกรณ์ (สอ.ร.21 พนั 3 รอ. จากัด) ราย พนั ตรี วรเชษฐ์ รัตนพนั ธ์

รายงานประชมุ ชดุ ที่ 59 ครัง้ ที่ 7 รายงานการประชุม คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ออมทรพั ย์กรมการปกครอง จากดั ชุดที่ 59 ประจาปี 2564 คร้งั ท่ี 7 วันศกุ ร์ท่ี 30 กรกฎาคม 2564 ณ หอ้ งประชุม ปค.1 ช้ัน 2 กรมการปกครอง ................................................ ผู้มาประชุม 1. นายศักดิ์ฤทธิ์ สลักคา รองประธานกรรมการ 2. ร.ต.ท. ภพชนก ชลานุเคราะห์ รองประธานกรรมการ 3. นายนพวัชร สงิ ห์ศกั ดา กรรมการ 4. นายสบื ศักด์ิ เอ่ียมวิจารณ์ กรรมการ 5. นายศักดิช์ ยั แตงฮ่อ กรรมการ 6. นายพนู ศกั ดิ์ วาณิชวเิ ศษกลุ กรรมการ 7. นายสรุ พล สวุ รรณานนท์ กรรมการ 8. น.ส.วรงคก์ ร พลวัน กรรมการ 9. นายมนสั สุวรรณรนิ ทร์ กรรมการ 10. นายสันติ ชูศรี กรรมการ 11. นายธงชัย กลุ วิวัฒน์ กรรมการ 12. น.ส.มารสิ า สลี าพัฒน์ กรรมการและเหรญั ญิก 13. นายชัชวาลย์ สกณุ าทวงษ์ กรรมการและเลขานุการ 14. นางสุนันทา ดลุ จานงค์ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ ผู้ไม่มาประชุม 1. นายธนาคม จงจริ ะ ประธานกรรมการ (ตดิ ราชการ) ผู้เข้าร่วมประชุม 1. นายชยาวุธ จนั ทร ทป่ี รกึ ษากิตตมิ ศกั ดิ์ 2. นายบุญธรรม เลศิ สขุ เี กษม ที่ปรึกษากิตตมิ ศกั ด์ิ 3. นายพิริยะ ฉันทดลิ ก ที่ปรึกษากติ ตมิ ศกั ดิ์ 4. นายสมยศ พมุ่ นอ้ ย ท่ปี รึกษากิตตมิ ศักดิ์ 5. นายปรณต สวุ รรณมาลา ที่ปรกึ ษาด้านกฎหมาย 6. นายไพรัตน์ เพชรยวน ที่ปรึกษาดา้ นบริหารทว่ั ไป 7. นายกกชัย ฉายรัศมกี ุล ทป่ี รกึ ษาด้านการลงทนุ 8. นางประทมุ ช่างสลกั ที่ปรกึ ษาดา้ นการเงิน 9. ผศ.สุชิน ปลีหะจนิ ดา ท่ีปรกึ ษาด้านวชิ าการ 10. นายสุวัฒน์ ศริ ิรตั ตานนท์ ผตู้ รวจสอบกจิ การ 11. นางขนิษฐา ดษิ ฐบรรจง ผูต้ รวจสอบกิจการ 12. นายชัชวาล เงินนาก ผสู้ อบบัญชี 13. น.ส.พรทิพย์ คล้ายชม ผชู้ ่วยผ้จู ัดการฝ่ายบรหิ าร 14. นายดุสติ ศิรวิ ราศัย ผู้ช่วยผูจ้ ัดการฝา่ ยธุรกิจ เร่มิ ประชมุ เวลา 13.30 น. เน่อื งจากประธานกรรมการฯ ติดราชการ จึงไดม้ อบหมายให้ นายศักด์ิฤทธ์ิ สลักคา รองประธานกรรมการฯ ทาหนา้ ทป่ี ระธานท่ปี ระชุมแทน

รายงานประชมุ ชดุ ที่ 59 ครั้งท่ี 7 -2- ระเบยี บวาระที่ 1 เร่อื งท่ีประธานแจ้งใหท้ ีป่ ระชมุ ทราบ ไม่มี ระเบยี บวาระท่ี 2 รับรองรายงานการประชมุ ครงั้ ท่ี 6 เลขานกุ าร ตามที่สหกรณ์ฯ มีการประชุมคณะกรรมการดาเนินการฯ ชุดที่ 59 ประจาปี 2564 คร้ังท่ี 6 เมอ่ื วันที่ 25 มถิ นุ ายน 2564 ณ หอ้ งประชมุ ปค. 1 ช้ัน 2 กรมการปกครอง เลขานุการได้บันทึกรายงานการประชุมดังกล่าว และส่งให้กรรมการดาเนินการ ทกุ ท่านพิจารณาล่วงหน้าทางจดหมายอิเลก็ ทรอนกิ ส์แลว้ เม่อื วนั ท่ี 22 กรกฎาคม 2564 เสนอท่ปี ระชมุ เพ่ือโปรดพจิ ารณารบั รองรายงานการประชุม คร้ังที่ 6 มตทิ ี่ประชมุ รบั รอง ระเบียบวาระที่ 3 เรอ่ื งสืบเนอื่ ง เสนอโดยคณะอนุกรรมการกองทนุ ช่วยเหลอื ผกู้ ูแ้ ละฌาปนกิจสงเคราะห์ สอ.ปค. 3.1 การแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสหกรณฯ์ เพื่อรองรับการดาเนนิ การชว่ ยเหลือ สมาชกิ ผกู้ ู้เงินสามญั นายพุทธันดร รอดศรีนาค สบื เนื่องจากคณะกรรมการดาเนินการฯ ชุดท่ี 59 ในการประชุมครง้ั ท่ี 6 เมื่อวันท่ี 25 มิถุนายน 2564 มีมติเห็นชอบในหลกั การไวด้ ังนี้ 1. กาหนดให้เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการกู้เงินสามัญ ในอัตรา 400.- บาท ต่อหนี้เงินกู้ 100,000.- บาท ดงั นี้ การเรียกเก็บ รายละเอียดการเรียกเก็บ เรยี กเก็บจากเงินกู้สามัญ ท่ีได้รับอนมุ ัติ เรยี กเก็บคร้ังเดยี วท่ที าสญั ญากเู้ งิน มี 2 กรณี ดงั น้ี - กรณกี ใู้ หม่ (ไม่มีหนเ้ี งินกู้สามัญเดมิ ) เรยี กเกบ็ จากเงินปนั ผล/ คานวณจากเงนิ กู้สามญั ท่ีได้รับอนมุ ตั แิ ละจานวนเดอื นท่เี หลือในปีทีก่ ู้ เงินเฉลย่ี คืน/เงินอ่นื ใด - กรณกี ู้เพิ่มวงเงนิ (มีหนเ้ี งินกู้สามญั เดมิ ) คานวณจากวงเงินสามญั ทีเ่ พิ่มข้ึนและจานวนเดือนท่ีเหลือในปีที่กู้ เรยี กเก็บทุกปีนับแต่ก้เู งนิ จนกว่าหนีค้ งเหลอื น้อยกว่า 500,000 บาท คานวณจากหน้ีเงินกู้สามญั ทเ่ี หลอื 2. กาหนดขัน้ ตอน วธิ ีการดาเนินการ ของกองทนุ ช่วยเหลือสมาชิกผกู้ เู้ งนิ สามญั 3. สมาชิกที่ถึงแก่กรรมด้วยการฆ่าตัวตาย กองทุนฯ จะให้ความช่วยเหลือสมาชิก ผูค้ ้าประกนั ทกุ กรณี 4. ในระยะเริ่มแรกให้ นางสาวมาริสา สีลาพัฒน์ ตาแหน่งประธานคณะอนุกรรมการ กองทุนชว่ ยเหลอื ผู้กู้ฯ รบั ผดิ ชอบในการขับเคลอื่ นการดาเนนิ งานกองทนุ ฯ / ขอ้ เสนอ ...

รายงานประชมุ ชดุ ที่ 59 ครง้ั ท่ี 7 -3- ขอ้ เสนอ/ความเห็นคณะอนกุ รรมการกองทุนชว่ ยเหลือผกู้ ู้ฯ คณะอนุกรรมการกองทุนช่วยเหลือผู้กู้และฌาปนกิจสงเคราะห์ สอ.ปค. พิจารณา แล้วเหน็ ควรเสนอคณะกรรมการดาเนนิ การฯ ดงั นี้ 1. กาหนดคา่ ธรรมเนยี มในการกเู้ งินสามัญ เป็น 2 ประเภท ดงั นี้ คา่ ธรรมเนยี ม รายละเอียดการเรียกเก็บ การกู้เงนิ สามญั - เก็บจากเงนิ กู้สามญั ที่ได้รบั อนมุ ตั ิ การใช้วงเงนิ กู้สามัญ - เก็บคร้ังเดยี ว - เก็บจากเงนิ ปนั ผล/เงินเฉล่ียคนื /เงินอ่ืนใด - เกบ็ ทกุ ปี ตามสดั ส่วนหนคี้ งเหลอื ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม ของทุกปี จนกวา่ หนี้คงเหลือนอ้ ยกวา่ 500,000 บาท 2. ให้ความช่วยเหลือสมาชกิ ผูก้ เู้ งินสามัญทถ่ี ึงแก่กรรม หรือทุพพลภาพจนไมส่ ามารถ ปฏิบัติงานไดแ้ ละถูกใหอ้ อกจากงาน ตามหลักเกณฑ์ ดงั นี้ การชาระคา่ ธรรมเนียมในรอบปี การให้ความช่วยเหลือ ชาระ - ชาระหนใ้ี ห้ตามจานวนหนคี้ ้างชาระที่เหลืออยู่ ไมช่ าระ (หลังจากนาเงินค่าหุ้น เงนิ ปันผล เงนิ เฉล่ียคืน มาชาระแล้ว) (หน้ีคงเหลอื น้อยกวา่ 500,000 บาท) - ชาระหนใ้ี หไ้ ม่เกินร้อยละ 50 ของหน้ีคา้ งชาระท่ีเหลืออยู่ ไม่เกิน 500,000 บาท (หลังจากนาเงินค่าหุน้ เงนิ ปนั ผล เงนิ เฉล่ยี คนื เงินฝาก หรือเงินอนื่ ใด มาชาระแล้ว) 3. แก้ไขเพ่ิมเติมระเบยี บสหกรณฯ์ ท่ีเก่ียวข้อง (รายละเอียดตามเอกสารหนา้ 4 - 11) 3.1 ระเบียบสหกรณฯ์ วา่ ดว้ ยการใหเ้ งนิ กู้แก่สมาชิก พ.ศ. 2544 ข้อ 13 วรรคสองและวรรคสาม 3.2 ระเบยี บสหกรณ์ฯ ว่าดว้ ยการชว่ ยเหลือสมาชิกผู้ค้าประกันเงนิ กสู้ ามัญ พ.ศ. 2558 ขอ้ 9 4. มอบฝ่ายจดั การดาเนนิ การ ดังน้ี 4.1 พัฒนาระบบการบริหารจัดการข้อมูล เพ่ือรองรับการดาเนินการ ของกองทุน ชว่ ยเหลอื สมาชิกผู้กู้ฯ ตอ่ ไป 4.2 ประกาศอตั ราค่าธรรมเนียมในการกู้เงินสามญั ให้สมาชิกรบั ทราบโดยทว่ั กัน ข้อเสนอ/ความเห็นของคณะอนกุ รรมการอานวยการ เหน็ ควรให้ความเหน็ ชอบตามทคี่ ณะอนกุ รรมการกองทนุ ชว่ ยเหลือผ้กู ู้ฯ เสนอ เสนอทป่ี ระชุมเพื่อโปรดพจิ ารณา มติที่ประชมุ เห็นชอบตามที่คณะอนกุ รรมการกองทนุ ช่วยเหลือผู้กฯู้ เสนอ / ตาราง ...

รายงานประชมุ ชุดท่ี 59 ครัง้ ที่ 7 -4- ตารางเปรยี บเทียบการแกไ้ ขเพมิ่ เติมระเบียบสหกรณอ์ อมทรัพยฯ์ วา่ ด้วยการให้เงนิ กู้แก่สมาชิก พ.ศ. 2544 ขอ้ ความเดมิ ขอ้ ความใหม่ หมวด 4 หมวด 4 เงินกสู้ ามัญ เงินกูส้ ามัญ ขอ้ 13 จานวนเงนิ กู้สามัญทใี่ ห้แกส่ มาชิกคนหนึง่ ๆ ข้อ 13 จานวนเงินก้สู ามัญท่ใี ห้แกส่ มาชกิ คนหน่ึงๆ คณะกรรมการดาเนนิ การจะต้องพิจารณาถึงความจาเป็น คณะกรรมการดาเนินการจะต้องพจิ ารณาถึงความจาเปน็ หรอื มปี ระโยชนต์ ามทคี่ ณะกรรมการดาเนินการ หรอื มปี ระโยชน์ตามท่คี ณะกรรมการดาเนนิ การ เห็นสมควร โดยผูก้ ู้ตอ้ งมีเงนิ ค่าหุ้นสะสมในสหกรณ์ เห็นสมควร โดยผ้กู ตู้ อ้ งมีเงินค่าหุ้นสะสมในสหกรณ์ ไม่นอ้ ยกวา่ อัตราที่สหกรณ์กาหนดโดยให้เป็นไปตาม ไม่นอ้ ยกว่าอัตราที่สหกรณ์กาหนดโดยใหเ้ ป็นไปตาม ประกาศของสหกรณ์ และอยู่ภายในจากัด ดังน้ี ประกาศของสหกรณ์ และอยู่ภายในจากัด ดงั น้ี (1) ผู้กซู้ ง่ึ เป็นสมาชิกเป็นเวลาตง้ั แต่ 6 เดือนขึน้ ไป (1) ผกู้ ู้ซึง่ เป็นสมาชิกเป็นเวลาตง้ั แต่ 6 เดือนข้นึ ไป แต่ไมเ่ กนิ 1 ปี มสี ทิ ธิได้รับเงินก้สู ามัญจานวนไม่เกิน แตไ่ ม่เกนิ 1 ปี มีสทิ ธไิ ด้รบั เงินกู้สามัญจานวนไมเ่ กนิ 20 เท่า ของเงินไดร้ ายเดือน แต่ไมเ่ กิน 300,000 บาท 20 เทา่ ของเงินไดร้ ายเดือน แต่ไม่เกิน 300,000 บาท (2) ผกู้ ู้ซง่ึ เป็นสมาชกิ เปน็ เวลาเกิน 1 ปขี ึ้นไป (2) ผกู้ ู้ซง่ึ เปน็ สมาชิกเป็นเวลาเกิน 1 ปขี ึน้ ไป แตไ่ ม่เกนิ 2 ปี มสี ทิ ธิไดร้ ับเงินกูส้ ามญั จานวนไมเ่ กิน แต่ไม่เกิน 2 ปี มีสิทธิได้รบั เงินกู้สามัญจานวนไม่เกนิ 30 เท่า ของเงินได้รายเดือน แตไ่ มเ่ กิน 600,000 บาท 30 เท่า ของเงินได้รายเดือน แตไ่ มเ่ กิน 600,000 บาท (3) ผกู้ ซู้ งึ่ เป็นสมาชกิ เปน็ เวลาเกนิ 2 ปีข้ึนไป (3) ผู้กซู้ ึ่งเปน็ สมาชิกเป็นเวลาเกิน 2 ปขี ึ้นไป แตไ่ มเ่ กนิ 5 ปี มีสทิ ธไิ ด้รบั เงินกสู้ ามญั จานวนไมเ่ กิน แตไ่ มเ่ กนิ 5 ปี มีสิทธไิ ด้รับเงินก้สู ามญั จานวนไมเ่ กนิ 50 เท่าของเงินไดร้ ายเดือน แต่ไม่เกิน 1,000,000 บาท 50 เท่าของเงนิ ไดร้ ายเดือน แตไ่ ม่เกิน 1,000,000 บาท (4) ผกู้ ู้ซง่ึ เป็นสมาชกิ เป็นเวลาเกนิ 5 ปีขน้ึ ไป (4) ผูก้ ู้ซ่ึงเป็นสมาชิกเปน็ เวลาเกนิ 5 ปีข้นึ ไป แต่ไมเ่ กิน 10 ปี มีสิทธไิ ดร้ ับเงนิ กูส้ ามัญจานวนไมเ่ กิน แต่ไมเ่ กิน 10 ปี มีสทิ ธิได้รับเงนิ กสู้ ามญั จานวนไมเ่ กิน 70 เท่าของเงนิ ไดร้ ายเดอื น แต่ไม่เกิน 1,400,000 บาท 70 เท่าของเงนิ ไดร้ ายเดอื น แต่ไม่เกิน 1,400,000 บาท (5) ผู้กซู้ งึ่ เป็นสมาชิกเปน็ เวลาเกนิ 10 ปขี นึ้ ไป (5) ผกู้ ซู้ ่งึ เป็นสมาชกิ เป็นเวลาเกิน 10 ปขี น้ึ ไป แตไ่ ม่เกิน 15 ปี มสี ทิ ธิได้รบั เงินกู้สามัญจานวนไมเ่ กนิ แต่ไมเ่ กิน 15 ปี มีสทิ ธไิ ด้รับเงนิ กสู้ ามญั จานวนไมเ่ กิน 90 เท่าของเงินไดร้ ายเดือน แต่ไม่เกิน 1,800,000 บาท 90 เท่าของเงินไดร้ ายเดือน แต่ไม่เกิน 1,800,000 บาท (6) ผกู้ ซู้ ง่ึ เปน็ สมาชิกเป็นเวลาเกนิ 15 ปขี ึ้นไป (6) ผกู้ ซู้ งึ่ เปน็ สมาชิกเปน็ เวลาเกนิ 15 ปขี ้ึนไป แตไ่ ม่เกิน 20 ปี มสี ทิ ธิได้รบั เงนิ ก้สู ามญั จานวนไม่เกนิ แตไ่ มเ่ กิน 20 ปี มีสิทธิได้รับเงินกู้สามญั จานวนไม่เกนิ 90 เท่าของเงนิ ได้รายเดือน แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท 90 เท่าของเงนิ ได้รายเดอื น แตไ่ ม่เกิน 2,000,000 บาท (7) ผู้กซู้ ึ่งเปน็ สมาชกิ เปน็ เวลาเกิน 20 ปขี ึน้ ไป (7) ผกู้ ู้ซ่ึงเปน็ สมาชกิ เป็นเวลาเกนิ 20 ปีขน้ึ ไป มีสทิ ธไิ ดร้ ับเงนิ กู้สามัญจานวนไมเ่ กนิ 100 เทา่ มสี ทิ ธิได้รบั เงนิ กสู้ ามัญจานวนไมเ่ กนิ 100 เท่า ของเงนิ ได้รายเดือน แต่ไม่เกิน 2,200,000 บาท ของเงินได้รายเดือน แต่ไม่เกิน 2,200,000 บาท (8) ผู้กซู้ ึ่งเปน็ สมาชิกท่ีพ้นจากการเป็นขา้ ราชการ (8) ผกู้ ู้ซ่ึงเป็นสมาชกิ ที่พ้นจากการเป็นข้าราชการ หรือเจ้าหนา้ ทสี่ หกรณห์ รอื ลูกจา้ งประจา หรอื เจา้ หน้าที่สหกรณห์ รอื ลูกจา้ งประจา ในกรมการปกครอง มีสิทธไิ ด้รบั เงินก้สู ามัญจานวน ในกรมการปกครอง มีสิทธิได้รับเงนิ กสู้ ามญั จานวน ไม่เกินร้อยละ 95 ของค่าหนุ้ และหรอื เงนิ ฝากท่ีมอี ยู่ ไมเ่ กนิ ร้อยละ 95 ของคา่ หุน้ และหรอื เงนิ ฝากที่มอี ยู่ ในสหกรณ์ เวน้ แต่สมาชิกท่ีโอนย้ายไปรับราชการ ในสหกรณ์ เว้นแตส่ มาชกิ ท่ีโอนย้ายไปรับราชการ ในสังกดั สานกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย ในสงั กดั สานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย ท่ดี ารงตาแหน่งต้ังแต่ระดับอานวยการสูงขน้ึ ไป ที่ดารงตาแหน่งตง้ั แตร่ ะดับอานวยการสูงขน้ึ ไป ให้มสี ิทธิกเู้ งนิ สามัญได้ตาม (1) ถงึ (7) ให้มสี ทิ ธิกู้เงินสามัญไดต้ าม (1) ถงึ (7)

รายงานประชมุ ชุดที่ 59 ครง้ั ท่ี 7 -5- ขอ้ ความเดมิ ขอ้ ความใหม่ (9) ผู้ก้ซู งึ่ มเี งินคา่ หุ้นสะสมในสหกรณน์ ้อยกวา่ จานวนจากัดทก่ี าหนดไว้ตามวรรคแรก เมื่อได้รับอนมุ ัติ (9) ผูก้ ู้ซง่ึ มเี งินค่าหุ้นสะสมในสหกรณ์น้อยกว่า เงนิ กแู้ ล้วตอ้ งยนิ ยอมใหส้ หกรณห์ กั เงินกดู้ งั กล่าว จานวนจากัดที่กาหนดไวต้ ามวรรคแรก เมื่อไดร้ ับอนุมตั ิ เพอื่ ชาระเงนิ คา่ หนุ้ ของผู้กู้ใหเ้ ป็นไปตามทีก่ าหนด เงินกแู้ ล้วต้องยินยอมใหส้ หกรณ์หักเงินกดู้ ังกล่าว (10) ผ้กู ู้ซง่ึ มเี งินคา่ หนุ้ และหรือเงนิ ฝาก เพอื่ ชาระเงินคา่ หนุ้ ของผู้กู้ใหเ้ ป็นไปตามท่กี าหนด ในสหกรณเ์ กนิ กว่าจานวนจากดั ใน (1) ถึง (7) คณะกรรมการดาเนนิ การอาจอนมุ ัตใิ หเ้ งนิ กู้แก่สมาชิก (10) ผู้กซู้ ่งึ มเี งินคา่ หุ้นและหรอื เงินฝาก ผูน้ น้ั ไม่เกนิ ร้อยละ 95 ของค่าห้นุ และหรือเงินฝาก ในสหกรณ์เกินกวา่ จานวนจากดั ใน (1) ถึง (7) ในสหกรณ์น้ันก็ได้ คณะกรรมการดาเนินการอาจอนุมตั ใิ หเ้ งนิ กแู้ กส่ มาชิก สมาชกิ ที่กเู้ งนิ สามัญในวงเงนิ ท่ีสหกรณ์กาหนด ผู้นนั้ ไม่เกนิ ร้อยละ 95 ของค่าหนุ้ และหรือเงินฝาก โดยมีสมาชกิ อื่นเป็นผู้ค้าประกนั ต้องทาประกันชีวิต ในสหกรณ์น้นั ก็ได้ เพอ่ื คุ้มครองเงินกูน้ ั้นกับบรษิ ัทประกนั ชวี ติ ทีส่ หกรณ์ กาหนด ท้งั น้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศของสหกรณ์ สมาชกิ ที่กเู้ งนิ สามัญในวงเงนิ ทีส่ หกรณ์กาหนด โดยในปแี รกที่กูเ้ งนิ ผู้กตู้ ้องยินยอมใหส้ หกรณ์หกั เงนิ โดยมีสมาชิกอนื่ เปน็ ผู้ค้าประกัน ตอ้ งชาระ จากเงนิ กู้ทไ่ี ดร้ ับอนมุ ตั ิเพ่ือชาระเบย้ี ประกันชวี ิต คา่ ธรรมเนียมดังต่อไปน้แี ก่สหกรณ์ ในอตั ราท่ีสหกรณ์ สาหรบั ปีต่อไปผู้กตู้ อ้ งยินยอมให้สหกรณ์หักเงินปนั ผล กาหนดโดยให้เปน็ ไปตามประกาศของสหกรณ์ และเงินเฉล่ียคืนหรือเงนิ อื่นใดของผู้กู้เพื่อชาระ เบี้ยประกันชีวติ จนครบจานวน (1) คา่ ธรรมเนียมการกเู้ งนิ สามญั โดยผู้กู้ ตอ้ งยนิ ยอมใหส้ หกรณ์หกั จากเงินกู้ที่ไดร้ ับอนุมัติ ผู้กตู้ ามวรรคแรกเม่ือได้รับอนุมตั เิ งนิ กู้แล้วตอ้ งมี เงนิ เหลือใช้จ่ายหลังจากชาระคา่ หุน้ และหน้ีทุกประเภท (2) ค่าธรรมเนยี มการใช้วงเงินก้สู ามญั โดยผู้กู้ แล้วตามท่สี หกรณ์กาหนด โดยให้เป็นไปตามประกาศ ต้องยนิ ยอมให้สหกรณ์หกั จากเงินปนั ผลและ สหกรณ์ เงินเฉลีย่ คืนหรือเงินอื่นใดของผู้กู้ ตามสดั สว่ น หนี้คงเหลอื ณ วันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี ค่าธรรมเนยี มตามวรรคก่อน ใหเ้ ปน็ รายได้ ของสหกรณ์ ผกู้ ตู้ ามวรรคแรกเมื่อไดร้ ับอนุมัติเงินก้แู ล้วต้องมี เงินเหลือใชจ้ า่ ยหลังจากชาระค่าหนุ้ และหนที้ ุกประเภท แลว้ ตามท่ีสหกรณ์กาหนด โดยให้เปน็ ไปตามประกาศ สหกรณ์ / ตาราง ...

รายงานประชุม ชดุ ท่ี 59 ครั้งท่ี 7 -6- ตารางเปรียบเทยี บการแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ระเบียบสหกรณอ์ อมทรัพย์ฯ วา่ ดว้ ยการช่วยเหลอื สมาชิกผคู้ า้ ประกนั เงนิ กู้สามญั พ.ศ. 2558 ขอ้ ความเดิม ขอ้ ความใหม่ หมวด 3 หมวด 3 วธิ ชี ว่ ยเหลือสมาชิกผคู้ ้าประกันเงนิ กู้สามัญ วธิ ชี ่วยเหลอื สมาชิกผู้ค้าประกนั เงนิ กู้สามญั ข้อ 9 ภายใตบ้ ังคบั ขอ้ 8 เมอ่ื สหกรณ์ไดน้ าเงิน ขอ้ 9 ภายใตบ้ ังคับขอ้ 8 ใหส้ หกรณ์ดาเนินการ ค่าหุ้น เงินปนั ผล เงินเฉลี่ยคนื เงินฝาก หรือเงินอนื่ ใด และจา่ ยเงนิ เพอื่ ใหค้ วามช่วยเหลอื แกส่ มาชิกผู้คา้ อนั สมาชิกผกู้ ู้เงินพึงจะไดร้ ับไปชาระหนเ้ี งนิ กู้สามัญ ประกนั เงินกู้ตามหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี้ เหลอื หนคี้ ้างชาระเปน็ จานวนเทา่ ใด ให้สหกรณจ์ ่ายเงิน เพอื่ ให้ความชว่ ยเหลือแกส่ มาชกิ ผูค้ ้าประกันเงนิ กู้ (1) กรณสี มาชกิ ผกู้ เู้ งนิ ถึงแกก่ รรมหรอื ทุพพลภาพ ตามหลักเกณฑด์ ังตอ่ ไปน้ี จนไม่สามารถปฏิบตั งิ านไดแ้ ละถูกให้ออกจากงาน ให้ความช่วยเหลือตามหลักเกณฑ์ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) กรณสี มาชกิ ผกู้ ูเ้ งินถึงแก่กรรมหรอื ทพุ พลภาพจนไม่สามารถปฏิบตั ิงานได้และถูกให้ออก (1.1) สมาชิกผ้กู เู้ งนิ ท่ีชาระคา่ ธรรมเนยี ม จากงาน สหกรณ์จะใหค้ วามช่วยเหลอื ชาระหน้ใี ห้ไม่เกิน การกเู้ งินสามัญหรือคา่ ธรรมเนยี มการใช้วงเงินกู้สามัญ รอ้ ยละ 50 ของหนี้ค้างชาระทเ่ี หลืออยู่ของสัญญา ตามระเบยี บของสหกรณ์ในรอบปีที่ถงึ แก่กรรมหรอื เงนิ กสู้ ามญั รายน้นั แต่ไม่เกิน 500,000 บาท ทพุ พลภาพจนไมส่ ามารถปฏบิ ัตงิ านไดแ้ ละถกู ใหอ้ อก จากงาน เมือ่ สหกรณน์ าเงนิ ค่าหนุ้ เงินปันผล เงินเฉลยี่ คืน อันสมาชิกผู้กู้พึงจะได้รับไปชาระหน้เี งนิ กู้ สามัญ เหลือหน้คี า้ งชาระจานวนเทา่ ใด สหกรณ์จะให้ ความช่วยเหลือชาระหนีใ้ หต้ ามจานวนหน้คี ้างชาระ ทเี่ หลอื อยู่ของสัญญาเงนิ กรู้ ายน้นั (1.2) สมาชิกผู้กู้เงนิ ท่ีไมไ่ ดช้ าระค่าธรรมเนียม การกูเ้ งินสามญั หรือค่าธรรมเนยี มการใชว้ งเงินกสู้ ามัญ ตามระเบียบสหกรณ์ในรอบปที ่ถี ึงแกก่ รรมหรอื ทพุ พล ภาพจนไมส่ ามารถปฏิบัติงานไดแ้ ละถูกให้ออกจากงาน เม่ือสหกรณน์ าเงินค่าห้นุ เงินปันผล เงินเฉลยี่ คนื เงินฝาก หรือเงนิ อื่นใด อนั สมาชกิ ผกู้ เู้ งินพึงจะได้รับ ไปชาระหน้เี งินกสู้ ามัญ เหลือหนี้คา้ งชาระเป็นจานวน เทา่ ใด สหกรณจ์ ะใหค้ วามช่วยเหลือชาระหนใ้ี หไ้ มเ่ กิน รอ้ ยละ 50 ของหนคี้ ้างชาระทเี่ หลืออยู่ของสัญญา เงินกสู้ ามญั น้ัน แตไ่ ม่เกนิ 500,000 บาท

รายงานประชมุ ชุดท่ี 59 คร้งั ที่ 7 -7- ขอ้ ความเดิม ข้อความใหม่ (2) กรณีสมาชกิ ผู้กูเ้ งินออกจากสหกรณ์ เนอื่ งจากถกู ปลดออก ไล่ออกจากราชการ (2) กรณสี มาชกิ ผู้กู้เงินออกจากสหกรณ์ หรือสหกรณ์ให้ออกจากการเปน็ สมาชกิ สหกรณ์ เนือ่ งจากถกู ปลดออก ไล่ออกจากราชการ จะใหค้ วามช่วยเหลือชาระหน้ีค้างชาระท่ีเหลืออยู่ หรือสหกรณใ์ ห้ออกจากการเป็นสมาชกิ เม่อื สหกรณ์ ของสญั ญาเงินกู้รายนัน้ ตามหลักเกณฑ์ที่ นาเงินค่าห้นุ เงนิ ปนั ผล เงินเฉลี่ยคืน เงนิ ฝาก หรอื คณะกรรมการดาเนินการกาหนด เงนิ อ่นื ใด อนั สมาชิกผู้กเู้ งนิ พงึ จะไดร้ บั ไปชาระหน้ี เงนิ กู้สามญั เหลือหนีค้ า้ งชาระเปน็ จานวนเทา่ ใด กรณีสมาชิกผู้กู้เงินอยู่ระหว่างถกู ดาเนนิ การทางวนิ ยั สหกรณ์จะใหค้ วามช่วยเหลือชาระหน้ีค้างชาระท่ี และสมาชิกผู้ค้าประกนั เงนิ กู้ประสงคจ์ ะคา้ ประกนั เหลืออยขู่ องสัญญาเงนิ กู้รายน้นั ตามหลักเกณฑ์ท่ี เงินกสู้ ามัญ หากสมาชิกผู้ก้เู งินผิดนัดชาระหน้ีไมว่ ่า คณะกรรมการดาเนนิ การกาหนด กรณีใด ๆ สมาชิกผู้คา้ ประกนั เงินกู้จะไม่ไดร้ บั ความชว่ ยเหลือตามระเบยี บน้ี กรณสี มาชิกผกู้ เู้ งนิ อยรู่ ะหว่างถกู ดาเนนิ การทางวนิ ัย และสมาชิกผู้คา้ ประกันเงนิ กู้ประสงคจ์ ะคา้ ประกัน เงนิ กู้สามัญ หากสมาชกิ ผกู้ ู้เงินผดิ นดั ชาระหนไ้ี ม่วา่ กรณใี ด ๆ สมาชกิ ผู้คา้ ประกนั เงินกูจ้ ะไม่ได้รบั ความชว่ ยเหลอื ตามระเบยี บนี้ / - รา่ ง - ...

รายงานประชมุ ชดุ ที่ 59 ครง้ั ที่ 7 -8- -- ร่าง -- ระเบยี บสหกรณอ์ อมทรพั ย์กรมการปกครอง จากดั วา่ ด้วยการใหเ้ งนิ กู้แก่สมาชิก (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... .......................... โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด วา่ ด้วย การให้เงินกู้แก่สมาชิก เพ่ือลดภาระของสมาชิกผู้กู้เงินสามัญ และปรับระบบการช่วยเหลือสมาชิกผู้ค้าประกัน เงินกู้สามัญ ให้มีความเหมาะสมมากขึ้น ดังน้ัน อาศัยอานาจตามความในข้อ 59 (13) และข้อ 83 (3) แห่งข้อบังคับสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด พ.ศ. 2543 คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ ออมทรพั ยก์ รมการปกครอง จากัด ชดุ ท.่ี . ในการประชุมคร้ังท่.ี . เมอื่ วันท่ี .................. จึงกาหนดระเบียบไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วย การให้เงินกู้แกส่ มาชกิ (ฉบบั ที.่ .) พ.ศ. ....” ข้อ 2 ระเบยี บน้ใี ห้มผี ลใช้บังคบั ตง้ั แต่วนั ท.ี่ ................................เป็นต้นไป ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ประกาศ คาส่ัง มติ และขอ้ ตกลงอ่นื ใด ซ่ึงขดั หรือแยง้ กับระเบียบนี้ ให้ใชร้ ะเบียบน้แี ทน ข้อ 4 ให้ยกเลิกความในวรรคสองและวรรคสามของข้อ 13 ของระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์ กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก พ.ศ. 2544 ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์ กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วยการให้เงนิ กู้แก่สมาชิก (ฉบับที่ 23) พ.ศ. 2560 และใหใ้ ชค้ วามต่อไปน้ีแทน “สมาชิกที่กู้เงินสามัญในวงเงินท่ีสหกรณ์กาหนดโดยมีสมาชิกอ่ืนเป็นผู้ค้าประกัน ตอ้ งชาระคา่ ธรรมเนยี มดงั ต่อไปนแ้ี กส่ หกรณ์ ในอตั ราท่ีสหกรณ์กาหนดโดยให้เป็นไปตามประกาศของสหกรณ์ (1) ค่าธรรมเนียมการกู้เงินสามญั โดยผู้กูต้ อ้ งยนิ ยอมใหส้ หกรณห์ ักจากเงนิ กู้ท่ีได้รบั อนุมตั ิ (2) ค่าธรรมเนียมการใช้วงเงินกู้สามัญ โดยผู้กู้ต้องยินยอมให้สหกรณ์หัก จาก เงินปนั ผลและเงินเฉล่ียคนื หรือเงนิ อื่นใดของผูก้ ู้ ตามสดั ส่วนหนี้คงเหลือ ณ วันที่ 31 ธนั วาคม ของทกุ ปี ค่าธรรมเนยี มตามวรรคกอ่ น ใหเ้ ปน็ รายได้ของสหกรณ์ ผู้กู้ตามวรรคแรกเมื่อได้รับอนุมัติเงินกู้แล้วต้องมีเงินเหลือใช้จ่ายหลังจากชาระค่าหุ้น และหนท้ี ุกประเภทแลว้ ตามท่ีสหกรณก์ าหนด โดยใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศสหกรณ์” ประกาศ ณ วันท่ี ... เดอื น ................ พ.ศ. .... ประธานกรรมการสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด / ระเบียบ ...

รายงานประชมุ ชดุ ท่ี 59 ครงั้ ท่ี 7 -9- -- ร่าง -- ระเบยี บสหกรณอ์ อมทรพั ย์กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วยการช่วยเหลือสมาชกิ ผ้คู า้ ประกนั เงินกู้สามญั (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... .......................... โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากดั ว่าด้วย การช่วยเหลือสมาชิกผู้ค้าประกันเงินกู้สามัญ เพื่อเพิ่มความคุ้มครองและบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิก ผู้ค้าประกันเงินกู้สามัญให้มากขึ้น อาศัยอานาจตามความในข้อ 59 (13) และข้อ 83 (11) แห่งข้อบังคับ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด พ.ศ. 2543 ประกอบกับข้อ 6 แห่งระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์ กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วยกองทุนสวัสดิการสงเคราะห์สมาชิกและครอบครวั พ.ศ. 2547 คณะกรรมการ ดาเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด ชุดที่.. ในการประชุมครั้งท่ี.. เม่ือวันท่ี 25 สิงหาคม 2560 จงึ กาหนดระเบียบไว้ ดงั น้ี ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วย การช่วยเหลือสมาชิกผ้คู ้าประกนั เงินกู้สามัญ (ฉบบั ท่.ี .) พ.ศ. ....” ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้มผี ลใช้บงั คบั ตงั้ แต่วันที่.................................เป็นตน้ ไป ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ประกาศ คาส่ัง มติ และข้อตกลงอ่ืนใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับระเบียบน้ี ใหใ้ ชร้ ะเบียบนแี้ ทน ข้อ 4 ให้ยกเลิกความในข้อ 9 ของระเบยี บสหกรณอ์ อมทรัพยก์ รมการปกครอง จากัด วา่ ด้วย การช่วยเหลือสมาชกิ ผู้คา้ ประกันเงนิ กู้สามัญ พ.ศ. 2558 และใหใ้ ชค้ วามต่อไปน้ีแทน “ขอ้ 9 ภายใตบ้ ังคับข้อ 8 ให้สหกรณ์ดาเนนิ การและจ่ายเงิน เพอ่ื ใหค้ วามช่วยเหลือแก่ สมาชิกผูค้ า้ ประกันเงินกู้ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปน้ี (1) กรณีสมาชิกผู้กู้เงินถึงแก่กรรมหรือทุพพลภาพจนไม่สามารถปฏิบัติงานได้ และถูกให้ออกจากงาน ให้ความช่วยเหลอื ตามหลักเกณฑด์ ังตอ่ ไปนี้ (1.1) สมาชิกผู้กู้เงินที่ชาระค่าธรรมเนียมการกู้เงินสามัญหรือค่าธรรมเนียม การใช้วงเงินกู้สามัญตามระเบียบของสหกรณ์ในรอบปีที่ถึงแก่กรรมหรือทุพพลภาพจนไม่สามารถปฏิบัติงานได้ และถูกให้ออกจากงาน เม่ือสหกรณ์นาเงินค่าหุ้น เงินปันผล เงินเฉลี่ยคืน อันสมาชิกผู้กู้พึงจะได้รับไปชาระหนี้ เงินกู้สามัญ เหลือหนี้ค้างชาระจานวนเท่าใด สหกรณ์จะให้ความช่วยเหลือชาระหน้ีให้ตามจานวนหนี้ค้างชาระ ท่เี หลอื อยู่ของสัญญาเงนิ กูร้ ายน้นั (1.2) สมาชิกผู้กเู้ งินที่ไม่ได้ชาระคา่ ธรรมเนียมการกู้เงินสามญั หรือค่าธรรมเนียม การใช้วงเงินกู้สามัญตามระเบียบสหกรณ์ในรอบปีท่ีถึงแก่กรรมหรือทุพพลภาพจนไม่สามารถปฏิบัติงานได้ และถูกให้ออกจากงาน เม่ือสหกรณ์นาเงินค่าหุ้น เงินปันผล เงินเฉล่ียคืน เงินฝาก หรือเงินอ่ืนใด อันสมาชิกผู้กู้ เงินพึงจะได้รับไปชาระหน้ีเงินกู้สามัญ เหลือหน้ีค้างชาระเป็นจานวนเท่าใด สหกรณ์จะให้ความช่วยเหลือชาระหนี้ให้ ไมเ่ กินร้อยละ 50 ของหนีค้ ้างชาระทีเ่ หลืออยูข่ องสญั ญาเงนิ กู้สามญั นัน้ แตไ่ ม่เกนิ 500,000 บาท / (2) กรณสี มาชิก ...

รายงานประชุม ชุดที่ 59 ครง้ั ท่ี 7 - 10 - (2) กรณีสมาชิกผู้กู้เงินออกจากสหกรณ์เน่ืองจากถูกปลดออก ไล่ออกจากราชการ หรือสหกรณ์ให้ออกจากการเป็นสมาชิก เม่ือสหกรณ์นาเงินค่าหุ้น เงินปันผล เงินเฉล่ยี คืน เงินฝาก หรือเงินอ่ืนใด อันสมาชกิ ผู้กู้เงินพึงจะได้รบั ไปชาระหนี้เงินกู้สามัญ เหลือหนค้ี ้างชาระเป็นจานวนเท่าใด สหกรณ์จะให้ความช่วยเหลือ ชาระหนี้คา้ งชาระที่เหลืออยู่ของสัญญาเงนิ กู้รายนนั้ ตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการดาเนินการกาหนด กรณีสมาชิกผู้กู้เงินอยู่ระหว่างถูกดาเนินการทางวินัย และสมาชิกผู้ค้าประกัน เงินกู้ประสงค์จะค้าประกันเงินกู้สามัญ หากสมาชิกผู้กู้เงินผิดนัดชาระหนี้ไม่ว่ากรณีใด ๆ สมาชิกผู้ค้าประกัน เงินกู้จะไม่ได้รบั ความช่วยเหลือตามระเบียบน้ี” ประกาศ ณ วนั ท่ี ... เดอื น ................ พ.ศ. .... ประธานกรรมการสหกรณ์ออมทรพั ย์กรมการปกครอง จากัด / - ร่าง - ...

รายงานประชมุ ชุดท่ี 59 ครงั้ ที่ 7 - 11 - --- รา่ ง --- ประกาศสหกรณอ์ อมทรพั ยก์ รมการปกครอง จากดั เรือ่ ง อตั ราคา่ ธรรมเนยี มในการกเู้ งนิ สามัญ ..................................... อาศัยอานาจตามความในข้อ 6 แห่งระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก (ฉบับท่ี ...) พ.ศ. .... ประกอบกับมติที่ประชุมคณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด ชุดที่ .. ในการประชุมคร้ังท่ี .. เมื่อวันที่.................................. จึงกาหนด อัตราค่าธรรมเนียมในการกู้เงินสามัญ สาหรับสมาชิกผู้กู้เงินสามัญท่ีมีสมาชิกอ่ืนเป็นผู้ค้าประกัน วงเงินต้ังแต่ 500,000 บาทขน้ึ ไป ในอัตราต่อไปนี้ คา่ ธรรมเนียม อตั รา หมายเหตุ การกู้เงนิ สามัญ (ต่อวงเงนิ กู้ 100,000 บาท) 400 บาท - หักจากเงนิ กู้ท่ีไดร้ ับอนุมตั ิ การใช้วงเงนิ กู้สามัญ 400 บาท - หักจากเงินปันผล/เงนิ เฉลีย่ คืน/เงนิ อน่ื ใด ทุก ๆ ปี จนกว่าหนค้ี งเหลอื นอ้ ยกว่า 500,000 บาท ท้งั น้ี ตง้ั แต่วนั ท่ี ....................................................... เป็นต้นไป จงึ ประกาศให้สมาชกิ ทราบโดยทั่วกนั ประกาศ ณ วันท่ี ... เดือน ................ พ.ศ. .... ประธานกรรมการสหกรณ์ออมทรพั ย์กรมการปกครอง จากัด / ระเบียบวาระท่ี ...

รายงานประชุม ชดุ ที่ 59 ครัง้ ท่ี 7 - 12 - ระเบียบวาระที่ 4 รายงานผลการดาเนนิ งาน เลขานุการ สรุปรายงานผลการดาเนนิ งานของสหกรณฯ์ ประจาเดอื นกรกฎาคม 2564 ดงั นี้ 1. จานวนสมาชิก 1.1 ณ วนั ท่ี 21 กรกฎาคม 2564 มีสมาชิก จานวน 23,105 ราย ประกอบดว้ ย ที่ รายละเอียด จานวน (ราย) 1 ข้าราชการสังกดั กรมการปกครอง 13,737 2 พนกั งานราชการ 1,104 3 ลกู จ้าง 336 4 ข้าราชการบานาญ 5,817 5 ขา้ ราชการสงั กดั หนว่ ยงานอ่นื 2,111 1.2 ในเดือนกรกฎาคม 2564 ประธานกรรมการไดอ้ นุมัติให้รับสมาชิกใหม่ จานวน 38 ราย ไดร้ บั เงินคา่ ธรรมเนียมแรกเข้า เปน็ เงนิ 4,200.- บาท ประกอบดว้ ย ท่ี รายละเอียด จานวน คา่ ธรรมเนียม (ราย) (บาท) 1 ข้าราชการ (สมัครใหม)่ 2,800 2 ข้าราชการ (ลาออกฯ สมคั รใหม)่ 28 600 3 พนกั งานราชการ (สมคั รใหม)่ 2 800 8 1.3 ในเดือนกรกฎาคม 2564 ประธานกรรมการได้อนุมัติให้สมาชิกพ้นจาก สมาชิกภาพ และฝ่ายจัดการได้ดาเนินการในเรื่องการเงินเรียบร้อยแล้ว จานวน 24 ราย เป็นเงิน 8,396,080.32 บาท ด้วยเหตผุ ลดังน้ี ที่ รายการ จานวน จ่ายคนื เงินค่าหนุ้ (ราย) (บาท) 1 ถึงแกก่ รรม 7 3,588,371.92 2 ลาออกจากราชการ 4 22,843.16 3 หุ้นใชจ้ ่ายด้านอน่ื 7 1,934,142.94 4 เกษียณ 5 1,761,282.30 5 ขาดจากสมาชกิ ภาพตามข้อบังคับสหกรณ์ 1 1,089,440.- 2. สมาชิกสมทบ ณ วันท่ี 21 กรกฎาคม 2564 มีจานวนทงั้ สิน้ 587 ราย 3. สรปุ ผลการดาเนนิ งานสาหรับเดือนมกราคม – มิถุนายน 2564 สหกรณ์ฯ ได้ทาการปิดบัญชีเพื่อแสดงผลการดาเนินงานถึงเดือนมิถุนายน 2564 เสร็จเรียบร้อยแล้ว ปรากฏว่า มีรายได้ รวมเป็นเงิน 469,458,772.99 บาท ค่าใช้จ่าย รวมเป็นเงิน 144,254,468.42 บาท มกี าไรโดยประมาณ 325,204,304.57 บาท / สรุปผล ...

รายงานประชุม ชุดท่ี 59 ครง้ั ที่ 7 - 13 - สรุปผลการดาเนินงานและฐานะทางการเงนิ สหกรณอ์ อมทรัพยก์ รมการปกครอง จากัด งบกาไรขาดทนุ (ฉบับย่อ) สาหรบั ประจาเดือนมิถนุ ายน 2564 รายได้ รายได้ – สานักงาน มิถนุ ายน 2564 มกราคม – มิถนุ ายน รายได้ – สัมมนาคาร (บาท) (บาท) รวมรายได้ 76,409,400.23 467,622,427.74 257,370.05 1,836,300.25 76,666,770.28 469,458,772.99 คา่ ใช้จา่ ย คา่ ใช้จ่าย – สานักงาน 19,435,594.80 143,016,834.76 คา่ ใชจ้ ่าย – สัมมนาคาร 201,819.60 1,237,633.66 รวมค่าใชจ้ า่ ย กาไรโดยประมาณ 19,637,414.40 144,254,468.42 57,029,355.88 325,204,304.57 4. ทนุ ดาเนินงานของสหกรณ์ฯ ณ วันที่ 30 มิถนุ ายน 2564 สหกรณ์ฯ มที ุนดาเนนิ งานท้ังสน้ิ 17,093.09 ล้านบาท งบแสดงฐานะการเงิน (ฉบับย่อ) ณ วันท่ี 30 มถิ ุนายน 2564 สินทรัพย์ (บาท) หน้ีสนิ และทนุ (บาท) เงนิ สดและเงินฝากธนาคาร 296,411,311.55 เงินรับฝาก 7,488,803,658.50 เงนิ ฝากสหกรณ์อืน่ 2,020,041,000.- ทุนเรือนหนุ้ 7,828,989,970.- เงนิ ลงทนุ ทนุ สารอง 1,176,417,869.78 เงนิ ใหก้ ูย้ มื 356,298,500.- ทุนสะสม ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ 14,408,351,109.88 หน้สี ินอนื่ ๆ 170,186,993.16 สนิ ทรัพยอ์ ื่น ๆ กาไรโดยประมาณ 103,486,846.55 8,626,926.57 325,204,304.57 รวมสินทรัพย์ 3,360,794.56 รวมหนี้สนิ และทนุ 17,093,089,642.56 17,093,089,642.56 / ตาราง ...

รายงานประชมุ ชดุ ท่ี 59 ครัง้ ที่ 7 - 14 - ตารางแสดงการเปรยี บเทยี บกาไรขาดทุน ปี 2563 - 2564 เดือน ปี 2563 ปี 2564 ทาไดจ้ ริง ทาไดจ้ ริง มกราคม ประมาณการ ทาได้จรงิ สงู / ต่า กมุ ภาพันธ์ 54,567,067.56 มีนาคม 43,736,064.46 55,687,601 57,844,167.19 2,156,566.19 เมษายน 54,462,588.91 พฤษภาคม 49,640,298.97 38,100,816 40,297,961.11 2,197,145.11 มถิ ุนายน 55,873,652.94 53,792,951.97 54,492,375 59,430,024.24 4,937,649.24 รวม 312,072,624.81 กรกฎาคม 72,023,796.75 53,087,082 51,841,408.49 (1,245,673.51) สงิ หาคม 56,053,944.67 กันยายน 55,468,644.07 55,317,902 58,761,387.66 3,443,485.66 ตลุ าคม 54,041,919.37 พฤศจิกายน 59,374,060.97 76,023,180 570,029,355.88 (18,993,824.12) ธันวาคม 60,860,813.69 669,895,804.33 332,708,956 325,204,304.57 (7,504,651.43) รวม 55,994,353 58,743,228 56,098,027 50,838,576 57,584,105 58,991,075 670,958,320 ตารางเปรียบเทียบคา่ ใชจ้ ่าย ระหว่างปี 2563 - 2564 (เดือนมกราคม - มิถุนายน) บัญชคี ่าใช้จา่ ย (สานักงาน) ปี 2564 ปี 2563 สูง / ตา่ ดอกเบีย้ จา่ ย 96,947,720.75 97,369,994.46 (422,273.71) เงินเดือน 8,819,024.00 8,685,916.00 133,108.00 ค่าตอบแทน 6,426,419.10 6,746,666.50 (320,247.40) คา่ ใชส้ อย 29,133,872.28 29,226,223.88 (92,351.60) ค่าวัสดุ ฯ 1,177,548.91 (481,184.59) ค่าสาธารณูปโภค 696,364.32 (192,825.07) ค่าเส่ือมราคา 451,634.31 644,459.38 (54,085.00) รวม 541,800.00 595,885.00 143,016,834.76 144,446,694.13 (1,429,859.37) บัญชีคา่ ใชจ้ า่ ย (สัมมนาคาร) ปี 2564 ปี 2563 สงู / ต่า เงินเดอื น 335,299.00 445,222.00 (109,923.00) ค่าตอบแทน 65,002.00 35,143.00 29,859.00 ค่าใช้สอย 342,399.04 579,078.76 (236,679.72) คา่ วัสดุ ฯ 33,245.48 71,495.62 (38,250.14) ค่าสาธารณปู โภค 335,688.14 339,408.36 (3,720.22) คา่ เสอ่ื มราคา 126,000.00 228,600.00 (102,600.00) รวม (461,314.08) รวมคา่ ใชจ้ า่ ยท้ังส้ิน 1,237,633.66 1,698,947.74 144,254,468.42 146,145,641.87 (1,891,173.45) / 5. บทวเิ คราะห์ ...

รายงานประชมุ ชุดท่ี 59 ครงั้ ที่ 7 - 15 - 5. บทวเิ คราะห์งบการเงิน เดือนมกราคม – มถิ ุนายน 2564 (ระยะเวลา 6 เดอื น) (เสนอโดย... คณะผูส้ อบบัญชี) นายชัชวาล เงินนาก คณะผู้สอบบัญชี (บริษัท สานักงานสามสิบส่ีออดิต จากัด) ได้จัดทาบทวิเคราะห์ งบการเงิน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564 เพ่ือใช้เปรียบเทียบข้อมูล/วิเคราะห์งบการเงินที่สาคัญของสหกรณ์ฯ ที่จะประเมินการบริหารงานของคณะกรรมการและฝ่ายบรหิ าร ฐานะทางการเงินและผลที่จะเกิดข้ึนในอนาคต รวมท้ังเปน็ เคร่ืองมือกลน่ั กรองประกอบการออม การลงทุนซ้ือหนุ้ เพ่ิมหรือวเิ คราะหค์ วามเสี่ยง เพือ่ เปรยี บเทยี บ ขอ้ มูลและอัตราสว่ นถัวเฉลี่ยของสหกรณ์ออมทรัพย์อ่ืนท้ังระบบท่ัวประเทศทีม่ ีขนาดเดียวกัน (ขนาดใหญ่พิเศษ) ณ ปี 2563 (PEER GROUP 2020) ซ่งึ ปรากฏผลตามบทวิเคราะห์ฯ ดังน้ี 1. ผลการวิเคราะห์ความเส่ียงทางการเงนิ 1.1 หลกั เกณฑ์ทีใ่ ช้ในการจัดขนาดของสหกรณอ์ อมทรัพย์กรมการปกครอง จากดั สหกรณอ์ อมทรัพย์กรมการปกครอง จากดั ไดร้ บั การจัดเป็นสหกรณ์ขนาด “ใหญพ่ เิ ศษ” * ใหญพ่ ิเศษ หมายถึง คะแนนรวมระหว่าง 16.05 - 20.00 ใหญม่ าก หมายถงึ คะแนนรวมระหว่าง 12.10 - 16.04 ใหญ่ หมายถงึ คะแนนรวมระหวา่ ง 8.13 - 12.09 กลาง หมายถงึ คะแนนรวมระหวา่ ง 4.17 - 8.12 รายการ คะแนน สหกรณ์ออมทรัพย์ ใหญ่พเิ ศษ ใหญม่ าก ใหญ่ ของแตล่ ะ กรมการปกครอง จากัด 16.05 12.10 8.13 1. จานวนสมาชิก (หน่วย:คน) ถึง มากกว่า 20,948 – 33,778 หัวขอ้ จานวน คะแนนทีไ่ ด้ ถึง ถึง 12.09 มากกว่า 33,779 – 54,469 20.00 16.04 มากกว่า 54,469 3.60 3.80 23,675 3.60 - - - 2. ทนุ ดาเนนิ งาน (หน่วย:ลา้ นบาท) 4.00 - - - -- มากกวา่ 7,876.00 – 14,825.00 - - - -- มากกว่า 14,825.00 – 27,900.00 8.10 มากกว่า 27,900.00 8.55 - - - -- 9.00 16,093 8.55 - - - 3. รายได้ธุรกจิ หลัก (หน่วย:ล้านบาท) มากกว่า 195.85 – 359.00 6.30 - - - -- มากกวา่ 359.00 – 658.50 6.65 มากกว่า 658.50 7.00 - - - -- 465 6.65 - - - รวมคะแนนทไ่ี ด้ - - - -- 18.80  - - 1.2 อัตราส่วนท่ีสาคัญของสหกรณ์ออมทรัพย์เฉล่ียโดยรวมเปรียบเทียบกับสหกรณ์ ออมทรพั ย์กรมการปกครอง จากดั มผี ลการดาเนินงานและฐานะการเงินโดยรวมอยู่ในระดับ “ดีมาก” *ดมี าก หมายถึง ดกี วา่ ค่าเฉลยี่ ของสหกรณอ์ น่ื ในระดับเดียวกนั ดี หมายถงึ มคี ่าเท่ากับหรือใกลเ้ คยี งกับค่าเฉลยี่ ของสหกรณ์อ่ืนในระดับเดียวกัน พอใช้ หมายถงึ นอ้ ยกวา่ ค่าเฉลย่ี ของสหกรณอ์ ่นื ในระดบั เดยี วกัน

รายงานประชมุ ชุดที่ 59 คร้งั ที่ 7 - 16 - รายการ การ หน่วย สหกรณ์ออมทรัพย์ อตั ราส่วนสหกรณอ์ อมทรัพยเ์ ฉลยี่ ดี ดี พอ แปลผล กรมการปกครอง จากัด ขนาดใหญ่พิเศษ มาก ใช้ (Peer Group) ปี 2564 ปี 2563 ปี 2563 ไตรมาส 2** 1. ดา้ นความเพยี งพอของเงนิ ทนุ นอ้ ยดี เท่า 0.80 0.79 1.15 1.15  - - ต่อความเสี่ยง มากดี เท่า 0.07 0.07 0.04 0.04  - - มากดี รอ้ ยละ 2.61 2.89 3.25 1.63  - - 1.1 อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน มากดี รอ้ ยละ 3.40 3.39 6.91 3.46 -  - 1.2 อัตราส่วนทุนสารองต่อสินทรัพย์ มากดี รอบ 0.03 0.03 0.06 0.03 -  - 1.3 อตั ราการเติบโตของหนี้(เงินรับฝาก) ** มากดี ร้อยละ 1.91 1.91 3.18 1.59  - - 1.4 อัตราผลตอบแทนตอ่ ส่วนของทุน ** มากดี ร้อยละ 0.43 0.64 5.00 2.50 - -  2. ด้านคณุ ภาพของสนิ ทรพั ย์ มากดี บาท/คน 13,736.19 13,194.34 31,766.18 15,883.09 -  - มากดี บาท/คน 648,881.57 623,815.48 784,010.09 784,010.09 -  - 2.1 อัตราการหมุนของสินทรัพย์ ** น้อยดี บาท/คน 611,022.69 610,319.57 696,368.36 696,368.36 -  - 2.2 อตั ราผลตอบแทนตอ่ สินทรัพย์ ** มากดี ร้อยละ 2.3 อตั ราการเติบโตของสินทรัพย์ ** มากดี ร้อยละ 6.61 6.90 8.34 8.34 - -  3. ด้านการทากาไร มากดี รอ้ ยละ 4.21 (3.90) 4.02 2.01  - - 3.1 กาไรต่อสมาชิก ** 69.96 68.62 57.27 57.27  - - 3.2 เงินออมต่อสมาชิก มากดี เท่า 3.3 หนสี้ ินต่อสมาชกิ 0.59 0.51 0.44 0.44  - - 3.4 อัตราการเติบโตของทุนสารอง 3.5 อัตราการเติบโตของกาไรสุทธิ 3.6 อัตรากาไรสุทธิ 4. ด้านสภาพคลอ่ ง อตั ราส่วนทุนหมุนเวียน ** ข้อมูลและอัตราส่วนถัวเฉลี่ยของสหกรณ์ออมทรัพย์เฉลี่ย ปี 2563 (PEER GROUP 2020) ท่ีนาข้อมูลพ้ืนฐานมาจากกรมตรวจบัญชี สหกรณ์ตามรายละเอยี ดผลการวเิ คราะห์ ได้ผันแปรไปตามชว่ งระยะเวลา 6 เดอื น 2.1) ความเพียงพอของเงินลงทนุ ตอ่ ความเสย่ี ง สหกรณ์ฯ มีอัตราส่วนด้านความเพียงพอของเงินลงทุนต่อความเส่ียง โดยรวม อยู่ในเกณฑ์ดีมาก โดยมีอัตราส่วนหน้ีสินต่อทุน อัตราส่วนทุนสารองต่อสินทรัพย์ และอัตราการเติบโตของหนี้ (เงินรับฝาก) อยู่ในเกณฑ์ท่ีดีกว่าหรือสูงกว่าค่าเฉล่ีย อีกทั้งอัตราส่วนอ่ืนอยู่ในระดับท่ีใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ย โดยรวมของสหกรณ์ออมทรัพย์อ่ืนท่ีมีขนาดเดียวกัน เหล่าน้ีแสดงให้เห็นว่าสหกรณ์ฯ มีทุนหมุนเวียน ท่ีใช้ดาเนินงานโดยรวมเพียงพอต่อการดาเนินงานและความเส่ียงที่สหกรณ์ฯ ต้องเผชิญอยู่ ซ่ึงจะทาให้สหกรณ์ฯ สามารถบริหารงานได้อย่างมน่ั คงและย่ังยนื 2.2) คณุ ภาพของสินทรัพย์ สหกรณ์ฯ สามารถบริหารจัดการสินทรัพย์ให้มีคุณภาพ โดยรวมอยู่ในเกณฑ์ดี โดยเฉพาะอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์อยู่ในเกณฑ์ท่ีดีมาก อย่างไรก็ตามสหกรณ์ฯ ต้องมุ่งเน้นด้านกลยุทธ์ ที่จะช่วยเสริมสร้างให้สหกรณ์ฯ มีอัตราการเติบโตของสินทรัพย์เพ่ิมข้ึนอย่างย่ังยืน ท้ังน้ี เพื่อจะนามาซ่ึงความ มัน่ คงต่อสหกรณ์ฯ และทาใหไ้ ดร้ ับประโยชน์สูงสดุ จากการบริหารสินทรัพย์ของสหกรณ์ และเพื่อนามาใช้ในการ ดาเนนิ งานของสหกรณฯ์ ในอนาคต / 2.3) การทากาไร ...

รายงานประชุม ชดุ ท่ี 59 ครง้ั ที่ 7 - 17 - 2.3) การทากาไร 2.3.1) อตั ราส่วนต่อสมาชกิ ผลการดาเนินงานตอ่ สมาชกิ ในปีปัจจุบนั แสดงให้เหน็ วา่ สหกรณ์ฯ มีอัตราส่วน กาไรสุทธิต่อสมาชิก และอัตราส่วนเงินออมต่อสมาชิกเพิ่มข้ึนจากปีก่อน แต่ยังคงมากกว่าอัตราส่วนเฉลี่ย โดยรวม สาเหตุเกิดจากสหกรณ์ฯ มีนโยบายปรับลดเพดานเงินรับฝากของสมาชิกลดลงจากเดิมฝากได้ไม่เกิน 100,000.- บาทต่อเดือน เป็นฝากได้ไม่เกิน 50,000.- บาทต่อเดือน ซึ่งการลดลงดังกล่าวมิได้เกิดจากการท่ี สมาชิกขาดความเชอ่ื ม่ันในสหกรณ์ฯ แต่ลดลงเพราะนโยบายการบริหารงานของสหกรณ์ฯ ซ่ึงถือว่าอยู่ในระดับ เหมาะสม ในขณะที่อัตราการเติบโตของหน้ีสินต่อสมาชิกอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ย แต่อย่างไรก็ตาม สหกรณ์ฯ ตอ้ งระมัดระวังการให้สินเชื่อตอ่ สมาชิกแตล่ ะราย เพ่ือไม่ให้สมาชกิ กอ่ หนส้ี ินจนเกินกวา่ ความสามารถ ในการจ่ายชาระของสมาชิกแต่ละคนได้ อีกทั้งสหกรณ์ฯ ควรมีการเร่งรัดติดตามการชาระหนี้ของสมาชิก อย่างใกล้ชิด เพื่อรกั ษาผลประโยชนข์ องสมาชกิ ส่วนใหญ่ 2.3.2) อัตราส่วนผลการดาเนินงานโดยรวม ผลการดาเนินงานในปีปัจจุบันยังแสดงให้เห็นว่าสหกรณ์ฯ มีผลการดาเนินงาน โดยรวมอยู่ในเกณฑ์ท่ีดีมาก โดยมีอัตราการเติบโตของกาไรสุทธิอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก อย่างไรก็ตาม สหกรณ์ฯ ต้องวางแผนการบรหิ ารงานใหม้ อี ัตราการเตบิ โตของทุนสารองให้สงู ข้ึนอย่างสมา่ เสมอ อันจะนามาซึ่งความมั่นคง ของสหกรณ์ฯ และผลการดาเนินงานที่ดีในระยะยาว ทั้งน้ี ต้องอยู่บนพื้นฐานท่ีว่าจุดมุ่งหมายสูงสุดของสหกรณ์ฯ คือ มอบความเป็นอยู่ที่ดีและความพึงพอใจแก่มวลสมาชิก มิใช่มุ่งแต่หารายได้และผลตอบแทนจากสมาชิก เพยี งอย่างเดียว 2.4) สภาพคล่อง (Liquidity) สหกรณ์ฯ มีอัตราส่วนทุนหมุนเวียนเพ่ิมขึ้นจากปีก่อน และยังคงมากกว่าอัตราส่วน เฉล่ียโดยรวม แสดงให้เห็นว่า สหกรณ์ฯ มีการรักษาสภาพคล่องไว้ได้ในระดับที่ดีมากและเหมาะสมกับ ความจาเป็นในการใช้เงิน อย่างไรก็ตาม สหกรณ์ฯ ยังคงต้องมีการกาหนดกลยุทธ์และวางแผนเพ่ือรักษาระดับ ปริมาณทุนหมุนเวียนและสภาพคล่องให้อยู่ในระดับท่ีเหมาะสมอยู่เสมอ อีกทั้งต้องไม่เสียประโยชน์ในการ นาสภาพคลอ่ งคงเหลอื ไปก่อให้เกิดผลตอบแทนแกส่ หกรณฯ์ 2.5) สรปุ ผลการวิเคราะห์ ผลการดาเนินงานของสหกรณ์ฯ อยู่ในระดับ “ดีถึงดีมาก” เมื่อเปรียบเทียบกับ อัตราส่วนเฉลี่ยโดยรวมของสหกรณ์ที่มีขนาดใหญ่พิเศษ 2563 (Peer Group 2020) ที่นามาวิเคราะห์ โดยสหกรณ์ฯ ยังคงมีความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยงและความสามารถในการทากาไรอยู่ในระดับ ที่ดีมาก มีการบริหารสินทรัพย์ได้อย่างเหมาะสม และมีการรักษาสภาพคล่องได้เพียงพอต่อการบริหารงาน ทั้งนี้ สหกรณ์ฯ จะต้องเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารงาน และต้องติดตามสภาวะเศรษฐกิจทั้งใน ประเทศ ต่างประเทศ และในวงการสหกรณ์ฯ อย่างใกล้ชิดเพ่ือนามาใช้ในการวางแผนและการบริหารงาน รวมถึงเพื่อนามาใช้ป้องกันความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ อันจะนาไปสู่ความผาสุกแก่มวลสมาชิกอย่างยั่งยืน ต่อไป เสนอทีป่ ระชมุ เพอ่ื โปรดทราบ มติท่ีประชมุ รับทราบ / ระเบียบวาระท่ี ...

รายงานประชุม ชดุ ที่ 59 ครั้งท่ี 7 - 18 - ระเบยี บวาระท่ี 5 รายงานผลการตรวจสอบของผู้ตรวจสอบกจิ การ เลขานกุ าร ตามที่สหกรณ์ฯ ได้จัดประชุมใหญ่สามัญ ประจาปี 2563 เม่ือวันเสาร์ที่ 30 มกราคม 2564 แจ้งผลการเลือกต้ังผู้ตรวจสอบกิจการด้วยวิธีสรรหาตามระเบียบสหกรณ์ฯ แล้ว และได้ ประกาศรายชือ่ ผู้ได้รบั เลอื กตั้ง จานวน 2 คน เปน็ ผู้ตรวจสอบกิจการ ประจาปี 2564 อานาจหน้าที่ของผู้ตรวจสอบกิจการตามข้อบังคับสหกรณ์ฯ ข้อ 80(1)-(6) กาหนดให้ผู้ตรวจสอบกิจการเสนอรายงานผลการตรวจสอบประจาเดือนต่อคณะกรรมการดาเนินการในการ ประชุมประจาเดอื นคราวถัดไป แล้วเสนอผลการตรวจสอบประจาปีต่อทป่ี ระชมุ ใหญ่สามัญของสหกรณด์ ้วย คณะผู้ตรวจสอบกิจการ ได้ทาการตรวจสอบกิจการ (โดยวิธีสุ่มตรวจ) ประจาเดือน มิถนุ ายน 2564 ดังน้ี วตั ถุประสงคข์ องการตรวจสอบ ขอบเขตการตรวจสอบ (โดยการสมุ่ ตรวจ) 1. เพอ่ื ตรวจสอบการปฏิบัตงิ านดา้ นการเงินและบญั ชี 1. ตรวจนบั เงนิ สดคงเหลอื ณ วันท่ี 12 กรกฎาคม 2564 2. เพ่อื ตรวจสอบการบริหารงานของคณะกรรมการดาเนนิ การ และเงนิ ฝากธนาคารต่าง ๆ 3. เพ่ือตรวจสอบการดาเนินงานอน่ื ๆ ของสหกรณ์ 2. ตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานต่าง ๆ ประกอบการรบั – จ่าย ตลอดจนการดาเนินการตามแผนงานและงบประมาณท่ีกาหนดไว้ 3. ตรวจสอบการดาเนินงานตามระเบียบ ข้อบงั คับ และมตทิ ีป่ ระชมุ ผลการตรวจสอบ/ขอ้ เสนอแนะ ท่ี ผลการตรวจสอบ/ข้อเสนอแนะ 1 การตรวจนับเงินสด เม่ือวนั ที่ 12 กรกฎาคม 2564 (รายงานยอดเงินคงเหลอื ของวันที่ 9 กรกฎาคม 2564) พบว่า สหกรณ์มีเงินสดคงเหลือในมอื จานวน 86,436.86 บาท ถูกตอ้ งตรงตามบญั ชีในวนั ตรวจนับเงินสด ซง่ึ ไมเ่ กินระเบยี บสหกรณ์ฯ ท่ีกาหนดไว้ คอื ถือเงินสดในแตล่ ะวันไดไ้ มเ่ กินวันละ 150,000 บาท) 2 เงนิ ฝากธนาคารต่าง ๆ มียอดเงินคงเหลือ ในงบทดลอง ณ สน้ิ เดอื นมิถุนายน 2564 ตรงกบั สมดุ บญั ชีเงินฝากของธนาคาร 3 ตรวจสอบการนาเงนิ ไปลงทุนกบั สหกรณ์ออมทรัพย์ครมู ุกดาหาร จากัด จานวน 50 ลา้ นบาท ฝากเงินเมื่อวนั ท่ี 16 มถิ ุนายน 2564 ไดร้ บั อตั ราดอกเบ้ยี รอ้ ยละ 3.50 ต่อปี จ่ายดอกเบย้ี ทกุ เดือน เปน็ ไปตามมติที่ประชมุ คณะอนุกรรมการ นโยบายการบรหิ ารการเงนิ ฯ ซงึ่ ได้อนุมตั ใิ ห้นาเงนิ เหลือจ่ายจากการดาเนนิ งานไปลงทุนกบั สหกรณฯ์ ดงั กล่าว มตทิ ีป่ ระชมุ เสนอที่ประชมุ เพ่ือโปรดทราบ รับทราบ / ระเบยี บวาระที่ ...

รายงานประชุม ชุดที่ 59 ครงั้ ท่ี 7 - 19 - ระเบยี บวาระท่ี 6 เรื่องเพอื่ พิจารณา เลขานุการ เสนอโดยคณะอนุกรรมการเงินกู้ 6.1 มาตรการให้ความช่วยเหลอื สมาชิก จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID – 19) ทาใหเ้ กิดผลกระทบต่อสมาชิกเป็นจานวนมากมาอย่างต่อเนื่องนนั้ ขอ้ เสนอ/ความเห็นของฝ่ายจัดการ เพื่อเป็นการช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิกและครอบครั ว ประกอบกับสหกรณ์มีเงินทุนหมุนเวียนประมาณ 200.- ล้านบาท จึงเห็นควรพิจารณากาหนดให้มีมาตรการ ให้ความชว่ ยเหลอื สมาชกิ ดังน้ี ท่ี มาตรการ 1 การขยายวงเงินก้สู ามัญ 2 เปดิ โครงการเงนิ กูส้ วสั ดิการสมาชกิ ผรู้ ับเงินบานาญ รายละเอียดประกอบการพิจารณา 1. การขยายวงเงินก้สู ามัญ (มผี ลบังคบั ตง้ั แต่วันที่ 1 สิงหาคม 2564) 1.1 สิทธิในการกู้เงนิ สามัญของสมาชกิ ระยะเวลา สิทธิในการกู้เงนิ สามญั ของสมาชกิ การเปน็ สมาชกิ 6 เดือน - 1 ปี เดิม ใหม่ 1 ปีข้นึ ไป - 2 ปี 2 ปีขน้ึ ไป - 5 ปี 20 เทา่ ไมเ่ กิน 300,000 บาท 20 เท่า ไมเ่ กนิ 350,000 บาท 5 ปีข้นึ ไป - 10 ปี 10 ปีขนึ้ ไป - 15 ปี 30 เทา่ ไม่เกิน 600,000 บาท 30 เท่า ไมเ่ กนิ 650,000 บาท 15 ปขี ้ึนไป - 20 ปี 20 ปขี ้นึ ไป 50 เท่า ไมเ่ กิน 1,000,000 บาท 50 เท่า ไม่เกนิ 1,100,000 บาท การชาระ 70 เทา่ ไมเ่ กนิ 1,400,000 บาท 70 เท่า ไม่เกนิ 1,500,000 บาท วงเงิน / ผคู้ ้าประกนั 90 เทา่ ไมเ่ กนิ 1,800,000 บาท 90 เทา่ ไม่เกิน 2,000,000 บาท 90 เทา่ ไมเ่ กนิ 2,000,000 บาท 90 เท่า ไมเ่ กนิ 2,200,000 บาท 100 เทา่ ไมเ่ กนิ 2,200,000 บาท 100 เท่า ไม่เกิน 2,500,000 บาท - อตั ราดอกเบีย้ เป็นไปตามประกาศสหกรณ์ - อตั ราดอกเบีย้ เป็นไปตามประกาศสหกรณ์ (ปจั จบุ นั ร้อยละ 6 ตอ่ ป)ี (ปจั จบุ นั รอ้ ยละ 6 ต่อปี) - ผ่อนชาระไมเ่ กนิ 180 งวด (15 ปี) - ไมเ่ กนิ 180 งวด (15 ปี) - สมาชิกเลือกส่งเงนิ งวดชาระหนไี้ ด้สองแบบ - สมาชกิ เลือกส่งเงนิ งวดชาระหนี้ไดส้ องแบบ 1) แบบธนาคาร คอื เงนิ ต้นรวมดอกเบี้ย 1) แบบธนาคาร คือ เงนิ ต้นรวมดอกเบยี้ เทา่ กนั ทกุ งวด เทา่ กนั ทกุ งวด 2) แบบสหกรณ์ คือ เงินตน้ เทา่ กันทกุ งวด 2) แบบสหกรณ์ คือ เงินต้นเท่ากนั ทกุ งวด พร้อมดอกเบยี้ ทีค่ ดิ จากเงนิ ตน้ คงเหลือ พร้อมดอกเบย้ี ทค่ี ิดจากเงนิ ตน้ คงเหลือ 1 - 100,000 บาท / 1 ราย 100,001 - 500,000 บาท / 2 ราย 500,001 - 2,000,000 บาท / 3 ราย 2,000,001 บาทข้นึ ไป / 4 ราย / 1.2 สทิ ธใิ นการ ...

รายงานประชุม ชดุ ท่ี 59 คร้ังท่ี 7 - 20 - 1.2 สิทธิในการก้เู งนิ สามัญของสมาชิกที่เปน็ พนักงานราชการ สทิ ธใิ นการกเู้ งินสามัญ (พนกั งานราชการ) ระยะเวลา เดิม ใหม่ ผู้คา้ ประกนั การเปน็ สมาชกิ 6 เดือน - 1 ปี 10 เทา่ ไมเ่ กนิ 50,000 บาท 10 เท่า ไม่เกิน 100,000 บาท - กไู้ มเ่ กิน 300,000 บาท 1 ปขี ้นึ ไป - 2 ปี ผ้คู ้าประกนั อยา่ งนอ้ ย 2 คน 2 ปขี ้ึนไป - 4 ปี 15 เท่า ไมเ่ กิน 100,000 บาท 20 เท่า ไมเ่ กิน 150,000 บาท - กู้ 300,001 ขึ้นไป 4 ปีขน้ึ ไป - 6 ปี ผ้คู า้ ประกันอยา่ งน้อย 3 คน 6 ปขี นึ้ ไป - 8 ปี 20 เทา่ ไม่เกิน 150,000 บาท 30 เท่า ไมเ่ กนิ 200,000 บาท 8 ปีข้ึนไป การชาระ 25 เทา่ ไมเ่ กนิ 200,000 บาท 35 เทา่ ไม่เกิน 250,000 บาท 30 เท่า ไม่เกิน 250,000 บาท 40 เท่า ไมเ่ กิน 350,000 บาท 35 เทา่ ไมเ่ กนิ 300,000 บาท 50 เท่า ไม่เกิน 400,000 บาท - อัตราดอกเบย้ี เปน็ ไปตาม - อัตราดอกเบ้ียเป็นไปตาม ประกาศสหกรณ์ (ปจั จุบนั ประกาศสหกรณ์ (ปัจจบุ ัน ร้อยละ 6 ต่อปี) ร้อยละ 6 ตอ่ ปี) - ผอ่ นชาระไดไ้ มเ่ กนิ 48 งวด - ผอ่ นชาระได้ไม่เกนิ 60 งวด - สมาชกิ เลือกสง่ เงนิ งวดชาระหนี้ - สมาชิกเลอื กส่งเงินงวดชาระหนี้ ได้สองแบบ ไดส้ องแบบ 1) แบบธนาคาร คือ เงินตน้ 1) แบบธนาคาร คอื เงนิ ตน้ รวมดอกเบยี้ เท่ากนั ทุกงวด รวมดอกเบี้ยเท่ากนั ทกุ งวด 2) แบบสหกรณ์ คือ เงินตน้ 2) แบบสหกรณ์ คือ เงินตน้ เท่ากันทุกงวดพร้อมดอกเบี้ย เท่ากันทกุ งวดพร้อมดอกเบ้ีย ทีค่ ิดจากเงินตน้ คงเหลือ ทค่ี ิดจากเงนิ ต้นคงเหลือ ขอ้ มูลการใหว้ งเงินก้ขู องสหกรณ์ต่าง ๆ ที่ สหกรณ์ออมทรัพย์ ประเภทเงินกู้ วงเงินกู้ อัตรา จานวน หมายเหตุ (บาท) ดอกเบี้ย ผู้คา้ ประกัน 1 กระทรวงมหาดไทย จากดั สามญั 2 สาธารณสุขกาฬสินธุ์ จากัด พเิ ศษ 3,000,000 6.45 5 คน 3 สาธารณสุขยโสธร จากัด สามัญ 8,000,000 4.50 หลกั ทรัพย์ พิเศษ 4 สาธารณสุขร้อยเอ็ด จากดั สามัญ 3,000,000 6.25 8 คน 5 สื่อสารทหาร จากดั พเิ ศษ 1,800,000 6.25 หลกั ทรพั ย์ 6 สาธารณสุขอุบลราชธานี จากดั 7 ครูสรุ นิ ทร์ จากดั 5,000,000 5.75 5 คน 8 ครุ ุสมั พันธจ์ งั หวดั สรุ นิ ทร์ จากัด 3,000,000 5.75 หลักทรัพย์ 80% สามญั 3,000,000 5.75 /3 คน พิเศษ 5,000,000 5.75 3 คน สามัญ 3,000,000 5.80 หลกั ทรัพย์ พิเศษ 4,000,000 5.80 6 คน หนุ้ 12% สามัญ 4,000,000 5.75 หลกั ทรพั ย์ พิเศษ 7,000,000 5 คน สามัญ 4,000,000 5.75 หลักทรัพย์ พเิ ศษ 4,000,000 5.75 3 คน สามัญ 4,000,000 7.00 หลักทรพั ย์ พิเศษ 4,000,000 7.00 6 คน หลกั ทรัพย์ 70%

รายงานประชุม ชุดที่ 59 ครงั้ ท่ี 7 - 21 - ท่ี สหกรณ์ออมทรัพย์ ประเภทเงนิ กู้ วงเงนิ กู้ อตั รา จานวน หมายเหตุ (บาท) ดอกเบ้ยี ผ้คู า้ ประกนั 9 กรมที่ดนิ จากัด สามญั พิเศษ 2,000,000 6.30 3 คน 10 กรมพัฒนาชมุ ชน จากดั สามัญ 6,300,000 6.30 หลกั ทรพั ย์ พเิ ศษ 11 กรมส่งเสรมิ การปกครอง สามญั 3,000,000 6.95 3 คน ส่วนท้องถิ่น จากัด พเิ ศษ 3,000,000 6.95 หลกั ทรัพย์ สามญั 12 ตารวจเชียงใหม่ จากดั 2,000,000 7.50 3 คน 3,000,000 7.50 หลักทรัพย์ 4,500,000 7.90 6 คน รายละเอยี ดการเป็นสมาชิกของพนักงานราชการ ลาดับที่ ระยะเวลาการเป็นสมาชกิ จานวน ห้นุ สะสม เงนิ กูส้ ามัญ (ราย) (บาท) ราย จานวนเงนิ (บาท) 1 1 – 2 เดือน 15 19,400 - - 2 3 เดอื นขึน้ ไป – 2 ปี 213 2,163,630 26 828,252.19 3 2 ปีขึ้นไป – 4 ปี 241 7,043,540 117 3,359,648.51 คา่ เฉลย่ี : คน 454 20,280 9,224 4 4 ปีขึน้ ไป – 6 ปี 78 2,646,690 36 1,773,583.91 5 6 ปขี ้ึนไป – 10 ปี 116 11,946,260 105 6,496,340.93 ค่าเฉลีย่ : คน 194 75,221 42,628 6 10 ปีขึ้นไป – 12 ปี 103 13,032,670 73 4,885,330.01 7 12 ปีขึ้นไป – 14 ปี 207 29,834,200 133 11,327,192.62 8 14 ปขี ึ้นไป 72 8,102,650 54 3,337,926.18 ค่าเฉลี่ย : คน 382 133,428 51,179 รวม 1,045 133,428 544 32,008,274.35 หมายเหตุ สมาชิกท่เี ปน็ พนักงานราชการ และไม่มหี นเ้ี งินกู้ มีจานวน 354 ราย มีคา่ หุ้นสะสม เป็นเงนิ 26,408,380 บาท มหี นุ้ เฉล่ยี คนละ 74,599.94 บาท อตั ราเงนิ เดือนของพนกั งานราชการ ลาดบั ท่ี จานวนเงิน (บาท) จานวน (ราย) 1 6,000 – 10,000 48 2 10,001 – 15,000 518 3 15,001 – 20,000 476 4 20,001 ข้ึนไป 3 รวม 1,045 / เงนิ เดือน ...

รายงานประชมุ ชดุ ท่ี 59 ครั้งท่ี 7 - 22 - เงนิ เดอื นคงเหลือใช้จ่ายหลงั จากเรยี กเก็บเงินงวดชาระหนรี้ ายเดอื นของพนกั งานราชการ ลาดบั ท่ี จานวนเงิน (บาท) จานวน (ราย) 1 1,001 – 2,000 11 2 2,001 – 3,000 46 3 3,001 ขึน้ ไป 988 รวม 1,045 2. เปิดโครงการเงินกู้สวัสดกิ ารสมาชิกผ้รู ับเงินบานาญ สมาชิกข้าราชการบานาญ มจี านวนทง้ั สน้ิ 5,835 ราย มหี น้ี จานวน 2,544 ราย ไมม่ หี น้ี จานวน 3,291 ราย หุ้น 1,287,793,510 บาท ห้นุ 2,176,712,950 บาท ฉกุ เฉนิ 99,944,775.41 บาท ฉุกเฉนิ - สามัญ 977,523,890.69 บาท สามัญ - พเิ ศษ 188,161,523.37 บาท พเิ ศษ - โดยหลักเกณฑ์และเง่ือนไขการใหเ้ งินกู้สวัสดิการสมาชิกผ้รู ับเงินบานาญไว้ดังนี้ คณุ สมบัติของผู้กู้ หลักเกณฑ์ วงเงินกู้ และอัตรา - เป็นสมาชิกแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ 6 เดือน ดอกเบย้ี เงินกู้ - เป็นสมาชกิ ผ้รู ับบานาญ โครงการเงินกู้ การชาระหน้ี - กู้ได้ไม่เกิน 100,000 บาท สวสั ดิการสมาชกิ เง่ือนไขการกู้ - งวดผอ่ นชาระ 60 งวด - อัตราดอกเบ้ีย 6 % ต่อปี (มเี ฉลี่ยคนื ) ผู้รบั เงนิ บานาญ - สหกรณเ์ รียกเกบ็ เงินงวดชาระหน้ีรายเดอื น เงินตน้ พรอ้ มดอกเบี้ย การอนุมัติ 1. สมาชกิ คา้ ประกนั 1 คน ระยะเวลา 2. เงนิ เหลอื ใช้จา่ ยหลงั จากชาระคา่ หุ้น และหนท้ี กุ ประเภทแลว้ ดาเนินการ ไมต่ า่ กว่า 2,000 บาท 3. หากสหกรณต์ รวจสอบพบวา่ สมาชกิ ท่านใดแจ้งข้อมูล หรือแสดงหลกั ฐานอนั เปน็ เท็จจะถูกตดั สิทธิในการรับสวสั ดกิ าร ทกุ ประเภท - สมาชิกยื่นคาขอกโู้ ครงการเงินกู้สมาชกิ ผ้รู ับเงนิ บานาญ พรอ้ มเอกสารหลกั ฐานถูกต้อง สหกรณฯ์ อนุมัติโอนเงนิ เขา้ บญั ชีสมาชกิ - ต้งั แต่วนั ที่ 1 สงิ หาคม 2564 เป็นต้นไป / ขอ้ เสนอ ...

รายงานประชุม ชดุ ที่ 59 ครง้ั ท่ี 7 - 23 - ข้อเสนอ/ความเหน็ ของคณะอนุกรรมการเงนิ กู้ เห็นควรเสนอคณะกรรมการดาเนนิ การฯ พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ ดังนี้ 1. ขยายวงเงินกู้สามัญ ต้งั แต่วนั ท่ี 1 สิงหาคม 2564 เป็นต้นไป โดยกาหนด หลกั เกณฑต์ ามท่ฝี า่ ยจัดการเสนอ 2. เปิดโครงการเงินกู้สวสั ดิการสมาชกิ ผู้รับเงินบานาญ ต้ังแต่วนั ที่ 1 สิงหาคม 2564 โดยกาหนดหลักเกณฑ์ตามทฝ่ี ่ายจัดการเสนอ 3. แก้ไขเพ่ิมเติมระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก พ.ศ. 2544 ข้อ 13 (1) - (7) และระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิกที่เป็นพนักงานราชการ พ.ศ. 2548 ขอ้ 12, ขอ้ 14 วรรคสองและสาม และขอ้ 37 (2.4.1) (รายละเอยี ดตามเอกสาร หน้า 21 - 27) ขอ้ เสนอ/ความเห็นของคณะอนกุ รรมการอานวยการ เหน็ ควรให้ความเห็นชอบตามท่คี ณะอนกุ รรมการเงินกู้เสนอ เสนอทป่ี ระชมุ เพ่ือโปรดพิจารณา มติทปี่ ระชมุ เห็นชอบใหด้ าเนินการดงั นี้ 1. ขยายวงเงินกู้สามัญ และเปิดโครงการเงินกู้สวัสดิการสมาชิกผู้รับเงินบานาญ ตัง้ แต่วันท่ี 1 สงิ หาคม 2564 เป็นตน้ ไป โดยกาหนดหลกั เกณฑ์ตามท่ฝี า่ ยจัดการเสนอ 2. แก้ไขเพ่ิมเติมระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก พ.ศ. 2544 ขอ้ 13 (1) - (7) และระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยการใหเ้ งินกแู้ ก่สมาชิกท่ีเปน็ พนักงานราชการ พ.ศ. 2548 ขอ้ 12, ขอ้ 14 วรรคสองและสาม และข้อ 37 (2.4.1) / ระเบียบสหกรณ์ฯ ...

รายงานประชุม ชดุ ท่ี 59 ครงั้ ที่ 7 - 24 - ระเบียบสหกรณ์ฯ วา่ ดว้ ยการใหเ้ งนิ กู้แก่สมาชิก พ.ศ. 2544 ข้อความเดิม ข้อความที่แกไ้ ขเพิม่ เติม เหตผุ ล หมวด 4 หมวด 4 เงินกสู้ ามญั เงินกู้สามัญ ข้อ 13 จานวนเงนิ กสู้ ามัญทใี่ หแ้ กส่ มาชิก ข้อ 13 จานวนเงนิ ก้สู ามัญท่ีให้แกส่ มาชิกคน เพอ่ื ใหส้ อดคล้อง คนหน่ึง ๆ คณะกรรมการดาเนนิ การจะต้อง หนง่ึ ๆ คณะกรรมการดาเนินการจะต้องพิจารณา กบั สภาวะ พิจารณาถงึ ความจาเปน็ หรือมีประโยชนต์ ามที่ ถึงความจาเป็น หรือมปี ระโยชนต์ ามที่ เศรษฐกิจและ คณะกรรมการดาเนนิ การเห็นสมควร โดยผกู้ ู้ คณะกรรมการดาเนนิ การเหน็ สมควร โดยผู้ก้ตู อ้ งมี อัตราคา่ ครองชีพ ตอ้ งมีเงินคา่ หุ้นสะสมในสหกรณไ์ มน่ ้อยกวา่ เงินค่าหุ้นสะสมในสหกรณ์ไม่น้อยกว่าอัตราที่ ในปจั จบุ ัน อตั ราทสี่ หกรณ์กาหนดโดยให้เป็นไปตาม สหกรณก์ าหนดโดยให้เปน็ ไปตามประกาศของ ประกาศของสหกรณ์ และอยู่ภายในจากัด ดังนี้ สหกรณ์ และอยู่ภายในจากดั ดงั น้ี (1) ผู้กู้ซึ่งเปน็ สมาชิกเป็นเวลาตง้ั แต่ (1) ผูก้ ู้ซึ่งเปน็ สมาชกิ เป็นเวลาตัง้ แต่ 6 เดอื นขึน้ ไป แต่ไมเ่ กิน 1 ปี มสี ทิ ธไิ ด้รับ 6 เดือนขนึ้ ไป แต่ไมเ่ กิน 1 ปี มสี ิทธไิ ด้รับ เงินกู้สามัญ จานวนไม่เกนิ 20 เท่า ของเงนิ ได้ เงนิ ก้สู ามญั จานวนไมเ่ กนิ 20 เท่า ของเงินได้ รายเดอื น แต่ไม่เกนิ 300,000 บาท รายเดือน แต่ไม่เกนิ 350,000 บาท (2) ผกู้ ูซ้ ง่ึ เป็นสมาชกิ เป็นเวลาเกิน 1 ปขี ้ึนไป (2) ผ้กู ูซ้ ่ึงเปน็ สมาชิกเป็นเวลาเกิน 1 ปขี นึ้ ไป แตไ่ ม่เกนิ 2 ปี มีสิทธไิ ดร้ ับเงินกสู้ ามัญ จานวน แตไ่ มเ่ กิน 2 ปี มีสทิ ธิได้รับเงินกู้สามญั จานวน ไมเ่ กิน 30 เทา่ ของเงนิ ได้รายเดือน แต่ไม่เกนิ ไมเ่ กนิ 30 เท่า ของเงินได้รายเดือน แต่ไม่เกิน 600,000 บาท 650,000 บาท (3) ผกู้ ซู้ งึ่ เป็นสมาชิกเปน็ เวลาเกนิ 2 ปีขน้ึ ไป (3) ผกู้ ู้ซึง่ เปน็ สมาชิกเป็นเวลาเกิน 2 ปีขึน้ ไป แต่ไมเ่ กนิ 5 ปี มีสทิ ธิไดร้ บั เงินก้สู ามัญ จานวน แตไ่ ม่เกนิ 5 ปี มีสทิ ธิได้รับเงินกสู้ ามัญ จานวน ไม่เกิน 50 เท่า ของเงนิ ไดร้ ายเดือน แต่ไมเ่ กนิ ไม่เกิน 50 เท่า ของเงินได้รายเดอื น แต่ไม่เกิน 1,00,000 บาท 1,100,000 บาท (4) ผกู้ ้ซู งึ่ เป็นสมาชกิ เป็นเวลาเกิน 5 ปีขึน้ ไป (4) ผู้กู้ซ่งึ เปน็ สมาชกิ เป็นเวลาเกนิ 5 ปีขน้ึ ไป แตไ่ ม่เกนิ 10 ปี มีสิทธิได้รบั เงนิ กู้สามญั จานวน แต่ไม่เกิน 10 ปี มสี ิทธิได้รบั เงนิ กสู้ ามัญจานวน ไมเ่ กิน 70 เทา่ ของเงนิ ไดร้ ายเดอื น แต่ไม่เกนิ ไมเ่ กนิ 70 เท่า ของเงนิ ไดร้ ายเดอื น แต่ไมเ่ กิน 1,400,000 บาท 1,500,000 บาท (5) ผู้กซู้ ึ่งเปน็ สมาชกิ เป็นเวลาเกิน 10 ปขี ้นึ ไป (5) ผู้กซู้ ง่ึ เป็นสมาชิกเป็นเวลาเกนิ 10 ปขี ้ึนไป แต่ไม่เกิน 15 ปี มสี ิทธไิ ด้รบั เงินก้สู ามัญจานวน แต่ไม่เกิน 15 ปี มีสทิ ธไิ ด้รบั เงนิ ก้สู ามญั จานวน ไม่เกนิ 90 เท่า ของเงินได้รายเดือน แต่ไม่เกิน ไม่เกิน 90 เท่า ของเงนิ ได้รายเดอื น แตไ่ มเ่ กนิ 1,800,000 บาท 2,000,000 บาท (6) ผูก้ ้ซู ง่ึ เปน็ สมาชิกเป็นเวลาเกนิ 15 ปขี น้ึ ไป (6) ผ้กู ้ซู ่ึงเป็นสมาชิกเป็นเวลาเกนิ 15 ปขี ึน้ ไป แต่ไมเ่ กิน 20 ปี มีสิทธิไดร้ บั เงินก้สู ามัญจานวน แต่ไมเ่ กนิ 20 ปี มสี ิทธไิ ดร้ ับเงินกสู้ ามญั จานวน ไมเ่ กนิ 90 เทา่ ของเงินไดร้ ายเดอื น แต่ไมเ่ กนิ ไม่เกิน 90 เท่า ของเงนิ ไดร้ ายเดอื น แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท 2,200,000 บาท (7) ผู้กู้ซึ่งเป็นสมาชกิ เป็นเวลาเกนิ 20 ปีข้ึนไป (7) ผกู้ ู้ซงึ่ เปน็ สมาชกิ เปน็ เวลาเกนิ 20 ปีขนึ้ ไป มสี ทิ ธไิ ดร้ ับเงนิ กสู้ ามญั จานวนไมเ่ กิน 100 เท่า มีสทิ ธไิ ด้รบั เงนิ กูส้ ามญั จานวนไม่เกิน 100 เท่า ของเงนิ ได้รายเดือน แต่ไมเ่ กนิ 2,200,000 บาท ของเงนิ ไดร้ ายเดือน แต่ไมเ่ กิน 2,500,000 บาท

รายงานประชุม ชุดที่ 59 คร้งั ท่ี 7 - 25 - - ร่าง - ระเบยี บสหกรณ์ออมทรัพยก์ รมการปกครอง จากัด ว่าดว้ ยการใหเ้ งินก้แู กส่ มาชกิ (ฉบบั ที่ .. ) พ.ศ. .... ................................ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเตมิ ระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด ว่าดว้ ย การใหเ้ งนิ กู้แก่สมาชิก เพื่อให้สอดคล้องกบั สภาวะเศรษฐกิจและอัตราค่าครองชีพในปัจจุบัน เปดิ โอกาสให้สมาชิก สามารถกู้เงนิ ไดเ้ พิ่มขึ้น และสร้างความคล่องตวั ให้แก่สมาชิกผู้ก้เู งิน อาศัยอานาจตามความในข้อ 59 (13) และข้อ 83 (13) แห่งข้อบังคับสหกรณ์ออมทรัพย์ กรมการปกครอง จากัด พ.ศ. 2543 คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครองจากัด ชุดท่.ี . ในการประชมุ ครงั้ ท่ี ....... เมอื่ วนั ที่ ................................... จึงกาหนดระเบียบไว้ ดังน้ี ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วย การใหเ้ งนิ กแู้ กส่ มาชิก (ฉบบั ที่ .. ) พ.ศ. ....” ขอ้ 2 ระเบยี บน้ีมีผลใชบ้ ังคับตง้ั แตว่ ันที่ ....................................... เปน็ ตน้ ไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในข้อ (1) - (7) ของข้อ 13 แห่งระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์ กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชกิ พ.ศ. 2544 ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์ กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชกิ (ฉบับที่ 23) พ.ศ. 2560 และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนี้แทน “(1) ผู้กู้ซ่ึงเป็นสมาชิกเป็นเวลาต้ังแต่ 6 เดือนขึ้นไป แต่ไม่เกิน 1 ปี มีสิทธิได้รับ เงนิ กู้สามญั จานวนไมเ่ กิน 20 เทา่ ของเงนิ ไดร้ ายเดือน แต่ไมเ่ กนิ 350,000 บาท (2) ผู้กูซ้ ึ่งเป็นสมาชิกเป็นเวลาเกิน 1 ปีข้ึนไป แต่ไม่เกิน 2 ปี มีสิทธิได้รบั เงนิ กู้สามัญ จานวนไมเ่ กิน 30 เท่า ของเงินได้รายเดอื น แต่ไม่เกนิ 650,000 บาท (3) ผู้กซู้ ึ่งเป็นสมาชิกเป็นเวลาเกิน 2 ปีข้ึนไป แต่ไม่เกิน 5 ปี มีสิทธไิ ด้รบั เงนิ กู้สามัญ จานวนไมเ่ กนิ 50 เทา่ ของเงินได้รายเดือน แต่ไมเ่ กนิ 1,100,000 บาท (4) ผู้กู้ซ่ึงเป็นสมาชิกเป็นเวลาเกิน 5 ปีข้ึนไป แต่ไม่เกิน 10 ปี มีสิทธิได้รับ เงนิ ก้สู ามญั จานวนไม่เกนิ 70 เทา่ ของเงินไดร้ ายเดือน แต่ไม่เกนิ 1,500,000 บาท (5) ผู้กู้ซ่ึงเป็นสมาชิกเป็นเวลาเกิน 10 ปีขึ้นไป แต่ไม่เกิน 15 ปี มีสิทธิได้รับ เงนิ กู้สามญั จานวนไม่เกนิ 90 เทา่ ของเงนิ ได้รายเดอื น แตไ่ มเ่ กิน 2,000,000 บาท (6) ผู้กู้ซึ่งเป็นสมาชิกเป็นเวลาเกิน 15 ปีขึ้นไป แต่ไม่เกิน 20 ปี มีสิทธิได้รับ เงินก้สู ามัญจานวนไม่เกิน 90 เท่า ของเงนิ ได้รายเดอื น แต่ไม่เกิน 2,200,000 บาท (7) ผู้กู้ซึ่งเป็นสมาชิกเป็นเวลาเกิน 20 ปีขึ้นไป มีสิทธิได้รับเงินกู้สามัญจานวนไม่เกิน 100 เทา่ ของเงนิ ไดร้ ายเดอื น แต่ไม่เกนิ 2,500,000 บาท” ประกาศ ณ วนั ท่ี ................................................. ประธานกรรมการสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด

รายงานประชุม ชดุ ที่ 59 ครง้ั ที่ 7 - 26 - ระเบียบสหกรณ์ออมทรพั ย์ฯ ว่าดว้ ยการให้เงินกู้แกส่ มาชิกท่เี ปน็ พนกั งานราชการ พ.ศ. 2548 ข้อความเดิม ข้อความที่แก้ไขเพิม่ เติม เหตุผล หมวด 4 หมวด 4 เงินกสู้ ามญั เงินกู้สามัญ ข้อ 12 จานวนเงินกู้สามญั ทใ่ี หแ้ ก่สมาชิก ขอ้ 12 จานวนเงินกู้สามัญที่ใหแ้ กส่ มาชิก เพื่อให้สอดคล้อง คนหน่ึง ๆ คณะกรรมการดาเนนิ การจะต้อง คนหนึ่ง ๆ คณะกรรมการดาเนนิ การจะต้อง กบั สภาวะ พิจารณาถึงความจาเป็น หรือมปี ระโยชนต์ ามท่ี พจิ ารณาถงึ ความจาเปน็ หรือมปี ระโยชนต์ ามท่ี เศรษฐกิจและ คณะกรรมการดาเนนิ การเห็นสมควร โดยผูก้ ู้ คณะกรรมการดาเนนิ การเห็นสมควร โดยผูก้ ู้ อัตราค่าครองชีพ ตอ้ งมเี งินคา่ หนุ้ สะสมในสหกรณ์ไมน่ ้อยกวา่ ต้องมีเงินค่าหนุ้ สะสมในสหกรณไ์ ม่น้อยกว่าอัตราที่ ในปจั จุบัน อตั ราท่ีสหกรณ์กาหนดโดยให้เปน็ ไปตามประกาศ สหกรณก์ าหนดโดยให้เปน็ ไปตามประกาศของ ของสหกรณ์ และอยู่ภายในจากดั ดงั น้ี สหกรณ์ และอยู่ภายในจากดั ดงั น้ี (1) ผกู้ ซู้ ึ่งเปน็ สมาชิกเป็นเวลาตัง้ แต่ 6 เดือน (1) ผ้กู ู้ซึ่งเป็นสมาชกิ เป็นเวลาตัง้ แต่ 6 เดือน ข้นึ ไป แตไ่ ม่เกนิ 1 ปี มสี ิทธิได้รับเงินก้สู ามัญ ขนึ้ ไป แต่ไม่เกนิ 1 ปี มสี ิทธิไดร้ ับเงินกสู้ ามญั จานวนไมเ่ กนิ 10 เท่าของเงนิ ได้รายเดือน จานวนไมเ่ กนิ 10 เท่าของเงินไดร้ ายเดือน แตไ่ ม่เกิน 50,000 บาท แต่ไม่เกนิ 100,000 บาท (2) ผกู้ ซู้ งึ่ เปน็ สมาชิกเป็นเวลาเกนิ 1 ปขี ึ้นไป (2) ผูก้ ูซ้ ึ่งเปน็ สมาชิกเป็นเวลาเกนิ 1 ปี แตไ่ ม่เกนิ 2 ปี มสี ิทธไิ ดร้ บั เงนิ กู้สามญั จานวน แตไ่ มเ่ กิน 2 ปี มสี ทิ ธิไดร้ ับเงินกสู้ ามญั จานวน ไม่เกิน 15 เท่า ของเงินไดร้ ายเดอื น แต่ไม่เกิน ไมเ่ กิน 20 เท่า ของเงินได้รายเดือน แตไ่ ม่เกนิ 100,000 บาท 150,000 บาท (3) ผกู้ ้ซู ง่ึ เป็นสมาชิกเปน็ เวลาเกิน 2 ปขี ึ้นไป (3) ผกู้ ู้ซ่ึงเป็นสมาชิกเป็นเวลาเกนิ 2 ปี แตไ่ ม่เกิน 4 ปี มสี ิทธิไดร้ บั เงินกสู้ ามญั จานวน แต่ไม่เกิน 4 ปี มสี ิทธิได้รบั เงินกูส้ ามัญจานวน ไมเ่ กิน 20 เทา่ ของเงินไดร้ ายเดือน แต่ไม่เกนิ ไม่เกิน 30 เทา่ ของเงนิ ไดร้ ายเดอื น แต่ไมเ่ กนิ 150,000 บาท 200,000 บาท (4) ผู้กซู้ ่งึ เป็นสมาชกิ เป็นเวลาเกิน 4 ปีขึน้ ไป (4) ผู้กู้ซง่ึ เป็นสมาชกิ เป็นเวลาเกิน 4 ปี แตไ่ ม่เกิน 6 ปี มีสิทธไิ ด้รับเงินกู้สามญั จานวน แต่ไมเ่ กิน 6 ปี มสี ิทธไิ ดร้ ับเงินกู้สามญั จานวน ไมเ่ กิน 25 เทา่ ของเงินได้รายเดอื น แตไ่ มเ่ กนิ ไม่เกิน 35 เท่า ของเงินได้รายเดอื น แตไ่ มเ่ กนิ 200,000 บาท 250,000 บาท (5) ผู้กูซ้ ึง่ เปน็ สมาชกิ เป็นเวลาเกนิ 6 ปีข้ึนไป (5) ผู้กซู้ ึ่งเป็นสมาชิกเป็นเวลาเกิน 6 ปขี นึ้ ไป แตไ่ ม่เกนิ 8 ปี มสี ิทธิได้รับเงนิ ก้สู ามญั จานวน แตไ่ มเ่ กนิ 8 ปี มีสทิ ธไิ ด้รับเงินกสู้ ามญั จานวน ไมเ่ กิน 30 เท่า ของเงินไดร้ ายเดอื น แต่ไม่เกนิ ไมเ่ กิน 40 เท่า ของเงนิ ได้รายเดอื น แต่ไม่เกิน 250,000 บาท 350,000 บาท (6) ผู้กู้ซง่ึ เป็นสมาชกิ เป็นเวลาเกนิ 8 ปขี ้ึนไป (6) ผกู้ ซู้ ึ่งเป็นสมาชิกเป็นเวลาเกิน 8 ปีขนึ้ ไป มสี ทิ ธไิ ดร้ ับเงนิ กู้สามัญจานวนไม่เกนิ 35 เท่า มสี ทิ ธไิ ดร้ ับเงนิ กู้สามัญจานวนไม่เกนิ 50 เทา่ ของเงินไดร้ ายเดอื น แตไ่ ม่เกิน 300,000 บาท ของเงินไดร้ ายเดือน แต่ไมเ่ กิน 400,000 บาท

รายงานประชมุ ชดุ ท่ี 59 ครั้งที่ 7 - 27 - ขอ้ ความเดมิ ข้อความท่ีแกไ้ ขเพ่มิ เติม เหตุผล (7) ผูก้ ซู้ ึง่ เป็นสมาชกิ ท่ีพ้นจากการเปน็ (7) ผ้กู ู้ซง่ึ เปน็ สมาชกิ ที่พ้นจากการเป็น พนักงานราชการของกรมการปกครอง มสี ิทธไิ ด้รบั พนกั งานราชการของกรมการปกครอง มสี ทิ ธไิ ดร้ บั เงนิ กู้สามญั จานวนไมเ่ กินร้อยละ 95 ของคา่ หนุ้ เงนิ กสู้ ามญั จานวนไม่เกนิ ร้อยละ 95 ของคา่ หนุ้ และหรอื เงนิ ฝากท่ีมีอย่ใู นสหกรณ์ และหรือเงินฝากที่มอี ย่ใู นสหกรณ์ (8) ผู้กซู้ งึ่ มเี งนิ คา่ หุ้นและหรอื เงนิ ฝาก (8) ผ้กู ้ซู ง่ึ มเี งินคา่ หุน้ และหรือเงนิ ฝากใน ในสหกรณ์เกนิ กว่าจานวนจากัดใน (1) ถึง (6) สหกรณ์เกินกวา่ จานวนจากดั ใน (1) ถงึ (6) คณะกรรมการดาเนนิ การอาจอนมุ ัตใิ หเ้ งินกู้ คณะกรรมการดาเนินการอาจอนุมัตใิ ห้เงินกู้ แก่สมาชกิ ผู้นน้ั ไม่เกินร้อยละ 95 ของค่าหุ้น แกส่ มาชิกผนู้ ้นั ไม่เกินร้อยละ 95 ของคา่ หุน้ และหรือเงินฝากในสหกรณ์นั้นก็ได้ และหรอื เงินฝากในสหกรณ์น้ันก็ได้ (9) ผู้กู้ซ่ึงมีเงินค่าหนุ้ สะสมในสหกรณน์ ้อยกวา่ (9) ผูก้ ู้ซ่ึงมีเงนิ คา่ หุ้นสะสมในสหกรณน์ ้อยกวา่ จานวนจากดั ทกี่ าหนดไว้ตามวรรคแรกเมื่อไดร้ บั จานวนจากดั ท่กี าหนดไวต้ ามวรรคแรกเม่ือได้รบั อนมุ ตั เิ งนิ กแู้ ล้วต้องยนิ ยอมใหส้ หกรณ์หักเงนิ กู้แลว้ อนมุ ตั ิเงินกู้แลว้ ตอ้ งยนิ ยอมใหส้ หกรณ์หักเงนิ ก้แู ลว้ ต้องมเี งินเหลอื ใชจ้ ่ายหลงั จากชาระคา่ หนุ้ ของผูก้ ู้ ต้องมีเงนิ เหลือใช้จา่ ยหลังจากชาระคา่ หนุ้ ของผู้กู้ ใหเ้ ปน็ ไปตามกาหนด ให้เปน็ ไปตามกาหนด ผ้กู ู้ตามวรรคแรกเม่ือไดร้ ับอนมุ ตั ิเงนิ กู้แลว้ ผู้กตู้ ามวรรคแรกเมื่อไดร้ ับอนมุ ัติเงินก้แู ล้ว ต้องมเี งนิ เหลือใชจ้ ่ายหลงั จากชาระคา่ หุ้นและ ต้องมเี งินเหลอื ใช้จ่ายหลงั จากชาระคา่ หุน้ และ หน้ีทุกประเภทแลว้ ตามท่ีสหกรณ์กาหนด โดยให้ หนีท้ ุกประเภทแลว้ ตามทสี่ หกรณก์ าหนด โดยให้ เป็นไปตามประกาศสหกรณ์ เปน็ ไปตามประกาศสหกรณ์ ข้อ 14 ในการให้เงนิ กสู้ ามัญนัน้ ถา้ ปรากฏวา่ ข้อ 14 ในการใหเ้ งนิ กสู้ ามัญนน้ั ถ้าปรากฏวา่ สหกรณ์มเี งนิ ทุนที่จะใหก้ ู้ได้ไม่พอแก่การขอกู้อันมี สหกรณ์มเี งนิ ทุนที่จะให้กู้ได้ไม่พอแก่การขอกู้อันมี ลักษณะพึงใหก้ ู้นนั้ ทุกราย คณะกรรมการดาเนินการ ลักษณะพงึ ให้กนู้ ั้นทุกราย คณะกรรมการดาเนินการ อาจพจิ ารณาใหเ้ งินกู้ได้ตามที่เห็นสมควร อาจพจิ ารณาใหเ้ งนิ กู้ได้ตามท่ีเห็นสมควร แตโ่ ดยปกตใิ ห้พิจารณาให้เงินกู้ตามลาดบั กอ่ นหลัง แตโ่ ดยปกตใิ ห้พจิ ารณาใหเ้ งินกตู้ ามลาดับกอ่ นหลัง ดังต่อไปนี้ ดังต่อไปน้ี (1) เงินกู้ซงึ่ ถอื คา่ หนุ้ เปน็ หลักประกนั (1) เงนิ กซู้ ึง่ ถอื ค่าหุ้นเป็นหลักประกนั (2) เงนิ กนู้ อกจาก (1) ให้พิจารณาอนุมตั ิใหเ้ งินกู้ (2) เงนิ ก้นู อกจาก (1) ให้พจิ ารณาอนมุ ัติให้เงินกู้ ที่มจี านวนน้อยก่อนเงินกจู้ านวนมาก ทมี่ จี านวนน้อยกอ่ นเงินก้จู านวนมาก เมอ่ื คณะกรรมการดาเนนิ การได้อนุมัติให้ เม่ือคณะกรรมการดาเนนิ การได้อนมุ ตั ใิ ห้ เงินกู้สามญั แก่สมาชกิ รายใดแลว้ สมาชกิ ผ้ไู ดร้ ับ เงินกสู้ ามญั แกส่ มาชิกรายใดแลว้ สมาชิกผู้ไดร้ ับ เงินกู้ดงั กล่าวต้องชาระคา่ ธรรมเนียมการกู้เงินสามัญ เงนิ กู้ดงั กลา่ วต้องชาระค่าใช้จา่ ยการกู้เงนิ สามัญ ให้แก่สหกรณ์ ตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการทก่ี าหนด ใหแ้ กส่ หกรณต์ ามท่ีสหกรณ์กาหนดโดยใหเ้ ปน็ ไป ไวใ้ นระเบียบสหกรณอ์ อมทรัพยก์ รมการปกครอง ตามประกาศของสหกรณ์ จากัด ว่าดว้ ยกองทนุ ช่วยเหลอื สมาชิกผคู้ ้าประกนั เงินกู้สามัญ คา่ ธรรมเนยี มการกูเ้ งนิ สามญั ตามวรรคสอง ค่าใชจ้ ่ายการกเู้ งนิ สามญั ตามวรรคสอง ใหเ้ ปน็ รายไดข้ องสหกรณก์ องทนุ ช่วยเหลอื สมาชกิ ให้เปน็ รายไดข้ องสหกรณ์ ผคู้ ้าประกันเงินกสู้ ามัญ

รายงานประชุม ชุดท่ี 59 คร้ังที่ 7 - 28 - ขอ้ ความเดิม ข้อความท่ีแก้ไขเพม่ิ เติม เหตผุ ล หมวด 7 หมวด 7 หลักประกันสาหรบั เงนิ กู้ หลกั ประกนั สาหรบั เงนิ กู้ ข้อ 37 หลักประกนั สาหรับเงินก้นู น้ั ให้มี ขอ้ 37 หลกั ประกันสาหรับเงนิ กูน้ ้นั ใหม้ ี ข้อกาหนดต่อไปน้ี ข้อกาหนดต่อไปน้ี (2) เงนิ กสู้ ามัญ ถา้ เงินท่ขี อกู้รวมกบั หนี้ (2) เงนิ กสู้ ามัญ ถ้าเงินทีข่ อก้รู วมกับหน้ี อนั เกดิ จากการคา้ ประกันตามทก่ี าหนดไว้ใน อนั เกดิ จากการค้าประกันตามทีก่ าหนดไวใ้ น ข้อ 12 มจี านวนไมเ่ กินกว่าคา่ หุ้นทีผ่ ู้กมู้ ีอยู่ ขอ้ 12 มจี านวนไมเ่ กินกวา่ ค่าหนุ้ ทีผ่ ู้กู้มีอยู่ ในสหกรณ์ เงินกนู้ ีไ้ มต่ อ้ งมหี ลักประกนั แต่ถา้ หากมี ในสหกรณเ์ งนิ กู้นไ้ี ม่ตอ้ งมีหลกั ประกัน แตถ่ ้าหากมี จานวนเกินกวา่ ค่าหนุ้ ทผ่ี ้กู ูม้ ีอยู่ในสหกรณจ์ ะต้องมี จานวนเกินกว่าค่าหุน้ ที่ผกู้ มู้ อี ยู่ในสหกรณ์จะตอ้ งมี หลกั ประกนั อยา่ งหนึง่ อย่างใดดังตอ่ ไปน้ี หลักประกนั อยา่ งหน่ึงอยา่ งใดดังต่อไปน้ี (2.4) เงอ่ื นไขการคา้ ประกนั เงินก้โู ดยสมาชกิ (2.4) เงอื่ นไขการค้าประกันเงนิ กูโ้ ดยสมาชกิ เป็นผู้คา้ ประกัน มีดังน้ี เป็นผูค้ ้าประกนั มีดงั น้ี (2.4.1) ตอ้ งมีผ้คู า้ ประกนั 2 คนข้นึ ไป (2.4.1) ต้องมผี ูค้ า้ ประกนั อย่างน้อย 2 คน เว้นแตก่ ู้เงนิ สามัญเกิน 300,000 บาท ต้องมี ผคู้ ้าประกนั 3 คนขนึ้ ไป / - ร่าง - ...

รายงานประชุม ชุดท่ี 59 คร้ังท่ี 7 - 29 - - ร่าง - ระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากดั วา่ ดว้ ยการใหเ้ งนิ ก้แู ก่สมาชกิ ที่เปน็ พนักงานราชการ (ฉบบั ท่ี .. ) พ.ศ. .... ........................... โดยท่ีเปน็ การสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด วา่ ด้วย การให้เงินกู้แก่สมาชิกที่เป็นพนักงานราชการ เพ่ือให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจและอัตราค่าครองชีพ ในปัจจุบัน เปิดโอกาสให้สมาชิกที่เป็นพนักงานราชการสามารถกู้เงินได้เพิ่มขึ้น และสร้างความคล่องตัวให้แก่ สมาชิกที่เปน็ พนกั งานราชการผ้กู ูเ้ งนิ อาศัยอานาจตามความในข้อ 59 (13) และข้อ 83 (13) แห่งข้อบังคับสหกรณ์ออมทรัพย์ กรมการปกครอง จากัด พ.ศ. 2543 คณะกรรมการดาเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครองจากัด ชดุ ที่.. ในการประชมุ ครง้ั ที่ ....... เมื่อวนั ท่ี .............................................. จงึ กาหนดระเบยี บไว้ ดังน้ี ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วย การใหเ้ งนิ กูแ้ กส่ มาชิกท่ีเปน็ พนักงานราชการ (ฉบบั ท่ี .. ) พ.ศ. ....” ข้อ 2 ระเบยี บน้ีมผี ลใช้บังคบั ตั้งแตว่ นั ที่ ............................................. เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกความใน ข้อ 12 แห่งระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วย การให้เงินกู้แก่สมาชิกท่ีเป็นพนักงานราชการ พ.ศ. 2544 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสหกรณ์ ออมทรัพย์ กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิกที่เป็นพนักงานราชการ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2559 และให้ใชค้ วามต่อไปนี้แทน “ข้อ 12 จานวนเงินกู้สามัญท่ีให้แก่สมาชิกคนหน่ึง ๆ คณะกรรมการดาเนินการจะต้อง พิจารณาถึงความจาเป็น หรือมีประโยชน์ตามที่คณะกรรมการดาเนินการเห็นสมควร โดยผู้กู้ต้องมีเงิน ค่าหุ้นสะสมในสหกรณ์ไม่น้อยกว่าอัตราที่สหกรณ์กาหนดโดยให้เป็นไปตามประกาศของสหกรณ์ และอยู่ ภายในจากดั ดังนี้ (1) ผกู้ ู้ซึ่งเป็นสมาชกิ เป็นเวลาตง้ั แต่ 6 เดือนข้นึ ไป แต่ไม่เกนิ 1 ปี มีสทิ ธิได้รับ เงนิ กสู้ ามัญจานวนไมเ่ กิน 10 เทา่ ของเงนิ ไดร้ ายเดือน แต่ไมเ่ กนิ 100,000 บาท (2) ผ้กู ู้ซึง่ เปน็ สมาชิกเปน็ เวลาเกิน 1 ปี แตไ่ ม่เกิน 2 ปี มีสิทธิได้รับเงนิ กสู้ ามัญ จานวนไมเ่ กิน 20 เท่า ของเงินได้รายเดือน แตไ่ ม่เกิน 150,000 บาท (3) ผกู้ ซู้ ึง่ เปน็ สมาชิกเป็นเวลาเกิน 2 ปี แตไ่ ม่เกนิ 4 ปี มีสทิ ธไิ ด้รับเงินกสู้ ามญั จานวนไม่เกนิ 30 เทา่ ของเงินได้รายเดือน แตไ่ มเ่ กนิ 200,000 บาท (4) ผูก้ ซู้ ง่ึ เปน็ สมาชกิ เปน็ เวลาเกนิ 4 ปี แตไ่ มเ่ กิน 6 ปี มสี ทิ ธไิ ด้รบั เงินกสู้ ามญั จานวนไม่เกิน 35 เทา่ ของเงินได้รายเดือน แต่ไม่เกนิ 250,000 บาท (5) ผู้กู้ซึง่ เป็นสมาชกิ เปน็ เวลาเกิน 6 ปีขนึ้ ไป แต่ไมเ่ กิน 8 ปี มีสิทธไิ ดร้ ับเงนิ กู้ สามัญจานวนไม่เกนิ 40 เทา่ ของเงินไดร้ ายเดือน แต่ไมเ่ กนิ 350,000 บาท / (6) ผู้กู้ ...

รายงานประชมุ ชดุ ที่ 59 ครง้ั ท่ี 7 - 30 - (6) ผ้กู ้ซู ง่ึ เป็นสมาชิกเป็นเวลาเกิน 8 ปีขึ้นไป มีสทิ ธิไดร้ บั เงินกสู้ ามัญจานวนไมเ่ กิน 50 เทา่ ของเงินไดร้ ายเดือน แต่ไมเ่ กิน 400,000 บาท (7) ผู้กซู้ ง่ึ เป็นสมาชกิ ทพี่ ้นจากการเปน็ พนกั งานราชการของกรมการปกครอง มีสิทธิไดร้ บั เงินกสู้ ามญั จานวนไม่เกนิ ร้อยละ 95 ของคา่ หุ้นและหรอื เงินฝากท่ีมีอยใู่ นสหกรณ์ (8) ผู้กู้ซึ่งมีเงินค่าหุ้นและหรือเงินฝากในสหกรณ์เกินกว่าจานวนจากัดใน (1) ถึง (6) คณะกรรมการดาเนินการอาจอนุมัติให้เงินกู้แก่สมาชิกผู้นั้นไม่เกินร้อยละ 95 ของค่าหุ้นและหรือเงินฝาก ในสหกรณ์นนั้ ก็ได้ (9) ผกู้ ซู้ ่ึงมีเงนิ คา่ ห้นุ สะสมในสหกรณ์น้อยกว่าจานวนจากัดทีก่ าหนดไวต้ ามวรรคแรก เมอ่ื ได้รับอนุมัตเิ งินกแู้ ล้วตอ้ งยินยอมให้สหกรณห์ ักเงนิ กแู้ ล้วต้องมเี งินเหลือใช้จ่ายหลังจากชาระค่าหนุ้ ของผู้กู้ ให้เปน็ ไปตามกาหนด ผู้กู้ตามวรรคแรกเม่ือได้รับอนุมัติเงินกู้แล้วต้องมีเงินเหลือใช้จ่ายหลังจากชา ระ คา่ หุ้นและหนีท้ กุ ประเภทแลว้ ตามทส่ี หกรณ์กาหนด โดยให้เป็นไปตามประกาศสหกรณ์” ขอ้ 4 ให้ยกเลิกความในวรรคสองและวรรคสาม ของข้อ 14 แห่งระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์ กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิกท่ีเป็นพนักงานราชการ พ.ศ. 2544 และให้ใช้ความ ตอ่ ไปนี้แทน “เมื่อคณะกรรมการดาเนินการได้อนุมัติให้เงินกู้สามัญแก่สมาชิกรายใดแล้ว สมาชิก ผู้ได้รับเงินกู้ดังกล่าวต้องชาระค่าใช้จ่ายการกู้เงินสามัญให้แก่สหกรณ์ตามที่สหกรณ์กาหนดโดยให้เป็นไปตาม ประกาศของสหกรณ์ ค่าใช้จ่ายการกู้เงนิ สามญั ตามวรรคสอง ให้เปน็ รายได้ของสหกรณ์” ข้อ 5 ให้ยกเลิกความใน (2.4.1) ของข้อ 37 แห่งระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิกที่เป็นพนักงานราชการ พ.ศ. 2544 ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบสหกรณ์ ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด ว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชกิ ท่ีเป็นพนักงานราชการ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559 และให้ใชค้ วามต่อไปน้ีแทน “(2.4.1) ต้องมีผคู้ ้าประกันอยา่ งน้อย 2 คน เวน้ แต่กเู้ งนิ สามัญเกิน 300,000 บาท ตอ้ งมีผคู้ ้าประกนั 3 คนขึ้นไป” ประกาศ ณ วนั ท่ี ...................................................... ประธานกรรมการสหกรณ์ออมทรัพย์กรมการปกครอง จากัด / เสนอโดย ...

รายงานประชมุ ชดุ ที่ 59 ครัง้ ที่ 7 - 31 - เสนอโดยคณะอนุกรรมการสวัสดิการ 6.2 การปรับแผนกลยุทธก์ ารเช่าห้องพักของสัมมนาคาร น.ส.รฐา วิเชียรชิต ตามท่ีคณะกรรมการดาเนินการฯ ชุดท่ี 59 ในการประชุมคร้ังท่ี 4 เม่ือวันที่ 26 เมษายน 2564 มีมติให้จัดโปรโมช่ันพิเศษให้แก่สมาชิกเช่าห้องพักรายเดือนของสัมมนาคาร โดยคิดอัตรา ค่าเช่าเดือนละ 6,000.- บาท (เดิม 8,000 บาท) กาหนดระยะการเช่า 1 เดือน ต้ังแต่ช่วงเดือนพฤษภาคม ถงึ เดือนกรกฎาคม 2564 และจากัดจานวนห้องพัก 15 ห้อง ปรากฏว่า ปัจจุบันมีสมาชิกให้ความสนใจเช่าพัก เปน็ จานวนทั้งสน้ิ 9 ราย ดังน้ี ลาดับ เลขสมาชิก ชอ่ื - สกลุ / ชอ่ื หน่วยงาน วันท่เี ข้าพกั วันทีอ่ อก 1 - กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั 1 พฤษภาคม 2564 1 มิถนุ ายน 2564 2 - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั 3 - กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย 1 พฤษภาคม 2564 1 มิถุนายน 2564 4 - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั 5 - กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั 1 พฤษภาคม 2564 1 มถิ ุนายน 2564 6 - กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย 7 33602 คณุ อรัญญา วลาอฐั 1 พฤษภาคม 2564 1 มถิ นุ ายน 2564 8 34827 คุณฐปานยี ์ มครศวรรยธรรม 9 31486 คุณจรภี รณ์ เอกวงษา 1 พฤษภาคม 2564 1 มถิ นุ ายน 2564 1 พฤษภาคม 2564 1 มถิ ุนายน 2564 24 พฤษภาคม 2564 24 มิถนุ ายน 2564 31 พฤษภาคม 2564 30 มิถนุ ายน 2564 7 มถิ นุ ายน 2564 7 กรกฎาคม 2564 ขอ้ เสนอ/ความเหน็ ของคณะอนกุ รรมการสวัสดิการ คณะอนกุ รรมการสวัสดกิ าร ในการประชุมครงั้ ท่ี 7 เม่ือวนั ท่ี 19 กรกฎาคม 2564 ได้พิจารณาแล้วเห็นว่าในปัจจุบันสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือโควิด - 19 ยังไม่คลี่คลาย จึงเห็นควรเสนอคณะกรรมการดาเนนิ การฯ พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ ดังน้ี 1. ตอ่ อายุโปรโมชั่นนี้ไปจนถึงวันที่ 31 ธนั วาคม 2564 2. เพม่ิ แพค็ เก็จการเช่าพัก ตัง้ แตว่ นั ท่ี 1 สงิ หาคม - 31 ธันวาคม 2564 ดงั น้ี แพค็ เกจ็ การเขา้ พกั อตั ราค่าเชา่ (บาท) การบริการ 15 วนั ต่อเนอ่ื ง 3,500 - ทาความสะอาด/เปลี่ยนผา้ 3 ครงั้ (ราคารายวันปกติ 9,000 บาท) (5 วนั ต่อครั้ง เชน่ เขา้ พักวนั ท่ี 1 เปลี่ยนผา้ วนั ท่ี 6, 11 และวนั ทอ่ี อก) 7 วันต่อเน่ือง 2,500 - ทาความสะอาด/เปลีย่ นผ้า 1 ครัง้ ในวนั ท่อี อก (ราคารายวนั ปกติ 4,200 บาท) ทัง้ น้ี สมาชกิ 1 คน สามารถใช้สทิ ธิเขา้ พกั ได้เดอื นละ 1 ครงั้ 3. สมาชกิ ทใี่ ชส้ ทิ ธเิ ช่าหอ้ งพักตามข้อ 1 - 2 ไมม่ ีสิทธไิ ด้รับคนื สว่ นลดค่าเช่าหอ้ งพัก รอ้ ยละ 20 ตลอดระยะเวลาโปรโมช่ัน / ข้อเสนอ ...

รายงานประชมุ ชุดที่ 59 ครัง้ ที่ 7 - 32 - ข้อเสนอ/ความเห็นของคณะอนุกรรมการอานวยการ เหน็ ควรใหค้ วามเหน็ ชอบตามทค่ี ณะอนุกรรมการสวสั ดกิ ารเสนอ เสนอที่ประชุมเพอ่ื โปรดพิจารณา มติที่ประชุม เห็นชอบให้ดาเนนิ การดังนี้ 1. ตอ่ อายุโปรโมชนั่ พิเศษไปจนถึงวันที่ 31 ธนั วาคม 2564 2. เพิ่มแพค็ เก็จการเชา่ พัก ต้ังแตว่ ันที่ 1 สิงหาคม - 31 ธนั วาคม 2564 ดงั น้ี แพค็ เก็จ การเข้าพกั อตั ราคา่ เช่า (บาท) การบรกิ าร 15 วันต่อเนอื่ ง 3,500 - ทาความสะอาด/เปลี่ยนผ้า 3 ครั้ง (ราคารายวันปกติ 9,000 บาท) (5 วนั ต่อครัง้ เชน่ เข้าพักวนั ที่ 1 เปล่ยี นผ้า วนั ท่ี 6, 11 และวันทอ่ี อก) 7 วนั ต่อเนอื่ ง 2,500 - ทาความสะอาด/เปลีย่ นผ้า 1 ครั้ง ในวนั ทอ่ี อก (ราคารายวนั ปกติ 4,200 บาท) ทง้ั น้ี สมาชกิ 1 คน สามารถใช้สทิ ธเิ ขา้ พกั ไดเ้ ดือนละ 1 ครั้ง 3. สมาชกิ ที่ใชส้ ทิ ธิเช่าห้องพกั ตามข้อ 1 - 2 ไมม่ สี ิทธไิ ด้รบั คนื ส่วนลดค่าเช่า ห้องพกั ร้อยละ 20 ตลอดระยะเวลาโปรโมช่ัน 6.3 การจ่ายเงินสงเคราะห์สมาชิกผู้ประสบภัย น.ส.รฐา วิเชียรชิต 1. คณะกรรมการดาเนินการฯ ชุดที่ 59 ในการประชุมครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2564 มีมติมอบให้คณะอนุกรรมการสวัสดิการรับไปพิจารณากรณีการให้การสงเคราะห์สมาชิก ผู้ประสบภัยกรณีอุบัติเหตุ หากเห็นว่ามีความจาเป็นต้องเพิ่มจานวนเงินสงเคราะห์ฯ ให้เสนอ คณะกรรมการดาเนินการฯ พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสหกรณ์ฯ ต่อไป 2. ในเดือนกรกฎาคม 2564 สหกรณ์ฯ ได้รับคาร้องจาก นายธีระศักด์ิ ฑียาพงศ์ สมาชิกเลขทะเบียนที่ 19443 ข้าราชการบานาญ จ.พัทลุง ประสบอุบัติเหตุตกบันได เป็นเหตุให้ กระดูกเข่าซ้ายหัก พักรักษาตัวในโรงพยาบาลเป็นเวลาท้ังสิ้น 2 วัน

รายงานประชุม ชุดที่ 59 คร้งั ที่ 7 - 33 - ข้อบังคับสหกรณ์ฯ พ.ศ. 2543 ข้อบังคับ/ระเบียบของสหกรณ์ฯ ระเบยี บสหกรณฯ์ วา่ ด้วย - ขอ้ 59 (13) คณะกรรมการดาเนินการฯ มีอานาจหนา้ ที่ การสงเคราะหส์ มาชิกผู้ประสบภยั กาหนดระเบยี บตา่ ง ๆ ของสหกรณ์ และผูถ้ งึ แก่กรรม (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2557 - ขอ้ 6 กรณสี มาชิกประสบภยั หรอื ได้รบั อนั ตราย ใหส้ มาชิกผปู้ ระสบภยั หรือผทู้ ีไ่ ดร้ ับมอบหมายยืน่ คาร้องเพ่ือขอรบั การสงเคราะห์ตามแบบ ท่ีสหกรณ์กาหนด ภายใน 90 วัน นบั แต่วนั ท่ปี ระสบภยั - ขอ้ 8 การจ่ายเงนิ สงเคราะหส์ มาชิกผู้ประสบภยั ให้พิจารณา โดยคานงึ ถงึ สภาพความเสยี หาย อนั ตรายท่ีได้รบั และเหตุการณ์ ตามความเหมาะสมดังนี้ ฯลฯ (3) กรณีไดร้ ับอันตรายแก่รา่ งกายเปน็ เหตุให้ต้องนอนพัก รกั ษาตัวตามความเห็นแพทย์ หรอื นอนพักรักษาตวั ในโรงพยาบาล ให้การสงเคราะห์ในอตั ราวันละ 250 บาท แตร่ วมแล้วตอ้ งไม่เกนิ 50,000 บาท - ขอ้ 14 ใหค้ ณะกรรมการดาเนนิ การมีอานาจวินิจฉยั ชีข้ าดในกรณี มีปัญหาเก่ยี วกับการดาเนินการตามระเบยี บนี้ และมอี านาจในการ ยกเว้นการบงั คบั ใชร้ ะเบยี บนี้ข้อหนึง่ ขอ้ ใดได้ตามสมควร ขอ้ เสนอ/ความเหน็ ของคณะอนกุ รรมการสวัสดกิ าร เหน็ ชอบใหเ้ สนอคณะกรรมการดาเนินการฯ พจิ ารณาดาเนนิ การดงั น้ี 1. อาศัยอานาจตามความในข้อ 14 ของระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยการสงเคราะห์ สมาชิกผู้ประสบภัยและผู้ถึงแก่กรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2557 ยกเว้นการบังคับใช้ระเบียบฯ ข้อ 8 (3) โดยจ่ายเงินสงเคราะห์ให้แก่ นายธีระศักด์ิ ฑียาพงศ์ สมาชิกเลขทะเบียนที่ 19443 เป็นเงิน 1,000.- บาท (สทิ ธติ ามระเบยี บสหกรณฯ์ จะไดร้ บั 500 บาท (250 x 2)) 2. แก้ไขเพ่ิมเติมระเบียบสหกรณ์ออมทรัพย์ฯ ว่าด้วยการสงเคราะห์สมาชิก ผ้ปู ระสบภยั และผู้ถงึ แกก่ รรม ข้อ 8 (3) โดยให้มีผลใชบ้ งั คบั ต้งั แต่วันถดั จากวันประกาศเปน็ ตน้ ไป ดงั นี้

รายงานประชุม ชดุ ที่ 59 ครง้ั ที่ 7 - 34 - ข้อความเดมิ ขอ้ ความใหม่ เหตุผล - ข้อ 8 การจ่ายเงินสงเคราะหส์ มาชิก - ข้อ 8 การจา่ ยเงินสงเคราะหส์ มาชกิ เพื่อเป็นขวญั กาลงั ใจ ผูป้ ระสบภยั ใหพ้ ิจารณาโดยคานงึ ถงึ ผู้ประสบภยั ให้พจิ ารณาโดยคานึงถึง ของสมาชิก และให้ สภาพความเสียหายอนั ตรายทไี่ ดร้ บั สภาพความเสยี หายอันตรายที่ได้รับ เกดิ ความเหมาะสม และเหตกุ ารณ์ ตามความเหมาะสมดังน้ี และเหตกุ ารณ์ ตามความเหมาะสมดังนี้ กับระยะเวลาการพกั รกั ษาตวั จากกรณี ฯลฯ ฯลฯ ไดร้ บั อนั ตรายแก่ (3) กรณีไดร้ บั อันตรายแกร่ ่างกาย (3) กรณีไดร้ ับอนั ตรายแกร่ ่างกาย รา่ งกาย เปน็ เหตใุ ห้ตอ้ งนอนพักรักษาตวั เปน็ เหตุใหต้ ้องนอนพักรกั ษาตัว ตามความเหน็ แพทย์ หรือนอนพัก ตามความเหน็ แพทย์ หรือนอนพัก รกั ษาตวั ในโรงพยาบาล ให้การสงเคราะห์ รกั ษาตวั ในโรงพยาบาล ให้การสงเคราะห์ ในอตั ราวนั ละ 250 บาท แตร่ วมแลว้ ดงั น้ี ต้องไม่เกนิ 50,000 บาท (3.1) นอนพักรักษาตวั ไมเ่ กนิ 2 วนั ใหก้ ารสงเคราะห์ 1,000 บาท (3.2) นอนพักรักษาตัวตั้งแต่ วนั ท่ี 3 เป็นต้นไป ให้การสงเคราะห์ เพม่ิ เตมิ ในอัตราวนั ละ 250 บาท ท้ังนี้ เม่ือรวมการให้การ สงเคราะห์ ตาม (3.1) และ (3.2) แล้ว ต้องไมเ่ กิน 50,000 บาท ข้อเสนอ/ความเห็นของคณะอนุกรรมการอานวยการ เห็นควรใหค้ วามเหน็ ชอบตามทีค่ ณะอนุกรรมการสวัสดกิ ารเสนอ เสนอทีป่ ระชมุ เพื่อโปรดพิจารณา มติทปี่ ระชุม เหน็ ชอบตามท่คี ณะอนกุ รรมการสวสั ดกิ ารเสนอ 6.4 การมอบทนุ ส่งเสริมการศกึ ษา ประจาปี 2564 น.ส.รฐา วิเชียรชิต ตามท่ีคณะกรรมการดาเนินการฯ ชุดที่ 59 ในการประชุมคร้ังท่ี 4 วันท่ี 26 เมษายน 2564 มีมติอนุมัติให้จัดสรรเงินกองทุนสวัสดิการสงเคราะห์สมาชิกและครอบครัว จานวน 5,400,000.- บาท (ห้าล้านสี่แสนบาทถ้วน) เพื่อมอบเป็นทุนส่งเสริมการศึกษาของสมาชิกและบุตรสมาชิก ตามระเบียบสหกรณ์ฯ ว่าด้วยทุนส่งเสริมการศึกษาของสมาชิกและบุตรสมาชิก และทุนส่งเสริมการศึกษา สาหรับเจ้าหนา้ ทีแ่ ละบุตรเจ้าหน้าทส่ี หกรณ์ฯ ประจาปี 2564 ตามระเบียบสหกรณ์ฯ วา่ ด้วยเจ้าหน้าท่ีสหกรณ์ โดยจัดสรรเงนิ กองทุนสวัสดกิ ารสงเคราะหส์ มาชิกและครอบครวั เช่นเดยี วกัน นนั้ ในการนี้ สหกรณ์ฯ ได้ประกาศคุณสมบัติ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยื่นขอรับ ทุนส่งเสริมการศึกษาของสมาชิกและบุตรสมาชิก ประจาปี 2564 ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และระดับอาชีวศึกษา (ปวช. – ปวส.) ซ่ึงเปิดให้ย่ืนขอรับทุนการศึกษาตั้งแต่วันท่ี 1 พฤษภาคม ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2564 ปรากฏว่ามีผู้ย่ืนขอรับทุนการศึกษาภายในกาหนดเวลาที่มี คุณสมบัติครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์และเง่อื นไข จานวน 2,309 ทุน เป็นเงิน 2,989,200.- บาท แยกเป็น

รายงานประชมุ ชดุ ที่ 59 คร้งั ที่ 7 - 35 - ทุนละ ทนุ บตุ รสมาชิก ทุนบุตรเจ้าหน้าที่สหกรณ์ (บาท) ระดับ จานวน จานวนเงิน จานวน จานวนเงิน (ทุน) (บาท) (ทนุ ) (บาท) 1. ระดับประถมศึกษาปที ี่ 1 - 6 1,200 946 1,135,200 - - 2. ระดบั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 - 3 1,200 632 758,400 3 3,600 3. ระดบั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 1,500 602 903,000 - - 4. ระดับอาชวี ศึกษา (ปวช. – ปวส.) 1,500 126 189,000 - - รวม ปี 2564 2,306 2,985,600 3 3,600 ปี 2563 2,030 2,633,400 5 6,600 เปรยี บเทียบปี 2563 และ 2564 + 223 + 285,600 -2 - 3,000 ในจานวนน้ีมีสมาชิกที่ดารงตาแหน่งประเภทท่ัวไประดับอาวุโสหรือประเภทวิชาการ ระดบั ชานาญการพิเศษ ย่นื ขอรบั ทนุ ใหบ้ ตุ รจานวนทง้ั ส้ิน 151 ทนุ เปน็ เงนิ 198,300.- บาท ระเบยี บสหกรณฯ์ ว่าดว้ ย ระเบียบสหกรณ์ฯ ทุนสง่ เสริมการศึกษาของสมาชิก และบุตรสมาชกิ พ.ศ. 2556 - ข้อ 11 เมือ่ คณะกรรมการดาเนินการได้พิจารณาอนุมัตใิ ห้ทนุ ส่งเสริม การศึกษาสมาชิกและบตุ รสมาชกิ แลว้ ใหป้ ระกาศรายชอื่ สมาชิก และบตุ รสมาชกิ ผูไ้ ด้รับทนุ พรอ้ มทง้ั กาหนดวิธีการขอรบั ทนุ แลว้ ประกาศใหส้ มาชิกทราบโดยท่วั กัน ขอ้ เสนอ/ความเห็นของคณะอนกุ รรมการสวัสดิการ เนอื่ งจากในปจั จบุ ันสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สง่ ผลกระทบต่อการยน่ื ขอรับสวสั ดิการทนุ ส่งเสริมการศกึ ษาฯ ดังนี้ 1. สถานศึกษาบางแหง่ เลอื่ นกาหนดการเปดิ ภาคการศกึ ษา 2. สถานศึกษาบางแห่งยังไม่สามารถออกเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการศึกษา ใหส้ มาชิกนามายื่นประกอบการขอรบั ทนุ ฯ ได้

รายงานประชมุ ชดุ ท่ี 59 ครงั้ ท่ี 7 - 36 - ในการน้ี คณะอนุกรรมการสวัสดิการ ในการประชุมครั้งท่ี 7 เม่ือวันที่ 19 กรกฎาคม 2564 ได้พิจารณาแล้ว เพ่ือให้การมอบทุนส่งเสริมการศึกษาของสมาชิกและบุตรสมาชิก ประจาปี 2564 เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย จงึ เสนอคณะกรรมการดาเนนิ การฯ พิจารณา ดงั นี้ 1. อนุมัติให้มอบทุนการศึกษาระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และระดับ อาชีวศึกษา (ปวช. - ปวส.) แก่ผู้ยื่นขอรับทุนการศึกษาที่มีคุณสมบัติครบถ้วน จานวนทั้งสิ้น 2,309 ทุน เป็นเงินท้ังส้ิน 2,989,200.- บาท (สองล้านเก้าแสนแปดหมื่นเก้าพันสองร้อยบาทถ้วน) โดยประกาศรายช่ือ ผไู้ ด้รับทุนและโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากของสมาชกิ ภายในวันท่ี 6 สิงหาคม 2564 โดยตัดจ่ายจากเงินกองทุน สวัสดกิ ารสงเคราะหส์ มาชกิ และครอบครัว ดงั นี้ ระดบั ทุนละ ทนุ บตุ รสมาชิก ทุนบตุ รเจา้ หนา้ ทีส่ หกรณ์ (บาท) จานวน จานวนเงิน จานวน จานวนเงิน (ทุน) (บาท) (ทุน) (บาท) 1. ระดบั ประถมศึกษาปที ี่ 1 - 6 1,200 946 1,135,200 - - 2. ระดับมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 - 3 1,200 632 758,400 3 3,600 3. ระดบั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 1,500 602 903,000 - - 4. ระดบั อาชีวศึกษา (ปวช. – ปวส.) 1,500 126 189,000 - - รวมทั้งสนิ้ 2,306 2,985,600 3 3,600 อนึ่ง เม่ือจ่ายเงนิ ทุนสง่ เสรมิ การศกึ ษาบตุ รสมาชิกคร้ังนี้แล้ว จะคงเหลือวงเงนิ จานวน 2,414,400.- บาท (ไม่นับรวมทุนเจ้าหน้าท่ีและบุตรเจ้าหน้าท่ีสหกรณ์) สาหรับดาเนินการพิจารณามอบ เป็นทุนส่งเสริมการศึกษาสาหรับสมาชิกและบุตรสมาชิก ระดับปริญญาบัณฑิต ระดับปริญญามหาบัณฑิต และระดบั ปรญิ ญาดุษฎบี ณั ฑติ ซ่ึงกาหนดยื่นขอรบั ทุนระหว่างวันท่ี 1 – 31 สิงหาคม 2564 2. ขยายระยะเวลารับคาขอรับสวัสดิการทุนส่งเสริมการศึกษาของสมาชิกและ บุตรสมาชิกทุกประเภททุกระดับ เพื่ออานวยความสะดวกให้สมาชิกที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ ได้มีโอกาสจัดเตรียมเอกสารประกอบคาขอรับทุนฯ ให้ครบถ้วนเพ่ือส่งให้สหกรณ์ฯ พิจารณาตามสิทธิ ท่ีพึงจะไดร้ บั 3. ภายใต้การขยายระยะเวลาตามข้อ 2 มอบอานาจตามข้อ 11 แห่งระเบียบ สหกรณฯ์ วา่ ด้วยทนุ ส่งเสริมการศกึ ษาของสมาชิกและบุตรสมาชิก พ.ศ. 2556 ให้คณะอนุกรรมการสวัสดกิ าร เป็นผู้พิจารณาอนุมัติให้มอบทุนส่งเสริมการศึกษาของสมาชิกและบุตรสมาชิก ประจาปี 2564 แก่สมาชิก ท่ียื่นคาขอรับทุนฯ และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข รวมทั้งเสนอประธานกรรมการ พจิ ารณาอนมุ ัติการเบกิ จ่ายใหแ้ กส่ มาชิกได้ทนั ที แล้วเสนอคณะกรรมการดาเนนิ การฯ ทราบต่อไป ข้อเสนอ/ความเหน็ ของคณะอนุกรรมการอานวยการ เห็นควรให้ความเห็นชอบตามทคี่ ณะอนุกรรมการสวสั ดิการเสนอ เสนอที่ประชมุ เพ่อื โปรดพิจารณา มตทิ ่ีประชุม เหน็ ชอบตามทค่ี ณะอนกุ รรมการสวสั ดิการเสนอ / 6.5 การจดั สวสั ดกิ าร ...

รายงานประชมุ ชุดที่ 59 คร้งั ท่ี 7 - 37 - 6.5 การจัดสวัสดกิ ารประกันชีวิตและอุบัตเิ หตหุ มู่ ประจาปี 2565 - 2566 น.ส.รฐา วิเชยี รชิต สหกรณ์ ฯ มีประกาศ เร่ือง การจัดสวัสดิการประกันชีวิตและอุบัติเหตุหมู่ ประจาปี 2565 - 2566 ลงวันท่ี 1 มิถุนายน 2564 เชิญชวนให้บริษัทประกันภัยท่ีมีความสนใจเสนอราคา ค่าเบี้ยประกันสาหรับความคุ้มครองในการประกันชีวิตและอุบัติเหตุหมู่ ประจาปี 2565 - 2566 เพื่อเป็น สวัสดิการและเสริมสร้างหลักประกันในการดารงชีวิตให้แก่สมาชิกและครอบครัว โดยวิธีย่ืนซองเสนอราคา ตามขอ้ กาหนดของสหกรณ์ฯ โดยดาเนนิ การดงั น้ี 1. ช้ีแจงรายละเอียดเก่ียวกับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจัดสวัสดิการประกันชีวิตฯ เมื่อวันจันทร์ที่ 14 มิถุนายน 2564 เวลา 10.00 น. ณ สานักงานสหกรณ์ฯ มีผู้แทนบริษัทเข้าร่วมรับฟัง จานวน 6 บริษทั ได้แก่ (1) บมจ.ฟิลปิ ประกันชีวติ (2) บมจ.กรงุ ไทย-แอกซา่ ประกันชวี ิต (3) บมจ.อาคเนย์ประกนั ชีวิต (4) บ. เวลิ ด์ไวด์เวลธ์โซลชู น่ั ส์ จากัด (5) บมจ.ฟอลคอนประกนั ภัย (6) บ.บางกอกสหประกันชีวติ จากัด 2. กาหนดยื่นซองเสนอราคา ในวันศุกร์ท่ี 25 มิถุนายน 2564 ระหว่างเวลา 09.00 - 11.00 น. และเปิดซองเสนอราคา เม่ือวันศุกร์ท่ี 25 มิถุนายน 2564 เวลา 14.00 น. ณ สานกั งานสหกรณ์ฯ 3. สหกรณฯ์ ไดม้ ีคาส่งั ที่ 60/2564 ลงวนั ที่ 1 มิถุนายน 2564 แต่งต้ัง คณะกรรมการรบั ซองเสนอราคา และคณะกรรมการเปิดซองเสนอราคา ในการจดั สวัสดกิ ารประกันชวี ติ ฯ ดงั น้ี คณะกรรมการรับซองเสนอราคา คณะกรรมการเปิดซองเสนอราคา 1. น.ส.รฐา วิเชียรชิต หวั หนา้ ฝ่ายอานวยการ 1. นายสุรพล สุวรรณานนท์ กรรมการดาเนินการ 2. นายวีระวัฒน์ ทรงวรี ะ หัวหน้าฝา่ ยสวัสดิการ 2. นางสุนันทา ดลุ จานงค์ กรรมการดาเนินการ 3. นางลดั ดาวัลย์ ปวณี ดารง เจา้ หนา้ ที่สวสั ดกิ าร 3. น.ส.พรทพิ ย์ คลา้ ยชม ผู้ช่วยผจู้ ัดการฝา่ ยธรุ กจิ ปรากฏว่า มีผู้มาย่ืนซองเสนอราคาภายในวัน เวลา และสถานท่ีท่ีกาหนด และมี คุณสมบัติรวมทัง้ เอกสารประกอบครบถว้ นถูกต้องตามประกาศสหกรณฯ์ จานวนท้งั สิ้น 7 บริษทั ดังนี้ 1. บมจ.ฟลิ ิปประกันชีวิต 2. บมจ.เมืองไทยประกนั ชีวติ 3. บมจ.กรุงไทย-แอกซา่ ประกนั ชวี ติ 4. บมจ.อาคเนยป์ ระกนั ชวี ติ 5. บมจ.คมุ้ ภยั โตเกียวมารนี ประกนั ภัย (ประเทศไทย) 6. บมจ.เอฟ ดบั บลิว ดี ประกนั ภยั 7. บมจ.ฟอลคอนประกันภยั คณะกรรมการเปิดซองเสนอราคา ไดส้ ง่ มอบซองเสนอราคาให้คณะอนุกรรมการ สวสั ดิการพิจารณากลนั่ กรอง เพอ่ื สรุปเป็นขอ้ เสนอให้คณะกรรมการดาเนนิ การฯ พิจารณาตอ่ ไป / สรุปการเสนอราคา ...

รายงานประชมุ ชุดท่ี 59 ครงั้ ท่ี 7 - 38 - สรปุ การเสนอราคาอัตราเบยี้ ประกนั (บาทตอ่ วงเงนิ 100,000 บาท) ลาดับ บรษิ ทั สมาชกิ สมาชกิ บิดา/ คู่สมรส บตุ ร ท่ี (สวัสดิการ) (สมัครใจ) มารดา 1 เมอื งไทยประกนั ชวี ิต จากัด มหาชน 310 516 3,638 828 289 กรณกี ารไม่คนื เงินเบ้ียประกันตามประสบการณ์ 340 567 4,002 911 318 กรณีการคืนเงนิ เบ้ยี ประกนั ตามประสบการณ์ 2 ฟอลคอนประกนั ภยั จากัด มหาชน 474 595 4,012 888 287 3 อาคเนยป์ ระกนั ชีวิต จากดั มหาชน 500 630 4,425 1,005 351 4 เอฟ ดับบลวิ ดี ประกนั ชีวติ จากดั มหาชน 510 610 4,400 1,000 500 5 กรงุ ไทย - แอกซา่ ประกนั ชีวิต จากัด มหาชน 579 876 6,076 1,204 1,204 6 คุม้ ภยั โตเกียวมารนี ประกนั ภยั (ประเทศไทย) 650 650 2,940 2,940 2,940 จากดั มหาชน 850 850 8,470 2,110 375 7 ฟิลลปิ ประกันชวี ติ จากดั มหาชน อัตราค่าเบยี้ ประกนั ในการประกนั ชีวิตและอบุ ตั เิ หตุหมู่ ประจาปี 2563 - 2564 ทสี่ หกรณ์ออมทรัพยก์ รมการปกครอง จากดั ร่วมกับ บริษัทกรุงไทย - แอกซ่า ประกันชวี ติ จากดั (มหาชน) ตามกรมธรรม์ประกนั ชีวิตกลุ่มแบบชั่วระยะเวลา เลขที่ 81001710 และ 81001711 ปี สมาชิก สมาชิก บิดา/มารดา คูส่ มรส บตุ ร 2563 (สวัสดิการ) (สมัครใจ) 2564 (ลดลง 5%) 4,725 1,075 375 ปี 2564 ลดลง 402 670 4,489 1,021 356 382 637 236 19 20 33 54 / สถิติ ...

รายงานประชุม ชดุ ที่ 59 ครงั้ ที่ 7 - 39 - สถติ ิการจ่ายเบยี้ ประกันและการไดร้ บั เงนิ สินไหมฯ ในการประกนั ชวี ติ และอบุ ตั ิเหตุหมู่ ประจาปี 2563 ท่สี หกรณ์ออมทรพั ย์กรมการปกครอง จากดั ร่วมกับ บริษทั กรงุ ไทย - แอกซ่า ประกันชีวติ จากัด (มหาชน) การจ่ายเบีย้ ประกัน การไดร้ บั เงินสนิ ไหมฯ ประเภท จานวน (ราย) เป็นเงิน (บาท) จานวน (ราย) เปน็ เงนิ (บาท) สมาชิก (สวัสดกิ าร) 22,070 9,239,166 87 8,700,000 (รวมสมาชิก 3 จชต.) สมาชกิ 10,027 73,778,390 41 37,100,000 (สมคั รใจ + ก้เู งนิ สามัญ) บดิ า/มารดา 896 9,185,400 37 7,300,000 คสู่ มรส 5,900,000 บุตร 1,740 7,976,500 14 - รวม 733 614,625 - 59,000,000 100,794,081 ส่วนตา่ งการจ่ายเบ้ียประกนั และการได้รบั เงินสินไหมในการประกนั ชีวิตและอบุ ตั ิเหตุหมู่ ประจาปี 2563 ท่ีสหกรณ์ออมทรพั ย์กรมการปกครอง จากัด ร่วมกับ บริษทั กรงุ ไทย - แอกซา่ ประกันชวี ิต จากัด (มหาชน) ประเภท บริษทั ฯ ได้รบั เบี้ยประกันสูงกว่าสหกรณฯ์ ไดร้ ับสินไหมฯ (บาท) สมาชิก (สวสั ดกิ าร) (รวมสมาชิก 3 จชต.) 539,166 สมาชกิ (สมัครใจ + กเู้ งินสามัญ) 36,678,390 บิดา/มารดา 1,885,400 คสู่ มรส 2,076,500 บุตร 614,625 41,794,081 รวม / รายละเอียด ...

รายงานประชุม ชดุ ที่ 59 ครง้ั ที่ 7 - 40 - รายละเอยี ดค่าเบ้ียประกันและเงื่อนไขต่างๆ ของบริษัทเมอื งไทยประกันชวี ิต จากัด (มหาชน) ตารางท่ี 1 อัตราเบ้ียประกัน (กรณไี ม่คืนเงินเบยี้ ประกันตามประสบการณ์) อตั ราเบี้ยประกัน สมาชกิ สมาชิก บดิ า/ คู่สมรส บุตร ต่อวงเงนิ คมุ้ ครอง 100,000 บาท (สวสั ดิการ) (สมัครใจ) มารดา 289 310 516 3,638 828 ตารางที่ 2 เปรียบเทียบกบั อัตราเบยี้ ประกนั ของบริษัทกรงุ ไทย - แอกซ่า ประกันชีวติ จากัด (มหาชน) ในปัจจุบนั อตั ราเบย้ี ประกนั สมาชกิ สมาชกิ บิดา/ คู่สมรส บุตร กรณกี ารไม่คนื เงินเบ้ยี ประกัน (สวัสดิการ) (สมัครใจ) มารดา ตามประสบการณ์ บมจ.กรุงไทย - แอกซ่า ประกันชวี ติ 310 516 3,638 828 289 ส่วนต่าง 382 637 4,489 1,021 356 - 72 - 121 - 851 - 193 - 67 ตารางท่ี 3 อตั ราการปรับราคาค่าเบี้ยประกัน สาหรับปี 2566 อัตราสว่ นสนิ ไหมทดแทน อตั ราคา่ สินไหมทดแทน ปี 2565 เบ้ยี ประกนั ใหม่ (Loss Ratio Range) (เต็มปี) ปี 2566 LR ≤ 35 % ค่าสนิ ไหมทดแทนน้อยกว่าหรือเทา่ กับ 35 % ใหส้ ว่ นลด 20 % 35 % < LR ≤ 45 % ค่าสินไหมทดแทนเกนิ กว่า 35 % 45 % ใหส้ ่วนลด 15 % 45 % < LR ≤ 55 % ค่าสนิ ไหมทดแทนเกนิ กวา่ 45 % 55 % ให้ส่วนลด 10 % 55 % < LR ≤ 65 % คา่ สินไหมทดแทนเกนิ กว่า 55 % 65 % ใหส้ ่วนลด 5 % 65 % < LR ≤ 75 % ค่าสนิ ไหมทดแทนเกนิ กว่า 65 % 75 % 75 % < LR ≤ 85 % คา่ สินไหมทดแทนเกินกวา่ 75 % 85 % ยืนเบ้ียเดมิ 85 % < LR ≤ 95 % คา่ สินไหมทดแทนเกนิ กว่า 85 % 95 % ปรบั เบี้ยเพ่ิม 5 % 95 % < LR ≤ 105 % คา่ สนิ ไหมทดแทนเกินกวา่ 95 % 105 % ปรับเบย้ี เพม่ิ 10 % 105 % < LR ≤ 115 % ค่าสินไหมทดแทนเกนิ กวา่ 105 % 115 % ปรับเบยี้ เพม่ิ 15 % ปรับเบย้ี เพมิ่ 20 % / ตารางท่ี 4 ...

รายงานประชมุ ชดุ ที่ 59 คร้ังที่ 7 - 41 - ตารางท่ี 4 ความค้มุ ครอง จากวงเงินเอาประกันเร่มิ ตน้ 100,000 บาท ลาดบั กรณี สินไหมทดแทน 1 เสยี ชีวิตทกุ กรณี ยกเวน้ การฆ่าตัวตายในปแี รก 100,000 และการถกู ฆาตกรรมโดยผู้รบั ประโยชน์ 2 เสยี ชวี ิตเนือ่ งจากอุบตั เิ หตธุ รรมดา 200,000 3 เสียชวี ติ เนือ่ งจากอุบตั ิเหตพุ ิเศษ (สาธารณภัย โดยสาร 300,000 รถไฟ รถประจาทาง ลฟิ ต์ ไฟไหมโ้ รงมหรสพ หรือ อาคารสาธารณะ) 4 สญู เสยี อวยั วะ 4.1 สายตา 2 ข้าง หรือมือ 2 ขา้ ง หรอื เทา้ 2 ขา้ ง 100,000 4.2 สายตา หรอื มือ หรอื เทา้ อย่างใดอย่างหน่งึ รวมกนั 2 ขา้ งข้นึ ไป 100,000 4.3 สายตา 1 ขา้ ง หรือมอื 1 ขา้ ง หรือเท้า 1 ขา้ ง 60,000 4.4 แขน 1 ขา้ งตง้ั แตไ่ หล่ หรือขา 1 ข้างต้ังแต่ต้นขา* 75,000 4.5 แขน 1 ข้างต้งั แต่ข้อศอก หรือขา 1 ขา้ งตั้งแต่หัวเขา่ * 65,000 4.6 หหู นวก 2 ข้าง หรือเป็นใบ้* 50,000 4.7 หูหนวก 1 ข้าง* 15,000 4.8 หัวแมม่ ือของมอื ขา้ งหน่งึ 2 ข้อ* 25,000 4.9 หัวแมม่ อื ของมือข้างหนึง่ 1 ข้อ* 10,000 4.10 น้ิวชขี้ องมือข้างหนึง่ 3 ข้อ* 10,000 4.11 นว้ิ ชี้ของมือขา้ งหนึ่ง 2 ขอ้ * 8,000 4.12 นวิ้ ช้ีของมือข้างหนง่ึ 1 ขอ้ * 4,000 4.13 น้วิ อนื่ แตล่ ะนว้ิ นอกจากนวิ้ หวั แมม่ ือและนิ้วช้ไี ม่น้อยกว่า 2 ข้อ* 5,000 4.14 นิ้วหวั แม่เท้า* 5,000 4.15 น้ิวเท้าอน่ื แต่ละนิว้ นอกจากนิ้วหัวแมเ่ ทา้ ไม่น้อยกว่า 1 ขอ้ * 1,000 5 ทพุ พลภาพส้นิ เชงิ ถาวรเนือ่ งจากการไดร้ ับบาดเจบ็ หรือเจบ็ ปว่ ยนาน 100,000 ต่อเนอ่ื งเปน็ เวลาไม่น้อยกว่า 180 วนั กรณที ุพพลภาพถาวร เมื่อไดร้ ับเงินสนิ ไหมทดแทนแลว้ ยังคุ้มครองการประกันชีวติ สาหรบั ผเู้ อาประกัน ท่ตี กเป็นผู้ทุพพลภาพถาวรที่มีอายุไม่เกนิ 65 ปบี รบิ รู ณ์ ต่อไปตามกรมธรรม์ แต่ไม่เกิน 12 เดือน หมายเหตุ - ความคมุ้ ครองตามข้อ 4.3 กรมธรรมป์ จั จบุ นั ให้ความคมุ้ ครอง 100,000 บาท - ความคมุ้ ครองตามข้อ 4.4* - 4.15* กรมธรรมป์ ัจจุบันไม่ใหค้ วามคุ้มครอง สถานะทางการเงนิ ของบรษิ ัทเมอื งไทยประกันชีวิต จากดั (มหาชน) ณ สนิ้ ปี 2563 1. สินทรพั ย์รวม 556,402 ลา้ นบาท 2. กาไรสทุ ธิ 7,719 ล้านบาท 3. เงินสารองประกันชวี ติ และเงินสารองเบีย้ ประกันภยั 470,198 ลา้ นบาท เงอ่ื นไขพิเศษ ไม่มี .............................

รายงานประชุม ชุดที่ 59 ครั้งท่ี 7 - 42 - ข้อเสนอ/ความเห็นของคณะอนกุ รรมการสวัสดกิ าร คณะอนุกรรมการสวัสดิการ ในการประชุมครั้งท่ี 6 เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2564 ได้พิจารณากล่ันกรองราคาค่าเบ้ียประกันและเง่ือนไขประกอบต่างๆ ท่ีเป็นประโยชน์สูงสุดต่อสหกรณ์ฯ ด้วยความละเอียดรอบคอบแล้ว จึงเสนอคณะกรรมการดาเนินการฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบคัดเลือก บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน) เข้าร่วมการจัดสวัสดิการประกันชีวิตและอุบัติเหตุหมู่ ประจาปี 2565 - 2566 โดยเลือกอัตราค่าเบี้ยประกันแบบไม่คืนเงินเบี้ยประกันตามประสบการณ์ ท้ังน้ี จะได้กาหนดการลงนามในสัญญากรมธรรม์ และประกาศแจ้งให้สมาชิกทราบโดยท่ัวกัน เพื่อให้สมาชิก แจง้ ความประสงคใ์ นการซอ้ื ความคุ้มครองเพม่ิ เตมิ จากที่สหกรณฯ์ จดั สวัสดิการใหภ้ ายในเวลาท่ีกาหนดตอ่ ไป ข้อเสนอ/ความเห็นของคณะอนุกรรมการอานวยการ เห็นควรใหค้ วามเห็นชอบตามทค่ี ณะอนุกรรมการสวัสดิการเสนอ เสนอท่ปี ระชมุ เพอ่ื โปรดพจิ ารณา มตทิ ่ีประชุม เห็นชอบตามทคี่ ณะอนุกรรมการสวสั ดิการเสนอ เสนอโดยคณะอนกุ รรมการ นโยบายการบรหิ ารการเงินการลงทนุ และความเสี่ยงในการดาเนนิ ธรุ กจิ 6.6 สหกรณอ์ อมทรัพย์สาธารณสุขชัยภูมิ จากดั แจ้งปรบั ลดอัตราดอกเบี้ยเงนิ ฝาก น.ส.รฐา วเิ ชยี รชติ ตามที่สหกรณ์ฯ มีเงินฝากกับ สอ.สาธารณสุขชัยภูมิ จากัด จานวน 100.001 ลา้ นบาท ประเภทเงินฝากออมทรัพย์ อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.80 ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยปีละ 2 ครั้ง (1 เมษายน และ 1 ตุลาคม ของทุกปี) และสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขชัยภูมิ จากัด แจ้งขอเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย เงนิ ฝาก รายละเอยี ดดงั น้ี จานวนเงนิ ฝาก ประเภทเงนิ ฝาก อัตรา อัตรา ปรบั ลด ตั้งแต่วันท่ี (ล้านบาท) ดอกเบ้ียเดิม ดอกเบ้ียใหม่ 1 ก.ค. 2564 100.001 ออมทรพั ย์ 3.80 3.30 ขอ้ บงั คับสหกรณ์ฯ ข้อบังคบั สหกรณ์ฯ พ.ศ. 2543 - ข้อ 59 (2) กาหนดว่า คณะกรรมการดาเนินการมีอานาจพจิ ารณาในเร่ือง การรบั ฝากเงนิ การกูย้ ืมเงนิ การให้เงนิ กู้ และการฝากหรือการลงทุนของสหกรณ์ ข้อเสนอ/ความคดิ เหน็ ของคณะอนกุ รรมการนโยบายการบรหิ ารการเงินฯ เห็นควรเสนอคณะกรรมการดาเนินการ พิจารณาฝากเงินจานวน 100.001 ล้านบาท ตอ่ กับสหกรณอ์ อมทรัพย์สาธารณสขุ ชยั ภูมิ จากดั โดยไดร้ บั อัตราดอกเบี้ยรอ้ ยละ 3.30 ตอ่ ปี ขอ้ เสนอ/ความเห็นของคณะอนกุ รรมการอานวยการ เห็นควรให้ความเห็นชอบตามทคี่ ณะอนุกรรมการนโยบายการบริหารการเงินฯ เสนอ เสนอทีป่ ระชมุ เพื่อโปรดพจิ ารณา มติที่ประชุม เห็นชอบให้ฝากเงนิ จานวน 100.001 ล้านบาท ตอ่ กับสหกรณอ์ อมทรัพย์ สาธารณสุขชัยภูมิ จากดั โดยไดร้ ับอัตราดอกเบี้ยรอ้ ยละ 3.30 ตอ่ ปี / 6.7 มาตรการ ...

รายงานประชมุ ชดุ ที่ 59 ครง้ั ท่ี 7 - 43 - 6.7 มาตรการงดหรอื ลดส่งเงินค่าหุ้นรายเดอื น น.ส.รฐา วิเชยี รชติ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ในปัจจุบันท่ีทวีความรุนแรงข้ึน อย่างต่อเนื่อง ทาให้สมาชิกของสหกรณ์ฯ ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ดังกล่าว โดยท่ีต้องแบกรับภาระของ ครอบครัวสูงท่ีสุดข้ึนกว่าเดิม เนื่องจากสมาชิกในครอบครัวที่ไม่มีงานทาหรือไม่มีรายได้จากการประกอบอาชีพ คา้ ขาย แต่คา่ ใช้จา่ ยยังคงเดิม นัน้ ข้อเสนอ/ความเห็นของคณะอนุกรรมการนโยบายการบรหิ ารการเงนิ ฯ คณะอนุกรรมการนโยบายการบริหารการเงินฯ ในการประชุมคร้ังท่ี 7 เม่ือวันท่ี 16 กรกฎาคม 2564 ได้พิจารณาจากสถานการณ์การระบาดที่ทวีความรุนแรง และส่งผลกระทบต่อการดารงชีพ ของสหกรณ์และครอบครัวของสมาชิกแล้ว เห็นควรเสนอคณะกรรมการดาเนินการฯ พิจารณาให้ความ ช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิก ในกรณีต้องมีภาระส่งเงินค่าหุ้นรายเดือนตามระเบียบ ของสหกรณฯ์ โดยเริ่มต้งั แต่งวดเดือนกนั ยายน 2564 ดงั น้ี มาตรการ หลกั การ/เหตุผล ข้อบังคับสหกรณฯ์ พ.ศ. 2543 งดชาระคา่ หุ้นรายเดือน 1. สมาชกิ ไม่สามารถชาระค่าหุ้นรายเดือนได้ ขอ้ 6 เม่อื สมาชกิ มีคาขอเปน็ หนังสอื และคณะกรรมการได้สอบสวน ชัว่ คราว ระยะเวลา 12 งวด (มไิ ด้เกดิ จากเจตนาไม่สจุ ริต) พจิ ารณาเหน็ ว่า สมาชิกนัน้ อย่ใู นพฤติการณ์อันทาใหส้ ามารถ หรอื 18 งวด หรือ 24 งวด 2. เปน็ อานาจคณะกรรมการดาเนนิ การ ชาระค่าห้นุ รายเดอื นได้ โดยมใิ ช่ เกดิ ขน้ึ ด้วยเจตนาอันไม่สุจรติ พจิ ารณาตามทเ่ี หน็ สมควร ของตน คณะกรรมการดาเนนิ การ จะอนญุ าตให้สมาชกิ น้ันมติ อ้ ง 3. กาหนดระยะเวลาการหยดุ ชาระค่าหุ้น ชาระค่าหุ้นรายเดือนชั่วระยะเวลา ตามท่คี ณะกรรมการดาเนนิ การ รายเดือนใหช้ ัดเจน เหน็ สมควรกไ็ ด้ รายละเอยี ดการสง่ ค่าหนุ้ รายเดอื น อตั ราค่าหนุ้ (บาท) จานวนสมาชิก (ราย) จานวน (บาท) 2,000 11,983 5,420,205,050 1,500 1,836 600,371,720 1,000 5,058 1,117,795,930 ทั้งน้ี ปัจจุบันสหกรณ์ฯ มีสภาพคล่องเพียงพอในการบริหารจัดการ แม้ว่าสมาชิก จะหยุดหรือลดสง่ เงนิ คา่ หุ้นรายเดือนลงกต็ าม (ขณะน้ีมเี งนิ ลน้ ระบบประมาณ 200 ล้านบาท)

รายงานประชมุ ชุดที่ 59 ครัง้ ที่ 7 - 44 - อนึง่ มอบใหฝ้ ่ายจัดการประชาสัมพันธก์ ารลดชาระค่าหุน้ รายเดือนตามข้อบงั คบั สหกรณ์ฯ พ.ศ. 2543 ขอ้ 7 ดงั น้ี ขอ้ บังคับสหกรณ์ฯ พ.ศ. 2543 หลกั การ ข้อ 7 การงดหรือลดชาระค่าหนุ้ รายเดอื น สมาชิกที่ไดช้ าระค่าหุ้น 1. สมาชิกต้องชาระคา่ หุ้นไม่นอ้ ยกว่า 120 เดือน ไม่น้อยกวา่ หนึ่งร้อยยส่ี ิบเดือน หรือเป็นจานวนไมน่ ้อยกว่า (10 ปี) หรือมเี งินคา่ หนุ้ ไม่น้อยกวา่ สองแสนบาท และไมม่ ีหนสี้ ินกบั สหกรณย์ กเวน้ เงนิ กู้ 200,000 บาท เพอ่ื เหตฉุ ุกเฉนิ จะงดชาระค่าหุ้นรายเดือนหรือลดจานวน 2. ไมม่ หี นสี้ ินกับสหกรณ์ (ยกเวน้ เงนิ กู้ การถอื หุ้นรายเดือนลงก็ได้ โดยแจง้ ความจานงเป็นหนงั สือ เพ่ือเหตุฉุกเฉิน) ต่อคณะกรรมการดาเนินการ 3. แจ้งความจานงเปน็ หนังสอื ตอ่ คณะกรรมการ ดาเนินการ ขอ้ เสนอ/ความเหน็ ของคณะอนุกรรมการอานวยการ เหน็ ควรใหค้ วามเหน็ ชอบตามทค่ี ณะอนุกรรมการนโยบายการบรหิ ารการเงินฯ เสนอ เสนอทปี่ ระชมุ เพอ่ื โปรดพจิ ารณา มตทิ ่ปี ระชุม เห็นชอบให้กาหนดมาตรการงดชาระคา่ หุน้ รายเดือนช่ัวคราว ตามข้อบังคับสหกรณ์ฯ ตง้ั แต่วันที่ 1 สิงหาคม – 31 ธันวาคม 2564 ดังนี้ มาตรการ หลกั การ/เหตผุ ล ข้อบงั คับสหกรณฯ์ พ.ศ. 2543 งดชาระค่าหุ้นรายเดอื น 1. สมาชิกไมส่ ามารถชาระค่าหนุ้ รายเดอื นได้ ขอ้ 6 เม่อื สมาชกิ มีคาขอเป็นหนังสอื และ ชว่ั คราว ระยะเวลา 12 งวด หรือ 18 งวด หรือ 24 งวด (มิได้เกิดจากเจตนาไมส่ จุ ริต) คณะกรรมการได้สอบสวนพิจารณาเห็นวา่ 2. เปน็ อานาจคณะกรรมการดาเนนิ การ สมาชิกนัน้ อยู่ในพฤติการณอ์ ันทาให้สามารถ พจิ ารณาตามท่ีเห็นสมควร ชาระค่าหุน้ รายเดือนได้ โดยมใิ ชเ่ กดิ ข้ึน 3. กาหนดระยะเวลาการหยุดชาระคา่ หุน้ ดว้ ยเจตนาอันไม่สุจรติ ของตน รายเดอื นให้ชัดเจน คณะกรรมการดาเนินการจะอนญุ าตให้ สมาชิกนน้ั มติ ้องชาระค่าหนุ้ รายเดือน ชวั่ ระยะเวลา ตามทค่ี ณะกรรมการ ดาเนินการเห็นสมควรกไ็ ด้ ทง้ั น้ี มอบฝ่ายจดั การประชาสมั พนั ธ์ใหส้ มาชกิ รบั ทราบโดยทวั่ กนั / ระเบียบวาระท่ี ...

รายงานประชมุ ชุดท่ี 59 คร้งั ท่ี 7 - 45 - ระเบียบวาระที่ 7 เรอื่ งเพือ่ ทราบ (โดยเอกสาร) เลขานกุ าร เสนอโดยคณะอนุกรรมการเงนิ กู้ 7.1 การให้เงินกู้ ในเดือนมิถนุ ายน 2564 สหกรณ์ฯ ได้อนมุ ัติให้สมาชกิ ก้เู งินดังนี้ ที่ เงนิ กู้ จานวน จานวนเงิน หมายเหตุ (ราย) (บาท) 1 เพ่อื เหตฉุ กุ เฉิน 100 14,422,100 - ส่วนกลาง จานวน 7 ราย เป็นเงิน 80,700 บาท - ส่วนภูมิภาค จานวน 5 ราย เปน็ เงนิ 47,400 บาท - ATM จานวน 88 ราย เป็นเงิน 14,294,000 บาท กด ฉ. ATM 47,508,263.52 บาท กด 5,299 ครัง้ 2 สามัญ 273 226,514,000 - หักหนเี้ ดิม จานวน 116,444,074.97 บาท (กูเ้ ตม็ สิทธ์)ิ 34 - จา่ ยจริง จานวน 110,069,925.03 บาท 96 3 สามญั 40,537,000 - หักหนี้เดิม จานวน 34,145,163.65 บาท (กู้ไม่เตม็ สทิ ธ์ิ) - จา่ ยจรงิ จานวน 6,391,836.35 บาท 4 สามญั 5,427,000 - การศกึ ษา จานวน 5 ราย เปน็ เงิน 210,000 บาท (สวสั ดกิ าร) - วสิ ัยทศั น์ จานวน - ราย เปน็ เงนิ - บาท - SME จานวน 9 ราย เปน็ เงิน 765,000 บาท - ปนื จานวน 5 ราย เป็นเงนิ 329,000 บาท - จักรยานยนต์ จานวน 39 ราย เปน็ เงนิ 1,650,000 บาท - คอมพิวเตอร์ จานวน 27 ราย เปน็ เงิน 1,164,000 บาท - โควิด 19 จานวน 11 ราย เป็นเงิน 1,309,000 บาท 5 พิเศษ 7 15,478,000 (รายละเอียดตามตารา) ลาดบั ที่ ชื่อ – สกลุ – ตาแหนง่ สมาชกิ เลข วตั ถปุ ระสงค์ จานวนเงิน อนมุ ตั ิ ทะเบยี นท่ี 656,000 1 นางสาววันทนี อ่างทอง 36135 เพอื่ ซื้อท่ดี ิน 1,900,000 ปลดั อาเภอ (จพง.ปค.ชานาญการ) จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี 35447 เพือ่ สรา้ งบ้านบนที่ดนิ ของตนเอง 2,356,000 กรมการปกครอง 41088 เพื่อไถ่ถอนจานองบ้านพร้อมท่ดี นิ 28430 เพื่อซอื้ บา้ นพร้อมทดี่ นิ 2,260,000 2 นางสาวอุษา สายทอง นักวิชาการเงนิ และบญั ชีชานาญการ กองคลัง กรมการปกครอง 3 นายตลุ ภทั ร บญุ เตมิ นกั วิชาการคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง 4 นายกมล ชยั กันทะ ทอ้ งถนิ่ จงั หวัดลาปาง จังหวดั ลาปาง กรมการปกครอง

รายงานประชุม ชดุ ที่ 59 คร้ังที่ 7 - 46 - ลาดบั ที่ ชอ่ื – สกุล – ตาแหน่ง สมาชกิ เลข วตั ถุประสงค์ จานวนเงิน อนมุ ัติ ทะเบยี นท่ี 3,980,000 5 นายเอกภณ แจม่ ใส 35914 เพอ่ื ซ้อื บา้ นพรอ้ มท่ีดนิ 1,326,000 เจา้ พนกั งานปกครองชานาญการพิเศษ สานักอานวยการกองอาสารักษาดนิ แดน 26931 เพอื่ ไถถ่ อนจานองบ้านพร้อมทด่ี ิน 3,000,000 กรมการปกครอง 28753 เพ่อื ซ้อื บ้านพรอ้ มท่ดี นิ 6 นายภญิ โญ สุนทรวภิ าต ผู้อานวยการกลุ่มงานศูนยด์ ารงธรรม จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 7 วา่ ท่ี ร.ต.วิกรม จากท่ี รองผ้วู า่ ราชการจังหวัดภเู กต็ จังหวัดภูเกต็ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ขอ้ เสนอ/ความเห็นของคณะอนุกรรมการเงินกู้ เสนอท่ีประชมุ เพอื่ โปรดทราบ มติทปี่ ระชมุ รบั ทราบ 7.2 ผลการดาเนนิ งาน “การชว่ ยเหลอื สมาชิกผูค้ า้ ประกันเงินกสู้ ามญั ” เลขานกุ าร คณะอนกุ รรมการเงินกูข้ อรายงานผลการดาเนนิ งาน ในการช่วยเหลอื สมาชิก ผคู้ ้าประกันเงนิ กู้สามัญ ดงั น้ี 1) ณ วันที่ 1 มกราคม 2564 (ยกมา) 68,445,843.62 บาท 2) ได้รบั จัดสรรจากกาไรสทุ ธิเมอ่ื วันที่ 30 มกราคม 2564 2,625,650.- บาท รวมเงินทนุ ช่วยเหลอื สมาชิกผู้คา้ ประกนั 71,071,493.62 บาท 3) จ่ายเงนิ ช่วยเหลอื สมาชิกระหว่างปี 2564 2,683,297.33 บาท (เดือนมกราคม – มถิ นุ ายน 2564 จานวน 7 สัญญา 20 ราย) คงเหลอื เงินทนุ ชว่ ยเหลอื สมาชิกผู้ค้าประกัน 68,388,196.29 บาท 4) การเรียกเก็บค่าใชจ้ า่ ยจากสมาชกิ ในการกู้เงนิ สามญั ระหวา่ ง ปี 2564 1,531,750.- บาท เดือน จานวนเงิน เดือน จานวนเงิน เดือน จานวนเงิน มกราคม 2564 221,550 พฤษภาคม 2564 264,350 กันยายน 2564 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 มนี าคม 2564 231,400 มิถุนายน 2564 220,500 ตุลาคม 2564 เมษายน 2564 275,550 กรกฎาคม 2564 พฤศจกิ ายน 2564 318,400 สิงหาคม 2564 ธนั วาคม 2564 5) จานวนสญั ญาท่ีกองทนุ ให้ความคมุ้ ครอง ถงึ วนั ที่ 30 มิถุนายน 2564 จานวน 16,212 สญั ญา ขอ้ เสนอ/ความเห็นของคณะอนุกรรมการเงินกู้ เสนอที่ประชมุ เพ่ือโปรดทราบ มตทิ ่ปี ระชุม รับทราบ / 7.3 การเรียกเก็บ ...

รายงานประชมุ ชุดท่ี 59 ครัง้ ท่ี 7 - 47 - 7.3 การเรียกเก็บคา่ ใช้จา่ ยของสมาชิกกเู้ งนิ ฉกุ เฉนิ ATM เลขานุการ คณะอนุกรรมการเงนิ กู้ ขอรายงานผลการเก็บค่าใชจ้ า่ ยของสมาชกิ กเู้ งนิ ฉุกเฉนิ ATM ประจาเดือนมกราคม – มิถุนายน 2564 ดังนี้ เดอื น/ปี ราย จานวนเงิน ยกมา (1 ม.ค. 2564) 3,125 576,950 มกราคม 2564 92,250 กมุ ภาพันธ์ 2564 581 64,600 มีนาคม 2564 427 41,500 เมษายน 2564 281 50,350 พฤษภาคม 2564 387 31,550 มิถนุ ายน 2564 223 33,500 241 890,700 รวม 5,265 ขอ้ เสนอ/ความเห็นของคณะอนุกรรมการเงนิ กู้ เสนอทปี่ ระชมุ เพื่อโปรดทราบ มติท่ีประชมุ รบั ทราบ 7.4 มาตรการให้เงินกสู้ ามญั โดยสมาชิกต้องมเี งนิ คา่ หุน้ สะสมในสหกรณ์ ไมน่ อ้ ยกว่า 2,000.- บาท (ใช้บังคบั ต้ังแต่ 1 เมษายน 2563) เลขานุการ คณะอนุกรรมการเงนิ กู้ ขอรายงานมาตรการเงนิ กสู้ ามญั โดยสมาชิกตอ้ งมีเงินคา่ หนุ้ สะสม ในสหกรณ์ฯ ไม่นอ้ ยกว่า 2,000.- บาท ดงั น้ี อนมุ ตั ิจา่ ยเงนิ กูส้ ามัญ จานวน จานวนเงินอนมุ ตั ิ คงเหลือจา่ ย สมาชกิ ท่มี ีหนุ้ สะสมนอ้ ยกวา่ (รอบวันท่ี) สมาชกิ (บาท) (บาท) ร้อยละ 3 ของจานวนเงินกู้ (ราย) จานวน (ราย) ซ้ือห้นุ เพม่ิ (บาท) มกราคม 2564 220,650,000 67,561,019.99 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 211 230,532,800 68,439,338.99 -- มนี าคม 2564 197 274,451,000 68,856,864.37 -- เมษายน 2564 220 319,656,000 88,538,105.04 -- พฤษภาคม 2564 234 263,437,000 58,108,228.89 -- มถิ นุ ายน 2564 197 217,628,000 65,539,386.33 -- 189 1,526,354,800 417,042,943.61 -- รวม 1,248 -- ขอ้ เสนอ/ความเห็นของคณะอนุกรรมการเงินกู้ เสนอทปี่ ระชมุ เพื่อโปรดทราบ มติทีป่ ระชุม รบั ทราบ / 7.5 โครงการ ...


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook