Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาอนุพุทธประวัติ

วิชาอนุพุทธประวัติ

Published by Noy4021, 2020-01-06 23:44:36

Description: วิชาอนุพุทธประวัติ

Search

Read the Text Version

 1๑5๔๙1 วชิ า อนพุ ุทธประวตั ิ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 151

1๑๕5๐2๑๕๐ คมู อื กคาูมรอืศกึ าษราศนกึ กั ษธารนรกัมธชนรั้ รโทมชนั้ โท ขอบขา ยเน้ือหา วิชาพทุ ธ : อนุพุทธประวัติ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 152

 1๑5๕3๑ วชิ า อนพุ ุทธประวตั ิ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 153

1๑๑๑๕๕๕5๒๒๒4 คคคคููููมมมมออออืืืื กกกาาาารรรศศศศกกกกึึึึ ษษษาาานนนนกกกัััั ธธธรรรรรรรมมมชชชนนนั้้ัั้้ โโโทททท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 วชิ าพทุ ธ : อนพุ ุทธประวตั ิ ความรูเบอื้ งตน พทุ ธะ ๓ ประเภท คาํ วา พุทธะ หมายถึง ทานผูรู มี ๓ ประเภท คือ (๑) สัมมาสัมพุทธะ ผูตรัสรูเองโดยชอบ และสอนผูอื่นใหรูตามไดดวย (๒) ปจเจกพุทธะ ผูตรัสรูเฉพาะตน ไมสามารถสอนใหผูอ่ืนรูตามได (๓) สาวกพุทธะ ผูรูไดเพราะการฟง คือมีผูอื่นส่ังสอน จึงรูตามได หรือเรียกวา สุตพุทธะ และ นยิ มเรยี กอกี ชือ่ หนึ่งวา อนุพุทธะ หมายถึง ผูรูตาม และตนเองก็สามารถสอนใหผอู ื่นรูตามไดด วย ความหมายของอนพุ ทุ ธประวตั ิ อนุพุทธประวัติ แยกเปน ๒ คํา คือคําวา อนุพุทธะ กับคําวา ประวัติ โดยคําวา อนุพุทธะ แปลวา คผูมูรอืูตกาามรศหกึ ษมาานยกั ถธึงรรสมาชวนั้ โกทของพระพุทธเจา หรือเรียกวา พุทธสาวก ที่ได รับฟงพุทธธรรมคําสั่งสอนจากพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจาแลวนอมนําหลักธรรมน้ันไป ประพฤติปฏิบัติเพียรพยายามฝกหัดกาย วาจา และใจจนสามารถตัดกิเลสบรรลุมรรคผลตาม ความแกกลาแหงอินทรียธรรมของตน ซ่ึงเปนไดทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ หรือกลาวโดยงาย ไดแก พุทธบริษัท ๔ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ที่ไดบรรลุมรรคผล สําเร็จเปน พระอริยบุคคล ๘ จําพวก คือ (๑) ผูตั้งอยูในโสดาปตติมรรค (๒) ผูตั้งอยูในโสดาปตติผล (๓) ผูต้ังอยูในสกทาคามิมรรค (๔) ผูต้ังอยูในสกทาคามิผล (๕) ผูต้ังอยูในอนาคามิมรรค (๖) ผตู ้งั อยใู นอนาคามผิ ล (๗) ผูตัง้ อยูในอรหัตตมรรค (๘) ผตู ั้งอยใู นอรหตั ตผล สวนคําวา ประวัติ แปลวา ความเปนมา หมายถึง เรื่องราวความเปนมาของบุคคล หรือสิง่ ตาง ๆ ท่ีกลาวถึง คําวา อนุพุทธประวัติ จึงหมายถึง เรื่องราวความเปนมาของอนุพุทธ- บุคคล ซึ่งกลาวถึง ชาติภูมิหรือสถานะเดิมของอนุพุทธบุคคลกอนเขามาบรรพชาอุปสมบท หรือ ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา มูลเหตุแหงการบรรพชาอุปสมบท การบรรลุธรรมสําเร็จเปน พระอริยบุคคล การทํางานเผยแผพระพุทธศาสนา การไดรับเอตทัคคะ รวมถึงบุญญาธิการ และ การดบั ขนั ธปรินพิ พาน หรอื ส้นิ อายุขยั ความเปน มาของอนพุ ทุ ธประวตั ิ อนุพทุ ธประวัตทิ เี่ ราเหลาพุทธบริษัทไดศึกษากันนี้้ มีแหลงท่่ีมาจากคัมภีรพระบาลีไตรปฎก ซึ่งเปนหลักฐานอางอิงช้ันท่ี ๑ (ปฐมภูมิ) เชน นํามาจากคัมภีรเถรคาถา เถรีคาถา ขุททกนิกาย 154

 1๑5๕5๓ วชิ า อนพุ ุทธประวตั ิ (พระไตรปฎกเลมท่ี ๒๖) และคัมภีรอปทาน ขุททกนิกาย (พระไตรปฎกเลมที่ ๓๒ – ๓๓) โดย พระธรรมสังคาหกาจารย (พระอรหัตตเถระ ๕๐๐ รูป ที่กระทําสังคายนาพระธรรมวินัยคร้ังท่ี ๑) ไดร วบรวมประมวลไวโดยใจความ เนน ความสาํ คญั ๓ ดา น คือ ๑. อปทาน วาดวยประวัติการสรางบําเพ็ญสาวกบารมีหรือการสรางสมความดี เริ่ม ตั้งแตการไดรับพุทธพยากรณจากพระพุทธเจาในปางกอนจนถึงชาติสุดทาย ซึ่งแตละรูปหรือ แตละบุคคลใชเ วลาอยางนอ ยทีส่ ุด ๑ แสนกัป ๒. เอตทัคคะ วาดวยการไดรับยกยองจากพระพุทธองคถึงความเปนเลิศคือมี ความชาํ นาญในดานตา ง ๆ ท่เี ปน ประโยชนต อ การประกาศพระศาสนา ๓. ธรรมภาษิต วาดวยการรวบรวมคําสุภาษิตท่ีเก่ียวกับหลักธรรมที่อนุพุทธบุคคล เหลาน้ันกลาวดวยความปติโสมนัสที่เกิดจากความหลุดพนกิเลสหรือบรรลุธรรม หรือกลาวใน โอกาสตาง ๆ ซึ่งเปนขอคิดคติธรรมสําหรับปจฉิมชน (คนรุนหลังๆ) เพื่อจะไดนําไปประพฤติ ปฏบิ ัติตามกุศลธรรมฉนั ทะของแตละบคุ คล อนุพุทธประวัติมีความเดนชัดนาศึกษาย่ิงข้ึน เมื่อพระอรรถกถาจารยผูรูความแหง พระบาลี ไดสงั วรรณนาขยายความใหพิสดารออกไปอยางมีระบบและระเบียบตามหลักวิชาการ เลาเรือ่ งประวัติของบุคคล โดยไดก าํ หนดประเดน็ (หัวขอ) ใหศกึ ษา คอื ๑. ชาติภูมิ หรือสถานะเดิม กลาวถึงภูมิลําเนาสถานท่ีเกิด ช่ือเดิม ช่ือบิดามารดา สกลุ วงศ วรรณะของแตละทา น ๒. ชีวิตกอนบวช กลาวถึงความเปนไปแหงชีวิตกอน บวชหรือเลื่อมใสใน พระพุทธศาสนา เชน ประวัติการศึกษา การประกอบอาชีพ การครองเรือน รวมถึงการดําเนิน ชีวิตท่ีเดนในดานอ่ืน ๆ เชน เปนศาสดาเจาลัทธิ หรือเปนนักบวช นักพรตภายนอก พระพุทธศาสนา เปนตน ๓. มูลเหตุที่บวช หรือเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา กลาวถึงเหตุจูงใจที่ทําใหอนุพุทธ- บุคคลเหลา น้ันตัดสินใจบวชหรอื หนั มานบั ถอื ๔. การบรรลุธรรม กลาวถึงการท่ีทานเหลานั้นบรรลุธรรมหรือสําเร็จมรรคผล เปนพระอริยบุคคลในพระพทุ ธศาสนาวา เกดิ ข้นึ เมื่อไร ดว ยวธิ ีการปฏบิ ตั อิ ยางไร ๕. การประกาศพระศาสนา หรือ การเผยแผพระพุทธศาสนา กลาวถึง การท่ีทาน เหลาน้ันหลังจากบรรลุธรรมแลวไดเปนกําลังสําคัญชวยพระบรมศาสดาประกาศเผยแผ พระพุทธศาสนาใหเจรญิ รงุ เรืองขจรขจายไปในถ่นิ ตาง ๆ โดยสามารถแสดงหลักพุทธธรรมชักนํา ประชาชนใหห ันเขา มาบวชเขา มานับถือพระพทุ ธศาสนาไดมาก หรือนอยอยางไรบา ง ๖. เอตทัคคะ กลาวถึงความสามารถพิเศษที่เดนลํ้ากวาพุทธสาวกดวยกันทั้งในดาน คุณสมบัติสวนตน และที่เปนประโยชนตอผูอื่น เชน มีปญญามาก มีฤทธ์ิมาก มีความสามารถ ในการแสดงธรรม เปนตน ซ่ึงเปนตําแหนงท่ีพระบรมศาสดาทรงยกยองแตละทานใหปรากฏใน หมูพุทธบริษัทตามความปรารถนาท่ีแตละทานตั้งไว และบําเพ็ญสาวกบารมี เพ่ือใหสําเร็จตาม เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 155

1๑๕5๔6 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ปรารถนานนั้ เปน เวลานาน ในพทุ ธปุ บาทกาลน้ี (สมัยพระพทุ ธเจาของเรา) ๗. บุญญาธกิ าร กลาวถึงบญุ บารมีอันเปนอปุ นิสัยแหง การบรรลมุ รรคผล และทีเ่ ก้ือกูล อุดหนุนความปรารถนาตําแหนงเอตทัคคะน้ันๆ ที่แตละทานไดต้ังเอาไว ซ่ึงตองบําเพ็ญมาเปน เวลาหลายแสนกัป ๘. ธรรมภาษิต กลาวถึง วาทะ หรือคําพูดอิงอรรถอิงธรรมอยางจับใจที่แตละทานได แสดงไวในโอกาสตาง ๆ เชน ธรรมวาทะของพระอัสสชิท่ีแสดงแกอุปติสสมาณพวา “เย ธมฺมา เหตปุ ฺปภวา... ธรรมเหลา ใดเกิดแตเหตุ พระตถาคตตรสั เหตแุ หง ธรรมเหลานัน้ และ ความดับแหง เหตขุ องธรรมเหลานัน้ พระมหาสมณะมปี กติตรสั อยา งนี้” เปนตน ๙. ปรินิพพาน หรือสิ้นอายุขัย กลาวถึง การที่ทานเหลาน้ันดับขันธปรินิพพาน (สําหรับพระอรหันต) หรือสิ้นอายุขัย (สําหรับพระอริยบุคคลที่ยังเปนเสขะ) วาไดจากโลกไปนี้ อยา งไร ทไี่ หน เม่ือไร กอนหรือหลงั พุทธปรนิ พิ พาน ประโยชนข องการศึกษาอนพุ ุทธประวตั ิ การศึกษาอนุพุทธประวัติ นอกจากจะทําใหผูศึกษาไดรับทราบประวัติความเปนมา แหงพระสาวกของพระพทุ ธเจา โดยละเอยี ดทัง้ ในดานอตั ตสมบัตแิ ละปรหติ สมบัติแลว ยังทําใหได รับประโยชนท ไี่ ดจากการศึกษาอีกนานัปการ ดังเชน ๑. ไดร ูและเขา ใจประวตั ศิ าสตรของพระพุทธศาสนาอยา งลุมลกึ และกวา งขวาง ๒. เห็นคุณคาและความสําคัญของพระรัตนตรัยในเชิงสัมพันธกันคือ พระพุทธเจา เปนผูตรัสรูพระธรรม ในขณะที่พระธรรมก็เปนคําทรงสอนของพระพุทธเจา สวนพระสงฆก็เปน พระสาวกผูฟ งพระธรรมจากพระพทุ ธเจา แลว ทรงพระธรรมนนั้ ไวดวยการปฏบิ ตั ิดปี ฏบิ ัติชอบ ๓. กอใหเ กิดความศรทั ธาปสาทะในพระรัตนตรยั อยา งมน่ั คง ๔. สามารถนําปฏปิ ทา จรยิ าวตั รมาเปนทิฏฐานุคตใิ นการปฏิบัตติ นเพื่อพน ทุกขไ ด ขอบขายของวชิ าอนพุ ทุ ธประวตั ิ นักธรรมชน้ั โท อนุพุทธประวัติ ศึกษาประวัติของอนุพุทธบุคคล เฉพาะที่เปนพระมหาเถระ อรหันตพุทธสาวก ในคร้ังพุทธกาล โดยทานประมวลกลาวไวจํานวน ๘๐ องค เรียกวา พระอสตี ิมหาสาวก แปลวา พระสาวกผใู หญ ๘๐ องค แบง เปน ๒ ประเภท คือ ๑. พระมหาสาวกท่ไี ดร ับตาํ แหนงเอตทัคคะ จํานวน ๔๑ องค ๒. พระมหาสาวกท่ีไมไดร บั ตาํ แหนงเอตทัคคะ จํานวน ๓๙ องค 156

 1๑5๕7๕ วชิ า อนพุ ุทธประวตั ิ รายนามพระมหาสาวกทไ่ี ดร ับตําแหนง เอตทคั คะ จาํ นวน ๔๑ องค ๑. พระอัญญาโกณฑญั ญะ เลิศดานรัตตัญู (มปี ระสบการณบ วชกอน) ๒. พระสารีบุตร เลิศดานมีปญญามาก ๓. พระมหาโมคคลั ลานะ เลศิ ดานมีฤทธ์ิมาก ๔. พระมหากัสสปะ เลิศดา นทรงธุดงค (ถือธุดงคเ ครงครัด) ๕. พระอนุรุทธะ เลศิ ดานทิพพจกั ษุ (สามารถใชตาทพิ ย) ๖. พระภัททยิ ะ (ศากยราช) เลศิ ดา นเกดิ ในตระกูลสูง (ตระกลู กษัตริย) ๗. พระลกุณฏกภทั ทยิ ะ เลศิ ดานมเี สียงไพเราะ ๘. พระปณ โฑลภารทวาชะ เลิศดา นบนั ลอื สีหนาท (องอาจในมรรคผลท่ีบรรล)ุ ๙. พระปุณณมันตานบี ุตร เลศิ ดานเปนพระธรรมกถกึ (เทศนเกง ) ๑๐. พระมหากัจจายนะ เลิศดานขยายความภาษิตโดยยอ ใหพ สิ ดาร ๑๑. พระจฬู ปนถกะ เลศิ ดานเนรมิตกายทีส่ ําเร็จดว ยใจและฉลาดเปลย่ี นแปลง ทางใจ (ชํานาญสมถะ) ๑๒. พระมหาปน ถกะ เลิศดานฉลาดเปลี่ยนแปลงทางปญ ญา (ชํานาญวิปสสนา) ๑๓. พระสภุ ูติ เลศิ ดานอยดู วยความไมมกี เิ ลสแลวเปน ทักขไิ ณยบคุ คล ๑๔. พระเรวตขทริ วนิยะ เลิศดา นอยูป าเปนวตั ร (หรือพระเรวตะ ผอู ยูปา ไมตะเคียน) ๑๕. พระกังขาเรวตะ เลิศดานยินดใี นฌานสมาบตั ิ ๑๖. พระโสณโกฬิวสิ ะ เลิศดานปรารภความเพยี ร ๑๗. พระโสณกฏุ กิ ณั ณะ เลศิ ดา นกลา วถอ ยคําไพเราะ ๑๘. พระสิวลี เลิศดา นมีลาภมาก ๑๙. พระวกั กลิ เลศิ ดา นหลดุ พน ไดด วยศรัทธา ๒๐. พระราหลุ เลิศดา นใครใ นการศกึ ษา ๒๑. พระรฏั ฐปาละ(รฐั บาล) เลิศดา นบวชดว ยศรทั ธา ๒๒. พระโกณฑธานะ เลศิ ดานรับสลากไดก อน ๒๓. พระวงั คีสะ เลศิ ดานมปี ฏิภาณกลาวคาถาสุภาษติ ๒๔. พระอปุ เสนวังคนั ตบตุ ร เลศิ ดา นเปนทีเ่ ลอ่ื มใสของทุกชัน้ วรรณะ ๒๕. พระทพั พมัลลบตุ ร เลศิ ดานจดั แจงเสนาสนะ ๒๖. พระปลินทวจั ฉะ เลศิ ดา นเปน ที่รกั ของทวยเทพ ๒๗. พระพาหยิ ทารจุ ีรยิ ะ เลิศดา นตรสั รไู ดเรว็ พลัน ๒๘. พระกมุ ารกัสสปะ เลิศดา นแสดงธรรมไดว ิจิตร (ยกอปุ มาสาธกเกง ) ๒๙. พระมหาโกฏฐติ ะ เลศิ ดานบรรลุปฏสิ ัมภิทา (ชาํ นาญในปฏสิ มั ภทิ า ๔) เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 157

1๑๕5๖8 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ๓๐. พระอานนท เลิศดานเปนพหูสูต(ไดรับฟงพระพุทธพจนมามาก) มีสติ ๓๑. พระอรุ ุเวลกสั สปะ มีคติ (แนวทางจดจําพระพุทธพจน) มีธิติ (ความเพียร ๓๒. พระกาฬทุ ายี จดจําพระพุทธพจน) และเปน พุทธอุปฏฐาก ๓๓. พระพากุละ (พักกุละ) เลศิ ดา นมบี ริษทั บริวารมาก ๓๔. พระโสภิตะ เลิศดานทาํ ตระกลู ท้ังหลายใหเลอื่ มใส ๓๕. พระอบุ าลี เลศิ ดานมีอาพาธนอ ย ๓๖. พระนันทกะ เลศิ ดา นระลกึ ชาตกิ อ นได (ชาํ นาญปุพเพนิวาสานสุ สติญาณ) ๓๗. พระนนั ทะ เลศิ ดา นทรงพระวินัย (เชยี่ วชาญในพระวนิ ยั บญั ญตั )ิ ๓๘. พระมหากัปปนะ เลศิ ดานกลาวสอนภกิ ษุณี ๓๙. พระสาคตะ เลิศดานสาํ รวมอินทรยี  ๔๐. พระราธะ เลิศดานกลา วสอนภกิ ษุ ๔๑. พระโมฆราช เลศิ ดา นเพง เตโชกสิณ (ชาํ นาญในเตโชกสณิ สมาบัต)ิ เลิศดานมปี ฏิภาณแจม แจง (เขาใจคาํ สอนไดงาย) เลิศดานทรงจีวรเศราหมอง (ใชเ คร่อื งนุง หมปอนๆ) การไดม าซึ่งตาํ แหนง เอตทคั คะ ตําแหนงเอตทัคคะท่ีพระมหาเถระทั้ง ๔๑ องคเหลาน้ีไดรับนั้น มิใชเกิดจากการที่ พระองคทรงยกยองเพราะเห็นแกหนา (มุโขโลกนะ) วาเปนพระใกลชิดหรือเปนพระญาติสนิท หากแตทานเหลานี้ไดรับเอตทัคคะเพราะความเปนเลิศในดานตางๆ ดวยตนเอง จึงทําให พระบรมศาสดาทรงยกยอ งในทา มกลางสงฆซ ึ่งพระอรรถกถาจารย อธิบายวาในการทรงประทาน ตาํ แหนง เอตทคั คะแกพ ระมหาสาวกน้ัน พระพุทธองคท รงอาศัยหลักเกณฑ ๔ ประการนี้ คอื ๑. อัตถุปปตติโต ทรงประทานเพราะมีเหตุการณเกิดข้ึน คือทรงอาศัยสภาพแวดลอม หรือเรื่องท่ีเกิดข้ึนในขณะน้ันยกข้ึนเปนเหตุประทานตําแหนงเอตทัคคะ เชน เม่ือคราวเสด็จลง จากดาวดึงสเทวโลก ณ ประตูเมืองสังกัสสนคร มีพุทธบริษัทจํานวนมากมาเขาเฝา และมีเหตุ สอบถามปญหากันขึ้น พระสารีบุตรเถระสามารถแกปญหาของพระอรหันตสาวกอื่นไดท้ังหมด แตก็แกปญหาอันเปนพุทธวิสัยไมได พระพุทธองคจึงทรงอาศัยเหตุที่เกิดข้ึนนี้ประทานตําแหนง เอตัคคะโดยประกาศยกยอง พระสารีบุตรเถระในทามกลางพุทธบริษัทวามีปญญาล้ําเลิศกวา พระสาวกท้ังหลาย ดังนั้น พระสารบี ุตรเถระจงึ ไดร ับเอตทัคคะวาเลศิ ทางปญญา ๒. อาคมนโต ทรงประทานเพราะทานเหลาน้ันสรางบุญมา คือทรงประทานตําแหนง เอตทัคคะเพราะบุญบารมีที่ทานเหลานั้นสรางสมบําเพ็ญมาแตครั้งอดีตชาติท่ีนานแสนนาน โดยทา นเหลา นน้ั มปี ระสบการณไ ดเ คยเหน็ พระภกิ ษอุ ื่นๆ ไดร ับตําแหนง เชนนั้นจากพระพุทธเจา พระองคกอ นๆ จึงปรารถนาตําแหนงเชนนั้นบา ง ๓. จิณณวสิโต ทรงประทานเพราะทานเหลานั้นมีวสีภาพในดานนั้น ๆ คือทรงประทาน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 158

 1๑5๕9๗ วชิ า อนพุ ทุ ธประวตั ิ ตําแหนงเอตทัคคะ ตามความเช่ียวชาญที่ทานเหลาน้ันไดอบรมส่ังสมมา หรือตามความถนัด ความชํานาญที่แตละทา นไดส นใจฝกฝนพัฒนามา ๔. คุณาตเิ รกโต ทรงประทานเพราะมีคุณวิเศษดานน้ันๆ เหนือกวาพระสาวกองคอื่นๆ คือทรงประทานตําแหนงเอตทัคคะเพราะทรงพิจารณาเห็นวาพระสาวกรูปนั้นๆ เปนผูทรง คณุ วเิ ศษอนั เกดิ จากอภิญญาจิตเดน ลํ้าเลิศกวาพระสาวกดวยกัน รายนามพระมหาสาวกทไ่ี มไดรบั ตําแหนงเอตทคั คะ จํานวน ๓๙ องค ๑. พระวัปปะ ๒. พระภัททยิ ะ ๓. พระมหานามะ ๔. พระอสั สชิ ๕. พระยสะ ๖. พระวมิ ละ ๗. พระสพุ าหุ ๘. พระปุณณชิ ๙. พระควัมปติ ๑๐. พระนทกี ัสสปะ ๑๑. พระคยากสั สปะ ๑๒. พระอชิตะ ๑๓. พระตสิ สเมตเตยยะ ๑๔. พระปณุ ณกะ ๑๕. พระเมตตคู ๑๖. พระโธตกะ ๑๗. พระอปุ สีวะ ๑๘. พระนนั ทะ ๑๙. พระเหมกะ ๒๐. พระโตเทยยะ ๒๑. พระกัปปะ ๒๒. พระชตกุ ณั ณิ ๒๓. พระภัทราวธุ ะ ๒๔. พระอุทยะ ๒๕. พระโปสาละ ๒๖. พระปง คิยะ ๒๗. พระภคุ ๒๘. พระกมิ พลิ ะ ๒๙. พระมหาอุทายี ๓๐. พระอุปวาณะ ๓๑. พระเมฆิยะ ๓๒. พระนาคิตะ ๓๓. พระจนุ ทะ ๓๔. พระยโสชะ ๓๕. พระเสละ ๓๖. พระมหาปรันตปะ(พระปุณณะ) ๓๗. พระสภิยะ ๓๘. พระนาลกะ ๓๙ พระองคลุ มี าล ๑. ประวตั ิพระอัญญาโกณฑัญญเถระ สถานะเดมิ และมลู เหตุแหงการบวช พระอญั ญาโกณฑญั ญะ ชือ่ เดิมวา โกณฑัญญะ ตามโคตรของทาน บิดา และมารดาเปน พราหมณมหาศาล ไมปรากฏช่ือ เกิดท่ีบานพราหมณชื่อโทณวัตถุ อยูไมหางจากกรุงกบิลพัสดุ เรียนจบ ไตรเพท และรูตําราทํานายลักษณะ เม่ือเจาชายสิทธัตถะ ประสูติได ๕ วัน พระเจาสุทโธทนะไดเชิญพราหมณ ๑๐๘ คน มารับประทานอาหาร เพื่อเปนมงคลและทํานายลักษณะพระราชโอรสตามราชประเพณี แลวได คัดเลือกพราหมณ ๘ คน จากจํานวน ๑๐๘ คนนั้น ใหเปนผูทํานายลักษณะพระราชกุมาร โกณฑัญญะ ซ่ึงเปนพราหมณหนุมที่สุดไดรับคัดเลือกอยูในจํานวน ๘ คนน้ันดวย พราหมณ ๗ คน ไดท าํ นายพระราชกมุ ารวา มีคติ ๒ อยา ง คือ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 159

1๑6๕๘0 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ฝายโกณฑัญญพราหมณ มีความม่ันใจในตําราทํานายลักษณะของตน ไดทํานายไว อยา งเดียววา พระราชกุมารจะเสดจ็ ออกผนวช และจะไดตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา เปนศาสดาเอกในโลกแนนอน ตั้งแตนั้นมา ไดต้ังใจไววา ถาตนยังมีชีวิตอยู พระราชกุมาร เสดจ็ ออกผนวชเมอื่ ไร จะออกบวชตาม ตอมาพระราชกุมารเสด็จออกผนวช และบําเพ็ญทุกกร กิริยาอยู จึงไดชักชวนพราหมณอีก ๔ คน คือ (๑) วัปปะ (๒) ภัททิยะ (๓) มหานามะ (๔) อสั สชิ ซึง่ ลวนเปนบตุ รของพราหมณใน จาํ นวน ๑๐๘ คน ที่ไดรับเชิญไปรบั ประทานอาหาร ในพระราชพิธีทํานายพระลักษณะของพระราชกุมาร รวมเปน ๕ คน เรียกวา ปญจวัคคีย แปลวา กลุมคน ๕ คน ไดติดตามรับใชใ กลช ดิ ดวยคิดวา ถาพระองคไดบรรลุธรรมวิเศษแลว จะ ไดเทศนาสง่ั สอนตนใหไดบ รรลธุ รรมนน้ั บาง บรรลุโสดาปตติผล เมื่อพระพุทธองคทรงบําเพ็ญทุกกรกิริยาถึง ๖ ป แตไมไดตรัสรู ทรงแนพระทัยวา น้ันไมใชทางพนทุกข จึงทรงเลิกการทําทุกกรกิริยา มาทําความเพียรทางใจ ปญจวัคคียซ่ึงมี โกณฑญั ญะ เปนหัวหนา หมดความเลือ่ มใสเพราะเขา ใจวา กลับมาเปนคนมกั มากจึงพากันหนีไป อยูที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ครั้นพระพุทธองคไดตรัสรูเปนพระสัมมา - สมั พทุ ธเจาแลว ทรงตัดสินพระทัยที่จะแสดงพระธรรมเทศนา อันดับแรกทรงคิดถึงอาฬารดาบส กาลามโคตร และอทุ กดาบส รามบุตร แตทานท้ังสองไดถึงแกกรรมแลว จึงทรงคิดถึงปญจวัคคีย แลวไดเ สดจ็ ไปยงั ปา อสิ ปิ ตนมฤคทายวัน ฝายปญจวัคคีย ครั้นเห็นพระพุทธองคเสด็จมาแตไกล คิดวาคงจะมาหาคนอุปฏฐาก จึงนัดหมายกันวา จะไมไหว ไมตอนรับ ไมรับบาตรและจีวรของพระองคแตไดปูอาสนะเอาไว แตพ อพระพุทธองคเ สด็จไปถงึ กลับลืมกตกิ าที่ไดท ํากันไว เพราะความเคารพที่เคยมีตอพระองค ทงั้ หมดไดล กุ ขนึ้ ตอ นรับและทาํ สามีจิกรรม เหมือนที่เคยปฏิบัติมา แตยังสนทนากับพระองคดวย ถอยคําอันไมเคารพโดยการออกพระนาม และใชคําวา อาวุโส พระพุทธองคทรงหามไมใหใช คําพูดอยางน้ัน และตรัสบอกวา เราไดบรรลุอมตธรรมแลว ขอใหทานทั้งหลายตั้งใจฟง และ ปฏิบัติตามทเี่ ราสอน ไมช า จะไดบรรลอุ มตธรรมนั้น ปญ จวัคคียไดปฏิเสธพระพุทธองคถึง ๓ ครั้ง วา พระองคเลิกความเพียรแลวจะบรรลุอมตธรรมไดอยางไร พระพุทธองคจึงไดทรงเตือนสติ 160

 1๑6๕1๙ วชิ า อนพุ ุทธประวตั ิ พวกเขาวา เมื่อกอนน้ีทานทั้งหลายเคยไดฟงคําท่ีเราพูดนี้บางไหม ทําใหพวกเขาระลึกไดวา พระวาจาเชนนพี้ ระองคไมเคยตรัสมากอ นเลย จึงยอมฟง พระธรรมเทศนา พระพทุ ธองคจึงไดทรง แสดงพระธรรมเทศนา ชื่อ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร ในเวลาจบพระธรรมเทศนา โกณฑัญญะเกิด ธรรมจักษุ คือ ดวงตาเห็นธรรมวา สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา ส่ิงน้ันท้ังหมด มีความดับไปเปนธรรมดา (ทุกส่ิงที่เกิดข้ึนมาสุดทายตองดับไป) ทานไดบรรลุโสดาปตติผล เพราะเกดิ ธรรมจกั ษนุ ี้ พระพุทธองคท รงทราบ จึงทรงเปลงอุทาน “อฺญาสิ วต โภ โกณฺฑฺโญ, อฺญาสิ วต โภ โกณฺฑฺโญ โกณฑัญญะ ไดรูแลวหนอ โกณฑัญญะ ไดรูแลวหนอ” เพราะ พระอุทานวา “อฺญาสิ” ซ่ึงแปลวา “ไดรูแลว” ดังน้ัน คําวา อัญญา จึงเปนคํานําหนาช่ือของ ทา นโกณฑญั ญะ คอื พระอญั ญาโกณฑัญญะ ตงั้ แตน ้ันเปน ตนมา วธิ อี ุปสมบทและบรรลุอรหตั ตผล เมื่อโกณฑญั ญะไดเห็นธรรม บรรลธุ รรม รธู รรมหมดความสงสัยในคาํ สอนของพระศาสดา แลว จึงไดทูลขอบรรพชาอุปสมบท พระพุทธองคไดตรัสวา เธอจงเปนภิกษุมาเถิด ธรรมอัน เรากลา วไวด ีแลว เธอจงประพฤติพรหมจรรย เพื่อทําที่สุดทุกขโดยชอบเถิด การอุปสมบท อยางนี้เรยี กวา เอหิภกิ ขอุ ุปสมั ปทา ทานไดเปน ภิกษุรปู แรกในพระพทุ ธศาสนา คร้ันพระพุทธองคทรงสั่งสอนปญจวัคคียอีก ๔ ทานใหไดดวงตาเห็นธรรม คือบรรลุ โสดาบันแลว ทรงประทานอปุ สมบทดว ยเอหภิ ิกขอุ ปุ สมั ปทาเชนเดียวกัน วันหนึ่ง ตรัสเรียกทั้ง ๕ รูป มาตรัสสอนวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ เปนอนัตตา ไมใชเปนอัตตา เพราะถาเปนอัตตาแลวไซร ก็จะไมเปนไปเพ่ืออาพาธ (เจ็บปวย) และตองได ตามปรารถนาวา ขอจงเปนอยางน้ี จงอยาเปนอยางนั้น แตเพราะทั้ง ๕ น้ัน เปนอนัตตา ใคร ๆ จึงไมไดตามปรารถนาของตนวา ขอจงเปนอยางนี้ จงอยาเปนอยางน้ัน ทั้ง ๕ รูป ไดเห็นดวย ปญญาตามความเปนจริงวา รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ทุกชนิดไมใชของเรา เรา ไมใชสิ่งน้ัน และสิ่งน้ันก็ไมใชตัวของเรา จึงเบ่ือหนายในรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ เม่ือเบื่อหนายยอมหมดกําหนัด คร้ันหมดกําหนัดยอมหลุดพน ทั้ง ๕ รูป จึงไดบรรลุอรหัตตผล ดวยพระเทศนาน้ี ๆ ช่อื วา อนตั ตลักขณสตู ร งานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระอัญญาโกณฑัญญะ เปนกําลังสําคัญรูปหน่ึงในการชวยประกาศพระศาสนา เพราะ อยูในจํานวนพระอรหันต ๖๐ รูป ท่ีพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงสงไปประกาศพระศาสนาครั้งแรก ดวยพระพุทธดํารัสวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงเที่ยวจาริกไปเพื่อประโยชนเกื้อกูล เพื่อความสุขแกมหาชน เพ่ืออนุเคราะหชาวโลก เพื่อประโยชน เพื่อเก้ือกูล เพ่ือความสุขแก เทวดาและมนุษยท ้ังหลาย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 161

๑๑๑๑1๖๖๖๖6๐๐๐๐2 คคคคููููมมมมออออืืืื กกกกาาาารรรรศศศศกกกกึึึึ ษษษษาาาานนนนกกกกัััั ธธธธรรรรรรรรมมมมชชชชนนนน้ัััั้้้ โโโโทททท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 เอตทคั คะ บุญญาธิการ และปรนิ พิ พาน พระอัญญาโกณฑัญญะ ไดรับยกยองจากพระสัมมาสัมพุทธเจาวา เลิศกวาภิกษุทั้ง หลาย ผูรัตตัญู แปลวา ผูรูราตรี หมายคคูมวอื ากมาวราศกึ รษูธารนรกัมธทร่ีอรมงคชนั้สโมทเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ตรัสสอน และบวชกอนใครทัง้ หมด ในสมัยแหงพระพุทธเจาทรงพระนามวา ปทุมุตตระ ทานไดเห็นพระศาสดาทรงตั้งภิกษุรูป หนึ่งไวในตําแหนงเลิศกวาภิกษุทั้งหลาย ผูรัตตัญูรูแจงธรรมกอนใคร ๆ จึงปรารถนาฐานันดร น้ันแลวไดทําบุญมีทาน เปนตน จนมาถึงศาสนาของพระผูมีพระภาคเจา ทรงพระนามวา วิปสสี เขาไดเกิดเปนกุฏมพี ชื่อวา มหากาล ไดถวายทานอันเลิศ ๙ คร้ัง ดวยบุญญาธิการดังกลาว จึงไดรบั เอตทัคคะน้ีจากพระบรมศาสดาในชาตนิ ี้ พระอัญญาโกณฑัญญะ ไดชวยพระบรมศาสดาประกาศพระศาสนาอยูระยะหนึ่ง บั้นปลายชีวิต ไดทูลลาเขาไปอยูในปาหิมวันต จําพรรษาอยูที่ฝงสระฉัททันต ๑๒ พรรษา เม่ือกาลจะปรินิพพานใกลเขามา จึงเขาไปเฝาพระศาสดา ขอใหทรงอนุญาตการปรินิพพาน แลว กลบั ไปยงั ทน่ี น้ั ปรินิพพานดวยอนุปาทเิ สสนพิ พานธาตุ ๒. ประวตั ิพระสารบี ตุ รเถระ สถานะเดมิ และมลู เหตแุ หง การบวช พระสารีบุตรเถระ ช่่ือเดิมวา อุปติสสะ เปนช่ื่อท่ี่บิดามารดาต้ั้ง ให เพราะเปนบุตรของ ตระกูลผูเปนหัวหนาในอุปติสสคาม บิดาชื่อ วังคันตพราหมณ มารดา ช่ือ นางสารี หรือรูปสารี เกดิ ท่ีอุปตสิ สคาม ไมไกลพระนครราชคฤห กอนการอบุ ัตแิ หง พระผมู พี ระภาค การศึกษา ไดสําเร็จศิลปศาสตรหลายอยาง เพราะเปนผูมีปญญาเฉียบแหลม ศึกษาได รวดเร็ว อปุ ตสิ สะมีช่ือที่ชาวบานเรียกอีกช่ือหน่ึงวา สารีบุตร เพราะเปนบุตรของนางสารี แตเม่ือ บวชแลว จงึ ถกู เรียกวา พระสารบี ุตร ทานมีสหายคนหน่ึงชือ่ โกลิตะ อยูมาวันหน่ึง คนท้ังสองนั้นกําลังดูมหรสพบนยอดเขาในกรุงราชคฤห เห็นมหาชน ประชุมกัน เพราะญาณของทั้งสองถึงความแกกลา จึงเกิดความคิดข้ึนโดยแยบคายได ความสังเวชวา คนเหลานี้ทั้งหมด ภายในรอยปเทาน้ันก็จะเขาไปสูปากของมัจจุราช จึงทําการ ตัดสินใจวา เราท้ังหลายควรแสวงหาโมกขธรรม และเมื่อจะแสวงหาโมกขธรรมนั้น ควรได บรรพชาสักอยางหนึ่ง จึงพากันไปบวชในสํานักของสัญชัยปริพาชกพรอมกับมาณพ ๕๐๐ คน ต้งั แตส องสหายนัน้ บวชแลว สญั ชัยปริพาชก ไดมลี าภและยศอนั เลิศ อุปติสสะและโกลิตะปริพาชก ท้ังสองนั้นเรียนลัทธิของสัญชัยไดท้ังหมดโดยเวลา ไมนานนัก ไมเห็นสาระของลัทธินั้น เม่ือเปนอยางน้ัน คนทั้งสองนั้น เม่ือจะแสวงหาโมกขธรรม ตอไป จงึ ไดทํากตกิ ากันวา ใครบรรลุอมตธรรมกอ น จงบอกแกอ กี คนหนึ่ง 162

 1๑6๖3๑ วชิ า อนพุ ทุ ธประวตั ิ วันหน่ึง อุปติสสปริพาชกไปยังปริพาชการาม เห็นทานพระอัสสชิเถระเท่ียวบิณฑบาต อยูในกรุงราชคฤห คิดวาบรรพชิตผูสมบูรณดวยมรรยาทอยางนี้ เราไมเคยเห็น ช่ือวาธรรมอัน ละเอยี ด นาจะมีในบรรพชติ นี้ จงึ เกดิ ความเลอื่ มใสมองดทู าน ไดต ดิ ตามไปเพ่อื จะถามปญหา ฝายพระเถระไดบิณฑบาตแลว จึงหาสถานที่อันเหมาะสมเพ่ือจะฉันอาหาร ปริพาชก ไดตั้งตั่งของตนถวาย เม่ือพระเถระฉันเสร็จแลวไดถามถึงศาสดาวา ศาสดาของทานมีวาทะ อยางไร พระเถระตอบวา ธรรมเหลาใด เกิดแตเหตุ พระตถาคตตรัสเหตุแหงธรรมเหลานั้น และ เหตแุ หง ความดับแหง ธรรมเหลาน้ัน พระมหาสมณะตรสั อยา งน้ี อุปติสสปริพาชก ไดดวงตาเห็นธรรม คือบรรลุโสดาปตติผล ดวยการฟงธรรมนี้แลว กลับไปบอกเพื่อน และแสดงธรรมใหฟง โกลิตะก็ไดดวงตาเห็นธรรมเหมือนกัน จึงพากันไปลา อาจารยสญั ชยั เพ่อื ไปเฝา พระศาสดา วิธอี ุปสมบทและบรรลอุ รหัตตผล พระศาสดาทอดพระเนตรเห็นสองสหายพรอมกับบริวารแตไกล ไดตรัสวา น้ีจะเปน คูสาวกช้ันเลิศของเรา ทรงแสดงธรรมตามจริยาแหงบริวารของสหายทั้งสองใหดํารงอยูใน พระอรหัตแลว ไดประทานเอหภิ ิกขอุ ปุ สัมปทาแกพวกเขา พรอมกับอุปตสิ สะและโกลิตะดวย เม่ือ ทงั้ สองบวชแลว ภิกษุท้งั หลายเรยี ก อุปติสสะวา สารบี ตุ ร เรียกโกลิตะวา โมคคัลลานะ พระสารีบุตร บวชไดกึ่งเดือน (๑๕ วัน) อยูในถ้ําสุกรขตะกับพระศาสดา เม่ือพระศาสดา ทรงแสดงเวทนาปริคคหสูตรแกทีฆนขปริพาชกผูเปนหลานของตน สงญาณไปตามพระธรรม- เทศนาไดบรรลุพระอรหนั ตถงึ ทีส่ ุดแหง สาวกบารมีญาณ งานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระสารีบุตรเถระ นับวาไดเปนกําลังสําคัญย่ิงในการชวยพระศา สดาประกาศ พระพุทธศาสนา มคี ําเรยี กทา นวา พระธรรมเสนาบดี ซึง่ คูกับคาํ เรียกพระศาสดาวา พระธรรม- ราชา ทานเปนท่ีไววางพระทัยของพระศาสดามากที่สุด ดังพระพุทธดํารัสที่ตรัสวา ดูกอนภิกษุ ท้ังหลาย เธอท้ังหลาย จงเสพ จงคบ สารีบุตร และโมคคัลลานะเถิด ท้ัง ๒ รูปนี้เปนบัณฑิต อนุเคราะหเพ่ือนพรหมจรรย สารีบุตร เปรียบเหมือนผูใหกําเนิด โมคคัลลานะ เปรียบเหมือน ผบู าํ รงุ เล้ียงทารกทีเ่ กดิ แลว สารีบตุ รยอ มแนะนาํ ในโสดาปตติผล โมคคัลลานะ ยอมแนะนําในผล ช้ันสงู ขน้ึ ไป ครั้งท่ีพระเทวทัตประกาศแยกตนจากพระพุทธเจา พาพระวัชชีบุตรผูบวชใหม มีปญญา นอยไปอยทู ี่ตําบลคยาสสี ะ พระพุทธเจา ทรงมอบหมายใหพระสารีบุตรกับพระโมคคัลลานะไปนํา พระเหลา นนั้ กลับมา ทา นท้ังสองไดท าํ งานสาํ เร็จตามพุทธประสงค ทานไดทาํ ใหผูท่ียังไมเ ลือ่ มใสในพระพทุ ธศาสนาเกดิ ความเลือ่ มใส และผูที่เล่ือมใสอยูแลว มีความเลื่อมใสม่ันคงยิ่งขึ้น ดวยการชักนํา และการปฏิบัติใหเปนแบบอยางที่ดี เชน ชักนํา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 163

1๑๖6๒4 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 นองชาย และนองสาวของทานใหเขามาบวช โปรดบิดาและมารดาใหเปนสัมมาทิฏฐิ เปน อุปชฌายบวชสามเณร และภิกษุจํานวนมาก ซ่ึงตอมาหลายทานมีช่ือเสียง นับเขาจํานวน อสตี ิมหาสาวก เชน สามเณรราหลุ สามเณรสงั กิจจะ พระราธะ พระลกุณฑกภทั ทิยะ เปน อาทิ ดานการปฏิบัติที่เปนแบบอยางที่ดีน้ัน พระสารีบุตรเถระเปนผูมีความกตัญูอยางยิ่ง ทานไดบรรลุโสดาบัน และไดบวชในพระพุทธศาสนา เพราะไดฟงธรรมจากพระอัสสชิ ตั้งแต น้ันมา ทานนับถือพระอสั สชวิ า เปน อาจารยของทาน ทําการเคารพกราบไหวเสมอ หากทราบวา พระอสั สชิอยทู างทิศใด จะยกมอื ไหวแ ละนอนผินศีรษะไปทางทศิ นน้ั เอตทคั คะและบุญญาธิการ พระสารบี ุตรเถระ เปน ผูมีปญ ญามาก สามารถแสดงธรรมไดใกลเคียงกับพระศาสดา และ สามารถโตตอบกําราบปราบปรามพวกลัทธิภายนอกท่ีมาโตแยงคัดคานพระธรรมคําสอนใน พระพุทธศาสนาไดอยางดี พระศาสดาจึงทรงต้ังทานไวในตําแหนงพระอัครสาวกเบ้ืองขวา และ เอตทัคคะวา เลิศกวา ภิกษทุ ั้งหลายผมู ีปญญามาก เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจา พระนามวา อโนมทัสสี เสด็จอุบัติในโลก พระสารีบุตรเกิด ในตระกูลพราหมณมหาศาล ไดเห็นพระนิสภเถระ พระอัครสาวกเบ้ืองขวาของพระองคไดกลาว อนโุ มทนาอาสนะดอกไมแกดาบสทง้ั หลาย มีความเลอื่ มใส ปรารถนาฐานนั ดรน้ันในใจวา โอหนอ แมเรากพ็ งึ เปนพระสาวกของพระพทุ ธเจา องคห นงึ่ ในอนาคต เหมือนพระนิสภเถระนี้ พระศาสดา จึงพยากรณวา เม่ือเวลาลวงไปหนึ่งอสงไขยย่ิงดวยแสนกัปป แตกัปปนี้ไป จักไดเปนอัครสาวก ของพระโคดมสมั มาสมั พุทธเจา มนี ามวา สารบี ตุ ร ธรรมวาทะและปรินพิ พาน คนท่ีทูนของหนักไวบนศีรษะตลอดเวลา ตองลําบากดวยภาระ ฉันใด ภาระที่เราแบกอยู กฉ็ นั นน้ั เราถูกไฟ ๓ กอง เผาอยู เปนผูแบกภาระคือภพ เหมือนยกภูเขาพระสุเมรุมาวางไวบน ศีรษะ ทองเทย่ี วไปในภพ คนผมู ีใจตํา่ เกยี จคราน ท้งิ ความเพียร มสี ุตะนอย ไมมมี รรยาท อยาไดสมาคมกับเราในที่ ทกุ สถานในกาลทุกเม่ือ สว นคนผูมสี ตุ ะมาก มปี ญญา ตง้ั มั่นในศีล เปนผูประกอบดว ยความสงบใจ ขอจงต้ังอยูบน กระหมอ มของเราตลอดเวลา ขาพระองคจะยํ่ายีพวกเดียรถีย ประกาศศาสนาของพระชินเจา จะเปนธรรมเสนาบดีใน ศาสนาของพระศากยบตุ รตัง้ แตว นั นีเ้ ปน ตน ไป พระสารีบุตรเถระปรินิพพานกอนพระศาสดา โดยไดกลับไปนิพพานที่บานเกิดของทาน กอ นจะนพิ พาน ทานไดไปทูลลาพระศาสดา แลวเดินทางไปกับพระจุนทเถระนองชาย ไดเทศนา โปรดมารดาของทานใหบรรลุโสดาปตติผล แลวนิพพานดวยโรคปกขันทิกาพาธ พระจุนทเถระ 164

 1๑6๖5๓ วชิ า อนพุ ุทธประวตั ิ พรอมดวยญาติพ่ีนองทําฌาปนกิจสรีระของทานแลว เก็บอัฐิธาตุไปถวายพระศาสดา ที่เชตวัน มหาวิหาร เมอื งสาวัตถี ทรงโปรดใหกอ เจดียบรรจุอัฐธิ าตุของทา นไวที่เชตวันมหาวิหารนั้น ๓. ประวตั ิพระมหาโมคคลั ลานเถระ สถานะเดิมและมลู เหตุแหง การบวช พระโมคคัลลานเถระ ช่ือเดิมวา โกลิตะ เปนชื่อท่ีบิดาและมารดาตั้งให เพราะเปนบุตร ของตระกูลผูเปนหัวหนาในโกลิตคาม บิดาไมปรากฏชื่อ กลาวเพียงวาเปนหัวหนาในโกลิตคาม มารดา ช่ือโมคคัลลี หรือมุคคลี ท้ังคูเปนวรรณะพราหมณ เกิดท่ีบานโกลิตคาม ไมไกลจาก นครราชคฤหก อ นการอบุ ัติแหง พระผูมีพระภาคเจาของเราทงั้ หลาย โกลิตะ มีชื่อทช่ี าวบานเรยี กอกี ชอ่ื หน่งึ วา โมคคัลลานะ เพราะเปนบุตรของนางโมคคัลลี พราหมณี อีกอยางหน่ึง ชื่อวาโมคคัลลานะ เพราะเกิดโดยโมคคัลลีโคตร อีกอยางหนึ่ง ช่ือวา โมคคัลลานะ เพราะเปนผูอาจ คือสามารถในการได ในการรูแจงมรรค มีโสดาปตติมรรค เปนตน มสี หายท่ีรักใครส นิทสนมกันมากคนหน่งึ ชื่ออุปติสสะ อยูมาวันหนึ่ง สหายทั้งสองนั้นกําลังดูมหรสพบนยอดเขาในกรุงราชคฤห เห็นมหาชน มาประชุมกันเพ่ือชมมหรสพ ไดความสังเวชวา คนเหลานี้ทั้งหมดภายในรอยปเทานั้นก็จะเขาสู ปากของมัจจุราช จึงทําการตัดสินใจวา เราท้ังหลายควรแสวงหาโมกขธรรม จึงพากันไปบวชใน สํานกั ของสัญชัยปรพิ าชก พรอมกับมาณพ ๕๐๐ คน โกลิตะพรอมกับสหาย เรียนลัทธิของสัญชัยไดทั้งหมดโดยเวลาไมนานนัก ไมเห็นสาระของ ลัทธิน้ัน รูสึกเบ่ือหนาย จึงคิดแสวงหาโมกขธรรมตอไป โดยทํากติกากันวา ใครบรรลุอมตธรรม กอน จงบอกแกอีกคนหนึ่ง อุปติสสปริพาชกไดฟงธรรมจากพระอัสสชิเถระ ไดดวงตาเห็นธรรม คือ บรรลโุ สดาปต ติผล จึงกลบั มาบอกโกลิตะผูสหาย และแสดงธรรมใหฟง โกลิตะไดดวงตาเห็นธรรม คือ บรรลุโสดาปต ตผิ ลเชนเดยี วกนั จึงพากันไปลาอาจารยสัญชัยเพ่ือไปเฝาพระศาสดา วธิ อี ปุ สมบทและบรรลุอรหตั ตผล พระศาสดาทอดพระเนตรเห็นสองสหายพรอมกับบริวารแตไกล ไดตรัสวา นี้จะเปนคู สาวกช้ันเลิศของเรา ทรงแสดงธรรมตามจริยาแหงบริวารของสหายท้ังสองแลว ไดประทาน เอหิภกิ ขุอปุ สัมปทาแกพ วกเขาวา เธอทง้ั หลายจงเปนภกิ ษมุ าเถดิ ธรรมอันเรากลาวไวดีแลว เธอ ทั้งหลาย จงประพฤติพรหมจรรย เพื่อทําทีส่ ดุ ทกุ ขโดยชอบเถิด เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 165

๑1๖6๔6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ทานพระมหาโมคคัลลานเถระ บวชได ๗ วัน เขาไปอาศัยบานกัลลวาลมุตตคาม ในมคธรัฐ บําเพ็ญสมณธรรม ถูกถีนมิทธะ คือความทอแทและความโงกงวงครอบงํา ไมสามารถ บําเพญ็ สมณธรรมได พระศาสดาไดเสด็จไปโปรดใหสลดใจ ดวยพระดํารัสมีอาทิวา โมคคัลลานะ ความพยายามของเธอ อยาไดไรผลเสียเลย แลวตรสั อุบายสําหรบั แกงว ง ๘ ประการ คือ ๑) เมื่อมสี ญั ญาอยา งไรใหใสใ จถงึ สญั ญาอยางน้ันใหม าก ๒) ใหพิจารณาธรรมทไ่ี ดฟ ง มาแลว ๓) ใหท อ งบนธรรมน้นั ซ่งึ ไดเ รยี นไดฟงมาแลว ๔) ใหย อน (แยง) หูทัง้ ๒ ขางและเอามือลูบตัว ๕) ใหย นื ข้ึน เอานํา้ ลบู ตัวเหลียวมองดทู ิศตา ง ๆ และแหงนหนามองดทู องฟา ๖) ใหใ สใจถึงแสงสวางกลางวนั ๗) ใหเ ดินจงกรม สาํ รวมอินทรยี  ทาํ จติ ใหเปน สมาธิ ไมฟ งุ ซา น ๘) ใหส าํ เร็จสหี ไสยาสน คือ นอนตะแคงขางขวาซอนเทาดวยเทา มีสติสัมปชัญญะตั้งใจ วา จะลกุ ขึน้ เมื่อต่ืนแลว คร้นั ทรงตรสั บอกอบุ ายสาํ หรับแกง วงแลว ตรัสสอนใหส าํ เนียกในใจอีก ๓ ขอ วา ๑) เราจักไมช ูงวง คือถือตัวเขาไปสูส กุล ๒) เราจักไมพดู คาํ ซ่ึงเปนเหตเุ ถยี งกัน อันเปนเหตใุ หพูดมาก ๓) เราจักไมค ลกุ คลีดวยหมคู ณะ เรน อยตู ามวิสัยของสมณะ จากนั้น ทรงสอนธาตุกรรมฐาน ใหทานพิจารณารางกาย แยกออกเปนธาตุ ๔ คือ ปฐวี ธาตุดนิ อาโป ธาตุนา้ํ เตโช ธาตไุ ฟ วาโย ธาตุลม ทา นกําจัดความทอ แทและความโงกงว งไดแลว สง ใจไปตามกระแสเทศนา ไดบรรลุมรรคทั้ง ๓ เบื้องบนโดยลําดับแหงวิปสสนา แลวถึงท่ีสุดแหง สาวกบารมญี าณในขณะไดบรรลุผลอนั เลิศ คืออรหัตตผล งานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระโมคคัลลานเถระ เปนกําลังสําคัญของพระศาสดาในการประกาศพระพุทธศาสนา เพราะทานมีฤทธิ์มาก จนทําใหเจาลัทธิอื่น ๆ เสื่อมลาภสักการะ โกรธแคนคิดกําจัดทานดัง คําปรกึ ษากนั ของเจาลัทธิเหลาน้ันวา ทานท้ังหลายทราบหรือไมวา เพราะเหตุไร ลาภสักการะจึง เกิดขึ้นแกพระสมณโคดมเปนจํานวนมาก พวกเดียรถียท่ีรูตอบวา พวกขาพเจาทราบ ลาภ สักการะเกิดข้ึน เพราะอาศัยพระเถระรูปหน่ึงชื่อ มหาโมคคัลลานะ เพราะพระเถระน้ันไปยัง เทวโลกถามกรรมที่พวกเทวดาทําแลว กลับมาบอกกับพวกมนุษยวา ทวยเทพทํากรรมช่ือน้ี ยอมไดส มบัติอยางน้ี ทา นไปยงั นรกถามกรรมของหมสู ตั วผ เู กิดในนรกแลวกับมาบอกพวกมนุษย วา พวกเนริยกสตั วท ํากรรมชอ่ื นี้ ยอมเสวยทกุ ข อยา งนี้ พวกมนษุ ยไ ดฟงคําของพระเถระนั้นแลวเกิด ความเลื่อมใสจงึ นําลาภสกั การะเปนอันมากไปถวาย นน้ี บั วา ทานเปนกําลังสาํ คญั ของพระศาสดา 166

 1๑6๖7๕ วชิ า อนพุ ทุ ธประวตั ิ เอตทคั คะและบุญญาธิการ พระมหาโมคคัลลานเถระ เมอ่ื สําเร็จพระอรหันตแลว เปนผูมีฤทธ์ิมาก สามารถทองเท่ียว ไปยังเทวโลกและในนรกได ปราบผูรายท้ังหลาย เชน นันโทปนันทนาคราชเปนตนได จึงไดรับ การยกยอ งจากพระศาสดา วาเปน ผเู ลิศกวา ภกิ ษุทั้งหลายในทางเปน ผมู ฤี ทธ์ิ ในอดีตกาลนานหนึ่งอสงไขยกับอีกแสนกัปป ในพุทธุปบาทกาลแหงพระพุทธเจา ทรงพระนามวา อโนมทัสสี พระมหาโมคคัลลานะเกิดในตระกูลคหบดีมหาศาลช่ือสิริวัฒนกุฏมพี มสี หายช่ือสรทมาณพ สรทมาณพ ออกบวชเปนดาบสไดทําบุญแลวปรารถนาตําแหนงอัครสาวกที่ ๑ ในศาสนา ของพระสมณโคดม ไดร ับพยากรณ คือการรับรองจากพระอโนมทสั สพี ทุ ธเจาวา จะสําเร็จแนแลว จึงไปชวนสิริวัฒนกุฏมพีใหปรารถนาตาํ แหนงอคั รสาวกท่ี ๒ สริ วิ ัฒนกุฏมพีไดต กลง ตามน้นั แลว ไดถวายมหาทานแกพระพุทธเจา และพระสาวกเปนเวลา ๗ วัน วันสุดทายไดถวายผามีราคา มาก แลวปรารถนาตําแหนงอัครสาวกที่ ๒ พระศาสดาทรงเห็นความสําเร็จของเขา แลวได พยากรณวา อกี หนึ่งอสงไขยกับแสนกปั ป จะไดเปน อัครสาวกท่ี ๒ ของพระโคดมพทุ ธเจา มีนาม วา โมคคลั ลานะ ธรรมวาทะและนิพพาน ไฟไมไดต้ังใจเลยวา เราจะเผาไหมคนโงเขลา คนโงเขลาตางหากเขาไปหาไฟที่กําลังลุก อยูแลวใหไฟไหมตนเอง ดูกอนมารผูใจบาป ทานเขาไปหาพระพุทธเจา แลวเผาตัวของทานเอง เหมือนกับคนโงท่ไี ปจับไฟ ดูกอ นมารผใู จบาป ทา นเขา ไปหาพระพุทธเจา แตก ลับไดบาปกลับมา ซ้ํายงั เขาใจผดิ วา ไมเ หน็ จะบาปอะไร (บาปแลวยงั โงอีก) พระมหาโมคคัลลานเถระ นิพพานท่ีตําบลกาฬศิลา แควนมคธ นิพพานกอนพระศาสดา แตภายหลังพระสารีบุตร ๑๕ วัน พระศาสดาเสด็จไปทําฌาปนกิจแลว ใหนําอัฐิธาตุมากอเจดีย บรรจุไวที่ใกลประตเู วฬวุ ันวิหาร ๔. ประวัติพระมหากัสสปเถระ สถานะเดิมและมลู เหตุแหง การบวช พระมหากัสสปเถระ ช่ือเดิมวา ปปผลิ เปนชื่อที่บิดาและมารดาตั้งให แตมักเรียกกัน ตามโคตรวา กัสสปะ บิดาช่ือ กปละ มารดาไมปรากฏชอื่ เกิดในวรรณะพราหมณตระกูลมหาศาล เช้ือสายกัสสปโคตรที่หมูบานพราหมณ ชื่อมหาติตถะ ต้ังอยูในเมืองราชคฤห ภายหลัง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 167

๑1๖6๖8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 พระมหาบรุ ุษเสดจ็ อุบัติ พระมหากัสสปเถระ เปนลูกพราหมณมหาศาล บิดาและมารดาจึงตองการผูสืบเชื้อสาย วงศต ระกลู ไดจดั การใหแตง งานกบั หญิงสาวธิดาพราหมณมหาศาลเหมือนกัน ช่ือภัททกาปลานี ในขณะทา นมอี ายุได ๒๐ ป นางภัททกาปล านีมีอายุได ๑๖ ป แตเพราะท้ังคูจุติมาจากพรหมโลก และบําเพ็ญเนกขัมมบารมีมา จึงไมยินดีเร่ืองกามารมณ เห็นโทษของการครองเรือนวา ตองคอย เปนผูรับบาปจากการกระทําของผูอื่น ในที่สุดทั้งสองไดตัดสินใจออกบวชโดยยกสมบัติทั้งหมด ใหแ กญาตแิ ละบรวิ าร พวกเขาไดไปซ้อื ผากาสาวพัสตร และบาตรดินจากตลาด ตางฝายตางปลงผม ใหแ กก ันเสรจ็ แลว ครองผา กาสาวพสั ตรสะพายบาตร ลงจากปราสาทไปอยา งไมม ีความอาลัย เม่ือปปผลิและภทั ทกาปลานีเดินทางไปดวยกันไดระยะหนึ่งแลวปรึกษากันวา การปฏิบัติ เชนนี้ ทําใหผูพบเห็นติเตียนได เปนการไมสมควร จึงไดแยกทางกัน นางภัททกาปลานีไปถึง สํานักนางภิกษณุ ีแหงหน่ึง แลวบวชเปนนางภิกษุณภี ายหลงั ไดบ รรลพุ ระอรหัตตผล เมื่อทั้งสองคนแยกทางกัน พระศาสดาประทับอยูท่ีพระคันธกุฎี วัดเวฬุวัน ทรงทราบ ถงึ เหตุนนั้ จงึ ไดเสด็จไปประทบั นัง่ ท่ีโคนตนพหุปุตตนิโครธ ระหวางเมืองราชคฤหกับเมืองนาลันทา เพือ่ รอรับการมาของเขา เมือ่ ปป ผลิเห็นพระองคแลวคิดวาทานผูน้ีจักเปนศาสดาของเรา เราจักบวช อุทิศพระศาสดาองคนี้ จึงนอมตัวลงเดินเขาไปหา ไหว ๓ คร้ัง แลวกราบทูลวา ขาแตพระองค ผูเจริญ ขอพระผูมีพระภาคเจาจงเปนศาสดาของขาพระองค ขาพระองคเปนสาวก พระศาสดา ตรสั วา กัสสปะ ถาเธอพึงทาํ ความเคารพนับถอื นี้แกแ ผน ดิน แผนดินนั้นก็ไมสามารถจะรองรับได ความเคารพนับถืออันเธอผูรูความท่ีตถาคตเปนผูมีคุณมากอยางนี้กระทําแลว ยอมไมทําแมขน ของเราใหไหวได เธอจงน่ังลงเถิด กสั สปะ ตถาคตจะใหทรพั ยมรดกแกเธอ วธิ อี ุปสมบทและบรรลุอรหัตตผล ลําดับนั้น พระศาสดาไดบ วชใหทานดวยทรงประทานโอวาท ๓ ขอ คอื ๑. ดูกอนกัสสปะ เธอพงึ ศึกษาวา เราจักเขาไปตง้ั ความละอาย และความเกรงใจในภิกษุ ทัง้ ท่เี ปน เถระ ปานกลาง และบวชใหม ๒. ธรรมใดเปน กุศล เราจักเงีย่ โสตลงฟงธรรมนน้ั พิจารณาเนื้อความนน้ั (ของธรรมนั้น) ๓. เราจกั ไมละทง้ิ กายคตาสติ คือพิจารณารา งกายเปนอารมณ (อยเู สมอ) วิธีบวชอยางนี้ เรียกวา โอวาทปฏิคคณูปสมั ปทา แปลวา การบวชดว ยการรบั โอวาท ครั้นบวชใหทานเสร็จแลว พระศาสดาทรงใหทานเปนปจฉาสมณะเสด็จไปตามทาง ไดหนอยหน่ึง ทรงแวะขางทาง แสดงอาการจะประทับนั่ง พระเถระทราบดังน้ัน จึงปูผาสังฆาฏิ อันเปนผาผืนเกาของตน เปน ๔ ช้ัน ท่ีโคนตนไมแหงหน่ึง พระศาสดาประทับนั่งบนสังฆาฏิน้ัน 168

 1๑6๖9๗ วชิ า อนพุ ทุ ธประวตั ิ เอาพระหัตถลูบผาพลาง ตรัสวา กัสสปะ สังฆาฏิอันเปนผาเกาผืนนี้ของเธอ ออนนุม พระเถระรู ความประสงคจึงกราบทูลวา ขอพระผมู ีพระภาคเจาจงทรงหม ผา สงั ฆาฏิน้ีเถิดพระเจาขา แลวเธอจะ หมผาอะไร พระศาสดาตรัสถาม พระเถระกราบทูลวา เมื่อไดผาสําหรับหมของพระอ งค ขาพระองคจักหมไดพระเจาขา พระศาสดาไดทรงประทานผาหมของพระองคแกพระเถระ ๆ ได หมผาของพระศาสดา มิไดทําความถือตัววา เราไดจีวรเครื่องใชสอยของพระพุทธเจา แตคิดวา ตั้งแตนี้ไป เราจะทําอะไรใหดีกวานี้อีก จึงไดสมาทานธุดงค ๓ ขอ ในสํานักพระศาสดา หลังจาก บวชได ๘ วนั ก็ไดบรรลพุ ระอรหันตพรอ มดว ยปฏิสมั ภทิ า งานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระมหากัสสปเถระ เปนพระสันโดษมักนอย ถือธุดงคเปนวัตร ธุดงค ๓ ขอ ท่ีถืออยู ตลอดชวี ติ คอื (๑) ทรงผาบงั สุกุลเปนวัตร (๒) เที่ยวบิณฑบาตเปนวัตร (๓) อยูปาเปนวัตร ทาน จึงเปนแบบอยางที่ดีของคนรุนหลังมากกวา การแสดงธรรม ทานไดแสดงคุณแหงการถือธุดงค ของทานแกพ ระศาสดา ๒ ประการ คือ ๑. เปน การอยเู ปนสุขในปจจบุ นั ๒. เพอ่ื อนุเคราะหค นรุนหลัง จะไดถือปฏบิ ตั ิตาม พระศาสดาทรงประทานสาธุการแกทาน แลวตรัสวา เธอไดปฏิบัติเพ่ือปร ะโยชน และความสุขแกตนและแกชนเปนอันมาก ทรงสรรเสริญทานวา เปนผูมักนอย สันโดษ ตรัสสอน ภิกษทุ ้ังหลายใหถ อื เปน แบบอยาง ดงั นี้ ๑. กัสสปะ เขาไปสูตระกูล ชักกายและใจออกหาง ประพฤติตนเปนคนใหม ไมคุนเคย อยเู ปน นิตย ไมคะนองกายวาจาใจ จติ ไมข องอยใู นสกุลน้นั เพิกเฉย ต้ังจิตเปนกลางวา ผูใครลาภ จงไดล าภ ผใู ครบุญ จงไดบุญ ตนไดลาภมีใจฉนั ใด ผูอ ื่นก็มใี จฉนั นั้น ๒. กัสสปะ มจี ิตประกอบดว ยเมตตา แสดงธรรมแกผอู ื่น ๓. ทรงสั่งสอนภกิ ษุใหประพฤติดีประพฤตชิ อบ โดยยกทานพระมหากสั สปะเปนตัวอยาง แตงานประกาศพระศาสนาท่ีสําคัญท่ีสุดของพระมหากัสสปเถระ คือเปนประธาน การทําสังคายนาพระธรรมวินัยคร้ังแรก เมื่อพระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพานแลว ทานได ปรารภถอยคําของสุภัททวุฑฒบรรพชิตกลาวกับภิกษุท้ังหลายวา พวกเราพนพันธนาการจาก พระสมณโคดมแลว ตอจากน้ีไป อยากทําอะไรก็ทํา ไมอยากทําก็ไมตองทํา หลังจากถวาย พระเพลิงพระบรมศพของพระพทุ ธเจา แลว ทานไดแจงเรือ่ งน้ันใหพระสงฆท ราบ แลวตกลงกันวา ตองสังคายนาพระธรรมวินัย เพราะเปนวิธีท่ีดีท่ีสุดอันจะทําใหพระศาสนาดํารงมั่นคงอยูไดช่ัว กาลนาน พระสงฆไดมอบใหทานเปนประธานคัดเลือกพระภิกษุผูจะเขารวมสังคายนา ทาน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 169

1๑๖7๘0 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 คัดเลอื กพระอรหันต ๔๙๙ รูป ลวนแตบรรลุอภิญญา ๖ และปฏิสัมภิทา ๔ จากนั้นไดเดินทางไป ยังถํ้าสตั ตบรรณคูหา ขา งภเู ขาเวภาระ โดยไดรับราชปู ถัมภจ ากพระเจา อชาตศัตรูแหงแควนมคธ ปฐมสังคายนาน้ีมีความสําคัญมากไดชวยรักษาคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาให ดาํ รงมัน่ คงมาจวบถึงทกุ วนั น้ี เอตทคั คะ บุญญาธิการ และปรินิพพาน พระมหากัสสปเถระ ไดรับการสรรเสริญจากพระศาสดา ในทามกลางหมูพระอริยเจา ทรงต้ังพระเถระไวในตําแหนงผูเลิศแหงภิกษุทั้งหลาย ผูทรงธุดงคและกลาวสอนธุดงควา ภิกษุ ทัง้ หลาย กสั สปะนี้ เปนผูเลิศแหงภกิ ษสุ าวกทั้งหลายของเรา ผทู รงธุดงคและกลาวสอนธดุ งค นบั ยอนหลงั ไปแสนกัปปแ ตกัปปน้ี พระพุทธเจา ทรงพระนามวา ปทุมุตตระ ไดเสด็จอุบัติ ในโลก พระมหากัสสปะเถระน้ีไดเกิดเปนกุฏมพีนามวา เวเทหะ ในพระนครหังสวดีนับถือ พระรัตนตรัยไดเห็นพระสาวกผูเลิศทางธุดงคนามวา มหานิสภเถระ เล่ือมใสในปฏิปทาของทาน จึงนิมนตพระปทุมุตตรพุทธเจา พรอมพระสงฆมาถวายภัตตาหาร แลวตั้งความปรารถนา ตําแหนงนั้น พระพุทธเจาทรงตรวจดูดวยพุทธญาณ แลวจึงทรงพยากรณวา ในอนาคตกาล ประมาณแสนกัปปพระพุทธเจาพระนามวา โคดม จักอุบัติขึ้น ทานจักเปนสาวกที่ ๓ ของ พระพุทธเจานน้ั มชี ่ือวา มหากัสสปเถระ พระมหากัสสปเถระ เมื่อทําสังคายนาพระธรรมวินัยเรียบรอยแลว ไดจําพรรษาอยูที่ เวฬวุ นาราม มอี ายปุ ระมาณ ๑๒๐ ป จงึ นพิ พาน ณ ระหวางกลางกุกกุฏสัมปาตบรรพตทั้ง ๓ ลูก ในกรุงราชคฤห ๕. ประวัติพระอนุรุทธเถระ สถานะเดมิ และมลู เหตแุ หงการบวช พระอนุรุทธเถระ พระนามเดิม เจาชายอนุรุทธะ เปนพระนามท่ีพระญาติท้ังหลายขนานให พระบิดาพระนามวา อมิโตทนะ เปน พระอนุชาของพระเจาสทุ โธทนะ เจา ชายอนรุ ทุ ธะ มีพ่นี องรวมพระมารดาเดียวกัน ๒ พระองค คือ ๑) พระเชษฐา พระนามวา เจาชายมหานามะ ๒) พระกนิษฐภคินีพระนามวา โรหิณี เจาชายอนุรุทธะ เปนผูมีบุญญาธิการสูง เปน สขุ ุมาลชาตอิ ยางยงิ่ และเปนผมู ีปญญามาก ไมรจู ักแมแตค าํ วา ไมม ี ทางฝายพระนครกบิลพัสดุ พระเจาสุทโธทนะไดตรัสเรียกเจาศากยะทั้งหลายมาประชุมกัน ตรัสวา บัดน้ีบุตรของเราเปนพระพุทธเจาแลว มีกษัตริยเปนอันมากเปนบริวาร ทานทั้งหลายจงให 170

 17๑๖1๙ วชิ า อนพุ ุทธประวตั ิ เด็กชายจากตระกูลหนงึ่ ๆ บวชบาง ขตั ตยิ กุมารชาวศากยะเปนอนั มากไดอ อกบวชตามพระศาสดา สมัยน้ัน เจาชายมหานามะ เสด็จเขาไปหาเจาชายอนุรุทธะ ตรัสวา พออนุรุทธะ บัดนี้ ศากยกุมารผูมีช่ือเสียงพากันบวชตามพระผูมีพระภาคเจา แตตระกูลของเรายังไมมีใครบวชเลย เธอหรือพี่จะตองบวช ในท่ีสุดเจาชายอนุรุทธะตัดสินพระทัยบวชเอง จึงพรอมดวยกษัตริย อีก ๕ พระองค คือ ภัททิยะ อานันทะ ภคุ กิมพิละ และเทวทัต พรอมกับอุบาลีภูษามาลา ไดไปเฝา พระศาสดาท่อี นปุ ยอมั พวนั ทลู ขอบรรพชาอุปสมบท โดยใหอ ุบาลีบวชกอน เพ่ือกําจดั ขัตตยิ มานะ การบรรลุธรรมและงานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระอนุรทุ ธเถระนี ครนั บวชแล้วไดเ้ รยี นกรรมฐานในสํานกั พระธรรมเสนาบดี แล้วไดไ้ ป ประจาํ อยทู่ ปี าจนี วงั สมฤคทายวนั ในเจตยิ รฐั บาํ เพญ็ สมณธรรม ตรกึ มหาปรุ สิ วติ กได้ ๗ ขอ้ คอื ๑. ธรรมน้เี ปน ธรรมของผูมคี วามปรารถนานอย ไมใ ชของผูมคี วามมักมาก ๒. ธรรมน้ีเปน ธรรมของผสู นั โดษยนิ ดีดว ยของที่มีอยู ไมใ ชข องผไู มส ันโดษ ๓. ธรรมนีเ้ ปน ธรรมของผูสงดั แลว ไมใ ชของผยู ินดีในหมคู ณะ ๔. ธรรมนี้เปน ธรรมของผูปรารถนาความเพยี ร ไมใ ชของผูเกยี จครา น ๕. ธรรมน้เี ปน ธรรมของผูมีสตมิ ่ันคง ไมใชข องคนหลง ๖. ธรรมนเ้ี ปนธรรมของผมู ีใจมัน่ คง ไมใ ชข องผูม ใี จไมม ั่นคง ๗. ธรรมนเี้ ปน ธรรมของผมู ีปญ ญา ไมใ ชของผูท รามปญญา พระศาสดาทรงทราบวา ทานลําบากในมหาปุริสวิตกขอที่ ๘ จึงเสด็จไปยังที่นั้นตรัส อรยิ วังสปฏิปทา วาดวยการอบรมความสันโดษในปจจัย ๔ และยินดีในการเจริญกุศลธรรม แลว ตรัสมหาปุรสิ วติ ก ขอ ท่ี ๘ ใหบรบิ รู ณวา ๘. ธรรมน้ีเปนธรรมของผูยินดีในธรรมท่ีไมเน่ินชา ไมใชของผูยินดีในธรรมที่เน่ินชา พอเมื่อพระศาสดาเสดจ็ ไปยังเภสกลาวัน ทานพระอนุรทุ ธเถระ กไ็ ดบรรลุพระอรหันต พระอนุรุทธเถระ มีบทบาทสําคัญอยางมากในการชวยพระศาสดาประกาศพระพุทธศาสนา เพราะทานชํานาญในทิพพจักษุญาณ จึงเปนพระที่เทวดาและมนุษยเคารพนับถือ ทานมีอายุอยูมา นาน หลังจากพระพุทธเจาปรินิพพาน ไดเปนอาจารยของหมูคณะ มีสัทธิวิหาริก และอันเตวาสิกมาก แมในการทําสงั คายนาพระธรรมวนิ ยั ครั้งท่ี ๒ ก็ยังมศี ษิ ยท ีส่ ืบเชอ้ื สายจากทานเขารวมดวยท่ีปรากฏ ชอื่ คือ พระอาสภคามีและพระสมุ นะ ชีวประวัตขิ องทานก็นาศรัทธาเล่ือมใสจากผูท่ีเปนสุขุมาลชาติที่สุด ไมรูจักและไมเคยไดยิน คาํ วา ไมม ี ตอ งการอะไรไดท ง้ั น้ัน แตเมอื่ เขาบวชในพระพทุ ธศาสนาแลวกลับเปนผูมักนอย สันโดษ เก็บผาจากกองขยะมาทําไตรจีวรนุงหม โดยไมมีความรังเกียจ กลับมีความยินดีวาน่ันเปน การปฏิบัตติ ามนสิ ัย คอื ท่ีพึ่งพาอาศยั ของภกิ ษุ ๔ ประการ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 171

๑1๗7๐2 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 เอตทคั คะ บุญญาธิการ และปรินพิ พาน ดังไดกลาวแลววา พระอนุรุทธเถระไดบรรลุพระอรหัตพรอมวิชชา ๓ คือ บุพเพนิวาสานุส- สติญาณ ทิพพจักขุญาณ และอาสวักขยญาณ ตามปกติทานจะพิจารณาตรวจดูสัตวโลกดวย ทิพพจักขุญาณ เพราะฉะนั้น พระผูมีพระภาคเจาจึงทรงยกยองทานวาเปนผูเลิศกวาภิกษุ ท้ังหลาย ผไู ดท พิ พจกั ขญุ าณ พระอนุรุทธเถระนี ได้สรา้ งสมบุญกุศลทจี ะอํานวยผลใหเ้ กดิ ทพิ ยจกั ษุญาณในพุทธกาล เป็นอนั มาก คอื ไดท้ าํ การบูชาดว้ ยประทปี อนั โอฬารทพี ระสถปู เจดยี ์ ด้วยผลบุญอนั นีจงึ ทาํ ใหไ้ ด้ บรรลทุ พิ ยจกั ษุญาณ สมกบั ปณิธานทตี งั ไว้ พระอนุรุทธเถระนี ครนั พระศาสดาปรนิ ิพพานแลว้ เป็นผทู้ รี วู้ ่าพระศาสดานิพพานเมอื ไร อย่างไร สุดท้ายท่านเองก็ได้ละสงั ขารนิพพาน ไปตามสจั ธรรม ณ กอไผ่ หมู่บ้านเวฬุวคาม แควน้ วชั ชี ๖. ประวัติพระภทั ทยิ เถระ สถานะเดมิ และมลู เหตแุ หงการบวช พระภัททิยเถระ พระบิดาไมปรากฏพระนาม พระมารดาพระนามวา กาฬิโคธาราชเทวี เปนพระนางศากยกญั ญาในนครกบิลพสั ดุ เกดิ ทพี่ ระนครกบิลพัสดใุ นวรรณะกษัตริย พระภัททิยเถระ กอนบวชเปนเจาชายเช้ือสายศากยะพระองคหนึ่ง มีพระสหายสนิท คือ เจาชายอนุรุทธะ เจาชายอานนท เจา ชายภคุ เจา ชายกมิ พลิ ะ และเจาชายเทวทัตแหงเมืองเทวทหะ เม่ือเจาชายภัททิยะ เจริญเติบโตแลว ไดเสวยราชสมบัติสืบศากยวงศ ตอมาถูกเจาชาย อนุรทุ ธะ ซึ่งเปนพระสหายสนิทชักชวนใหออกบวช จึงไดทูลลาพระมารดา สละราชสมบัติ เสด็จ ออกไปเฝาพระศาสดาที่อนุปยนิคม แควนมัลละ พรอมดวยพระราชกุมาร ๕ พระองค คือ อนรุ ทุ ธะ อานนั ทะ ภคุ กิมพลิ ะ และเทวทัต รวมทั้งนายภูษามาลา นามวา อบุ าลี ดวยเปน ๗ คน ไดทูลขอบวชในพระธรรมวินัย โดยใหอุบาลีบวชกอน เพื่อกษัตริยท้ัง ๖ จะไดทําความเคารพ กราบไหว และเปน การทาํ ลายขัตตยิ มานะ พระภทั ทยิ ะ บรรพชาอุปสมบทแลวไมนาน เปนผูไมประมาท พากเพียรพยายามบําเพ็ญ สมณธรรม กไ็ ดบ รรลุพระอรหัตผลภายในพรรษาที่บวชนัน่ เอง 172

 17๑๗3๑ วชิ า อนพุ ทุ ธประวตั ิ งานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระภัททิยเถระ ในสมัยเปนคฤหัสถทานเปนพระราชา เม่ือมาบวช ทานสําเร็จพระอรหันต ทานจะอยูตามโคนไม ปาชา และเรือนวาง จะเปลงอุทานเสมอวา สุขหนอ ๆ ภิกษุท้ังหลายไดยิน เชน นนั้ เขาใจผดิ คดิ วา ทา นเบอ่ื หนา ยพรหมจรรย เรียกหาความสุข ในสมัยเปนพระราชาจึงกราบทูล พระศาสดา พระศาสดาตรัสเรียกทานมาแลวตรัสถาม ทานไดกราบทูลวา ขาแตพระองค ผูเจริญ เมื่อกอน ขาพระองคเปนพระเจาแผนดิน ตองจัดการรักษาปองกันท้ังภายใน และภายนอกทั่ว อาณาเขต แมขาพระองคจัดการอารักขาอยางน้ีก็ตองหวาดสะดุงกลัวภัยอยูเปนนิตย แตบัดนี้ ขาพระองคถึงจะอยูปา โคนตนไม หรือในเรือนวาง ก็ไมรูสึกหวาดกลัว หรือสะดุงตอภัยใด ๆ เลย อาศัยอาหารทผ่ี อู นื่ ใหเ ลี้ยงชพี วนั ละมือ้ จิตใจเปน อิสระ ไมมพี ันธะใด ๆ ขา พระองคมีความรูสึกอยางน้ี จงึ ไดเ ปลง อุทานอยา งนัน้ พระเจาขา พระศาสดาทรงทราบเชน นนั้ จงึ ทรงชมเชยทาน เอตทคั คะ บุญญาธกิ าร และปรนิ ิพพาน พระภทั ทิยเถระนี้ ทา นเกิดในวรรณะกษัตริย และไดเสวยราชสมบัติเปนพระราชาแลวได สละราชสมบัติออกบวชดวยเหตุน้ัน จึงไดรับการยกยองจากพระศาสดาวา เปนเลิศกวาภิกษุ ทง้ั หลาย ผเู กดิ ในตระกลู สงู พระภัททิยเถระนี้ ก็ไดบําเพ็ญบุญญาธิการไวในสมัยพระพุทธเจาองคกอน ๆ โดยใน พุทธุปบาทกาลแหงพระปทุมุตตรศาสดา ไดเกิดในตระกูลอันสมบูรณดวยสมบัติ มีจิตเล่ือมใส มีใจโสมนัส นําเสด็จมาสูเรือนของตน ไดถวายภัตตาหารแลว ไดถวายอาสนะที่ปูลาดดวย เครอ่ื งปูลาดอนั งดงาม ตอมา ไดทาํ บุญ มีทาน ศีล และภาวนาเปนประธาน ตลอดกาลยาวนานจน ไดบรรลุสาวกบารมีญาณในชาติสุดทาย ฆราวาสวิสัยไดเปนพระราชา ออกบรรพชาไดสําเร็จ พระอรหนั ต พระภัททิยเถระนี้ ทานไดบรรลุผลสูงสุดในพระพุทธศาสนา สิ้นชาติ ส้ินภพ อยูจบ พรหมจรรย กิจสวนตัวของทานไมมี มีแตหนาท่ีประกาศพระศาสนา นํามาซ่ึงประโยชนและ ความสขุ แกส งั คม สุดทายทานไดนิพพานตามธรรมดาของสงั ขารท่ีเกดิ มาแลวตอ งดบั ไป ๗. ประวัตพิ ระลกุณฏกภทั ทยิ เถระ สถานะเดิมและมลู เหตแุ หง การบวช พระลกุณฏกภัททิยเถระ นามเดิม ภัททิยะ แตเพราะรางกายของเขาเต้ียและเล็ก จึง เรยี กวา ลกณุ ฏกภัททิยะ บิดาและมารดาไมปรากฏชอ่ื เปน คนวรรณะแพทย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 173

1๑๑๗๗7๒๒4 คคููมมออืื กกาารรศศกกึึ ษษาานนกกัั ธธรรรรมมชชนน้ัั้ โโทท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 เพราะบดิ าและมารดาของเขาเปนคนมีทรัพยมาก จึงไดรับการเล้ียงดูและการศึกษาอยาง ดีตามที่จะหาและทาํ ไดในสมัยนน้ั เมื่อพระศาสดาประทับอยูที่พระวิหารเชตวันแสดงพระธรรมเทศนาโปรดมหาชน ลกุณฏกภัททิยะเติบโตแลวไดไปยังวิหารฟงธรรมเทศนา เกิดศรัทธาเลื่อมใสใครจะบวชใน ๑๕๒คูมอื การพศรกึ ะษพานุทกัเธมธศร่ือารทสมนาชน้ัานโไจทดึงทบูลวขชอแคบลูมววอืชกกก็ไาับดรพศเรกึรียะษศนาานกสกั รดธรรามรฐซมาช่ึงคนนั้กูมโท็ ทอืพรกงาาบกรวเศพชกึ ใียษหารตนภากั ามธวปรนรรมาะชสเนจั้ งโรคทิญ วิปสสนา ใชปญญา พิจารณาสังขารโดยความเปน อนจิ จงั ทกุ ขงั และอนตั ตา ในไมช า ก็บรรลพุ ระอรหัตผล งานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระลกุณฏกภัททิยะ แมรางกายของทานจะเล็กมาก แตทานก็มีสติปญญาและ ความพากเพียร ปฏิบัติตามคําสอนของพระศาสดา ก็สามารถบรรลุมรรคผลนิพพานได ภิกษุ ท้ังหลายที่ไมรูจักทานเวลามาเฝาพระศาสดา คิดวาเปนสามเณร บางก็ลอเลน ลูบศีรษะ จับใบหู ทานกไ็ มวา อะไร พอเขา ไปเฝาพระศาสดา ถูกตรสั ถามวา กอ นเขามาพบพระเถระไหม จึงพากันทูลวา ไมพบ พบแตสามเณรตัวนอย ๆ พระเจาขา พระศาสดาตรัสวา น่ันเปนพระเถระไมใชสามเณร จงึ ทูลวา ทา นตัวเล็กเหลือเกินพระเจาขา พระศาสดาตรัสวา เราไมเรียกภิกษุวาเปนเถระ เพราะเขาเปนคนแก น่ังบนอาสนะของ พระเถระ สวนผูใดบรรลุสัจจะท้ังหลาย ต้ังอยูในความไมเบียดเบียนมหาชน ผูน้ีจึงจะช่ือวาเปน พระเถระ เอตทคั คะ บญุ ญาธกิ าร และปรนิ ิพพาน พระลกุณฏกภทั ทยิ ะนี้้ เปนผูมเี สยี งไพเราะ เพราะเหตุน้้ัน พระศาสดาจึงทรงตั้ง ทานไวใน เอตทคั คะวา เปน ผเู ลิศกวาภกิ ษทุ ง้ั หลายผูมีเสียงอนั ไพเราะ พระลกุณฏกภัททยิ ะเถระน้ี ในพุทธุปบาทกาลแหงพระศาสดาทรงพระนามวา ปทุมุตตระ ไดเห็นพระศาสดา ทรงต้ังภิกษุรูปหนึ่งในตําแหนงผูเลิศกวาภิกษุทั้งหลายผูมีเสียงอันไพเราะ จงึ เกิดกศุ ลฉนั ทะวา ไฉนหนอ ในอนาคตกาลเราพงึ เปนผูมเี สียงไพเราะเหมือนภิกษุรปู นบ้ี า ง แลว ไดทําบุญต้ังความปรารถนาอยางนั้น พระศาสดาทรงพยากรณวาจะสําเร็จในศาสนาของ พระศาสดาพระนามวา โคดม และไดส มปรารถนาตามประสงคด ังคําของพทุ ธองคท ุกประการ พระลกุณฏกภัททยิ เถระ ไดบาํ เพ็ญประโยชนแ กช าวโลกตามสมควรแกเวลา ก็ไดนิพพาน หยุดการหมนุ เวียนของวฏั ฏะอยางสิน้ เชิง 174

 1๑7๗5๓ วชิ า อนพุ ทุ ธประวตั ิ ๘. ประวตั ิพระปณ โฑลภารทวาชเถระ สถานะเดิมและมลู เหตุแหงการบวช พระปณโฑลภารทวาชเถระ นามเดิม ภารทวาชะ บิดาเปนปุโรหิตของพระเจาอุเทน แตไ มปรากฏนาม มารดาไมปรากฏนาม เกดิ ในแควน วงั สะ วรรณะพราหมณ พระปณโฑลภารทวาชเถระ ครั้งกอนบวชไดรับการเลี้ยงดูอยางดีจากบิดาและมารดา ครั้นเจริญวัย ไดศึกษาแบบพราหมณจบไตรเพท แลวไดเปนอาจารยสอนมนตแกมาณพ ๕๐๐ คน ตอมาถกู ศิษยท อดทงิ้ เพราะกนิ จุ จงึ ไปยงั เมืองราชคฤหสอนมนตอยทู น่ี ั่น เมื่อปณโฑลภารทวาชะ ไปอยูในเมืองราชคฤหน้ันไดเห็นพระสัมมาสัมพุทธเจากับ พระมหาสาวกมลี าภมาก มีความปรารถนาจะไดลาภเชนน้ันบาง จึงเขาไปเฝาพระศาสดา ทูลขอ บรรพชาอุปสมบท พระพุทธองคทรงบวชใหเขาดวยวธิ เี อหภิ กิ ขุอุปสมั ปทา พระปณโฑลภารทวาชเถระ ครั้นบวชแลว ไดเที่ยวบิณฑบาต โดยไมรูจักประมาณ เน่ืองจากฉันอาหารจุจึงถูกขนานนามเพิ่มวา ปณโฑลภารทวาชะ (ปณโฑละ ผูแสวงหากอนขาว) พระศาสดา ทรงทราบเชนนั้น จึงทรงใชอุบายวิธีแนะนําทานใหเปนผูรูจักประมาณในการบริโภค อาหาร ทานคอย ๆ ฝกฝนตนเองไปจึงกลายเปนผูรูประมาณ ตอจากนั้นไมนาน ไดพยายามบําเพ็ญ สมณธรรม กไ็ ดบรรลุพระอรหัตผล พรอมอภิญญา ๖ งานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระปณโฑลภารทวาชเถระ ไดเปนกําลังสําคัญรูปหนึ่งของพระศาสดา ไดรับคําทา ประลองฤทธ์ิ กับพวกเดียรถียที่บานของเศรษฐีคนหนึ่งในกรุงราชคฤห โดยเหาะข้ึนไปเอาบาตร ไมจันทนที่เศรษฐีน้ัน แขวนเอาไวในท่ีสูงพอประมาณ เพ่ือทดสอบวามีพระอรหันตในโลกจริง หรอื ไม เมื่อองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพานแลว ทานไปยังแควนวังสะ นงั่ พกั อยูที่โคนตนไมใ นพระราชอุทยานของพระเจา อุเทน พระเจาอุเทนเสด็จมาพบ และไดสนทนากัน เกย่ี วกับเร่อื งพระหนุม ๆ ในพระพุทธศาสนาบวชอยูไ ดอ ยา งไร ทานไดท ลู วา พระเหลาน้ัน ปฏิบัติ ตามคําสอนของพระศาสดา คือระวังอินทรียไมใหยินดียินราย ไมยึดถืออะไรท่ีผิดจากความจริง พระเจา อเุ ทนทรงเขา ใจ และเลอื่ มใสในพระพุทธศาสนา ประกาศพระวาจานบั ถอื พระรตั นตรยั เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 175

1๑7๗๔6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 เอตทคั คะ บุญญาธกิ าร และปรนิ ิพพาน พระปณโฑลภารทวาชเถระนี้ ครั้นไดบรรลุพระอรหัตผล พรอมไดอภิญญา ๖ แลว มี ความม่ันใจตนเองมาก เม่ืออยูในหมูภิกษุหรือแมแตหนาพระพักตรของพระศาสดา ก็จะเปลงวาจา บันลือสีหนาทวา ผูใดมีความสงสัยในมรรคและผล ผูน้ันจงถามขาพเจา เพราะเหตุนั้น พระผูมี พระภาคเจา จงึ ทรงต้ังทา นไวในเอตทคั คะวา เปน ผเู ลิศกวา ภิกษุท้งั หลายผบู นั ลือสีหนาท พระปณโฑลภารทวาชเถระนี้ ในพทุ ธุปบาทกาลของพระปทุมุตตระ ไดเกิดเปนราชสีหอยู ในถ้าํ แหงภเู ขาแหง หน่งึ เวลาออกไปหาเหย่ือพระพุทธเจาไดเสด็จเขาไปประทับน่ังในถํ้าของเขา แลวทรงเขานิโรธสมาบัติ ราชสีหกลับมาเห็นดังนั้น ท้ังราเริงและยินดี บูชาดวยดอกไม ทําใจให เลื่อมใส ผานไป ๗ วัน พระพุทธเจาออกจากนิโรธสมาบัติ เหาะข้ึนสูอากาศกลับไปยังวิหาร ราชสหี น ั้นหวั ใจสลายแตกตายไป ไดบ ังเกดิ เปน ลูกเศรษฐใี นพระนครหังสวดี ครั้นเจริญวัยแลวได ทาํ บญุ คอื ทาน ศีล ภาวนา ตลอดมา เขาไดท ําบุญอยา งน้นั อีกนบั ภพและชาติไมถวน สุดทายได ถึงฝง แหงสาวกบารมญี าณในพทุ ธุปบาทกาลแหง พระโคดมดงั ไดก ลา วมา พระปณโฑลภารทวาชเถระนี้ เม่ือไดบรรลุพระอรหัตผล แลวไดชวยประกาศ พระพุทธศาสนา ไปจนถึงวาระสุดทายของชีวิตแลว ไดนิพพานดับไป ตามวิสัยของอรหันตท่ีวา ชาตสิ ้ินแลว ภพใหมไมม อี กี แลว ๙. ประวัตพิ ระปณุ ณมันตานบี ุตรเถระ สถานะเดิมและมลู เหตแุ หงการบวช พระปุณณมนั ตานีบุตรเถระ นามเดิม ปุณณะ เปนชื่อท่ีญาติทั้งหลายตั้งให แตเพราะเปน บุตรของนางมันตานี คนทั้งหลายจึงเรียกวา ปุณณมันตานีบุตร บิดาไมปรากฏช่ือ มารดาชื่อ นางมันตานี เปนนองสาวพระอัญญาโกณฑัญญะ ทั้งสองเปนคนวรรณะพราหมณ เกิดท่ีบาน พราหมณ ช่อื โทณวตั ถุ อยูไมไกลจากนครกบลิ พสั ดุ กอ นบวชในพระพุทธศาสนา ปณุ ณมาณพไดศึกษาศิลปวิทยาตาง ๆ และชวยบิดามารดา ประกอบอาชีพที่เปนของตระกูล และเปนทน่ี ิยมของวรรณะน้ัน ๆ เม่ือพระศาสดา ทรงประกาศพระธรรมจักรอันยิ่งใหญและเสด็จเขาไปอาศัยราชคฤหราชธานี เปนที่ประทับ พรอมกับพระอัญญาโกณฑัญญะ และพระมหาสาวกอีกจํานวนมาก ปุณณมาณพ ปรารภจะไปเยย่ี มหลวงลุง ไดม ุง ไปยังราชคฤหมหานคร จึงไดบรรพชาอุปสมบทตามกฎพระวินัย ได พระอัญญาโกณฑัญญะเปนอุปชฌายบวชมาไมนานก็ไดสําเร็จเปนอรหันตอันเปนคุณข้ันสูงสุดใน พระพุทธศาสนา 176

 17๑๗7๕ วชิ า อนพุ ทุ ธประวตั ิ การบรรลธุ รรมและงานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระปณุ ณมันตานีเถระ คร้ันบวชแลวไดกลับยังกบิลพัสดุราชธานี ไดบําเพ็ญเพียรทางจิต จนไดส ัมฤทธ์ผิ ลสงู สุดในพระพุทธศาสนา แลว ไดเปนอปุ ชฌายบวชกุลบุตร นับจํานวนได หา รอยองค พระเถระเหลานั้นครั้นบรรลพุ ระอรหันตแลว เขาไปหาพระอุปชฌายแจงความประสงควา ปรารถนาจะเฝาพระทศพล พระเถระจึงนิมนตใ หล วงหนาไปกอน แลวไดบ ทจรตามไปในภายหลงั พระบรมศาสดา ทรงทราบวา พระเหลานั้นลวนปฏิบัติม่ันในกถาวัตถุ ๑๐ ประการ ทรงกระทําปฏิสันถารอันไพเราะเหมาะกบั วมิ ุตวสิ ัย จึงไดต รัสถามถึงพระเถระผเู ปนพระปฏิบัติกถา วัตถสุ ิบประการ วาทานนั้นชื่ออะไร พระทั้งหลายทูลวา ปุณณมันตานี ทานรูปนี้มักนอย สันโดษ โปรดปรานการเจรญิ ศีล สมาธิ ปญ ญา เปน อปุ ช ฌายของขาพระองคทัง้ หลาย ทา นพระสารบี ตุ รเถระไดฟงคําของภิกษุเหลาน้ัน มีความประสงคจะพบพระเถระ จากน้ัน พระศาสดาไดเสด็จจากเมืองราชคฤหไปยังเมืองสาวัตถี พระปุณณมันตานีไดไปเฝาพระทศพล จนถึงพระคันธกฎุ ี พระชนิ สหี ไ ดท รงแสดงธรรมนําใหเกิดปราโมทย จึงไดกราบลาพระตถาคตไป ยังอันธวัน นั่งพักกลางวัน ณ โคนไมตนหนึ่ง พระสารีบุตรเถระไดเขาไปหาแลวสนทนาไตถาม ขอความในวิสุทธิเจ็ดประการ พระเถระบรรหารวิสชั ชนาอปุ มาเหมือนรถเจ็ดผลัด จัดรับสงมุงตรงตอ พระนิพพาน ตา งกเ็ บิกบานอนุโมทนาคําภาษิตทีด่ ื่มดาํ่ ฉาํ่ จิตของกันและกนั เอตทคั คะ บญุ ญาธกิ าร และปรินพิ พาน เพราะพระปุณณมันตานีเถระ มีวาทะในการแสดงธรรมลึกล้ําดวยอุปมา ภายหลัง พระศาสดา ประทบั นัง่ ณ ทา มกลางภิกษุบริษทั จึงไดทรงตั้งทานไวในเอตทคั คะวา เปนเลิศแหง ภิกษสุ าวกทง้ั หลายของเราผูเปนพระธรรมกถกึ พระปุณณมันตานีเถระนี้ ในพุทธกาลมากหลาย ลวนแตเปนอุปนิสัยแหงวิวัฏฏะ คือ พระนิพพาน ไดทัศนาการเห็นพระปทุมุตตรศาสดา มีพุทธบัญชา ต้ังสาวกผูฉลาดไตรปฎก ยกให เปนผูประเสริฐลํ้าเลิศในดานการเปนพระธรรมกถึก จึงนอมนึกจํานงหมายอยากไดตําแหนงนั้น จงึ มุงตรงตอบญุ กรรม ทําแตค วามดี มาชาตินจี้ งึ ไดฐ านันดรสมดังพรที่ขอไว พระปุณณมันตานีบุตรเถระ บรรลุพระอรหัตผลแลว ไดชวยพระศาสดาประกาศ พระพุทธศาสนาจนตลอดชวี ิตแลวไดน พิ พานดวยอนปุ าทิเสสนิพพานไมมภี พใหม อกี ตอ ไป เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 177

๑1๗7๖8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๑๐. ประวัตพิ ระมหากัจจายนเถระ สถานะเดมิ และมลู เหตุแหงการบวช พระมหากัจจายนเถระ เดิมชื่อวา กัญจนมาณพ เปนช่ือท่ีมารดาต้ังให เพราะทารกน้ัน มีผิวกายเหมือนทองคํา แตคนทั่วไปเรียกตามโคตรวา กัจจานะ หรือ กัจจายนะ บิดาชื่อติริฏวัจฉะ มารดาไมปรากฏชื่อ เปนวรรณะพราหมณ กัจจายนโคตร บิดาเปนปุโรหิตของพระเจ า จัณฑปชโชตเกิดที่เรอื นปโุ รหิตของพระเจา จณั ฑปช โชต ในกรุงอุชเชนี แควน อวนั ตี กัญจนมาณพน้ัน คร้ันเจริญวัยแลว เรียนจบไตรเพท เมื่อบิดาของเขาถึงแกกรรมก็ไดรับ ตาํ แหนง ปุโรหติ แทน คนทง้ั หลายเรียกชื่อเขาตามโคตรวา กจั จายนะ พระเจา จณั ฑปชโชตไดทรงสดบั วา พระพทุ ธเจา ทรงอบุ ัตขิ ้นึ ในโลก จึงสงกัจจายนปุโรหิต ไปเพ่ือทูลอาราธนาพระศาสดาวา ทานอาจารย ทานจงไปท่ีพระอารามน้ันแลว ทูลนิมนต พระศาสดามาในวังน้ี ทานปุโรหิตน้ันพรอมกับบริวารอีก ๗ คน เดินทางออกจากนครอุชเชนีไป ยังพระนครสาวัตถี เพ่ือเฝาพระพุทธเจา ท่ีพระเชตวันมหาวิหาร พระพุทธเจาไดทรงแสดงธรรม แกพวกเขา กัจจายนปุโรหิตพรอมกับคนทง้ั ๗ ไดบรรลอุ รหัตผลพรอ มปฏิสมั ภทิ า ๔ ครั้นบรรลอุ รหัตผลแลว กจั จายนปุโรหติ พรอ มกับคนทั้ง ๗ ไดท ูลขอบรรพชาอุปสมบทกับ พระศาสดา ลําดับน้ันพระศาสดาทรงเหยียดพระหัตถตรัสวา พวกเธอจงเปนภิกษุมาเถิด ขณะน้ันเอง พวกเขาไดมีผมและหนวดยาวประมาณ ๒ องคุลี ทรงบาตรและจีวรอันสําเร็จดวยฤทธิ์ ไดเปน เหมอื นพระเถระบวชมา ๖๐ พรรษา งานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระมหากจั จายนเถระ ทําประโยชน์ของตนให้สําเรจ็ อย่างนีแล้ว วนั หนึง จึงกราบทูล พระศาสดาว่า ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ พระเจา้ จณั ฑปชั โชต ปรารถนาจะไหวพ้ ระบาทและฟงั ธรรม ของพระองค์ พระเจา้ ขา้ พระศาสดาตรสั ว่า กจั จายนะ เธอนนั แหละจงไปในวงั นนั เมอื เธอไปถงึ แลว้ พระราชาจกั ทรงเลอื มใส พระเถระพรอ้ มกบั ภกิ ษุอกี ๗ รปู ไดไ้ ปยงั พระราชวงั นันตามพระ บญั ชาของพระศาสดา ได้ทําใหพ้ ระราชาทรงเลอื มใส แลว้ ไดป้ ระดษิ ฐานพระพุทธศาสนาไวใ้ น อวนั ตชี นบทเรยี บรอ้ ยแลว้ จงึ ไดก้ ลบั มาเฝ้าพระศาสดาอกี เมอื องคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เสดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ ิพพานแลว้ พระมหากจั จายนเถระ อยู่ทีป่าไม้คุนธา แขวงมธุรราชธานี พระเจ้ามธุรราชอวันตีบุตรเข้าไปหา ตรัสถามถึงเรืองที 178

179 179 เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2

1๑๗8๘0 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 พระมหากัจจายนเถระ ไดทําประโยชนของตนใหสําเร็จดวยการบรรลุอรหัตผลแลว ไดช ว ยพระศาสดาประกาศพระศาสนาในอวนั ตีชนบท ในที่สดุ ไดนพิ พานดวยอนปุ าทิเสสนิพพาน ธาตุ เหมือนดวงประทีปที่หมดเชื้อแลวดับไป จากหลักฐานในมธุรสูตรแสดงใหเห็นวา ทาน นพิ พานภายหลงั พระศาสดา ๑๑. ประวัติพระจฬู ปนถกเถระ สถานะเดมิ และมลู เหตุแหง การบวช พระจูฬปนถกเถระ นามเดิมวา ปนถกะ เพราะเกิดในระหวางทางขณะท่ีมารดาเดินทาง กลับไปยังบานเศรษฐีผูเปนบิดา และเพราะเปนนองชายของมหาปนถกะ จึงมีช่ือวา จูฬปนถกะ บดิ าเปนคนวรรณะศทู ร ไมปรากฏนาม มารดาเปน คนวรรณะแพทย หรือไวศยะ เกิดระหวางทาง ขณะที่มารดาเดินทางกลับมายงั บานของเศรษฐีซึง่ อยูใ นเมอื งราชคฤห เพราะเหตุที่บิดาและมารดาตางวรรณะกัน เด็กชายจูฬปนถกะจึงอยูในฐานะเด็กจัณฑาล ตามคําสอนของพราหมณ แมชวงเวลาหน่ึงจะไดรับความลําบาก เพราะบิดาและมารดายากจน มาก แตต อมาอยูกับเศรษฐีผเู ปน ตาและยาย ไดร ับการเลยี้ งดอู ยางดี หลังจากที่พระมหาปนถกเถระบวชในพระพุทธศาสนา และไดบรรลุอรหัตผลแลว พจิ ารณาเหน็ วา ความสขุ อนั เกดิ จากมรรคผลนพิ พานนน้ั เปนความสขุ ชัน้ สูงสดุ อยากใหนอ งชาย ไดร ับความสุขเชนนนั้ บาง จงึ ไปขออนญุ าตธนเศรษฐีผูเ ปน ตาพานอ งชายมาบวช ซงึ่ เศรษฐีก็ยินดี อนุญาต จฬู ปน ถกะจงึ ไดบ วชในพระพทุ ธศาสนา พระจูฬปนถกะนั้นคร้ันบวชแลว พระมหาปนถกเถระผูเปนพ่ีชาย ไดพยายามอบรมสั่งสอน แตทานมีปญญาทึบ พี่ชายใหทองคาถา ๔ บท ใชเวลา ๔ เดือน ยังทองไมได จึงถูกขับไลออก จากวดั ทานเสียใจยืนรอ งไหอยูที่ซุมประตู พระศาสดาทรงทราบเหตุการณนั้น จึงเสด็จมาปลอบเธอ แลวไดประทานผาขาวผืนหนึ่ง ใหแ ลว ตรสั สอนใหบริกรรมวา รโชหรณํ รโชหรณํ (ผาเชด็ ธลุ ี) พรอมกับใหเอามือลูบผานั้นไปมา ทานไดปฏิบัติตามนั้น ไมนานนักผาขาวผืนน้ันก็คอย ๆ หมองไป สุดทายก็ดํา สีเหมือนกับ ผาเชด็ หมอ ขาว ทานเกิดญาณวา แมผาขาวบรสิ ทุ ธ์อิ าศัยรางกายของมนษุ ยยงั ตองกลายเปนสีดํา อยางนี้ ถึงจิตของมนุษยเดิมทีเปนของบริสุทธิ์ อาศัยกิเลสจรมาก็ยอมเกิดความเศราหมอง เหมือนกับผาผืนน้ี ทุกส่ิงทุกอยางลวนแตเปนของไมเที่ยงแท ทานบริกรรมผานั้นไปจนจิตสงบแลว ไดบ รรลฌุ านแตน้นั เจรญิ วปิ ส สนาตอ ก็ไดบรรลุพระอรหัตพรอมดวยปฏิสมั ภทิ าและอภญิ ญา 180

 1๑8๗1๙ วชิ า อนพุ ทุ ธประวตั ิ งานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระจูฬปนถกเถระ หลังจากท่ีสําเร็จเปนพระอรหันตแลว แมในตํานานจะไมไดกลาววา ทา นไดช วยพระศาสดาประกาศพระศาสนา จนไดใครมาเปนสัทธิวิหาริกและอันเตวาสิก็ตาม แต ปฏิปทาของทานก็เปนเรื่องที่นาศึกษา สําหรับคนท่ีเกิดมาในภายหลัง ทานมีปญญาทึบถึงเพียง น้ัน แตอาศัยพระศาสดาผูฉลาดในอุบาย และอาศัยทานเปนผูมีความเพียร จิตใจแนวแน ไม ยนยอ ทอ ถอย กก็ ลบั เปนคนฉลาดสามารถบรรลุผลที่สงู สดุ ของชวี ิตได เอตทคั คะ บุญญาธกิ าร และปรนิ ิพพาน พระจูฬปนถกเถระ เปนผูมีฤทธิ์ทางใจ สามารถเนรมิตกายท่ีสําเร็จดวยใจได และฉลาด ในการพลิกแพลงจติ (จากสมาธใิ หเปนวปิ สสนา) ดังเร่อื งทีท่ า นเนรมติ ภกิ ษุเปน พนั รปู ซึง่ มรี ูปราง หนาตาไดเหมือนกัน เมื่อคนที่หมอชีวกใชมารับถามวา พระรูปไหนชื่อจูฬปนถกะ ทั้งพันรูปก็ ตอบเปนเสียงเดียวกันวา อาตมาชื่อปนถกะ ในที่สุดพระศาสดาทรงแนะนําวิธีใหวา รูปไหนพูด กอนวา อาตมาชื่อปนถกะ ใหจับมือรูปน้ันมาน่ันแหละคือพระจูฬปนถกะองคจริง พระศาสดาจึง ทรงยกยองทานวา เปนผูเลิศกวาภิกษุทั้งหลายผูเนรมิตกายอันสําเร็จดวยฤทธิ์และ ผพู ลกิ แพลงจติ พระจูฬปนถกเถระนี้ ในกาลแหงพระปทุมุตตรพุทธเจา ไดเห็นพระพุทธองคทรงตั้ง พระสาวกรูปหนึ่งไวในเอตทัคคะวา เปนผูเลิศกวาภิกษุท้ังหลายผูเนรมิตกายอันสําเร็จดวยฤทธ์ิ และผฉู ลาดในการพลิกแพลงจิต จึงไดต้ังความปรารถนาเพอ่ื จะเปน เชนนนั้ บาง จึงไดกอสรางบุญ กุศล หลายพุทธันดร และไดสมความปรารถนาในสมัยแหงพระพุทธเจาของเราทั้งหลายจริงทุก ประการ พระจฬู ปนถกเถระน้ี เมอ่ื บรรลอุ รหัตผลแลว กไ็ ดช วยพระศาสดาประกาศพระพทุ ธศาสนา ตามความสามารถ สดุ ทายกไ็ ดป รินพิ พานดับสังขาร และการเวยี นวายอยา งส้ินเชงิ ๑๒. ประวัติพระมหาปนถกเถระ สถานะเดมิ และมลู เหตุแหง การบวช พระมหาปนถกเถระ นามเดิมวา ปนถกะ เพราะเกิดในระหวางทาง ตอมามีนองชายจึง เติมคําวา มหา เปนมหาปนถกะ บิดาเปนคนวรรณะศูทร ไมปรากฏนาม มารดาเปนคนวรรณะ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 181

1๑๘8๐2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 แพทย เปน ลูกสาวเศรษฐี ไมปรากฏนามเชนกัน ตระกูลตาและยายเปนชาวเมืองราชคฤห แควนมคธ เพราะเหตุท่ีบิดาของทานเปนทาส มารดาเปนธิดาของเศรษฐี เด็กชายมหาปนถก จึงอยู ในฐานะจัณฑาล เพราะการแบงชั้นวรรณะของคนอินเดียในสมัยนั้น ครั้นรเู ดียงสาจึงรบเรา มารดา ใหพาไปเย่ียมตระกูลของคุณตา มารดาจึงสงไปใหคุณตาและคุณยาย จึงไดรับการเล้ียงดูจน เจริญเติบโตในบา นของธนเศรษฐี คุณตาของเด็กชายปนถกะน้ันไปยังสํานักของพระพุทธเจาเปนประจํา และไดพาเขาไป ดวย เขาเกิดศรัทธาในพระพุทธเจาพรอมกับการเห็นคร้ังแรก ตอมามีความประสงคจะบวชใน พระพุทธศาสนา คุณตาจึงพาไปเฝาพระพุทธเจา กราบทูลใหทรงทราบพระพุทธองค จึงสั่งให ภกิ ษผุ เู ท่ยี วบิณฑบาตเปนวัตรรปู หนึ่งบรรพชาใหแกเดก็ คนน้ัน สามเณรปนถกะนั้น เรียนพุทธพจนไดมาก ครั้นอายุครบจึงไดอุปสมบท ไดทําการ พิจารณาอยา งแยบคายจนไดอรูปฌาน ๔ เปน พเิ ศษ ออกจากอรูปฌานนั้นแลวเจริญวิปสสนา ได บรรลุพระอรหตั ตผล เปนผเู ลศิ แหงภิกษุทั้งหลาย ผูฉลาดในการพลิกปญญา คือเปล่ียนอรูปฌานจิต ใหเปน วิปสสนา งานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระมหาปนถกเถระคร้นั บรรลุพระอรหตั ผลแลว ทานคดิ วาสมควรจะรบั การธุระรับใชสงฆ จึงเขาไปเฝาพระพุทธองคกราบทูลรับอาสาทําหนาที่เปนพระภัตตุทเทศกจัดพระไปกิจนิมนต พระทศพลทรงอนมุ ัติตาํ แหนงน้ันแกทาน และทา นไดท ํางานสาํ เรจ็ เรียบรอ ยดวยดี เอตทคั คะ บญุ ญาธกิ าร และปรนิ ิพพาน พระมหาปนถกเถระ กอนสําเร็จพระอรหันต ทานไดอรูปฌานซึ่งเปนฌานที่ไมมีรูป มีแต นาม คือสัญญาท่ีละเอียดที่สุด ออกจากอรูปฌานนั้นแลว เจริญวิปสสนามีอรูปฌานเปนอารมณ จนไดสําเร็จพระอรหัตผล วิธีน้ีเปนวิธีท่ียาก เพราะฉะน้ันพระศาสดาจึงทรงยกยองทานวาเปน เลศิ กวาภกิ ษุทง้ั หลายผฉู ลาดในการพลกิ ปญ ญา พระมหาปนถกเถระ ในกาลแหง พระปทมุ ุตตรศาสดา ไดเห็นพระพุทธเจาทรงตงั้ พระภิกษุ รูปหนึ่งไวในตําแหนงท่ีเลิศกวาภิกษุท้ังหลายผูฉลาดในการเปลี่ยนสัญญา (จากอรูปฌานใหสําเร็จ วิปส สนาญาณ) จึงปรารถนาตําแหนงน้ัน แลวไดทํากุศลอันอุดหนุนเกื้อกูลความปรารถนานั้นมาอีก ๑ แสนกัปป ในที่สุดจึงไดบรรลุผลน้ันตามความปรารถนาในศาสนาของพระสัมมาสัมพุทธเจาของเรา ทั้งหลายน้ี 182

 1๑8๘3๑ วชิ า อนพุ ทุ ธประวตั ิ พระมหาปนถกเถระ คร้ันบรรลุพระอรหัตผลทําประโยชนตนใหบริบูรณแลว ก็ไดชวย พระศาสดาประกาศพระศาสนา รับการธุระของสงฆ เม่ือถึงอายุขัยก็ไดนิพพานจากโลกไปเปนที่ นา สลดใจสาํ หรบั บณั ฑิตชน ๑๓. ประวตั ิพระสภุ ูตเิ ถระ สถานะเดมิ และมลู เหตุแหง การบวช พระสุภูติเถระ นามเดิม สุภูติ เพราะรางกายของทานมีความรุงเรือง (ผุดผอง) อยางยิ่ง บดิ านามวา สมุ นเศรษฐี มารดาไมปรากฏนาม เกิดที่เมอื งสาวัตถี ในวรรณะแพทย พระสุภูติเถระ ในสมัยกอนบวชตั้งแตเปนเด็กมา ไดรับการเล้ียงดูและการศึกษาอยางดี เพราะบิดาของทา นเปน เศรษฐีมที รัพยมาก เมื่อพระศาสดาทรงประกาศพระพุทธศาสนาอยู ณ เมืองราชคฤห อนาถบิณฑิกเศรษฐี จากพระนครสาวัตถี ไดมาเย่ียมเศรษฐีผูเปนสหายท่ีเมืองราชคฤห ไดทราบขาวการเสด็จอุบัติ แหงพระศาสดา จึงเขาไปเฝาท่ีสีตวัน ไดฟงธรรมเทศนาแลวดํารงอยูในโสดาปตติผลพรอมกับ การเขาเฝาเปนครั้งแรก จึงไดกราบทูลอาราธนาพระศาสดาเพ่ือเสด็จมายังสาวัตถี โดยไดสราง พระเชตวนั มหาวหิ ารถวายเปน ที่ประทับ ในวันฉลองมหาวิหาร สุภูติกุฏมพีไปกับอนาถบิณฑิกเศรษฐีฟงธรรมของพระศาสดา เกิดศรัทธาจึงทลู ขอบวช พระศาสดาจงึ ทรงบวชใหต ามประสงค เมื่อเขาไดบวชแลว ไดต้ังใจศึกษาพระธรรมวินัยจนเขาใจแตกฉาน ตอจากน้ันไดเรียน กรรมฐาน บาํ เพญ็ สมณธรรมอยูในปา เจรญิ วิปสสนากรรมฐาน ทาํ เมตตาฌานใหเปนบาท แลว ได บรรลุพระอรหันตตอกาลไมนาน งานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระสุภูติเถระมีปฏิปทาท่ีพิเศษกวาผูอ่ืน คือเม่ือแสดงธรรมก็จะไมออกไปนอกจากนิยาม (กําหนด) ท่พี ระศาสดาทรงแสดงไว ไมพูดถึงคุณหรือโทษของใคร เวลาเท่ียวไปบิณฑบาต กอนจะ รับอาหารบิณฑบาต ทานจะเขาเมตตาฌานกอน ออกจากฌานแลว จึงรับอาหารบิณฑบาต ทําอยา งน้ที กุ ๆ เรอื น ดวยตั้งใจวาทาํ อยา งนผี้ ูถวายอาหารบิณฑบาต จะไดผลบุญมาก ประกอบ รางกายของทานสงางาม และผิวพรรณผุดผอง จึงนํามาซึ่งความเล่ือมใสแกบุคคลเปนจํานวนมาก เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 183

1๑๘8๒4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เอตทคั คะและบญุ ญาธกิ าร พระสุภูติเถระ อยูอยางไมมีกิเลส แมแตการแสดงธรรมก็ไมพูดถึงคุณหรือโทษของใคร จะเขา เมตตาฌานอยตู ลอดเวลา แมขณะเที่ยวบิณฑบาตดังกลาวแลว เพราะอาศัยเหตุการณ ท้ัง สองน้ี พระบรมศาสดาจึงทรงต้ังทานไวใ นตาํ แหนง ท่ีเลิศกวา ภกิ ษุท้งั หลายผอู ยอู ยางไมม กี ิเลส และเปน พระทักขิไณยบุคคล พระสุภูติเถระ ในพุทธุปบาทกาลแหงพระปทุมุตตรศาสดา ไดเห็นภิกษุรูปหนึ่ง ผูประกอบดวยคุณสมบัติสองอยาง คือ อรณวิหาร (รณ แปลวา กิเลส) การอยูอยางไมมีกิเลส และ ความเปนพระทักขิไณยบุคคล จึงเกิดศรัทธาปรารถนาจะเปนเชนนั้นบาง จึงไดสรางบุญกุศลแลว ๑๘๒พไดรตะพง้ั คุทวธาโมคปดรมารใถนนทาี่สุดพกรไ็ะดศสามสดปารทารรถงเนหา็นทวุกา อจยะาสงาํ ดเรัง็จกแลนาวนคมอูมานอื กจงึาทรศรกึงษพายนากั กธรรณรมว ชานั้ จโทะไดในสมัยของ ธรรมวาทะและปรนิ ิพพาน ผูตองการจะทําในส่ิงท่ีไมควรทํา พยายามในสิ่งท่ีไมควรพยายาม คงไมไดรับประโยชน อะไร การประพฤติอยางนั้น เปนการกําหนดความเคราะหรายของเขา หากท้ิงความไมประมาท ซ่ึงเปนธรรมชั้นเอก ก็จะเปนเหมือนคนกาฬกิณี หากทิ้งอินทรียธรรม (สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปญ ญา) เสียทง้ั หมด กจ็ ะปรากฏเหมือนคนตาบอด ควรพดู แตส ิ่งทีต่ นทาํ ได ไมควรพดู สิ่งท่ีตนทาํ ไมได ผพู ดู สิง่ ท่ตี นทาํ ไมได ยอ มถูกผรู เู ขาดูหม่ินเอา พระสุภูติเถระ ไดชวยพระศาสดาประกาศพระพุทธศาสนาตลอดอายุของทาน สุดทาย ไดด ับขันธปนิพพาน เหมอื นไฟที่ดับโดยหาเชื้อไมได ๑๔. ประวตั ิพระขทริ วนิยเรวตเถระ สถานะเดิมและมลู เหตแุ หงการบวช พระขทิรวนิยเรวตเถระ นามเดิม เรวตะ แตเมื่อบวชแลวทานพํานักอยูในปาไมตะเคียน จึงช่ือวา ขทริ วนยิ เรวตะ บิดาช่อื วังคันตพราหมณ มารดาชื่อ นางสารีพราหมณี เกิดท่ีบานนาลันทา แควน มคธ เปน คนวรรณะพราหมณ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 184

 1๑8๘5๓ วชิ า อนพุ ุทธประวตั ิ เรวตะ เปนบุตรชายคนเล็กของครอบครัว เหลืออยูคนเดียว สวนคนอื่นบวชกันหมดแลว บิดาและมารดาจึงหาวิธีผูกมดั โดยจัดใหแตงงานตัง้ แตมอี ายุได ๘ ขวบ ครั้นถึงวันแตงงาน บิดาและมารดาแตงตัวใหเรวตะอยางภูมิฐาน นําไปยังบานของ นางกุมาริกา ขณะทําพิธีมงคลสมรสรดน้ําสังข ไดนําญาติผูใหญท้ัง ๒ ฝายไปอวยพร ถึงลําดับ ยายแหงนางกุมาริกา ซ่งึ มอี ายุ ๑๒๐ ป เขามาอวยพร คนทัง้ หลายใหพรคสู มรสทั้งสองวา ขอใหมี อายุม่นั ขวญั ยนื เหมือนกบั ยายน้ี เรวตะไดฟงดังนั้น มองดูคุณยาย ผมหงอก ฟนหัก หนังเห่ียว หลังโกง เน้ือตัวสั่นเทา รูสึกสลดใจกับการที่ตนเองจะตองอยูในสภาพเชนนั้นในวันหนึ่งขางหนา เม่ือเสร็จพิธีญาติจึงพา เขากลับบาน ในระหวางทางเขาไดหาอุบายหนีไปยังสํานักของภิกษุผูอยูปา ขอบรรพชากับทาน ภิกษุนั้นก็จัดการบวชให เพราะพระสารีบุตรไดส่ังไววา ถานองชายของทานมาขอบวชใหบวชไดเลย เพราะโยมบิดาและมารดาของทา นเปน มจิ ฉาทิฏฐิ สามเณรเรวตะ คร้ันอายุครบ ๒๐ ปบริบูรณ ก็ไดอุปสมบทเปนภิกษุ เรียนกรรมฐาน ในสาํ นกั อุปช ฌายอ าจารยแ ลว ไดไปอาศัยอยใู นปา ไมตะเคียน บําเพ็ญเพียรภาวนา ในไมชาก็ได บรรลุพระอรหัตผล เปน พระขีณาสพอยจู บพรหมจรรย งานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระเรวตเถระน้ี มีปฏิปทาทน่ี ํามาซึ่งความเลื่อมใสของผูท่ีไดรูจักในสมัยน้ัน และไดศึกษา ประวัติของทานในภายหลังตอมา แมแตองคพระศาสดาและมหาสาวกยังไปเย่ียมทานถึงปาไม ตะเคยี นทท่ี านจําพรรษาอยู เอตทคั คะ บญุ ญาธกิ าร และปรินพิ พาน เพราะทานพระขทิรวนิยเรวตเถระนี้ ชอบอาศัยอยูในปา องคพระศาสดาจึงทรงตั้งไวใน ตาํ แหนง อนั เลิศกวา ภิกษทุ ง้ั หลายผอู ยปู า พระขทิรวนิยเรวตเถระนี้ ก็ไดเห็นพระปทุมุตตรศาสดาทรงสถาปนาภิกษุรูปหน่ึงใน ตาํ แหนง ผเู ลศิ กวา ภิกษุทงั้ หลายผอู ยปู า สนใจอยากไดตําแหนงเชนน้ันบา ง จึงไดสรางกุศลมีทาน เปน ตน ในกาลแหง พระสมณโคดม จึงไดส มดงั ปณิธานที่ตงั้ ไวทกุ ประการ ตัง้ แตอาตมภาพสละเรือนออกบวช ยงั ไมเคยรูจักความคิดอันเลวทราม ประกอบดวยโทษ ไมเคยรูจักความคิดวา ขอสัตวเหลานี้จงเดือดรอน จงถูกฆา จงประสบความทุกข อาตมภาพรูจักแต การเจรญิ เมตตาจติ อยา งหาประมาณมไิ ด ซึ่งอาตมภาพคอย ๆ สะสมมาโดยลําดบั ตามท่ีพระพุทธเจา ทรงแสดงไว เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 185

1๑๘8๔6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 พระขทิรวนิยเรวตเถระ คร้ันสําเร็จพระอรหัตผลแลว ไดปฏิบัติหนาท่ีของพระสงฆเพื่อ ประโยชน เพือ่ ความสขุ แกมหาชนตามสมควรแกเวลา แลว ไดน พิ พานจากไปตามสัจธรรมของชวี ติ ๑๕. ประวัติพระกังขาเรวตเถระ สถานะเดิมและมลู เหตุแหงการบวช พระกังขาเรวตเถระ นามเดิม เรวตะ แตเพราะทานมีความสงสัยในสิ่งท่ีเปนกัปปยะ (สมควร) มากเปนพิเศษ จึงไดรับการขนานนามวา กังขาเรวตะ แปลวา เรวตะผูมีความสงสัย บิดาและมารดาไมป รากฏนาม มฐี านะดี วรรณะแพศย เปน ชาวเมอื งสาวัตถี เน่ืองจากเปนลูกของผูมีฐานะดีมีทรัพยสินเงินทอง จึงไดรับการเลี้ยงดูและการศึกษา อยา งดที ส่ี มยั น้นั จะพึงหาไดและทําได เม่ือพระศาสดาประกาศพระพุทธศาสนา ที่พระนครสาวัตถี วันหน่ึงเรวตะไดไปยัง พระเชตวนั พรอมกับมหาชน ยืนอยูทายบริษัทฟงธรรมกถาของพระทศพล เกิดศรัทธาปรารถนา จะบวช เม่ือมหาชนกลับไปหมดแลว จึงเขาไปเฝาพระศาสดาทูลขอบรรพชาอุปสมบท ทรงบวช ใหเขาตามปรารถนา คร้ันไดบวชแลว ทูลขอใหพระศาสดาตรัสสอนกรรมฐาน ทําบริกรรมในฌาน ครั้นไดฌานแลว ทําฌานนน้ั ใหเปนบาท เจริญวิปสสนาพิจารณาฌานน้ัน วาเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไมควรยึด ม่ันถือม่ันความสุขอันเกิดจากฌานน้ัน ไมนานก็ไดบรรลุพระอรหัตผล ซึ่งเปนผลอันสูงสุดใน พระพทุ ธศาสนา เอตทคั คะ บุญญาธกิ าร และปรนิ ิพพาน เพราะพระกังขาเรวตเถระ เปนผูชํานาญในการเขาฌาน พระศาสดาจึงทรงถือเอาคุณขอนี้ ต้งั ทานไวใ นตาํ แหนง ท่ีเลศิ กวาภิกษทุ ้งั หลายผูยนิ ดใี นการเขา ฌาน พระกังขาเรวตเถระ ในพุทธกาลแหงพระปทุมุตตรศาสดา ไดเห็นพระศาสดาทรงต้ังภิกษุ รูปหนึ่งไวในตําแหนงท่ีเลิศกวาภิกษุทั้งหลายผูยินดีในการเขาฌาน จึงไดบําเพ็ญกุศลเปน การใหญ แลว ตัง้ ความปรารถนาโดยมพี ระศาสดาเปน พยานวา ที่ทําบุญนขี้ าพระองคม ิไดประสงค สมบัตอิ ่นื หวังจะไดตําแหนงแหงภิกษผุ ยู ินดีในการเขา ฌาน ในกาลแหงพระพุทธเจาพระองคห น่ึง ในภายหนา และไดรับพยากรณวาจะสําเร็จในกาลแหงพระพุทธเจา พระนามวาโคดม และเขาก็ ไดส มปรารถนาตามพระพุทธวาจาทกุ ประการ 186

 1๑8๘7๕ วชิ า อนพุ ทุ ธประวตั ิ พระกังขาเรวตเถระ ถึงแมจะเชี่ยวชาญเรื่องเขาฌาน ก็หนีมัจจุมารไมพน สุดทายก็ได นิพพานเหลือเพียงช่ือไวใ นตาํ นานใหไ ดศกึ ษากนั สืบตอมา ๑๖. ประวตั พิ ระโสณโกฬวิ ิสเถระ สถานะเดมิ และมลู เหตุแหง การบวช พระโสณโกฬวิ ิสเถระ เกิดที่เมืองจัมปา แควนอังคะ ในวรรณะแพศยตระกูลเศรษฐี มีช่ือเดิม วา โสณะ แปลวา ทองคาํ เพราะเปน ผูมผี วิ พรรณผุดผองดุจทองคํามาต้ังแตเกิด สวนคําวา โกฬิวิสะ เปน ช่ือโคตร บิดาชื่อวา อุสภเศรษฐี มารดาไมปรากฏชื่อ โสณโกฬิวิสมาณพเปนคนสุขุมาลชาติ มีโลมา (ขน) ที่ละเอียดออนขึ้นท่ีฝาเทาทั้งสองขาง ต้ังแตเด็กจวบจนเจริญวัยหนุมไดรับการเล้ียงดู และการศึกษาเปนอยางดีจากบิดามารดา และมี ความชาํ นาญในดา นการดีดพณิ ตอมาพระเจาพิมพิสาร พระเจาแผนดินแควนมคธและอังคะ มีพระราชประสงคจะ ทอดพระเนตรโลมาท่ีฝาเทาท้ังสองขางน้ัน จึงรับส่ังใหเขาเฝา ครั้นทอดพระเนตรแลวรับสั่งให ไปเฝาพระพุทธเจา โสณโกฬิวิสมาณพพรอมกับประชาชนประมาณ ๘ หมื่นคน ในแควนอังคะ จึงไดไปเฝาพระพุทธเจาท่ีเขาคิชฌกูฏ ไดฟงอนุปุพพีกถาและอริยสัจ ๔ โดยประชาชนทั้งหมด เกิดความเลอื่ มใสแสดงตนเปน อุบาสกและหลีกไป สวนโสณโกฬิวิสมาณพเขาไปเฝาพระพุทธองคแลวกราบทูลขอบรรพชาอุปสมบท พระพุทธองคจ ึงทรงประทานบรรพชาอุปสมบทใหตามความประสงค เมื่อทานบวชแลว ไปทําความเพียรอยทู ี่ปา สีตะวัน เขตกรุงราชคฤห โดยเรงทําความเพียร อยางหนักเกินไป เดินจงกรมจนฝาเทาท้ังสองแตก มีเลือดไหลนอง จนสถานที่เดินจงกรมเปอนเลือด เหมอื นเปนทฆี่ าโค กไ็ มไ ดบรรลุธรรมพิเศษ เพราะความเพียรที่หนักเกินไป ทําใหจิตใจฟุงซาน คิด นอยใจตัวเองวาทําความเพียรมากถึงเพียงนี้ ก็ยังไมบรรลุมรรคผล จึงคิดจะสึกเสีย พระพุทธองค ทรงทราบ จึงเสด็จไปตรัสสอนใหกระทําความเพียรแตพอปานกลาง โดยทรงเปรียบการปฏิบัติธรรม กับพิณ ๓ สาย วา สายพิณที่ขึงตึงเกินไปหรือหยอนเกินไป จะมีเสียงไมไพเราะ ตองขึงใหได ระดับพอดี เวลาดีดจึงจะมีเสียงท่ีไพเราะ ทานตั้งอยูในพระโอวาทน้ัน โดยปรับอินทรียธรรมคือ วิริยะกับสมาธิใหเสมอกัน บําเพ็ญเพียรแตพอดี ยกจิตข้ึนสูวิปสสนา ไมนานนัก ก็ไดบรรลุ พระอรหัตตผลสําเร็จเปนพระอรหนั ตไ ดในทส่ี ดุ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 187

1๑๘8๖8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 งานประกาศพระพทุ ธศาสนา หลงั จากสําเร็จเปนพระอรหันตแลว แมไมปรากฏวาทานประกาศเผยแผพระพุทธศาสนา มีผูเล่ือมใสมาบวชเปนศิษย แตปฏิปทาของทานนํามาซึ่งความเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาแก บุคคลผูไดศึกษาประวัติของทานในภายหลังวา การปฏิบัติสมณธรรมดวยความเพียรอยาง เครงครัดในลักษณะท่ีทําตนใหลําบาก ซ่ึงเรียกกันวา อัตตกิลมถานุโยค เปนเครื่องพิสูจนวาไม สามารถท่จี ะทําใหบุคคลผูปฏิบตั บิ รรลมุ รรคผลทตี่ องการไดเลย ครั้งหนึ่งทานไดแสดงคุณสมบัติของพระอรหันตในสํานักของพระพุทธองค สรุปความวา ภิกษุผูเปนพระอรหันตยอมนอมจิตเขาไปในคุณ ๖ ประการ คือ (๑) นอมใจไปสูบรรพชา (๒) นอมใจไปสูความเงียบสงัด (๓) นอมใจไปสูความไมเบียดเบียน (๔) นอมใจไปสูความสิ้น อปุ าทาน (๕) นอมใจไปสคู วามส้นิ ตณั หา (๖) นอมใจไปสูความไมห ลงใหล พระพทุ ธองคทรงสดับ แลวตรัสรับรองกับภิกษุทั้งหลายวา “เปนอยางนี้แล ภิกษุท้ังหลาย พวกกุลบุตรยอมพยากรณ อรหตั ตผล กลาวแตใ จความ และไมน อมตนเขา ไปหา” นอกจากน้ีความเปนคนสุขุมาลชาติของทานยังเปนเหตุใหพระพุทธองคทรงอนุญาต ใหภ กิ ษุท้ังหลายสวมรองเทา ชั้นเดยี วได เอตทคั คะ ธรรมวาทะ และปรินพิ พาน เพราะเหตุที่เรงระดมความเพียรอยางแรงกลาเพ่ือใหไดบรรลุอรหัตตผล ทานจึงไดรับ การยกยอ งในตาํ แหนง เอตทคั คะวาเปน เลศิ กวาพวกภกิ ษุสาวก ผูปรารภความเพยี ร ภเู ขาศิลาลวนเปน แทงทบึ ยอ มไมส ะเทือนดวยแรงลม ฉันใด รูป เสยี ง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณทั้งส้ิน ทั้งที่เปนอิฏฐารมณและอนิฏฐารมณ ยอมไมทําจิตของบุคคลผูคงท่ีให หวน่ั ไหวได ฉันน้นั ครน้ั ดาํ รงอายสุ งั ขารพอสมควรแกการแลว พระโสณโกฬวิ สิ เถระกด็ บั ขันธปรินิพพานดวย อนปุ าทเิ สสนิพพานธาตุ ส้ินภพส้นิ ชาตดิ จุ ประทปี สิ้นเช้ือแลวดบั ไปฉะน้ัน ๑๗. ประวตั พิ ระโสณกุฏิกัณณเถระ สถานะเดิมและมลู เหตแุ หง การบวช พระโสณกุฏิกัณณเถระ นามเดิม โสณะ แตเพราะเขาประดับเคร่ืองประดับหูมีราคา ถึงหน่ึงโกฏิ จึงมีคําตอทายวา กุฏิกัณณะ บิดาไมปรากฏนาม มารดาเปนอุบาสิกาชื่อ กาฬี เปน พระโสดาบัน ผูถวายความอุปถัมภบํารุงพระมหากัจจายนเถระ เกิดในตระกูลคหบดีในเมือง กรุ รุ ฆระ แควน อวันตี เปน คนวรรณะแพศย 188

 1๑8๘9๗ วชิ า อนพุ ทุ ธประวตั ิ เน่ืองจากมารดาของทานเปนผอู ุปฏฐากพระมหากัจจายนะ เวลาท่พี ระเถระมาจาํ พรรษาที่ ภูเขาปวัตตะ จึงไดนําเด็กชายโสณะไปวัดดวย จึงทําใหมีความรูจักและคุนเคยกับพระเถระมา ตั้งแตยังเปนเด็ก ตอมาครั้นเจริญวัยมีศรัทธาเล่ือมใสใครจะบวชในพระพุทธศาสนา จึงขอ บรรพชาอุปสมบทกับพระเถระ ๆ อธิบายใหฟงวา การบวชน้ันมีความทุกขยากลําบากอยางไร บา ง แตเขาก็ยนื ยนั จะบวชใหได พระเถระจึงบวชใหไดแตแคเปนสามเณร เพราะในอวันตีชนบท หาพระสงฆครบ ๑๐ องคไมได ทานบวชเปนสามเณรอยู ๓ ป จึงไดพระครบ ๑๐ องค แลวได อุปสมบทเปนภกิ ษุ การบรรลธุ รรมและงานประกาศพระพุทธศาสนา พระโสณกุฏิกัณณเถระครั้นบวชแลว ตั้งใจศึกษาเลาเรียนในสํานักพระอุปชฌาย พากเพยี รบาํ เพญ็ ภาวนา ในไมช าก็ไดสาํ เรจ็ พระอรหัตผล เปน พระขณี าสพอยจู บพรหมจรรย พระโสณกฏุ ิกัณณเถระคร้ันบรรลุพระอรหันตแลว ปรารถนาจะไปเฝาพระบรมศาสดา จึง ไดล าพระอปุ ชฌาย เมื่อพระอปุ ชฌายอนุญาตและฝากไปขอทูลผอนผันเรื่องพระวินัย ๕ ประการ สําหรับปจจันตชนบท เชน การอุปสมบทดวยคณะปญจกะ คือ มีภิกษุประชุมกัน ๕ รูป ก็บวช กุลบุตรได เปนตน ทานไดทําหนาที่ท่ีไดรับมอบหมายไดอยางดียิ่ง พระศาสดาทรงอนุญาต ทุกประการ เม่ือทานไปเฝาพระพุทธเจานั้น ไดรับการตอนรับอยางดี โดยทรงอนุญาตใหพักใน พระคันธกุฏีเดียวกับพระพุทธองค และทรงโปรดใหทานแสดงธรรมทํานองสรภัญญะ เม่ือจบ การแสดงธรรมพระศาสดาทรงอนุโมทนาและชมเชยทาน ทานไดพักอยูกับพระศาสดาพอสมควร แกเวลา จงึ ทูลลากลับไป คร้ันกลับไปถึงอวันตี โยมมารดาทราบวาทานแสดงธรรมใหพระพุทธเจาสดับได ปลื้มปต ใิ จ จงึ นิมนตใหแสดงธรรมใหฟ งบาง ทานก็ไดแสดงธรรมใหฟงตามอาราธนา โยมมารดา เล่ือมใสต้ังใจฟงอยางดี แตในขณะฟงธรรมอยูนั้น พวกโจรเขาไปปลนทรัพยในบาน คนใชมา รายงาน ทา นกไ็ มเ สียดายอะไร บอกวาโจรตอ งการอะไร กข็ นเอาไปตามปรารถนาเถดิ สว นเราจะ ฟงธรรมของพระลูกชาย พวกทานอยาทําอันตรายตอการฟงธรรมของเราเลย พวกโจรทราบความน้นั จากคนใช รูสกึ สลดใจวา เราไดท าํ รายผูมีคุณธรรมสูงสงถึงเพียงนี้ เปนความไมดีเลย จึงพากันไปยังวัด เมื่อการฟงธรรมสิ้นสุดลง ไดเขาไปหาโยมมารดาของทาน ขอขมาโทษ แลว ขอบวชในสํานกั ของพระเถระ ๆ กบ็ วชใหพ วกเขาตามประสงค เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 189

1๑๘9๘0 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 เอตทคั คะ บุญญาธกิ าร และปรินิพพาน ดังไดกลาวมาแลววา พระโสณกุฏิกัณณเถระน้ีมีความสามารถในการแสดงธรรมแบบ สรภัญญะดวยเสียงอันไพเราะตอพระพักตรของพระศาสดา ดังนั้น ทานจึงไดรับการยกยองวา เปน ผเู ลศิ กวา ภกิ ษทุ ้งั หลายผแู สดงธรรมดว ยถอ ยคําอันไพเราะ พระโสณกุฏิกัณณเถระ ในกาลแหงพระปทุมุตตรศาสดาไดเห็นพระพุทธองคทรงตั้งภิกษุ รูปหนึ่งไวในเอตทัคคะวาเลิศกวาภิกษุท้ังหลายผูแสดงธรรมดวยถอยคําอันไพเราะ จึงปรารถนา ฐานันดรเชนน้ันบาง แลวไดสรางความดีจนไดรับการพยากรณวาจะสําเร็จสมดังใจในสมัยแหง พระพุทธโคดม จนถึงชาติสุดทายมาไดสมปรารถนาในสมัยพระศาสดาของเราท้ังหลาย สมดัง พุทธพยากรณท ุกประการ พระโสณกุฏิกัณณเถระน้ีก็เหมือนกับพระอสีติมหาสาวกท้ังหลาย เมื่ออยูจบพรหมจรรย แลว ก็ไดชวยพระศาสดาประกาศพระพุทธศาสนาจนถึงวาระสุดทายของชีวิต ในที่สุดก็นิพพาน ดบั เบญจขนั ธห ยุดการหมุนเวียนแหงกิเลสกรรมและวบิ ากอยางส้ินเชงิ ๑๘. ประวตั ิพระสิวลเี ถระ สถานะเดมิ และมลู เหตแุ หงการบวช พระสิวลีเถระเกิดในวรรณะกษัตริย บิดาไมปรากฏนาม มารดา คือ พระนางสุปปวาสา เปนพระธดิ าของเจาเมืองโกลิยะ เขาอยใู นครรภม ารดานานถงึ ๗ ป ๗ เดือน ๗ วัน ทําใหมารดา มีลาภสักการะมากและคลอดงายทส่ี ุด ยอนไปถึงกอนท่ีทานจะประสูติ พระมารดาเสวยทุกขเวทนาหนักมาก จึงใหพระสวามี ไปบังคมทูลพระศาสดา พระศาสดาตรัสประทานพรใหวา ขอพระธิดาแหงโกลิยวงศจงมีความสุข ปราศจากโรคาพยาธิ ประสูติพระโอรสหาโรคมิไดเถิด พระนางก็ประสูติพระราชโอรสสมพุทธพร ทกุ ประการ แลวไดถวายมหาทานตลอด ๗ วัน เม่ือสวี ลกี ุมารประสูติ พระมารดาและพระประยุรญาติไดถวายมหาทาน ๗ วัน ในวันที่ ๗ พระสารีบุตรเถระจึงชวนเธอบวช เธอตอบวาถาบวชไดก็จะบวช พระมารดาทรงทราบก็ดีใจ อนญุ าตใหพระเถระบวชกุมารไดตามประสงค พระเถระจึงนาํ กุมารไปบวชเปนสามเณร โดยตั้งแต พระกมุ ารบวชแลว ลาภสักการะไดเกดิ แกภ กิ ษทุ ง้ั หลายมากมาย 190

191 191 เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2

1๑9๙๐2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 การบรรลธุ รรม ต้ังแตบวชแลว พระวักกลิติดตามดูพระศาสดาตลอดเวลา เวนเวลาฉันอาหารเทานั้น พระศาสดาทรงรอคอยความแกกลาแหงญาณของเธอ จึงไมตรัสอะไร ครั้นทราบวาญาณของเธอ แกกลาแลว จึงไดตรัสแกเธอวา วักกลิ จะมีประโยชนอะไรกับการดูรางกายที่เปอยเนา ผูใดเห็น ธรรม ผูน้ันยอมเห็นเรา ผูใดเห็นเราผูนั้นยอมเห็นธรรม ดูกอนวักกลิ บุคคลผูเห็นธรรมช่ือวาเห็น เรา บุคคลผูเห็นเราชื่อวา ยอ มเห็นธรรม แมพ ระศาสดาตรัสอยา งนี้ ทานก็ยังไมเลกิ ดพู ระศาสดา ทรงพระดาํ ริวา ภิกษุนี้ถา ไมไ ดรับ ความสังเวชคงไมบรรลธุ รรม จงึ ทรงขบั ไลว า วักกลเิ ธอจงหลีกไป ทานเสียใจมาก ขึ้นไปบนภูเขา จะฆาตัวตาย พระองคทรงเปลงพระรัศมีไปโปรด ตรัสเรียกเธอวา วักกลิ เธอรูสึกปลื้มใจมาก นึกถึงพระดํารสั ของพระศาสดา ขมปต ไิ ดแลว บรรลพุ ระอรหัตตผล เอตทคั คะ บุญญาธกิ าร และปรนิ พิ พาน เพราะพระวกั กลิเถระบรรลุพระอรหัตตผลดวยศรัทธาในพระศาสดา ฉะน้ันจึงทรงยกยอง ทา นวา เปน เลิศแหง ภกิ ษผุ ูเปนสัทธาวิมตุ ติ (พน จากกิเลสเพราะสทั ธา) พระวักกลิเถระน้ี ในสมัยพระปทุมุตตรพุทธเจา ไดเห็นพระศาสดาทรงต้ังภิกษุรูปหน่ึงไว ในเอตทคั คะวา เลิศกวาภิกษุทั้งหลาย ผูสัทธาวิมุตติ จึงไดบําเพ็ญกุศลปรารถนาผลเชนนั้นบาง พระศาสดาทรงพยากรณวาจะสมประสงคในสมัยพระพุทธเจาทรงพระนามวาพระโคดม จึงสราง สมความดีอีกยาวนานนบั ไดแสนกัปปจงึ สมปรารถนาดงั ไดกลา วมา พระวักกลิเถระนี้ คร้ันดํารงอยูตามสมควรแกเวลาของทาน ก็ไดนิพพานจากไป เหลือไว แตปฏิปทาทค่ี วรคาแกการศึกษาของปจ ฉมิ ชนตาชนผสู นใจพระพุทธศาสนาตอไป ๒๐. ประวตั พิ ระราหลุ เถระ สถานะเดมิ และมลู เหตุแหง การบวช พระราหุลเถระ มีนามเดิมวา ราหุล เปนพระนามที่ตั้งตามอุทานของเจาชายสิทธัตถะ พระราชบิดาที่ตรัสวา ราหุลํ ชาตํ เครื่องผูกเกิดข้ึนแลว เมื่อทรงทราบขาววา พระกุมารประสูติ มีพระบิดาทรงพระนามวา สิทธัตถะ พระมารดา ทรงพระนามวา ยโสธรา หรือ พิมพา ประสูติที่ พระราชวังในนครกบลิ พัสดุ หลงั จากราหุลกมุ ารประสตู ิ เจา ชายสิทธัตถะพระราชบดิ าไดเ สดจ็ ออกบรรพชา พระกุมาร 192

 19๑๙3๑ วชิ า อนพุ ทุ ธประวตั ิ เจริญดวยสมบัติท้ัง ๒ คือ ชาติสมบัติ เกิดในวรรณะกษัตริย และปฏิบัติสมบัติ มีความประพฤติ ดงี าม จงึ ทรงเจรญิ ดวยขัตติยบริวารเปน อันมาก และไดรบั การเล้ยี งดอู ยา งพระราชกมุ ารท้งั หลาย พระศาสดาเสด็จไปยังกรุงกบิลพัสดุ ในวันท่ี ๓ ทรงบวชใหนันทกุมาร ในวันที่ ๗ พระมารดาของราหุลกุมารทรงใหพระกุมารไปทูลขอมรดกกับพระพุทธองค พระผูมีพระภาคเจา ทรงพระดาํ ริวา กุมารนีอ้ ยากไดท รพั ยมรดกของบิดา แตว าทรัพยนั้นพันธนาใจใหเกิดทุกข ไมสุข จริง เราจะใหอริยทรัพย คือ ทรัพยประเสริฐยิ่ง ๗ ประการ ท่ีเราชนะมารไดมาแกราหุลกุมาร จึงรบั ส่ังพระสารบี ุตรบวชให วิธีบวช พระสารีบุตรเถระรับพุทธบัญชา แตวาพระกุมารน้ัน มีอายุเพียง ๗ ป จึงทูลถามถึงวิธี บรรพชา พระศาสดาตรัสใหใชต าม วธิ ีตสิ รณคมนูปสัมปทา คือ เปลงวาจาถึง พระรัตนตรัย ให พระกุมารบวช การบวชดวยวิธนี ้ี ไดใชกนั สืบมาถึงทกุ วนั นี้ เรียกวา บวชสามเณร สามเณรราหุลน้ีจึงไดเปนสามเณรรูปแรกในพระพุทธศาสนา ครั้นเวลาพนผานอายุกาล ครบ ๒๐ ป จึงอปุ สมบทดวยวิธญี ตั ตจิ ตุตถกรรม ในสมัยเปนสามเณร ทานสนใจใครศึกษาพระธรรมวินัย ลุกข้ึนแตเชา เอามือทั้งสอง กําทรายไดเ ต็ม แลวตง้ั ความปรารถนาวา ขอใหต นไดร บั โอวาทจากพระศาสดาหรือพระอุปชฌาย อาจารย จดจาํ และเขาใจใหไ ดจาํ นวนเทาเมด็ ทรายในกํานี้ วันหนง่ึ ทานอยใู นสวนมะมวงแหงหนึ่ง พระศาสดาเสด็จเขาไปหา แลวตรัสจูฬราหุโลวาทสูตร แสดงโทษของการกลาวมุสา อุปมาเปรียบกับนํ้าท่ีทรงคว่ําขันเทท้ิงไปวา ผูที่กลาวมุสาท้ังท่ีรูอยู แกใจ ความเปนสมณะของเขาก็ไมตางอะไรกับน้ําในขันนี้ แลวทรงช้ีใหเห็นวา ไมมีบาปกรรม อะไรท่ผี หู มดความละอายใจ กลา วเทจ็ ท้ัง ๆ ทรี่ ูจ ะทาํ ไมไ ด ตอ มาไดฟง มหาราหุโลวาทสตู รใจความวา ใหพ จิ ารณารางกายใหเหน็ เปน ธาตุ ๕ ประการ คือ ดิน น้ํา ไฟ ลม อากาศ ตัดความยึดม่ันถือมั่น แลวตรัสสอนใหอบรมจิตคิดใหเหมือนกับธาตุ แตละอยางวา แมจะมีส่ิงที่นาปรารถนาหรือไมนาปรารถนา มากระทบ ก็ไมมีอาการพอใจรักใคร หรือเบอ่ื หนายเกลยี ดชงั สุดทายทรงสอนใหเ จริญเมตตาภาวนา เพือ่ ละพยาบาท เจรญิ กรุณาภาวนา เพอ่ื ละวหิ งิ สา เจรญิ มุทติ าภาวนา เพือ่ ละความรษิ ยา เจรญิ อุเบกขาภาวนา เพ่อื ละความขัดใจ เจริญอสุภภาวนา เพ่ือละราคะ เจริญอนิจจสัญญาภาวนา เพ่ือละอัสมิมานะ ทานไดพยายามฝกใจไปตามนั้น ในทส่ี ดุ ไดสําเร็จพระอรหัตตผล เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 193

1๑9๙๒4 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 งานประกาศพระพทุ ธศาสนา พระราหุลเถระน้ี มีปฏิปทาอันนํามาซ่ึงความศรัทธาเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาแกบุคคล ผูไดศึกษาประวัติของทาน ในภายหลังวา ทานน้ันพรอมดวยสมบัติ ๒ ประการ คือ ชาติสมบัติ และ ปฏิปตติสมบัติ เปนผูไมประมาท รักษาศีล สนใจใครศึกษา เคารพอุปชฌายอาจารย มีปญ ญารทู ่ัวถงึ ธรรม เอตทคั คะและบุญญาธิการ พระราหุลเถระน้ี เปนผูใครในการศึกษา ดังไดกลาวมาแลว เพราะฉะนั้น ทานจึงไดรับ ยกยองจากพระศาสดาวาเปน เลิศกวาภกิ ษทุ ั้งหลาย ผูใครใ นการศึกษา พระราหุลเถระนี้ ไดบําเพ็ญบุญญาธิการ อันเปนอุปนิสัยแหงพระนิพพานนานแสนนาน หลายพทุ ธกาล ผา นมาในกาลแหง พระปทุมุตตรพทุ ธเจา ไดบงั เกิดในเรือนผูมีสกุล คร้ันรูเดียงสา แลว ไดฟงธรรมของพระศาสดา เห็นพระศาสดาทรงต้ังภิกษุรูปหน่ึงไวในฐานะท่ีเลิศกวาภิกษุ ท้ังหลายผูใครตอการศึกษา จึงปรารถนาตําแหนงนั้นบาง แลวไดสรางความดีมากมาย สุดทาย ไดร บั พรทปี่ รารถนาไวในสมัยแหง พระพุทธเจาของเราทั้งหลาย ดงั ไดก ลาวมา ธรรมวาทะและปรนิ ิพพาน สัตวท ้ังหลาย เปน ดงั คนตาบอด เพราะไมเ ห็นโทษในกาม ถูกขายคือตัณหาปกคลุมไวถูก หลงั คาคอื ตัณหาปกปด ไว ถกู มารผกู ไวด ว ยเครอ่ื งผูกคือความประมาท เหมือนปลาทตี่ ิดอยใู นลอบ เราถอนกามนั้นขึ้นไดแลว ตัดเครื่องผูกของมารไดแลว ถอนตัณหาพรอมท้ังรากข้ึนแลว เปนผเู ยือกเยน็ ดบั แลว พระราหุลเถระ ครั้นสําเร็จเปนพระอรหันตแลวไดชวยพระศาสดาประกาศพระศาสนา ตลอดอายุขัยของทาน สุดทายไดนิพพานดับสังขาร เหมือนกับไฟท่ีเผาเชื้อหมดแลวก็ดับไป ณ แทนกมั พลศลิ าอาสน ทีป่ ระทับของทาวสกั กเทวราช ๒๑. ประวตั ิพระรัฐบาลเถระ สถานะเดมิ และมลู เหตุแหงการบวช พระรัฐบาลเถระ มีนามเดิมวา รัฐบาล แปลวา ผูรักษาแวนแควน เพราะตนตระกูลของ ทานไดชวยกอบกูแควนที่อาศัยอยู ซึ่งลมสลายทางเศรษฐกิจเอาไว ทานจึงไดชื่ออยางน้ันตาม 194

 1๑9๙5๓ วชิ า อนพุ ทุ ธประวตั ิ ตระกูล บิดาและมารดา ไมป รากฏนาม เกิดในวรรณะแพศย ท่ีถุลลโกฏฐิตนิคม แควนกรุ ุ พระรัฐบาลเถระ ตั้งแตเปนเด็กจนโตไดรับการเอาใจใสเล้ียงดูอยางดีจากบิดาและมารดา เพราะเปนลูกคนเดยี วของครอบครวั และเปนครอบครัวที่มีฐานะรํ่ารวย ไดแตงงานต้ังแตวัยหนุม แตไมมบี ตุ รธดิ า เปนผูมีจิตใจกวางขวาง จึงมีเพื่อนมาก เมื่อพระพุทธเจาเสด็จไปยังท่ีถุลลโกฏฐิตนิคม แควนกุรุ บานเกิดของทาน ชาวกุรุไดพา กันมาฟงธรรม รัฐบาลก็มาฟงธรรมดวย หลังจากฟงธรรมแลวประชาชนไดกลับไป ฝายรัฐบาล เขา ไปเฝา พระพุทธเจาทลู ขอบวช พระพุทธเจา ตรัสบอกเขาใหไ ปขออนุญาตบดิ าและมารดากอ น เขากลับไปบานขออนุญาตบิดาและมารดา เพื่อจะบวช แตไมไดรับอนุญาต จึงอดอาหาร บิดาและมารดา กลัวลูกตายสุดทายจึงอนุญาตใหบวชตามประสงค เขาไปเฝาพระพุทธองคแลว ทูลขอบวช พระพุทธองคทรงอนุญาตใหบวชได โดยมอบหมายใหพระเถระรูปหนึ่งเปน พระอปุ ช ฌาย การบรรลุธรรมและงานประกาศพระพุทธศาสนา เมอื่ พระรัฐบาลเถระบวชไดประมาณ ๑๕ วัน พระพุทธเจาเสด็จออกจากถุลลโกฏฐิตนิคม ไปประทับอยูท่ีกรุงสาวัตถี โดยมีพระรัฐบาลตามเสด็จไปดวย ทานไดพากเพียรเจริญภาวนา ใช เวลาถงึ ๑๒ ป จึงบรรลุพระอรหันต พระรัฐบาลเถระน้ัน คร้ันบรรลุพระอรหันตแลวไดกลับไปยังแควนกุรุบานเกิดของทาน โปรดโยมบิดาและมารดาใหเลือ่ มใสในพระพุทธศาสนา ทา นพกั อยูทมี่ ิคจิรวันอันเปนพระราชอุทยาน ของพระเจาโกรัพยะ เจา ผูครองแควน กรุ ุ ตอมาวันหนึ่ง พระเจาโกรัพยะเสด็จประพาสพระราชอุทยาน ทอดพระเนตรเห็นทาน ทรงจําไดเพราะเคยรจู ักมากอ น จึงเสด็จเขา ไปหาเพอื่ สนทนาธรรม ไดต รัสถามวา บุคคลบางพวก ประสบความเสอื่ ม ๔ อยาง คือ ๑. ความชรา ๒. ความเจ็บ ๓. ความสิ้นโภคทรัพย ๔. ความสิ้น ญาติ จึงออกบวช แตท า นไมไ ดเปน อยางน้นั ทา นรเู ห็นอยางไรจึงไดอ อกบวช พระเถระไดทูลตอบวา ถวายพระพรมหาบพิตร ธรรมุทเทศ (หัวขอธรรม) ๔ ประการ พระศาสดาจารยทรงแสดงไวแลว อาตมภาพรูเห็นตามธรรมน้ัน จึงออกบวช ธรรมุทเทศ ๔ ประการ น้นั มใี จความวา ๑. โลกคอื หมสู ตั ว อันชรานาํ เขา ไปใกลไมย ัง่ ยนื ๒. โลกคอื หมูส ตั ว ไมมผี ปู องกัน ไมเ ปนใหญเ ฉพาะตน ๓. โลกคอื หมูสัตว ไมมอี ะไรเปน ของตน จําตอ งละทง้ิ ส่งิ ทัง้ ปวงไป ๔. โลกคอื หมสู ัตว พรอ งอยเู ปนนติ ย ไมร จู ักอมิ่ เปน ทาสแหง ตณั หา พระเจาโกรัพยะทรงเล่ือมใสธรรมะของทาน ตรัสชมเชยทานอยางมาก แลวไดทรงลา กลบั ไป เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 195

1๑๙9๔6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 เอตทคั คะและบุญญาธกิ าร พระรัฐบาลเถระ เปน ผมู ีความศรัทธาเลอ่ื มใส ตัง้ ใจบวชในพระพทุ ธศาสนา แตก วา จะบวช ไดก แ็ สนจะลาํ บาก ตอ งเอาชวี ติ เขาแลก ดงั นนั้ พระพุทธเจาจงึ ทรงยกยองวาเปนผูเลิศกวาภิกษุ ทง้ั หลาย ผบู วชดวยศรัทธา แมพระรัฐบาลเถระนี้ ก็ไดสรางสมบุญบารมีไวมากมายหลายพุทธันดร จนมาไดรับ พยากรณวา จะสมประสงคจากพระพุทธองคทรงพระนามวา ปทุมุตตระ ตอจากน้ันก็มีศรัทธา สรางความดี ไมมีความยอทอ จนมาถึงพุทธุปบาทกาลแหงพระพุทธเจาของเราทั้งหลาย จึงได ถงึ ที่สดุ สาวกบารมญี าณมปี ระการดังกลาวมา ธรรมวาทะและปรินพิ พาน คนมีทรัพยในโลกน้ี เห็นมอี ยู (๓ ประเภท) (๑) ไดท รพั ยแลว ไมแบงปนใหใ คร เพราะความโง (๒) ไดท รพั ยแ ลว ทําการสะสมเอาไว (๓) ไดท รพั ยแลว ปรารถนากามยิง่ ขน้ึ พระราชารบชนะท่ัวแผน ดนิ ครอบครองแผนดนิ จนสดุ ฝง สมทุ ร ฝง สมุทรน้ียังไมพออ่ิม จึง ปรารถนาฝงโนนอีก บุตรธิดา ภรรยาสามี ทรัพยและแวนแควน ติดตามคนตายไปไมได เงินซ้ือชีวิตไมได ชว ยใหพนความแกไ มได ทั้งคนจนและคนมี ท้ังคนดีและคนช่ัว ลวนถูกตองผัสสะ (เห็น ไดยิน เปนตน) ท้ังนั้น คนช่วั ยอมหวน่ั ไหว เพราะความเปน คนพาล แตค นดียอ มไมมีหวนั่ ไหว พระรัฐบาลเถระ ครนั้ จบกิจสวนตัวของทา นแลว ไดชวยพระศาสดาประกาศพระพุทธศาสนา ดังกลาวมา สดุ ทา ยก็ไดนิพพานดวยอนปุ าทเิ สสนิพพาน ๒๒. ประวตั ิพระโกณฑธานเถระ สถานะเดิมและมลู เหตแุ หงการบวช พระโกณฑธานเถระ มีนามเดิมวา ธานะ ตอมามีภาพลวงตาเปนสตรีติดตามตัวทาน เพราะ ผลบาปในชาติกอน ภิกษุและสามเณรท้ังหลายเห็นภาพนั้นเปนประจํา จึงต้ังช่ือทานเพิ่มวา กุณฑธานะ (คําวา กุณฑะ แปลวา เห้ีย) บิดาและมารดาไมปรากฏนาม เกิดในวรรณะพราหมณ 196

 1๑9๙7๕ วชิ า อนพุ ทุ ธประวตั ิ เปนชาวเมอื งสาวตั ถี ธานมานพ ไดร บั การเลีย้ งดูอยางดีจากบดิ าและมารดา ตอมาครั้นเตบิ โตควรแกการศึกษา จึงไดศ ึกษาตามลัทธพิ ราหมณ จนเรียนจบไตรเพท ครั้นอายุยางเขาปจ ฉิมวัย เขาไปฟง ธรรมของพระศาสดาเปนประจาํ เกิดศรทั ธาอยากบวช ในพระพุทธศาสนา จึงทูลขอบรรพชาอุปสมบทตอพระพุทธองค ซ่ึงก็ทรงประทานใหตาม ปรารถนา ต้ังแตวันที่ทานบวชแลว เพราะบาปกรรมในชาติกอนของทาน เวลาทานอยูที่วัดก็ดี เขา บานก็ดี เชน ไปบิณฑบาตก็ดี จะมีคนเห็นภาพสตรีคนหน่ึงตามหลังทานไปเสมอ แตตัวทาน เองไมทราบ และไมเคยเห็นสตรีน้ันเลย เวลาคนใสบาตรบางคนก็บอกวา สวนน้ีของทาน สวนนี้ สาํ หรับหญงิ สหาย พระภิกษุและสามเณรก็เห็นภาพนั้นเปนประจํา วันหนึ่งพากันไปลอมกุฏิของทาน พูดเยาะเยยวา พระธานะมีเหี้ยเกิดแลว ทานอดกล้ันไวไมอยูจึงไดตอบโตไปวา พวกทานก็เปน เห้ีย ภิกษทุ ง้ั หลายเหลานน้ั จงึ ไปฟองพระพุทธเจา ๆ ตรัสเรียกทานไปพบแลวแสดงธรรมวา เธอ อยากลาวคําหยาบตอใคร ๆ เพราะผูที่ถูกเธอดา ยอมดาตอบเธอบาง จะกลายเปนการแขงดีกัน ไป (สดุ ทาย) ก็จะมีการทาํ รายกัน เหตุการณที่เกิดขึ้นน้ีทําใหทานลําบากใจ และลําบากเร่ืองอาหารบิณฑบาตมาก ตอมามี การพิสูจนความจรงิ โดยมพี ระเจา ปเสนทิโกศลเปนประธาน ทรงเห็นวาเปนเร่ืองไมจริง เปนเร่ือง เวรกรรมของทา น ๆ จงึ ไดรับความอุปถัมภจ ากพระราชา เม่ือทานไดความอุปถัมภจากพระราชา ไดอ าหารเปนท่สี ปั ปายะ พากเพียรเจริญวปิ ส สนาไมชา กไ็ ดบรรลพุ ระอรหันตพรอ มกับอภญิ ญา ๖ งานประกาศพระศาสนา พระโกณฑธานเถระนี้บวชเมื่อมีอายุมากแลว คงไมมีกําลังชวยประกาศพระศาสนาได มากนัก แตบาปกรรมที่ทานไดทําเอาไวในชาติหน่ึง นาจะเปนคติสอนใจคนในภายหลังได จะ กลา วพอไดใจความดังนี้ ในกาลแหงพระกัสสปทศพล เขาไดเกิดเปนภุมมเทวดา เห็นพระเถระ ๒ รูป รักใครกัน มาก อยากจะทดลองวา รักกนั จรงิ แคไหน ในวันอุโบสถวันหนึ่งท้ังสองรูปน้ันเดินทางไปลงอุโบสถ ระหวา งทางรูปหน่ึงเขาไปทําธุระสวนตัว ณ พุมไมแหงหนึ่ง เสร็จแลวก็เดินออกมา เทวดานั้นได แปลงกายเปนหญิงสาวสวยเดินตามหลังออกมา พรอมทําทานุงผา เกลาผม และปดฝุนตามตัว พระเถระผูสหายเห็นเชนนั้นก็โกรธ ดาวาตาง ๆ นานา แมอีกรูปจะชี้แจงวาผมไมรูไมเห็นอะไร อยา งทที่ า นพูดเลย ก็ไมย อมรบั ฟง ตัดขาดไมตรตี อ กัน ไมยอมลงอโุ บสถรว มกัน เทวดารูสึกสลดใจ จึงแปลงเปนอุบาสกเขาไปเลาเหตุการณใหฟงทั้งหมด ทําใหพระเถระ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 197

๑1๙9๖8 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ผูสหายเขาใจหายโกรธ แลวกลับสามัคคีรักใครกันเหมือนเดิม เทวดาน้ันไดทําบาปน้ันไว จะไป เกิดในชาติใด กรรมไมดีท้ังหลายก็จะตกมาถึงตน โดยที่ตนเองไมรูเรื่องเลย ในชาติสุดทายเกิด เปนมนุษย บวชในพระพุทธศาสนา ก็มีภาพลวงตาเปนสตรีคอยติดตาม สรางความทุกขความ เดือดรอนอยางมาก เอตทคั คะ บญุ ญาธิการ และปรินิพพาน พระโกณฑธานเถระเปนผูมีบุญในเรื่องของการจับสลากเพื่อไปในกิจนิมนต ทานจะเปน ผูไดจับสลากกอนเสมอ พระศาสดาจึงทรงยกยองทานวา เปนผูเลิศกวาภิกษุท้ังหลายผูจับ สลากกอ น พระโกณฑธานเถระนี้ ในสมัยพระปทุมุตตรพุทธเจาเขาไดไปฟงธรรม เห็นพระศาสดา ทรงตั้งภกิ ษรุ ปู หน่งึ ในตําแหนง ผเู ลิศกวาภกิ ษทุ ง้ั หลายผจู ับสลากกอ น ปรารถนาตําแหนง น้นั ได ทําบุญอันสมควรแกฐานันดรแลวไดรับพยากรณจากพระศาสดาวาจะไดสมประสงคในสมัยแหง พุทธองค พระนามวา โคดม จึงไดสรางสมบารมีตลอดมา ชาติสุดทายไดสมปรารถนาตาม พุทธวาจาทุกประการ พระโกณฑธานเถระ ไดบรรลุผลสูงสุดในพระพุทธศาสนา ดํารงชีวิตตอมาจนถึงอายุขัย แลว ไดนิพพานจากไป เหมือนกับไฟท่หี มดเชอื้ แลว ดบั ไป ๒๓. ประวตั ิพระวงั คสี เถระ สถานะเดมิ และมลู เหตุแหงการบวช พระวังคีสเถระ เกิดในวังคชนบท เขตกรุงสาวัตถี แควนโกศล ในวรรณะพราหมณ บดิ าเปนพราหมณ ไมปรากฏนาม มารดาเปน ปรพิ าชิกา (นักบวชหญิงภายนอกพระพทุ ธศาสนา) วงั คีสมานพไดศึกษาลัทธิพราหมณ จบไตรเพท เขาเปนที่รักของอาจารย จึงไดเรียนมนต พิเศษ โดยใชเล็บดีดกะโหลกศีรษะของผทู ี่ตายภายในเวลา ๓ ป แลวสามารถรูไดวาไปเกิดท่ีไหน พราหมณท้ังหลายเห็นอุบายจะหาทรัพยได จึงพาเขาไปยังสถานท่ีตาง ๆ ดีดกะโหลกศีรษะของ ผูท่ีตายแลว สามารถบอกแกญาติของตน วาไปเกิดท่ีไหน อาศัยเหตุน้ีพวกเขาไดลาภสักการะ เปน อันมาก วันหน่ึงเขาไดสดับพระคุณของพระพุทธเจา เกิดความเล่ือมใสอยากจะไปเฝา พราหมณ ทัง้ หลายคัดคา นเขา กลัวจะเปลย่ี นใจไปนบั ถือพระศาสดา แตเขาไมเชอื่ พราหมณเหลานนั้ ไปเฝา พระศาสดาท่ีพระเชตวัน ทรงทําปฏิสันถารอยางดี ตรัสถามถึงความสามารถของเขา ครั้นทรง 198

 1๑9๙๗9 วชิ า อนพุ ุทธประวตั ิ ทราบแลว จึงทรงนําเอากะโหลกศีรษะคนตายมา ๔ กะโหลก ใหวังคีสะดีด เขาดีดกะโหลกท่ี ๑ บอกวา ไปเกิดในนรก ที่ ๒ บอกวาไปเกิดเปน มนษุ ย ที่ ๓ บอกวาไปเกิดเปนเทวดา ทรงประทาน สาธุการแกเขา พอดีดกะโหลกท่ี ๔ ซึ่งเปนของพระอรหันต เขาไมทราบวาไปเกิดที่ไหน พระศาสดาตรัสถามวา เธอลําบากใจหรือวังคีสะ เธอยอมรับวา พระพุทธเจาขา แลวทูลถามวา พระองคทรงทราบมนตน้ีหรือ ตรัสวาทราบ เขาจึงขอเรียน แตทรงปฏิเสธวา สอนใหไมได จะ สอนไดเฉพาะแกค นที่มีเพศเหมือนเราเทาน้ัน เขาจงึ ทลู ขอบวชกับพระศาสดา พระองคจึงตรัสให พระนิโครธกปั ปเถระเปน พระอปุ ช ฌายบวชให การบรรลุธรรม วังคีสะ คร้ันบวชแลว ทรงบอกกรรมฐานคือ อาการ ๓๒ และวิปสสนากรรมฐานแลว เม่ือทานกําลังสาธยายอาการ ๓๒ และเจริญวิปสสนากรรมฐานอยู พวกพราหมณเขาไปถามวา เรียนมนตของพระโคดมจบหรือยัง ทานตอบวาจบแลว พวกพราหมณพูดวา ถาอยางน้ันก็ไปได แลว ทา นตอบวา อาตมาไมไปแลว พวกพราหมณไมส ามารถจะทําอยา งไรไดจึงไปตามกรรมของ ตน พระวงั คสี ะเจริญวิปสสนาไมนานนักกไ็ ดบ รรลพุ ระอรหตั ตผล จบกิจบรรพชติ ของตน เอตทคั คะและบญุ ญาธกิ าร พระวังคีสเถระ เปนผูมีปฏิภาณสามารถกลาวเปนคําประพันธ (ฉันท) สรรเสริญคุณ พระศาสดา พระศาสดาจงึ ทรงยกยองทา นวา เปนผเู ลศิ กวา ภกิ ษทุ ้งั หลาย ผมู ีปฏิภาณ พระวงั คีสเถระ ในสมัยพระปทุมตุ ตรศาสดา ขณะกําลังฟงธรรม ไดเห็นพระศาสดาทรงตั้ง ภิกษุรูปหนึ่งไวในตําแหนงท่ีเลิศกวาภิกษุทั้งหลายผูมีปฏิภาณ มีฉันทะม่ันในใจอยากจะได ตําแหนงนั้น จึงไดบ ําเพ็ญกุศลอันพระทศพลทรงพยากรณวา จะไดในกาลแหงพระศาสดาพระนาม วา โคดม ในทีส่ ุดก็ไดสมปรารถนาทุกประการ ธรรมวาทะและปรินพิ พาน พระพทุ ธเจา ทรงแกลวกลา เปน อยางดีในฐานะ ๔ คือ ๑. ในธรรมอนั มอี ันตราย ๒. ในธรรมเคร่ืองนาํ ออกจากวฏั ฏะ ๓. ในความเปน พระพุทธเจา ๔. ในการทําอาสวะใหส ิน้ ไป วาจาท่ีไมทําใหตนเองเดือดรอน วาจาที่ไมเบียดเบียนผูอื่นควรพูดวาจาเชนน้ัน เพราะวาจาน้ันเปนวาจาสุภาษิต พระพุทธเจาตรัสวาจาอันเกษมเพ่ือบรรลุพระนิพพาน วาจา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 199

๑2๙0๘0 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 นนั้ แหละเปน วาจาสงู ท่สี ุดแหง วาจาทัง้ หลาย เพราะทาํ ใหสนิ้ ทกุ ข พระวังคีสเถระ คร้ันถึงท่ีสุดประโยชนสวนตนคือบรรลุพระอรหัตตผลแลว ไดชวย พระศาสดาประกาศพระพุทธศาสนา แลว ไดน ิพพานดับไปตามสจั ธรรมของชีวติ ๒๔. ประวตั พิ ระอุปเสนเถระ สถานะเดิมและมลู เหตแุ หงการบวช พระอุปเสนเถระ นามเดิม อุปเสนะ หรืออุปเสนวังคันตบุตร บิดาช่ือ วังคันตพราหมณ มารดาชอ่ื สารพี ราหมณี เกดิ ในวรรณะพราหมณทหี่ มูบ า นนาลันทา แควนมคธ อุปเสนมาณพมีพ่ีชาย ๒ คน คือ อุปติสสะและจุนทะ นองชาย ๑ คน คือ เรวตะ และมี นองสาว ๓ คน คือ นางจาลา นางอุปจารา และนางสุปจารา ครั้นเติบโตแลวไดศึกษาไตรเพท ตามลัทธิพราหมณ อปุ เสนมาณพกเ็ หมอื นกบั พระสาวกโดยมาก คือไดฟง กติ ตศิ พั ทข องพระศาสดา จึงเขาไป เฝาไดฟงพระธรรมเทศนาแลว เกิดศรัทธา ปรารถนาจะบวชในพระพุทธศาสนา พระศาสดา ทรงบวชใหตามประสงค การบรรลุธรรมและงานประกาศพระพทุ ธศาสนา ครั้นไดบวชในพระพุทธศาสนาแลว ยังไมทันไดพรรษา คิดวาจะสรางพระอริยะให พระศาสนาใหมากท่ีสุด จึงบวชใหกุลบุตรคนหนึ่ง แลวพาไปเฝาพระศาสดา ถูกพระศาสดา ตเิ ตียนวา ไมเ หมาะสม เพราะอปุ ช ฌายก็ยงั ไมไดพ รรษา สัทธวิ ิหาริกก็ยังไมไดพรรษา ทา นคดิ วา เราอาศยั บริษัท จึงถกู พระศาสดาติเตียน แตเราก็จะอาศัยบริษัทน่ีแหละทําใหพระศาสดาเล่ือมใส จึงพากเพยี รภาวนา ในไมช า ไดส ําเรจ็ พระอรหตั ตผล สมาทานธดุ งคแ ละสอนผูอื่นใหส มาทานดว ย มีสทั ธิวิหารกิ และอนั เตวาสิกมากมาย คราวนี้พระศาสดาทรงสรรเสรญิ ทาน เอตทคั คะ บุญญาธกิ าร และปรินิพพาน พระศาสดาทรงอาศัยความท่ที านเปนที่เล่ือมใสของคนทุกช้ันวรรณะน้ัน จึงทรงต้ังทานไว ในตาํ แหนงเอตทคั คะวา เลศิ กวา ภิกษุทงั้ หลายผนู าํ มาซึ่งความเลอ่ื มใสโดยรอบดา น พระอุปเสนเถระนี้ ไดเหน็ พระศาสดาทรงพระนามวาปทุมุตตระ ทรงต้ังภิกษุรูปหน่ึงไวใน ตาํ แหนง อันเลิศกวา ภกิ ษุทั้งหลาย ผูนํามาซึ่งความเล่ือมใสโดยรอบ จึงบําเพ็ญกุศลมีทานเปนตน 200


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook