Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เตรียมตัวก่อนตาย

เตรียมตัวก่อนตาย

Published by 200bookchonlibrary, 2021-03-11 08:22:48

Description: treamtuo

Search

Read the Text Version

ชมรมกัลยาณธรรม kanlayanatam.com การเกดิ การแกและการตาย เปนกฎของธรรมชาติ ท่สี ตั วบ ุคคลทุกตวั ทกุ ตน จะตอ งเปนไปตามกฎนี้ ไมม ใี ครสกั คนในโลกทเี่ กิดแลวไมต าย ดร.สนอง วรอไุ ร

เรอ่ื งความตาย คนทีม่ คี วามรูทางโลก เขาบอกวา พดู เร่ืองน้เี ปน อัปมงคล แตถาใครเขามาศกึ ษาทางธรรมแลว ถอื วา เปนมงคล เพราะจะทำใหไ มป ระมาท จะไดเ ตรยี มตวั ใหพ รอ มกอ นตาย ( เรียบเรียงจากการบรรยายธรรมใหก บั พระเขา ปรวิ าสกรรม ณ วดั มอนฤาษี เมอ่ื วันที่ ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๕๔ )

ชมรมกัลยาณธรรม www.kanlayanatam.com หนังสอื ดีอันดับที่ : ๑๘๔ เตรยี มตวั กอ นตาย อาจารย ดร. สนอง วรอไุ ร พิมพคร้งั ท่ี ๑ สิงหาคม ๒๕๕๕ จำนวนพมิ พ ๘,๐๐๐ เลม จัดพมิ พโ ดย ชมรมกลั ยาณธรรม ๑๐๐ ถ.ประโคนชัย ต.ปากน้ำ อ.เมือง ปกและรูปเลม จ.สมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ ภาพวาดประกอบ โทรศพั ท. ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔ ๙ (เกา ) พิสูจนอ กั ษร ทพญ. รตอร จูหอ ง พิมพท ่ี อ. จันทรา ทองเคยี น และคณะ สำนักพิมพก อ นเมฆ โทร. ๐๘๙ ๗๘๕ ๓๖๕๐ สัพพทานงั ธมั มทานงั ชนิ าติ การใหธ รรมะเปนทาน ยอ มชนะการใหท ้ังปวง

คำนำจากชมรมกลั ยาณธรรม มรณานุสติ เปนหน่ึงในอนุสติ ที่พระพุทธเจาทรงส่ังสอน ใหร ะลกึ ถงึ อยูเนอื งๆ เพราะความตาย เปนสิง่ ท่ีเกิดขน้ึ แนน อนกับทุก คน และการระลึกถึงความตายอยูเนืองๆ ยอมทำใหเราไมประมาท และรูจักเตรียมตัวใหพรอม กอนที่เราจะตาย ดังน้ัน ความตาย จึงไมใชส่งิ ที่เราควรกลวั หรือ ส่งิ ที่เปน อัปมงคล ทานอาจารย ดร. สนอง วรอุไร ทานไดผานเหตุการณที่ เรียกวาการตายมาแลว ไดรูไดเห็นการแยกจากกันของรูปและนาม อันเปน กระบวนการตาย และโชคดที ่ีรูปนามไดกลับมารวมกัน ทำให มีชีวติ อยมู าเลาใหพวกเราฟง ถึงกระบวนการตายของสตั วท้งั หลาย หวังเปนอยางยิ่งวา ทานผูอานทุกทาน จะสามารถนำ ประสบการณจริงของทา นอาจารย ดร. สนอง และปญ ญาอนั ถกู ตรง เหลานี้ มาพัฒนาจิตของทุกๆ ทาน เพื่อเตรียมตัวใหพรอมกอนท่ีจะ ตายจรงิ ความตายไมใชส ิ่งทน่ี า กลัว และ ทกุ คนตองตาย ...แลวคณุ ละ พรอมหรอื ยัง ? ดวยความปรารถนาดี ชมรมกัลยาณธรรม

คำนำจากผูเขียน เมอ่ื พดู ถงึ ความตาย คนทไี่ มย อมรบั ความจรงิ ถอื วา เปนการพูดท่ีเปนอัปมงคล ตรงกันขาม คนท่ียอมรับความ จริง และมีสติคุมใจ ยอมไมหว่ันไหวเมื่อไดยินไดฟงคนพูด ถึงเรื่องของความตาย เพราะเปนความจริงแทแนนอนของ สรรพชีวิต สวนใหญยังตองเวียนตาย-เกิดอยางไมจบสิ้น ผูใดปลอยใหกิเลสเขามามีอำนาจเหนือใจ ผูน้ันยังตองตาย -เกิดอยูในวัฏสงสาร สวนจะไปเกิดอยูในภพภูมิใด ข้ึนอยู กับเหตทุ ี่ทำส่ังสมไวในชาตปิ จจบุ นั หนงั สอื เลม นเ้ี ขยี นขนึ้ เพอ่ื เตอื นสตบิ คุ คลผศู รทั ธาใน ความจริง มิใหประมาทในการดำเนินชีวิต จึงตองมี การเตรียมตัวสง่ั สมปจจัยเดินทางสูชวี ติ หนา สว นจะไปเกิด เปน รูปนามอยใู นภพภมู ิใด จงเลือกเอาตามท่ีชอบเถดิ ดร. สนอง วรอไุ ร

สารบญั ๓ ๔ คำนำจากชมรมฯ ๖ คำนำจากผูเ ขยี น ๑๖ เกริ่นนำ ๒๙ กฎธรรมชาติ ๔๘ เตรยี มตวั กอนตาย ๕๘ แบบอยา งผูเตรยี มตัวตาย ๘๓ ประสบการณต รง ปุจฉา- วิสชั นา ๕ดร. สนอง วรอไุ ร

เกรน่ิ นำ

เตรยี มตัวกอนตาย นมัสการพระคุณเจา วันน้ีผมจะพูดเร่ืองเตรียมตัว กอนตาย เพราะวาการเกิดการแกและการตาย เปนกฎของ ธรรมชาติ ทสี่ ตั วบ คุ คลทกุ ตวั ทกุ ตนจะตอ งเปน ไปตามกฎนี้ ไมม ี ใครสกั คนในโลกทเี่ กดิ แลว ไมต าย ผบู รรยายกจ็ อ ควิ ไวแ ลว จาก คนทไ่ี มเ ชอ่ื ธรรมวนิ ยั ของพระพทุ ธเจา โคดม ไมเ ชอ่ื วา บคุ คลตาย แลวตองไปเกิดใหม ไมเชื่อวาเทวดามีจริง เพราะเปนอาจารย เผยแพรความรูทางดานวิทยาศาสตร ตองบอกความจริงหรือ ความเปน เหตเุ ปน ผลแกเ ยาวชน ใหส ามารถเรยี นรเู ขา ถงึ ความ จรงิ หรือสัมผสั กับความจรงิ น้นั ได เมอ่ื เรยี นจบมาจากตา งประเทศ จงึ ไดม าพสิ จู นส จั ธรรม ในพุทธศาสนา ดวยการบวชเปนภิกษุอยางทานทั้งหลาย แลวนำตัวเองเขาปฏิบัติธรรม ผลปรากฏวาการปฏิบัติธรรม อยางเขมขน ปฏิบัติธรรมเต็มที่ วันละประมาณ ๒๐ ชั่วโมง ๗ดร. สนอง วรอไุ ร

จำวัดประมาณ ๔ ชว่ั โมง ปฏิบัตอิ ยางตอเน่อื ง เปนเวลา ๓๐ วนั ฉนั ภัตตาหารวันละ ๑๐ ชอ น ปด หไู มฟง เสยี งใดๆ จากวิทยุ จากคนพูด ปดตาคือมองดไู มเ กนิ ๔ กา ว ปด ปากคือไมพ ูดกบั ใคร เวน ไวแ ตว า จะใชป ากพดู กบั ครบู าอาจารยต อนสองทมุ เพอื่ สอบอารมณท ปี่ ฏบิ ตั มิ าในรอบวนั นอกจากนน้ั ทำเหมอื นเปน คน ใบไ มพ ูดกับใคร ผลปรากฏวาปฏิบัติธรรมแบบพองหนอ-ยุบหนอ อยูนาน ๗ วัน จิตสามารถเขาถึงสมาธิสูงสุดคือจิตต้ัง มั่นเปนสมาธิแนวแน หรือสมาธิระดับฌาน เมื่อจิตออกจาก ความทรงฌาน ความรสู งู สดุ ทเ่ี รยี กวา อภญิ ญา ๕ มจี รงิ เปน จรงิ การทจ่ี ติ ไปเหน็ วา เทวดามจี รงิ การเวยี นตายเวยี นเกดิ อยา งไมร ู จบสิ้นมจี ริงเปนจริง หทู ิพยมีจรงิ ตาทิพยมีจริง ฯลฯ จากการเปน นกั วทิ ยาศาสตรท ไี่ มเ ชอื่ ความจรงิ ทอ่ี ยนู อก เหนอื ประสาทสัมผสั พอเขา ถึงสจั ธรรมคือพฒั นาจติ จนเขา ถึง ความตง้ั มน่ั เปน สมาธแิ นว แน หรอื เปน สมาธริ ะดบั ฌาน เมอื่ จติ ถอยออกจากความทรงฌาน ความรสู งู สดุ หรอื โลกยิ ญาณตา งๆ ท่ีพูดมาขางตนเปนความจริง มีเหตุผลรองรับแตสัมผัสไดดวย จติ พฒั นาดแี ลว เทา นนั้ จติ ทยี่ งั มไิ ดพ ฒั นายอ มไมส ามารถรเู หน็ ๘ เตรยี มตัวกอนตาย

เขา ใจความจริงเชนน้ีได และระบบประสาทกไ็ มส ามารถสัมผสั ไดเ ชน กนั หลงั จากทไ่ี ปรเู หน็ ความจรงิ สงู สดุ ทเ่ี ปน โลกยิ ญาณ ได ปฏบิ ตั ธิ รรมอยา งตอ เนอื่ งจนครบ ๓๐ วนั ตามทต่ี ง้ั จติ อธษิ ฐาน ไวใ นวันแรกทบ่ี วชเปน ภกิ ษวุ า “จะปฏิบัตธิ รรมเต็มทีน่ าน ๓๐ วัน ไดแ คไหนเอาแคน ้นั ” ผลปรากฏวา หลงั จากพน เจด็ วนั ไปแลว วปิ ส สนาญาณ ซึ่งเปนความรูสูงสุดที่ทำใหพนโลกไดเกิดขึ้นอยางตอเนื่องจน ครบ ๓๐ วัน ตามที่ต้ังจิตอธิษฐานไวในวันแรกที่ไดบวชเปน ภิกษุ พอกาลเวลาผานเขาถึงวันท่ี ๓๑ ผลปรากฏวา ปฏิบัติ ธรรมเหมือนเดิมท่ีทำมากอน แตจิตไมสามารถเขาถึงความตั้ง มนั่ เปน สมาธิ และไมส ามารถเกดิ ปญ ญาสงู สดุ ทเ่ี ปน โลกยิ ะและ โลกตุ ตระได จึงไดรูวาคำอธิษฐานเปนคุณธรรมที่มีความศักด์ิสิทธ์ิ นับจากเริ่มตนพิสูจนสัจธรรมจนบัดนี้ กาลเวลาไดผานมานาน ถึง ๓๕ ปเศษแลว ไมไดนำตัวเองเขาฝกปฏิบัติธรรมที่ไหน อีกเลย จิตสามารถรูเห็นเขาใจธรรมวินัยไดอยางตอเน่ือง ๙ดร. สนอง วรอุไร

ยาวนานเพ่ิมมากข้ึน ความรูเห็นเขาใจบางอยางมิไดมีเขียนไว ในตำราคัมภีร แตสามารถรูเห็นเขาใจดวยจิตของตัวเอง (สนฺทิฐิโก) อยา งถอ งแท ดงั นนั้ คำพดู ทอี่ อกจากปาก หนงั สอื ทเี่ ขยี นแจกมวลชน ใหไ ดอ า น ลว นมาจากความรหู รอื ปญ ญาทเี่ หน็ แจง เหน็ เหตเุ หน็ ผลถกู ตรงตามความเปน จรงิ แท สงิ่ ตา งๆทท่ี ำใหม วลชนดู คำพดู ที่แพรออกไปใหชาวโลกไดสัมผัสทางเว็บไซตหรือทางหนังสือท่ี เขียนขึ้นใหมวลชนไดอา น ลว นเกิดขน้ึ จากปญ ญาสงู สุดทีเ่ ก่ยี ว กบั โลก และท่ีพนวิสยั ของโลก การบรรยายธรรมที่ผานทางอินเตอรเน็ต ทางวิทยุ กระจายเสียง หรือการบรรยายในวันน้ีตองใชปญญาพุทธะ หรือปญญาสูงสุดทางพุทธศาสนา ปญญาทางโลกไมสามารถ ใชได เพราะเขาไมถึงความจริงสูงสุดและความเปนจริงแท (ปรมัตถสัจจะ)ได ความจริงท่ีนำมาบอกกลาวในวันน้ีเปนจริง อีกพันปหม่ืนปแสนปก็ยังคงเปนความจริงอยู คือยังมีเหตุมีผล รองรับ ฉะนั้นผูบรรยายตองขออภัย หากคำใดที่พูดออกไป แลว ทา นผฟู ง ไมเ ขา ใจ ทา นมไิ ดผ ดิ เพย้ี นแตผ บู รรยายผดิ เพย้ี น ๑๐ เตรียมตัวกอ นตาย

ไปเอง แตถาใครประสงคจ ะพสิ ูจนส ัจธรรม ตองนำตวั เองเขา ปฏิบัติสมถภาวนาและวิปสสนาภาวนา จนเกิดปญญาสูงสุด (ภาวนามยปญญา) แลวจะเขาใจในส่งิ ท่ีไดย นิ ไดฟ งในวนั น้ี วันน้ีจะพูดเรื่องเตรียมตัวกอนตาย ถาพูดถึงเรื่อง ความตายคนทางโลก คือมคี วามรูทางโลก เขาบอกวาพดู เร่อื ง นี้เปนอัปมงคล แตถาใครเขามาศึกษาทางธรรมแลว ถือวา เปนมงคลเพราะจะทำใหไมประมาท จะไดเตรียมตัวใหพรอม กอนตาย ดวยเหตุน้ีหลวงพอฤาษีลิงดำทานมักจะพูดถึงความ ตายอยูเสมอ เม่ือใดทจ่ี ิตปฏเิ สธท่จี ะอยรู วมกบั รูปขนั ธนีแ้ ลวไป แสวงหารปู ขนั ธใ หมอ ยอู าศยั รปู ขนั ธเ ดมิ กไ็ มส ามารถทำสง่ิ ใดๆ ได จงึ เรียกวาตาย ผูบรรยายไดผานมารมาแลวท้ังหาตัว มารคือสิ่ง ทฆี่ า บคุ คลใหต ายจากความดี มนษุ ยม กี เิ ลสเปน มาร (กเิ ลสมาร) มนุษยมีขันธ ๕ เปนมาร (ขันธมาร) มนุษยมีอภิสังขารท่ีปรุง แตง กรรม เปนมาร (อภสิ งั ขารมาร) มนุษยมเี ทพบตุ รเทพธิดา เปนมาร (เทวปุตตมาร) และมนุษยมีความตายเปนมาร (มัจจมุ าร) โดยเฉพาะมารตัวสุดทาย ผูบรรยายไดนำพาชีวิตพน ๑๑ดร. สนอง วรอุไร

จากบวงของมารดงั กลาวมาแลว สองครั้ง ผูท่ีพฒั นาจิตจนเขา ถึงธรรมท่ีปฏิบัติไดแลว จะเกิดปญญาสูงสุดท่ีเห็นการแยกรูป แยกนามไดชดั เจนมาก นามทเ่ี คลือ่ นออกจากรูปนี้ไปแลว หาก ไมกลับคนื เขา สูรูปเดิมนคี่ ือการตาย ผูบรรยายยังโชคดีที่นามยังหวนคืนกลับเขาสูรางเดิม จึงไดมีโอกาสมาบอกเลาใหผูท่ีมิไดมีประสบการณเชนนี้ไดรับรู ไดเห็นชัดเจนวานามมีลักษณะเปนเชนไร เมื่อไดเห็นนามแยก ออกจากรูปแลวทำใหไมกลัวความตาย ใชจิตที่เห็นแจงตามดู กระบวนการตายของตัวเอง จึงไดพบสัจธรรมวารูปนามนี้คือ รูปขันธและนามขนั ธ รปู ประกอบขึน้ ดวย ดนิ น้ำ ไฟ ลม จะมกี ารผันแปร คอื ลมทหี่ ายใจเขาสรู างกาย และลม ทป่ี ลอ ยออกจากรา งกาย จะคอยๆ ออ นลงๆๆ แลวตามดว ยไฟ (พลังงาน) จะคอยๆ ออ นลงๆๆ นำ้ จะพรงั่ พรแู ยกยา ยออกจาก รางกาย เหลือแตดินซึ่งเปนของแข็งกองไวแลวแตกสลายเปน หนว ยยอ ยๆ กองอยกู บั พน้ื เปน ชน้ิ เลก็ ชน้ิ นอ ย จติ ทลี่ ะเอยี ดออ น และมคี วามตงั้ มน่ั ตามดตู ามรเู หน็ ความเปน ไปของกระบวนการ ตา งๆ ของรูปนามจนกระทัง่ ทสี่ ุด ไดเหน็ ดนิ น้ำ ไฟ ลม ตาง กลับคืนมาเปนรางกายเหมือนเดิม มีความแข็งแรงเหมือนเดิม ๑๒ เตรียมตัวกอ นตาย

และยังคงเปนรางใหจิตใชทำประโยชนเผยแพรความจริงใน พุทธศาสนามาจนถึงปจจุบันนี้ รวมเวลาที่ผานมานานถึง ๓๕ ปเศษแลว ได ระลึก ถึง พระมหากรุณาคุณ ของ พระ พุทธ เจา ท่ี มอบธรรมวินัยใหกับชาวโลก และผูบรรยายไดนำเอาธรรม วินยั มาสถิตไวก ับใจตัวเองอยทู ุกขณะตน่ื และยงั ไดแสดงความ กตัญูกตเวที ดวยการเผยแพรธรรมวินัยใหแพรออกไปกวาง ไกล ดวยการใชเคร่ืองมือทางวิทยาศาสตรชวย ท้ังๆที่ตัวเอง อยูที่จังหวัดเชียงใหม ไดระลึกถึงคุณของแผนดินท่ีทำใหเราได อยูอาศัยอยางสะดวกสบายและมีความสุข จึงไดตอบแทนคุณ ดว ยการทำตวั เปน คนดขี องแผน ดนิ เกดิ นบั พนั ปญ หาทถ่ี ามผา น ทางเว็บไซต ผูถ ามปญหาลว นมีอปุ การคณุ ท่ที ำใหผูตอบปญหา ไดพัฒนาสติปญญาของตัวเองใหเพ่ิมมากขึ้น ผูถามปญหาจึง เปรยี บไดด งั ครผู มู พี ระคณุ บางครงั้ ทป่ี ญ หามเี ขา มาจำนวนมาก ผตู อบปญหาจำเปนตองตนื่ ลกุ ข้ึนกลางดึก เพื่อตอบปญหามใิ ห คัง่ คา ง ทัง้ นี้เพอ่ื เปนการตอบแทนคณุ ทาน ถงึ ตอนนจ้ี ะพดู ถงึ เรอ่ื งความตาย ทคี่ นในสงั คมบอกวา เปนเร่ืองอัปมงคล แทจริงในทางธรรมถือวาเปนเรื่องมงคล ๑๓ดร. สนอง วรอไุ ร

เพราะทำใหเราไมประมาทในวันขางหนา เม่ือเราตองเกิดอีก มันก็ตองมีความแกเปนธรรมดา เมื่อแกแลวก็ตองตายเปน ธรรมดา เหลานี้เปนสิ่งแนนอน เปนสัจธรรมที่ทุกคนเม่ือเกิด มาแลวตองเปนไปตามน้ี มนุษยเปนสัตวโลกชนิดหนึ่งที่ชีวิต ประกอบขน้ึ ดวยรูปและนาม การเกิดของสัตวมีอยู ๔ ประเภทตามท่ีพระพุทธะได ตรสั ไวค อื เกดิ ในครรภ เกิดในไข เกดิ ในท่ีชื้นแฉะ และเกดิ โดย วิธีโอปปาตกิ ะคือผดุ มีข้ึนเปน ตัวเตม็ วัยทนั ที ในฐานะทผ่ี บู รรยายเปน นกั วทิ ยาศาสตร ปรากฏ การณ ใดทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว ตอ งพสิ จู นห าความจรงิ หรอื คอื หาความสมั พนั ธ ระหวา งเหตุและผลนัน่ เอง การเกิดในครรภน ี้ทางวทิ ยาศาสตร ยอมรับวาเปนความจริง เพราะผลท่ีเกิดข้ึนสามารถสัมผัสได ดวยระบบประสาทของรางกาย สัตวท่ีเกิดในไขเชน เปด ไก หรือสัตวเล้ือยคลานบางชนิดมีการเกิดเชนนี้จริง และจาก ประสบการณของผูบรรยาย ไมเคยพบวามนุษยมีการเกิดใน ทำนองนี้ แตการเกิดของมนุษยในที่ชื้นแฉะมีจริง ดังตัวอยาง ของพระนางปทุมวดี (อดีตพระอบุ ลวรรณาภกิ ษณุ ี) ทอี่ ุบตั ิข้ึน ในดอกบัวใหญในสระน้ำใกลกับอาศรมของพระฤาษีและโอรส ของพระนางอีกจำนวนหน่ึงไดเกิดในที่ชื้นแฉะเชนกัน และวิธี ๑๔ เตรียมตัวกอ นตาย

สุดทายมนุษยสามารถเกิดโดยวิธีโอปปาติกะคือผุดข้ึนมาและ โตเตม็ วยั ในทนั ใด หากทา นผฟู ง ไมเ ขา ใจผดิ คดิ วา ผบู รรยายเพอ หรือเพ้ียน ผูบรรยายบอกวาจากประสบการณตรงไดพบวา มนุษยมีการเกิดโดยวิธีโอปปาติกะมีจริงเปนจริง วิธีพิสูจนการ เกิดในลกั ษณะนี้สามารถทำไดโดยการพัฒนาจติ (สมถภาวนา) ใหเขาถึงความต้ังม่ันเปนสมาธิระดับฌาน เม่ือจิตถอนออก จากความทรงฌาน ใหอธิษฐานขอเห็นการเกิดของมนุษย โดยวธิ โี อปปาตกิ ะ กส็ ามารถจะสมั ผสั ไดด ว ยจติ ทมี่ คี วามถคี่ ลนื่ ท่พี ัฒนาดแี ลว ผูบรรยายมีพ้ืนฐานมาทางดานวิทยาศาสตรท่ียอมรับ ในเหตุผล จึงไดพิสูจนและไดพบมาดวยตัวเองจึงบอกเลาใหผู ฟงไดทราบ ดังนั้นการอุบัติของมนุษยสามารถกลาวโดยสรุป ไดวา เกดิ ข้ึนไดส ามวธิ ีคือเกิดในครรภ เกดิ ในท่ีชนื้ แฉะ และเกดิ โดยการโอปปาตกิ ะ มนุษยเกิดมาแตละภพชาติยอมมีการทำกรรมดวย กันสามทางคือ มโนกรรม วจีกรรม และกายกรรม และใน ธรรมชาติมนุษยและสัตวยังตองดำเนินไปตามกำหนดหรือ กฎของธรรมชาติอยูอยางนอยสามกฎ ดังท่ีจะไดเรียนให พระคณุ เจาทง้ั หลายใหท ราบ ๑๕ดร. สนอง วรอุไร

กฎธรรมชาติ

กฎขอที่ ๑ กฎธรรมชาติ ที่เรียกวา สามัญลักษณะ คือสรรพส่ิงเม่ือเกิด ขึ้นแลวยอมมีการแปรเปล่ียน คงทนอยูไมได และเปนส่ิง ท่ไี มใชต วั ตนแทจรงิ หรอื คือดบั สลายไปในทสี่ ดุ ซงึ่ บางทา น สมมตเิ รยี กกำหนดอนั แนน อนตายตวั เชน นวี้ า กฎไตรลกั ษณ ๑๗ดร. สนอง วรอุไร

ความเปนไปในสามลักษณะนี้ หากเกิดข้ึนในหวงเวลาส้ันๆ ก็ สามารถรูเห็นเขา ใจไดดว ยประสาทสมั ผสั แตในหลายกรณี ส่ิง ที่ดำเนินไปตามกฎไตรลักษณที่ตองใชเวลายาวนาน เกินหวง อายขุ ยั ของมนษุ ย มสิ ามารถสมั ผสั ไดด ว ยระบบประสาทสมั ผสั แตจ ติ ทีพ่ ฒั นาดแี ลวสามารถสมั ผัสได ตัวอยางเชน บุคคลท่ีมีนิวาสสถานอยูที่จังหวัด เชียงใหม ตั้งแตเกิดจนตายก็ยังเห็นวาดอยสุเทพยังคงมีอยู มิไดหายไปไหน แตสามารถเห็นการแปรเปลี่ยนของดอยสุเทพ มีจริงเปนจริง ลักษณะของดอยสุเทพในปจจุบัน ไมเหมือน กับดอยสุเทพในคร้ังท่ียังเปนเด็กตัวเล็กๆ ดอยสุเทพที่เห็น ดวยตาเน้ือตาหนัง แมบุคคลตายลงไปแลวดอยสุเทพยังคง มีอยู หากผูใดพัฒนาจิตใหเขาถึงความทรงฌานได ยอมเห็น การเกิด-ดับของสรรพส่ิงมีจริงเปนจริง แมแตดอยสุเทพที่เห็น ดวยตาเนื้อตาหนัง ก็ตองเปนไปตามกฎไตรลักษณเชนกัน คือ ครั้งหน่ึงมีดอยสุเทพเกิดขึ้น แลวในที่สุดเมื่อกาลเวลาผานไป ยาวนาน ดอยสุเทพไมมีอยูจริง คือตองดับสลายไปตามกฎ ไตรลกั ษณนน่ั เอง ๑๘ เตรียมตวั กอนตาย

กฎขอที่ ๒ ท่อี ยากพดู ถงึ กค็ ือ กฎแหงกรรม ดังท่ีไดกลาวไวในตอนตนวา มนุษยสามารถ ทำกรรมไดส ามทาง ทำกรรมดวยการคดิ เรียกวา มโนกรรม ทำกรรมดวยการพูด เรียกวาวจีกรรม และทำกรรมดวย การกระทำทางกายเรยี กวา กายกรรม ๑๙ดร. สนอง วรอไุ ร

วจีกรรมพระคุณเจาสามารถรูไดดวยระบบประสาท คือใชโสตประสาทเปนตัวช้ีวัดวาบุคคลพูดดีหรือพูดไมดี มีหู เปนเครื่องชี้วัด การกระทำของบุคคล ที่เรียกวากายกรรม พระคุณเจาสามารถรูไดดวยการทำงานของระบบประสาท ทางตา (จักขุประสาท) คือมีตาเปนเครื่องชี้วัด สวนบุคคล ท่ีนั่งอยูเฉยๆ แตจิตกำลังคิดสิ่งใดอยูหรือไปทำอะไรมา ระบบประสาททางหู ทางตา มิอาจวัดได หากพระคุณเจา ประสงคจะพิสูจนวาเขากำลังคิดอะไรอยู หรือไปทำอะไร มา ตองใชจิตท่ีพัฒนาดีแลวเปนตัวสัมผัส คำวาพัฒนาดีแลว ในท่ีนี้หมายถึง ตองเจริญสมถภาวนาจนจิตเขาถึงความ ตั้งมั่นเปนสมาธิระดับฌาน เมื่อถอยจิตออกจากความทรง ฌาน หนง่ึ ในอภญิ ญา ๕ น้ันคอื เจโตปรยิ ญาณ สามารถหยง่ั รู ความคดิ ของผูอนื่ ได ในสมัยที่ผูบรรยายไปฝกกรรมฐานอยูกับทานเจา คุณโชดก ผูบรรยายคิดส่ิงใดทานเจาคุณฯ สามารถหยั่งรูได รวมถึงการกระทำใดๆ ท่ีลับหูลับตาทานฯ รูไปหมด อาทิยืน ปสสาวะ ทานฯ บอกวาเปนพระตองนั่งปสสาวะ ฉันอาหาร รวมวงกับทานฯ คำไหนฉันแลวรูสึกวาอรอย ทานฯ สอน ๒๐ เตรียมตวั กอนตาย

ใหกำหนดวา “อรอยหนอๆๆๆ” รวมถึงการคิดหนีออกจาก วัดเพ่ือไปอยูกับทานพุทธทาสที่สวนโมกข ทานฯ ก็รูอีกดวย เจโตปรยิ ญาณทที่ านฯมี ทานฯ ไดสอนวา “จะหนีไปท่ีไหนในโลกนี้ ยอมหนีใจ ตัวเองไมพน ตองอยแู ลว สสู ”ิ ทานเจาคุณโชดกไดสอนวิธีแกปญหาที่ใจคิดหนี ดวย การบริกรรมวา “คิดหนีหนอๆๆๆ” จนในท่ีสุดใจท่ีคิดหนี (มโนกรรม) ดับไป จึงยังคงอยูปฏิบัติธรรม กับทานฯ ตอไป จนครบกำหนดตามที่อธิษฐานไว เจโตปริยญาณเปนความรู พิเศษท่ีเปนความเฉพาะตน (ปจจัตตัง) คือรูไดดวยจิตของผู ท่ีเขาถึงความทรงฌานแลวเทานั้น คนท่ีมีจิตเขาไมถึงความ ทรงฌานยอมไมสามารถรูได ดังน้ันการกระทำหรือกรรมท่ี มนุษยทำมีอยูสบิ สองชนิด สรุปลงไดวาใครทำดียอมไดรับผลดีตอบแทน ใคร ทำกรรมไมดีเมื่อกรรมใหผลยอมตองเสวยหรือชดใชผลแหง การกระทำท่ไี มด นี ัน้ ๒๑ดร. สนอง วรอไุ ร

กฎขอ ท่ี ๓ เปนกฎเกีย่ วกับ การทำหนาที่ของจติ ซ่ึง เร่ือง น้ี ทาง วิทยาศาสตร ยอมรับ วา ท่ี ใดมีพลังงานเกิดข้ึน ท่ีน้ันยอมมีการทำงานได สิ่งท่ี พระคุณเจาไดยินไดฟงถึงคำกลาวท่ีวา “จิตเปนนาย กาย เปน บา วรบั ใชจ ติ ” คำกลา วเชน นจี้ ะเปน ความจรงิ หรอื ไมจ รงิ ๒๒ เตรยี มตัวกอนตาย

ตองพิสูจนดวยตัวเองวาจิตส่ังสมองใหคิด จิตส่ังปากให พูด จิตสั่งรางกายใหกระทำตามท่ีจิตตองการ พระคุณเจา ตองวิเคราะหดูวา คนที่ยังมิไดตายหรือคนที่ยังมีจิตอยูกับ รา งกายสามารถใชร า งกายทำในสงิ่ ทจี่ ติ ตอ งการ สว นคนทตี่ าย ไปแลว หมายถึงจิตปฏิเสธท่ีจะอยูกับรางกายนี้ จิตไดออก จากรา งกายนเี้ พื่อไปหารา งใหมอ ยอู าศัย รา งกายน้ีจึงถูกทิ้งไว เปนศพทำอะไรไมได ไมมีอาการเคลื่อนไหวใดๆ เกิดขนึ้ ดังนัน้ ขณะที่จิตยังคงอยูกับรางกาย จึงทำหนาท่ีไดเปนสามรูปแบบ ดงั น้ี (1) จติ รบั ส่งิ กระทบภายนอก (รูป เสยี ง กลน่ิ รส สิ่งสมั ผัสกาย และส่งิ ท่ใี จร)ู เขาปรุงเปน อารมณ (2) จิตสั่งรางกาย คือส่ังสมองใหคิด สั่งปากใหพูด และสง่ั อวยั วะของรา งกาย ใหทำในสง่ิ ทจ่ี ติ ตองการ (3) จิตส่ังสมผลของการกระทำไวเปนสัญญา คือ จดจำอารมณท่ีเคยเกิดขึ้นกับจิตไว เม่ือใดที่จิตรับกระทบกับ ส่ิงท่ีเคยเกิดข้ึนมากอน จึงสามารถหย่ังรูอารมณที่เคยเกิด ขนึ้ มากอนได ๒๓ดร. สนอง วรอไุ ร

พระคุณเจาเคยมีประสบการณในอารมณ เชนส่ิง กระทบดียอมทำใหเกิดเปนอารมณดี ส่ิงกระทบไมดียอม ทำใหเกิดเปนอารมณไมดี ทั้งอารมณดีและอารมณไมดีถูก เก็บส่ังสมไวในดวงจิตจนยากที่จะนับครั้งไดถวน ตัวอยาง เชน ตาเห็นภาพสวยๆ ยอมเกิดเปนอารมณดี ตาเห็นภาพ ไมสวยงามยอมเกิดเปนอารมณไมดี อากาศเย็นสัมผัสกับผิว รางกายยอมทำใหเกิดเปนอารมณดี อากาศรอนสัมผัสผิว รางกายยอมทำใหเกิดเปนอารมณไมดี ไดยินเสียงสรรเสริญ เขาทางหูทำใหเกิดเปนอารมณดี ไดยินเสียงกนดา ทำใหเกิด เปนอารมณไ มด ี ฯลฯ นี่คือการทำหนาที่ของจิตตามขอ (๑) จิตที่มีอารมณ ดียอมส่ังสมองใหคิดดี สั่งปากใหพูดดี และสั่งรางกายให ทำดี น่ีคือการทำหนาท่ีของจิตตามขอ (๒) จิตที่ไประลึกรูถึง ประสบการณท่ีผานมาในอดีต หรือการเสวยวิบากของกรรม นี่คือการกระทำหนาท่ขี องจิตตามขอ (๓) ดวยเหตุนี้การทำหนาที่ของจิตท้ังสามอยาง จึงมีผล ตอการดำเนินชีวิตของมนุษย โดยเฉพาะหนาท่ีท่ีสาม จิต ทำหนาที่เก็บส่ังสมผลของกรรมไวนับไมถวน (อนันต) ทำไม ๒๔ เตรยี มตวั กอนตาย

จึงรูวาผลกรรมในดวงจิตมีอนันต เพราะผูบรรยายตอนไป พสิ จู นส จั ธรรม ไดพ ฒั นาจติ จนเขา ถงึ ความตง้ั มนั่ เปน สมาธสิ งู สดุ คือสมาธิระดับฌาน พอจิตถอนออกจากความทรงฌานแลว ไดไปเห็นภพภูมิหนหลังของตัวเองดวยอภิญญาตัวท่ีเรียกวา ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ไดเห็นการเวียนตายเวียนเกิดของตัว เองยอนหลังไปนับภพชาติไมถวน และในแตละชาติท่ีเกิด เปนรูปนาม ไดทำกรรมและสั่งสมผลของกรรมไวมาก และ ยิ่งเห็นการเวียนตายเวียนเกิดไมรูจบดวยแลว ผลของกรรม ท่ีทำส่ังสมไวในดวงจิตจึงมีเหลือคณานับ ขณะไปพิสูจน สัจธรรม ไดบวชเปนภิกษุถึงกับน้ำตาหยด ดวยมาระลึกวา ทำไมตัวเองจึงโงอยางนั้น ไดเห็นการเกิดแลวดับของรูปขันธ ซ้ำแลวซ้ำอีก แตนามขันธไมเคยดับเลย ท้ังน้ีเปนเพราะยัง มีกิเลสสั่งสมอยูในดวงจิต หรือ กิเลสมีอำนาจครอบครอง นามขันธอยูอยางเหนียวแนน การโคจรของจิตเพื่อไปหา รางใหมอยูอาศัย แลวทำใหเกิดเปนรูปนามอยูในภพตางๆ อยางไมรูจบ เร่ือยมาจนถึงทุกวันน้ี ดวยเหตุนี้จึงไดกลาว วาจิตไดเก็บสั่งสมขอมูลกรรมมาอนันต เก็บขอมูลกรรมไว มากมายมหาศาล ๒๕ดร. สนอง วรอไุ ร

ในครั้งพุทธกาล มีพระสาวกของพระพุทธเจาอยู ๔ องคท่ีเปนมหาอภิญญา สามารถระลึกชาติหนหลังได ยาวไกลถึง ๑ อสงไขย กับอีก ๑๐๐,๐๐๐ กัป ไดแก พระ มหาโมคคัลลานะ พระสารีบตุ ร พระพากุละ และพระยโสธรา พระอรหันตท่ีทรงอภิญญาทั้งหลาย ไมสามารถระลึกชาติ ยอนหลัง ไป ไดไกลหรือ ได มากเทากับ ผูทรง มหาอภิญญา จากเร่ืองที่บอกเลาใหฟงจะเห็นไดวาจิตมีความมหัศจรรย สามารถเก็บขอมูลกรรมไวมากเปนอนันต ยิ่งเปนพระสัมมา สมั พทุ ธเจา ดว ยแลว ไมต องพดู ถึงขอมูลกรรมในดวงจิตซ่งึ เก็บ บนั ทกึ ไวไ ดไ มมีความจำกัด จากหนาท่ีของจิตท้ังสามอยางน้ัน พระคุณเจาตาง ทำกรรมและสั่งสมผลกรรมไวในดวงจิตไวมหาศาล ถาจิต ส่ังสมกรรมไมดี (อกุศลกรรม) เมื่อกรรมไมดีใหผล ก็จะใหผล เปนบาป ตรงกันขามถาจิตสั่งสมกรรมดี (กุศลกรรม) เม่ือ กรรมดีใหผล ก็จะใหผลเปนบุญ บุญและบาปท่ีมีอยูในดวง จิต เมื่อใหผลแลวยอมกระทบถึงการดำเนินชีวิต บุคคลผู เกิดมาแลวมีชีวิตดำเนินไปสะดวกราบรื่นและมีความสุข นั่น คืออานิสงสของบุญ ตรงกันขาม บุคคลเกิดมาแลวมีชีวิต ๒๖ เตรยี มตัวกอนตาย

ดำเนินไปไมสะดวกไมราบรื่นและมีความทุกข น่ันคืออานิสงส ของบาปใหผล ผูทำกรรมไมด ไี วกอ นแลว จะตองเสวยผลของ อกุศลวบิ ากน้นั ในทุก วันนี้ ผู บรรยาย ตอง ตอบ ปญหา ให กับ คน จำนวนมาก ปญหาตางๆ ท่ีถามเขามาน้ันลวนเปนความ ทุกข ที่บุคคลไดทำกรรมไมดีไวกอนแลว ใหผลเปนขอขัดของ และทำใหไมสบายกายไมสบายใจ ผูบรรยายจึงตองแกปญหา ให ดวยการเสนอแนะใหชดใชผลของกรรมจนกวาจะจบ ส้ิน หรือทำบุญใหญแลวอุทิศผลบุญใชหนี้เจากรรมนายเวร สวนกรรมใดท่ียังไมใหผลตองทำดีท่ีเปนบุญอยูเสมอ เพื่อ หนีหน้ีกรรมเวรมิใหตามทัน หรือแมกระท่ังการพัฒนาจิตให พนไปจากการเวียนตาย-เกิดในวัฏฏะ หน้ีเวรกรรมที่เหลือ ตกคางอยูในดวงจิต ยอมตามใหผลไมทัน จึงเปนอโหสิกรรม ไปโดยปริยาย ปญหาตางๆ ที่คนจำนวนมากถามเขามา ใหผู บรรยายไดช้ีแนะแนวทางแกปญหาให เปนเพราะเขาเหลานั้น เปนผูรูไมจริงแท เมื่อเอาปญญารูไมจริงแทมาสองนำทางให กับชีวิต จึงเกิดเปนความผิดพลาด ประพฤติอกุศลกรรมให ๒๗ดร. สนอง วรอไุ ร

เกิดขึน้ และสงั่ สมอยใู นดวงจติ ของตวั เอง เมอื่ กรรมใหผ ลเปน อกุศลวิบาก ปญหาตางๆ จึงไดเกิดตามมาใหชีวิตดำเนินไปไม สะดวก ไมร าบรืน่ และเปนทกุ ข ผูท่ีรูจริงแทในพุทธศาสนาไดแกอริยบุคคล หรือ พระคุณเจาที่ปฏิบัติสมถกรรมฐาน และวิปสสนากรรมฐาน จนเขาถึงปญญาเห็นถูกตามธรรม หรือที่นักปฏิบัติธรรม นิยมเรียกกันวาปญญาเห็นแจงไดแลว จึงจะสามารถเรียก ไดวาพระคุณเจาเปนผูรูจริงแท ปญญาเชนนี้สามารถรูเห็น เขาใจความจริง (เหตุผล) ข้ันสูงสุดที่เรียกวาปรมัตถสัจจะ เปนความจริงท่ีไมเน่ืองดวยกาลเวลา แมกาลเวลาจะผานไป ยาวนานเทาใด ความจริงจะยังคงเปนจริงตลอดไป อีกพันป หม่ืนปแสนปก็มิอาจแปรเปลี่ยนไปเปนความไมจริงได ปญญา เห็นแจงจึงมีคุณ สามารถนำมาใชสองทางใหกับชีวิตได ดำเนนิ ไปอยา งสะดวกราบรืน่ และมแี ตค วามสุข ๒๘ เตรยี มตวั กอ นตาย

เตรยี มตัวกอ นตาย

ในครั้งที่ผูบรรยายไปปฏิบัติธรรมอยูท่ีวัดมหาธาตุฯ ยาวนานถึง ๓๐ วัน กไ็ ดปญญาเห็นถูกตามธรรมมาสองนำทาง ใหกับชวี ิตของตนเอง และยังไดใชส อ งนำทางชวี ิตใหผ ูอน่ื อกี ดว ย จากวนั นัน้ ทีว่ ดั มหาธาตุฯ จนมาถงึ วนั นที้ ีม่ าบอกเลาให พระคณุ เจาไดทราบ กม็ ิไดไปปฏบิ ตั ิธรรมทีไ่ หนอีกเลย อะไรท่ี ไมร เู ก่ยี วกบั ชวี ิตไมม ีอีกแลว แมตำราคมั ภรี มิไดเ ขยี นบอกไว ก็สามารถหยัง่ รเู หตุผลท่เี ปน จรงิ แทได นี่คือสิ่งทีอ่ ยากจะบอก กลาวใหพระคณุ เจา ทราบวา กฎธรรมชาติท้งั สามกฎ อันไดแก กฎไตรลกั ษณ กฎแหงกรรม และกฎการทำหนา ท่ีของจติ มี ผลกระทบอยางมากตอ การดำเนินชีวิตของมนษุ ย ๓๐ เตรียมตวั กอนตาย

ตอนน้ีผมจะพูดถึงการเตรียมตัวกอนตาย ตราบใดท่ี กิเลสยังมีอำนาจครอบครองใจ บุคคลตายแลวตองไปเกิดอีก แนนอน จะไปเกิดอยูในภพภูมิใด ก็ขึ้นอยูกับแรงผลักดันของ กรรม ทที่ ำสงั่ สมไวใ นดวงจติ ขณะทบ่ี คุ คลนน้ั ยงั มชี วี ติ หรอื มจี ติ อยกู บั รปู ขนั ธน ้ี การเตรียมตัวกอนตายของคนในคร้ังท่ีพระพุทธเจา ยังมีพระชนม (พุทธกาล) มีบุคคลที่เตรียมตัวตายอยูหลาย คนที่อยากจะยกขึ้นมากลาวถึงในที่น้ี เพื่อใหพระคุณเจาได เห็นวา บุคคลตางๆ เหลาน้ันเขาเตรียมตัวกันอยางไร เพราะ ในวันขางหนาเราตองตายแนๆ พอตายแลวจิตวิญญาณ ตองสละท้ิงรูปขันธเดิม แลวโคจรไปเขาอยูอาศัยในรูปขันธ ใหม ส่ิงท่ีสำคัญก็คือวารูปขันธใหมท่ีจิตเขาไปอยูอาศัยเปน รูปขันธอยูในภพภูมิใด หากรูปขันธใหมอยูในสุคติภูมิซ่ึงไดแก ภูมิอันเปนท่ีอยูอาศัยของมนุษย เทวดาและพรหม มีความ สุขจากการเสวยกามหยาบ มีความสุขจากการเสวยกามท่ี เปนทิพย และมีความสุขจากการเสวยฌานสมาบัติสุขอัน ละเอียดประณีตและยืนยาวนานนับกัป ตรงกันขาม หากรูป ขันธใหมท่ีจิตเขาอยูอาศัยเปนรูปขันธที่อยูในทุคติภูมิ อันไดแก ๓๑ดร. สนอง วรอไุ ร

สัตวเดรัจฉาน สัตวเปรต สัตวอสุรกายและสัตวนรก ตาเน้ือ ตาหนังสัมผัสกับสัตวกายหยาบไดดวยการทำงานของระบบ ประสาท จงึ สามารถมองเหน็ วา สตั วม นษุ ยม จี รงิ สตั วเ ดรจั ฉาน มีจริง แตสัตวที่ถือกำเนิดอยูในภพภูมิอื่น เปนสัตวท่ีมีรูปขันธ ละเอยี ด เปนสตั วกายทพิ ย ระบบประสาทไมสามารถสัมผัสได แตสมั ผสั ไดด วยการทำงานของพลังงานจิตทพ่ี ัฒนาดีแลว พระคุณเจารูปใดประสงคจะพิสูจนวา สัตวกายทิพย มีอยูจริงในวัฏฏะ พระคุณเจาตองเจริญสมถภาวนาจนจิต เขาถึงความตั้งม่ันเปนสมาธิแนวแน (อัปปนาสมาธิ) หรือที่ เรียกวาสมาธิระดับฌาน เม่ือจิตถอยออกจากความทรงฌาน แลวอธิษฐานขอเห็นสัตวท่ีมีรูปขันธเปนทิพย ทิพพจักขุ อัน เปนหน่ึงในอภิญญา ๕ ยอมสัมผัสกับสัตวท่ีมีกายทิพยได ดัง ที่พระพุทธโคดมนำพระนันทะไปดูนางฟาในดาวดึงส หรือ ในกรณีท่ีพระมหาโมคคัลลานะขึ้นไปพบกับกัณฐกเทพบุตร ในดาวดึงส หรือข้ึนไปพบกับติสสมหาพรหมในพรหมโลก ช้ันมหาพรหมาภูมิ ฯลฯ เหลาน้ีเปนจริงมีจริงและสัมผัสได ดว ยปญญาสูงสุด (โลกิยอภญิ ญา) ของผทู พี่ ฒั นาจิตไดจ รงิ ๓๒ เตรียมตวั กอ นตาย

ทีน้ีกลับมาพูดถึงเร่ืองท่ีวา เมื่อบุคคลทิ้งรูปขันธแลว หมายถึงจิตทิ้งรูปขันธไวกับโลก แตตัวของจิตท่ียังมีกิเลส คางคาอยูภายใน ยังตองแสวงหารูปขันธใหมอยูอาศัย จิต วิญญาณจะโคจรไปสูภพใหมตามแรงผลักของกรรมท่ีมีอยู ภายใน ถาเปนกรรมไมดี ยอมผลักดันจิตวิญญาณ ใหโคจรไป สูอบายภูมิและเขาอยูอาศัยในรูปขันธใหม ตรงกันขาม หาก จิตวิญญาณถูกกรรมดีผลักดัน จิตวิญญาณยอมโคจรไปสู สุคติภูมิ ดังน้ันบุคคลผูหวังความสบาย ผูหวังความสุขจึงควร ไมประมาทในการทำกรรม เพราะผูใดทำกรรมสำเร็จลงแลว ผลของกรรมมิไดสูญเปลาดังที่คนรูไมจริงพูด แตผลของกรรม จะถกู เก็บส่ังสมอยูในจติ ของผูทำกรรมนั่นเอง ส่ิงที่บคุ คลไดคดิ ไดพ ูด ไดท ำอยใู นทุกวันน้ี มนั มีผลถงึ ชาติใหมหรือภพภมู ใิ หมท ี่ เราตองไปเกดิ วันน้ีจึงไดมาบอกวา การเตรียมตัวกอนตายมีผลตอ ชีวิตของบุคคลแนนอน บุคคลสามารถดูผลของกรรมในชาติ ปจจุบันน้ีได ผูใดเคยทำกรรมไมดีไวมากในอดีต บาปอกุศล ยอ มถูกเก็บส่งั สมอยูในดวงจิต และสง ผลมาจนถงึ ชาตปิ จจุบนั ๓๓ดร. สนอง วรอุไร

ทำใหชีวิตมีอุปสรรคขัดขวางมีปญหาใหตองแกไข และไมมี ความสุขเชนเจ็บไขไดปวย มีโรคประจำตัว มีปจจัยติดขัดไม พอใชสอยเยียวยารักษา คนในสมัยนี้เปนโรคมะเร็งกันมาก เปน โรคหัวใจกันมาก เปน นว่ิ กนั มาก ส่งิ เหลา นเ้ี ปน ผลสบื เนือ่ ง มาจากบาปอกุศลที่สั่งสมไวในดวงจิตของผูทำกรรมไมดีไว ในอดตี ยังมีอีกเรื่องหน่ึงที่แสดงใหเห็นผลของกรรมไมดี มีอายุสั้น ดังที่เปนขาวออกทางโทรทัศนถึงศพท่ีถูกทำแทง จำนวน ๒,๐๐๒ ศพ รูปนามยังไมคลอดออกมาจากทอง ของแม กต็ อ งหมดอายุ เนอ่ื งดว ยอดตี ไดป ระพฤตปิ าณาตบิ าต ไวมาก จึงทำใหมีอายุส้ัน คือ ยังมิไดคลอดออกจากทองแม ยังไมไดลมหายใจก็ตายไปแลว น่ันแหละครับเปนผลท่ีเกิดจาก การทำบาปหนักไวแตอดีต บางคนคลอดออกมาจากทองแม แลวมีอายุอยูไดเพียงไมกี่วันก็ตองตาย แตถาผูใดเวนประพฤติ ปาณาติบาต ไดอายุในภพใหมยอมยืนยาว และไมเปนโรค ส่ิงเหลาน้ีเปนเหตุเปนผลอันเน่ืองมาจากการกระทำ (กรรม) ของบุคคล ๓๔ เตรียมตวั กอ นตาย

ผูบรรยายตองถามพระคุณเจาวา ทุกวันนี้ทุกขณะ ต่ืนบุคคลมีศีลครบไหม บุคคลผูเปนฆราวาสและไมประมาทใน การทำกรรม ตองเอาศีลหาขอมาคุมครองใจ ทั้งน้ีเพราะจิต เปนนาย รางกายเปนบาวรับใชจิต ถานาย (จิต) มีศีลหาขอ อยคู รบ เมอ่ื จิตสงั่ รา งกาย(บา ว) ใหทำตามท่จี ิตตองการ ยอม ส่งั ใหกายไมป ระพฤตลิ ะเมิดศลี ๕ วาจาไมล ะเมิดศีล ๕ อยา ง น้ีจึงจะเรียกวาบุคคลผูไมประมาทยอมทำแตกรรมดี กรรมท่ี ใหผลเปนบุญเกิดขึ้น เชนเดียวกันสามเณรตองมีศีล ๑๐ ขอ คุมใจ และภิกษสุ งฆตอ งมีศีล ๒๒๗ ขอคุมใจ ผูบรรยายจึงถามวาแตละประเภทของบุคคลท่ีกลาว ถึง มีศีลอยูครบทุกขณะต่ืนไหม ถาประพฤติศีลไมครบ ชีวิต น้ียอมดำเนินไปอยางยากลำบาก และยังเปดทางใหชีวิตหนา ดำเนนิ ไปสกู ารเกดิ ในภพภูมิต่ำอีกดวย ในศาสนาพุทธซ่ึงเปนศาสนาของผูรูจริง จึงไมมีอะไร เกิดขน้ึ ดว ยความบังเอญิ คำวา “อาจจะ” หรอื คำวา “นาจะ เปน” ยอมไมมีในพุทธศาสนา ทุกปรากฏการณที่เกิดขึ้นลวน มีเหตุที่ทำใหเกิด และทุกเหตุที่บุคคลไดทำแลวดวยกาย ดวย วาจา หรอื ดว ยใจ ยอ มมผี ลเกดิ ตามมาแนน อน ดงั นน้ั ผบู รรยาย ๓๕ดร. สนอง วรอุไร

จึงไดบอกวา ศีลเปนส่ิงสำคัญที่บุคคลผูหวังความเจริญในชีวิต ตองรกั ษาไวหรอื ใหม อี ยกู ับใจทุกขณะตื่น ทนี ีม้ าดคู นท่ีมีชีวิตอยใู นครงั้ พุทธกาล การเตรียมตวั ตายเขาเตรยี มตวั กนั อยา งไร ทข่ี อยกตวั อยา งขนึ้ มากลา วถงึ คอื อัมพปาลี โสเภณีแหงแควนวชั ชี มคี าตวั ไมแ พงเทาไร แขกที่ ไปรว มประเวณกี บั อมั พปาลแี ลว ตอ งจา ย ๕๐ กหาปณะ เมอ่ื เทยี บ กบั เงินไทยในคร้งั ปจจบุ นั กต็ กราว ๒๐๐ บาทตอ ครงั้ หากยอ น กลบั ไปดเู มอื่ ๒,๐๐๐ ปก วา กเ็ ปน เงนิ มใิ ชน อ ย พระเจา พมิ พสิ าร ยังแอบเสด็จไปรวมอภิรมยกับนาง โดยประทับอยูเสวย กามสุขนานถึงเจ็ดวัน อัมพปาลีปลอยกายปลอยใจเสพกาม สุขกับพระเจาพิมพิสารจนมีผลใหนางต้ังครรภ และคลอดใน เวลาตอ มาเปนบตุ รชายใหช ่อื วา วิมลโกณฑัญญะ เม่อื เติบใหญ ไดบวชเปนภิกษุปฏิบัติธรรมจนบรรลุอรหัตตผล และไดรูวา อาชีพที่อัมพปาลีถือปฏิบัติเพ่ือเลี้ยงชีพน้ัน เปนมิจฉาอาชีวะ หากตายลงเม่ือใด จิตวิญญาณของแมตองโคจรลงไปเกิดเปน สตั วอยใู นภพนรก เพราะประพฤติผิดศีลขอ ๓ วิมลโกณฑญั ญะ สงสารแมจึงไปเทศนธรรมใหแมฟง อัมพปาลีฟงเทศนจาก พระลูกชายแลวเกิดความเห็นถูกจึงเลิกอาชีพโสเภณี แลวหัน ๓๖ เตรียมตวั กอ นตาย

มาบวชเปนภิกษุณี ปฏิบัติธรรมดวยการพิจารณาความสวย ความงามของรางกายของตัวเอง จนเห็นชัดวาสังขารรา งกาย เปนของไมเท่ียง และเห็นชัดถึงการแปรเปล่ียนไปเปนสิ่งที่ไม สวยงาม และในที่สุดไมมีตัวตนท่ีแทจริง ไมสามารถบังคับ ควบคุมได จนในที่สุด นางไดเกิดความเบื่อหนายในสังขารทั้ง ปวง และไดบรรลุอรหัตตผลหลังจากพิจารณาสัจธรรมของ รางกายไดไมน าน แสดงวาอัมพปาลีสามารถปดอบายภูมิได อกุศล กรรมท่ีทำมาแตอดีต ยอมไมสามารถผลักดันจิตวิญญาณของ อัมพปาลี ใหลงไปเสวยอกุศลวิบากในนรก และในท่ีสุดดับรูป ดับนามเขาสนู ิพพาน จากตวั อยา งทยี่ กข้นึ มาบอกเลา ใหฟง นั้น แสดงวาอัมพปาลีหลังจากฟงธรรมจากพระลูกชายแลว จึงได เตรยี มตวั กอ นตาย อกศุ ลกรรมทเี่ หลอื ทงั้ หมดเปน อนั ยกเลกิ ไป โดยปรยิ าย คนทสี่ องทเี่ ตรยี มตวั กอ นตายคอื โสเภณแี หง แควน มคธ ซ่ึงมีคาตัวแพงมาก ใครที่ไดรวมประเวณีกับสิริมา ตองจาย คาตัวใหนางถงึ ครง้ั ละ ๑,๐๐๐ กหาปณะ เมอ่ื เปรียบเทยี บเปน เงินบาทก็มิใชนอย วันหนึ่งสิริมาไดไปฟงธรรมจากพระโอษฐ ๓๗ดร. สนอง วรอุไร

จนเกิดความศรัทธาในธรรมท่ีพระพุทธองคตรัสสอน จึงไดใช จิตพิจารณาธรรมโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) จนจิตบรรลุ ความเปนพระโสดาบันขณะยังอยูในเพศของฆราวาส เมื่อจิต บรรลุธรรมที่ทำใหเปนอริยบุคคลข้ันตนแลว นางไดเลิกอาชีพ การเปนโสเภณีอยางเด็ดขาด แลว หันมาบำเพญ็ ทาน รกั ษาศลี เจริญจิตตภาวนา ตอมานางไดทิ้งขันธลาโลกไปเกิดเปนสิริมา เทพนารีโสดาบัน อยูในสวรรคช้ันปรนิมมิตวสวตี น่ีแสดงวา สริ มิ าไดป ด อบายภมู ไิ ด ตายเกดิ อกี ไมเ กนิ เจด็ ชาตกิ เ็ ขา สนู พิ พาน และในเจ็ดชาตินั้นนางจะไมลงไปเกิดเปนสัตวในอบายภูมิ อีก นี่เปนการเตรียมตัวกอนตายท่ีผูมีอาชีพเปนมิจฉาอาชีวะ ควรตระหนักและเตรียมตวั กอนทีจ่ ะทง้ิ ขันธล าโลกนไี้ ป ตัวอยางสุดทายท่ีอยากจะบอกกลาวพระคุณเจาก็คือ ตวั อยา งของพระสารบี ตุ ร ผเู ปน อคั รสาวกของพระพทุ ธเจา ฝา ย ปญ ญา หลงั จากบวชแลว ไมน าน (๑๕ วนั ) กบ็ รรลอุ รหตั ตผลและ ดำเนนิ ปฏปิ ทาชว ยพระพทุ ธเจา เผยแผธ รรม และเขา สนู พิ พาน ในปท่ีพระพุทธเจาทรงมพี ระชนมายุได ๗๙ พรรษา เชาวันหน่ึงขณะท่ีพระสารีบุตรพัฒนาจิตเขาสูความ ทรงฌาน หลังจากที่จิตออกจากความทรงฌานแลว จึงรูวา ๓๘ เตรียมตวั กอนตาย

อีกเจ็ดวันตัวเองจะตองดับรูปดับนามเขาสูนิพพาน จึงจัดการ เก็บกวาดกุฏิใหเรียบรอยแลวจึงไปบอกบริวารใหทราบ หลัง จากน้ันจึงไดมาลาพระพุทธเจาเพ่ือเขาสูนิพพาน พระพุทธเจา ไดตรัสถามวา พระพทุ ธเจา : สารบี ุตรแลว เธอจะไปนพิ พานที่ไหน พระสารีบุตร : กระผมจะกลับไปนิพพานที่บานเกิดของ กระผมที่เมืองนาลันทา แควนมคธ พระพุทธเจาขา หลัง จากท่ีพระสารีบุตรตอบแลว พระพุทธเจาทรงทราบดวยพระ ญาณวาพระสารีบุตรนี้หวังจะกลับไปตอบแทนพระคุณของ แม กอ นที่จะดบั รปู ดบั นามเขานิพพาน พระพุทธเจาจงึ ตรสั วา “จงรเู วลาเถดิ ทา นสารบี ตุ ร” (กาลํ ชานาหิ สารีบตุ ร) เหตุที่พระสารีบุตรกลับไปนิพพานท่ีบานเกิด คือ อปุ ตสิ สคาม เมอื งนาลนั ทา เพราะนางสารผี ูเปน แม มลี กู ชาย เปนพระอรหันตห ลายองค แตนางสารียังมมี จิ ฉาทฏิ ฐิ มคี วาม ศรัทธาเคารพบูชาทาวมหาพรหมอยางมาก ผมขออนุญาต บอกพระคุณเจาวา ผูใดยังมีความศรัทธาเคารพเลื่อมใสบูชา เทวดารวมถึงพรหมแลว ยอมปฏิบัติธรรมไมกาวหนา ปฏิบัติ ๓๙ดร. สนอง วรอไุ ร

ธรรมแลว ไมส ามารถนำจติ เขา ถงึ ธรรม ตรงกนั ขา ม ผใู ดศรทั ธา เคารพบูชาในคณุ ของพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ แลว ยังมีโอกาสปฏิบัติธรรมใหเขาถึงธรรมได หากเอาศีลที่บริสุทธิ์ ลงคมุ ใหถ ึงใจ พระสารีบุตรหลังจากทูลลาพระพุทธเจาแลวไดออก เดินทางพรอมบริวารจากวัดเชตวันเมืองสาวัตถี ตองใชเวลา เดินทางดวยเทาอยูนาน ๗ วัน จึงถึงหมูบานอุปติสสคาม เมืองนาลนั ทา แควน มคธในหวงเวลาเยน็ ๆ ขณะน่ังพกั เหนอ่ื ย อยูใ ตต น ไทรใกลท างเขา บา น พระสารีบุตรไดพบกบั หลานชาย ที่ช่ือวาอุปเรวตะ จึงไดแจงความจำนงท่ีจะพักท่ีบานกับโยม มารดาใหหลานชายทราบ พอนางสารีโยมมารดาทราบวา พระสารีบุตรจะมาขอพกั ท่ีหอ งท่ตี นเกดิ นางสารจี งึ นึกเอาเอง วาลูกสารีบุตรจะลาสิกขา มาเปนฆราวาสก็ดีใจจัดหองหับให เรียบรอย แลวพระสารีบุตรจึงเขาพักใหหองที่ตนเกิด ตกดึก ในคืนวันน้ัน เกิดอาการทองรวง ถายออกมาเปนเลือดอยาง ปจจุบันทันดวน พระจุนทะ (นองชาย) และพระบริวาร ไป ทำการพยาบาลอยางใกลชิด พออาการทุเลาลงเทวดาองค สำคัญๆ ตางลงมาเยี่ยมอาการอาพาธของพระสารีบุตรตาม ๔๐ เตรยี มตวั กอนตาย

ลำดับ อันไดแก ทาวจตุโลกบาลท้ังสี่ ทาวสักกเทวราช ทาว สุยามา ทาวสันดุสิต ทาวสุนิมมิตตะ ทาวปรนิมมิตวสวัตตี และทาวมหาพรหมเปนองคทายสุด หลังจากท่ีเทวดาจำแลง กลับไปหมดแลว นางสารีไดยองเขาไปหาลูก และถามถึง บุคคลตางๆ ที่มาเยี่ยมไขลูก แตละคนที่มามีแสงสวางรอบ กายนั่นเปนใครกันละลูก พระสารีบุตรตางบอกสถานะของ แตละคนใหนางสารีทราบ ซ่ึงรวมถึงคนสุดทายที่มีแสงรอบ กายสวางที่สดุ คือ ทา วมหาพรหมท่ีแมก ราบไหวบูชาอยทู ุกวนั น่ันแหละ นางสารีถึงกับอุทานออกมาวา ลูกแมใหญถึงขนาด ทาวมหาพรหมตองมาเยี่ยมเชียวหรือ พระสารีบุตรตอบโยม แมวา ใชจ ะ นางสารีจงึ เกดิ ศรัทธาพระลูกชายอยา งมาก ถึง กับบอกวาลูกทำไดอ ยา งไร สอนแมบางสิ โยมมารดาฟง ธรรม จากพระสารีบุตรแลว เกิดความเลื่อมใสย่ิงนัก และเม่ือพระ ธรรมเทศนาจบลง จิตของนางสารไี ดบ รรลโุ สดาปตติผล พระ สารบี ตุ รไดต อบแทนพระคณุ ของแมอ ยา งดที ส่ี ดุ เปน การเตรยี ม ตัวตายใหนางสารี ไมตองนำพาชีวิตระหกระเหิน เวียนตาย เวียนเกิดอยูในวัฏสงสารอีกตอไปดวยเหตุแหงความเห็นผิด ของนาง ๔๑ดร. สนอง วรอไุ ร

ในคร้ังพุทธกาล ยังมีภิกษุรูปหน่ึงที่มากไปดวยมิจฉา ทิฏฐิ ภิกษุรูปนั้นชื่อฉันนภิกษุ ซ่ึงอดีตคือคนเลี้ยงมาของเจา ชายสิทธัตถะ ดวยความมักคุนกับเจาชายสิทธัตถะ สมัยที่ ยังเปนเด็กตัวเล็กๆ และตอมาไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาท่ีมี บริวารแวดลอมรอบดาน ทำใหฉันนภิกษุมีอัตตาเต็มที่ ได กลาว วาจา เสียดสี พระอัคร สาวก ทั้ง สอง และ ภิกษุ อาวุโส อื่นอยูเปนประจำ ทั้งน้ีเปนดวยเหตุท่ีฉันนะไดตามเสด็จเจา ชายสิทธัตถะออกมหาภิเนษกรมณ ซึ่งตอมาไดตรัสรูเปน พระพุทธเจา จึงทำใหฉันนะเกิดความเห็นผิดวา ตัวเองสำคัญ กวาผูอ่ืนเพราะทำใหเจาชายสิทธัตถะไดตรัสรูฯ แมจะไดรับ ฟงโอวาทจากพระโอษฐแลว ฉันนภิกษุก็ยังไมสามารถเปลี่ยน พฤติกรรมของตัวเองได พระศาสดาจึงไดตรัสกับภิกษุท้ัง หลายวา “ขณะเรายงั มีชวี ิตอยู พวกเธอไมอ าจทำใหฉ นั นภิกษุ เปลยี่ นพฤตกิ รรมได ตอ เมอ่ื เรานพิ พานแลว นน่ั แหละ ฉนั นภกิ ษุ จึงจักกลับมาเปนผูมีความเห็นถูก” และในวันสุดทายกอนที่ พระพุทธเจาจะเสด็จดับขนั ธปรนิ ิพพาน พระพทุ ธเจาไดม ีรบั สัง่ ใหพระอานนทเขาเฝา และตรัสบอกโอวาทคร้ังสุดทายอยู ๕ เรื่อง ซึ่งหน่ึงในหาเรอ่ื งนน้ั คอื ๔๒ เตรียมตวั กอ นตาย

พระพทุ ธเจา : หลังจากทต่ี ถาคตลวงลับไปแลว ใหสงฆลง พรหมทัณฑแ กฉันนภิกษุ พระอานนท : พรหมทัณฑนัน้ คอื อะไรตถาคต พระพทุ ธเจา : พรหมทัณฑนั้นหมายถึง ฉันนภิกษุพึงพูด ไดตามปรารถนา ภิกษุท้ังหลายไมพึงวากลาว ไมพึงส่ังสอน (ไมพดู ดวย) หลงั จากไดฟ ง พระโอวาทเปน ครง้ั สดุ ทา ยแลว พระพทุ ธเจา ไดเ สดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ พิ พาน กาลเวลาผา นไปได ๓ เดอื น ไดม ปี ฐม สังคายนาพุทธศาสนาข้ึนในถ้ำสัตตบรรณคูหา ภูเขาเวภาร บรรพต เมืองราชคฤห แควน มคธ โดยมีพระอรหนั ตอ ภญิ ญา ๖ พรอ มปฏสิ มั ภิทาญาณ ๔ เขา รว มสงั คายนาถงึ ๕๐๐ รปู มพี ระ มหากสั สปะเปน ประธาน มพี ระเจา อชาตศตั รู เปน ศาสนปู ถมั ภก ใชเวลาปฐมสงั คายนา นานถงึ ๗ เดอื นจึงแลว เสร็จ หลังจากนั้นพระอานนทไดแจงแกหมูสงฆที่เขารวม ปฐมสังคายนาวา “กอนท่ีตถาคตจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน ไดส่ังกับขาพเจาไววา ใหสงฆลงพรหมทัณฑแกฉันนภิกษุ” คณะสงฆที่ไดฟงพระอานนทพูดเร่ืองพรหมทัณฑก็ไมเขาใจ จึง ถามพระอานนทวา “พรหมทัณฑนนั้ เปน อยา งไร ทานอานนท” ๔๓ดร. สนอง วรอุไร

พระอานนทตอบวา “พรหมทัณฑน้ันหมายถึง ไมวากลาว ไมตักเตือน ไมพร่ำสอนและไมคบหาสมาคมดวย” พอหมูสงฆ ท่ีมารวมกระทำปฐมสังคายนาเขาใจเรื่องพรหมทัณฑแลวจึง ไดกลาวกับพระอานนทวา “ดีละทานอานนท ทานน่ันแหละ เหมาะทส่ี ดุ จงเอาสงฆห มหู นง่ึ ลงเรอื ไปยงั โกสมั พี เพอ่ื ลงพรหม ทณั ฑแ กฉันนภิกษุ” ขณะน้ันฉันนภิกษุพักอาศัยอยูท่ีวัดโฆสิตาราม กรุง โกสัมพี พระอานนทตองเอาสงฆหมูหน่ึงลงเรือแลนทวน กระแสน้ำแมคงคา จากแควนมคธกรุงราชคฤห ทวนน้ำข้ึน ไปเร่ือยๆ จนผานเมืองพาราณสีขึ้นไปเรื่อยๆ จนถึงแมน้ำ ยมุนาทางดานซายมือไหลมาบรรจบกับแมน้ำคงคาทางดาน ขวามือ เรือแลนทวนกระแสแมน้ำยมุนาไปจนถึงวัดโฆสิตา ราม พระฉันนภิกษุผูยังมีสภาวธรรมในดวงจิตเปนปุถุชน ได เขามากราบพระอานนท เมื่อแลวเสร็จพระอานนทไดพูดข้ึนวา “ทานฉันนะ บัดนี้สงฆไดลงพรหมทัณฑแกทานแลว” พระฉัน นะไดยินคำวา “พรหมทณั ฑ” ก็ไมอาจเขาใจได จงึ ไดถามพระ อานนทว า “พรหมทณั ฑน้ันเปนอยา งไรทา นอานนท” เมอ่ื ไดยนิ ไดฟ งถึงคำเฉลยเรือ่ งพรหมทณั ฑแลว ๔๔ เตรียมตวั กอนตาย

ฉันนภิกษุจึงไดอุทานออกมาวา “โอ..บัดนี้สงฆ ไดต ดั ขาดขา พเจา ออกจากหมแู ลว ใชไ หม” กลา วไดเ พยี งเทา นนั้ ฉันนภิกษุถึงกับหมดสติ เปนลมลมพับไป พอฉันนภิกษุฟน ตนื่ ขน้ึ มากไ็ มเ หน็ มภี กิ ษรุ ปู ใดอยใู หเ หน็ อกี เลย ตนเองเกดิ สำนกึ ผดิ จงึ ไดย อ นกลบั มาดพู ฤตกิ รรมของตวั เอง แลว เหน็ วา หากเรา ยังทำตวั ดื้อร้นั อยอู ยา งนี้ ยังกลา ววาจาเสยี ดสีผทู รงคณุ ธรรม สูงอยูอยางน้ี ชีวิตน้ีสงฆไมใหเราเขาหมูดวย ตายแลวยังตอง ไปเสวยผลกรรมไมด อี ยใู นนรก ฉันนภิกษุจึงไดปรับปรุงตัวเองใหมาอยูในฝายที่เปน สัมมาทิฏฐิ และเตรียมตัวกอนตาย ดวยการลงเรือจากวัด โฆสิตารามลองตามแมน้ำยมุนา จนมาบรรจบกับแมน้ำคงคา จนถึงเมืองพาราณสีและไดไปยังปาอิสิปตนมฤคทายวัน เพื่อ ไปกราบพระมหาเถระและใหสอนธรรมให ฉันนภิกษุไดนำเอา ธรรมท่ีพระมหาเถระสอน ไปประพฤติปฏิบัติก็ยังไมสามารถ บรรลุธรรมได จึงไดกลับไปหาพระอานนทท่ีวัดโฆสิตาราม อีก แลวกลาววา “ทานอานนท โปรดเมตตาสอนธรรม ใหขาพเจาบาง” พระอานนทจึงไดสอนอนัตตลักขณสูตร ซ่ึง เปนสูตรท่ีแสดงถึงเบญจขันธวาเปนของท่ีไมใชตัวไมใชตน ๔๕ดร. สนอง วรอไุ ร

(อนัตตา) คนท่ัวไปมองไมเห็นความเปนอนัตตาของขันธ ๕ ก็ เพราะยังมีความไมรูจริง (อวิชชา) เปนตนเหตุดังท่ีไดกลาวไว ในปฏจิ จสมุปบาทวา - เพราะอวิชชาเปน ปจจัย สังขารจงึ มี - เพราะสงั ขารเปนปจจยั วญิ ญาณจึงมี - เพราะวญิ ญาณเปนปจ จยั นามรปู จึงมี - เพราะนามรปู เปนปจจัย สฬายตนะจงึ มี - เพราะสฬายตนะเปนปจ จยั ผัสสะจงึ มี - เพราะผสั สะเปน ปจ จยั เวทนาจึงมี - เพราะเวทนาเปน ปจจยั ตณั หาจงึ มี - เพราะตณั หาเปนปจ จยั อุปาทานจึงมี - เพราะอุปาทานเปนปจจัย ภพจงึ มี - เพราะภพเปนปจ จยั ชาตจิ ึงมี - เพราะชาตเิ ปน ปจ จยั ชรามรณะจงึ มี ความโศก ความ คร่ำครวญ ทุกข โทมนัส และความคับแคนใจก็มพี รอ ม ตน เหตขุ องการเกดิ สงิ่ ตา งๆ เหลา นตี้ ามมากเ็ นอ่ื งดว ย บคุ คลมคี วามรไู มจ รงิ นน่ั เอง ฉนั นภกิ ษไุ ดน ำเอาปฏจิ จสมปุ บาท ไปประพฤตปิ ฏิบัติ อีกไมน านก็บงั เกิดดวงตาเห็นธรรม คอื เห็น ๔๖ เตรยี มตวั กอนตาย

สรรพสงิ่ เกดิ ขน้ึ แลว ดบั ไปเปน ธรรมดา การมดี วงตาเหน็ ธรรมมี ไดห ลายระดับ ตวั อยางอปุ ตสิ สะไดฟ งทานอสั สชพิ ดู วา “ตถาคตตรัสวา สรรพส่ิงเกิดขึ้น ยอมมีเหตุท่ีทำให เกดิ ตถาคตตรสั เหตุแหงธรรมน้ัน และตรัสถึงความดับไวดว ย ตถาคตมปี รกตติ รัสดังน้ี” อุปติสสะไดพิจารณาสิ่งท่ีพระอัสสชิพูดอยางแยบคาย (โยนิโสมนกิ าร) จนจิตบรรลดุ วงตาเห็นธรรมเปน พระโสดาบนั ในขณะทยี่ งั เปนฆราวาส ในอกี คราวหนง่ึ ขณะทพี่ ระพทุ ธเจา กำลงั เดนิ บณิ ฑบาต อยบู นถนนในเมอื งสาวตั ถี พาหยิ ะกระหายทจ่ี ะพบพระพทุ ธเจา เพ่ือขอฟงธรรมจากพระโอษฐ เพราะดวยเหตุที่ไดยินขาววา พระพุทธเจา ไดอ ุบตั ิขึน้ แลวบนโลกมนษุ ย จงึ ไดร ีบเดนิ ทางจาก อปรันตชนบท มายังเมืองสาวัตถีและไดพบพระพุทธเจากำลัง เดนิ บณิ ฑบาตอยบู นถนน จงึ ไดเ ขา ไปกราบแลว ทลู ขอใหพ ระองค แสดงธรรมใหฟง พระพุทธองคไดพิจารณาแลวเห็นวาปติของ พาหยิ ะยงั เปย มลน จติ ใจอยู จงึ ยงั ไมส อนธรรมและยงั ไดต รสั วา “พาหยิ ะรไู หมวา ตถาคตกำลงั ทำอะไรอย”ู เหตทุ พี่ ระพทุ ธเจา รชู อ่ื พาหยิ ะ และรวู า จติ ของพาหยิ ะ ยงั มปี ต เิ ปย มลน อยกู เ็ พราะ พระองคมเี จโตปรยิ ญาณหย่ังรูว าระจติ ของผูอื่นไดนนั่ เอง ๔๗ดร. สนอง วรอุไร

แบบอยา ง ผเู ตรียมตวั ตาย

เมื่อพระพุทธองคปฏิเสธท่ีจะไมแสดงธรรม พาหิยะไมทราบวาจะทำอยางไรตอไป จึงไดทูลขอ ใหพระองคแ สดงธรรมโปรดเปน ครัง้ ท่ีสอง พระพุทธองค ทรงเงียบไมตรัสสิ่งใดออกมา แตใชเจโตปริยญาณดูที่ใจ ของพาหิยะและทรงทราบวาปติที่มีอยูในใจของพาหิยะ ลดตำ่ ลง ซ่ึงเปรียบเหมอื นนำ้ ชาพรองถวย พาหิยะไดทูลขอใหพระองคแสดงธรรมโปรด เปนครั้งที่สาม พระพุทธเจาผูทรงมีพระมหากรุณาจึงได ตรัสออกมาวา “พาหิยะ เม่ือเห็นสักแตวาเห็น เม่ือ ไดย นิ สกั แตว า ไดย นิ เมอ่ื ทราบสกั แตว า ทราบ เมอื่ รสู กึ สกั แตว ารูสึก”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook