Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม

ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม

Published by 200bookchonlibrary, 2021-02-11 08:43:28

Description: ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม

Search

Read the Text Version

ขนั ธะวิมุตสิ ะมงั คีธรรม หลวงปมู่ ั่น ภูรทิ ัตโต

ขนั ธะวิมตุ สิ ะมังคธี รรม หลวงป่มู ั่น ภูรทิ ตั โต

ขนั ธะวมิ ตุ สิ ะมังคธี รรม หลวงปู่ม่นั ภูรทิ ัตโต ชหนมังสรือมดกีลลั�ำดยบั าทณ่ี ๙ธ๘รรม Pdf file Book พิมพ์ครง้ั ท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๖๓ จ�ำนวนพิมพ์ ๕,๐๐๐ เลม่ จดั พิมพ์โดย ชมรมกัลยาณธรรม  ๑๐๐ ถนนประโคนชยั  ตำ� บลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จงั หวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔ ภาพประกอบในเล่ม  เซมเบ้ ออกแบบปก/รูปเลม่  คนขา้ งหลัง  พิสจู น์อักษร ทมี งานกัลยาณธรรม แยกสี canna graphic โทร. ๐๘-๖๓๑๔-๓๖๕๑ พิมพท์ ่ี บริษัทขมุ ทองอตุ สาหกรรมและการพิมพ์ จำ� กดั โทร. ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๑-๓ www.kanlayanatam.com Line official : kanlayanatam kanlayanatam2 สพั พทานงั  ธัมมทานัง ชินาต ิ การใหธ้ รรมะเปน็ ทาน ย่อมชนะการใหท้ ้ังปวง

คํ า น ํ า ช ม ร ม กั ล ย า ณ ธ ร ร ม ถ้าได้มีโอกาสศึกษาชีวประวัติของพระเถรานุเถระ บูรพาจารย์ 3 มาแลว้ ในจำ� นวนมาก เราจะเหน็ ไดป้ ระการหนง่ึ วา่  พระอรยิ สาวกทง้ั หลาย ดังกล่าวมาน้ี เต็มไปด้วยภูมิธรรม ภูมิปัญญา งดงามด้วยศีลาจริยาวัตร คู่ควรแก่ความเลื่อมใสศรัทธาเหนือเกล้าเหนือเศียรแก่สาธุชนท้ังหลาย เปน็ อย่างยิ่ง เราจะเห็นว่า พระอริยสงฆ์ บูรพคณาจารย์ ท่ีเราน้อมศรัทธา ท้ังหลายน้ัน หลายท่านมีพ่อแม่ครูบาอาจารย์ที่อบรมธรรมให้พวกท่าน ท้ังหลาย ชื่อของท่านพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตตเถระ นับเป็นพระอาจารย์ สุดยอดพระกมั มัฎฐาน ท่ีมลี ูกศษิ ยล์ กู หาท่วั ประเทศ ท่านเป็นต้นแบบ เป็นยอดของพระอริยสงฆ์ในสายวิปัสสนา ท่ี พวกเราควรศึกษาเป็นแบบอย่างในแนวทางปฏิปทาอันสละชีวิตอุทิศเพื่อ พระธรรมเป็นอย่างย่ิง การบ�ำเพ็ญเพียรธรรมของท่านถือเป็นแบบอย่าง อันอุกฤษฏ์และมุ่งม่ัน ท่านสามารถหยั่งรู้ถึงกรรมและหย่ังรู้ถึงจิตใจ

ขั น ธ ะ ว ิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม ของเหล่าสรรพสัตว์น้อยใหญ่อย่างลึกซ้ึง ตลอดจนสามารถพูดคุยกับ สิงสาราสัตว์ต่างๆ เป็นท่ีเข้าใจได ้ ธรรมะหรือบทธรรมท่ีออกมาจากปาก ของทา่ น ชา่ งจบั จติ จับใจของสาธุชนเป็นอยา่ งยิง่ ทา่ นคอื  พระอรยิ สงฆท์ ย่ี ง่ิ ใหญท่ ส่ี ดุ ในยคุ สมยั หนง่ึ  ทยี่ ากจะหาใคร เทียบเทียมได้ ท่านคือ เอกองค์บูรพาจารย์ ผู้มุ่งการบ�ำเพ็ญเพียรภาวนา ธรรม ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า 4 วนั ท ่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๖๓ เปน็ วนั ครบรอบ ๑๕๐ ปแี หง่ ชาตกาล ของ “หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต” ซ่ึงได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโก ให้เป็น “บุคคลส�ำคัญของโลก สาขาสันติภาพ” ในช่วงปลายปี ๒๕๖๒ ทผี่ า่ นมา ชมรมกลั ยาณธรรมจงึ ขออนญุ าตจดั พมิ พ์ หนงั สอื  “ขนั ธะวมิ ตุ -ิ สะมงั คธี รรม” เลม่ นอี้ กี ครง้ั  เพอ่ื แจกเปน็ ธรรมทาน นอ้ มถวายอาจรยิ บชู า แด่องคบ์ ูรพาจารย ์ ด้วยความเคารพศรทั ธาเหนอื เศียรเกลา้  หวงั อานสิ งส์ ในธรรมทานนี้ จักได้เก้ือกูลเหล่าสรรพสัตว์ผู้แสวงหาหนทางพ้นทุกข์ ใหพ้ บแสงสว่างแหง่ ปัญญา ตามรอยพระพทุ ธองค์และพระอรยิ สงฆส์ าวก ทง้ั หลายทัว่ กนั เทอญ ชมรมกลั ยาณธรรม

ส า ร บั ญ ขนั ธะวิมตุ สิ ะมงั คธี รรม ๗ ทาน ศลี ภาวนา ๒๕ คนดมี ีศลี ธรรม ๓๙ สัตว์โลกยอ่ มเป็นไปตามกรรม ๔๗ อานสิ งสข์ องการรักษาศีล ๕ ๕๕ วิธปี ฏบิ ัติของผู้เล่าเรียนมาก ๖๑ คตธิ รรมค�ำสอน ๖๕



ห ล ว ง ป ู่ ม่ั น  ภู ริ ท ั ต โ ต ขนั ธะวิมตุ สิ ะมังคีธรรมะ นมตฺถุ  สุคตสฺส  ปญฺจ  ธมฺมขนฺธานิ  ข้าพเจ้าขอนอบน้อม 7 ซึ่งพระสุคต  บรมศาสดาศากยมุนี  สัมมาสัมพุทธเจ้า แลพระ นวโลกตุ ตรธรรม ๙ ประการ และอรยิ สงฆส์ าวกของพระพทุ ธเจา้ นน้ั บัดน้ี ข้าพเจ้าจักกล่าวซ่ึงธรรมขันธ์  โดยสังเขป ตามสติ ปญั ญาฯ ยังมีท่านคนหนึ่งรักตัวคิดกลัวทุกข์  อยากได้สุขพ้นภัย เทยี่ วผายผนั   เขาบอกวา่ สขุ มที ไี่ หนอยากไปครนั  แตเ่ ทยี่ วหมน่ั ไปมา

ขั น ธ ะ วิ มุ ต ิ ส ะ ม ั ง ค ี ธ ร ร ม อยู่ช้านาน  นิสัยท่านนั้นรักตัวกลัวตายมาก  อยากจะพ้นแท้ๆ เร่ืองแก่ตาย  วันหนึ่งท่านรู้จริงซึ่งสมุทัยพวกสังขาร  ท่านก็ปะ ถ�้ำสนกุ สขุ ไม่หาย  เปรยี บเหมอื นดังกายนีเ้ องฯ ชะโงกดูถ้�ำสนกุ ทกุ ขค์ ลาย  แสนสบายรู้ตวั เรอื่ งกลวั นนั้ เบา ด�ำเนินไปเมินมาอยู่หน้าเขา  จะกลับไปป่าวร้องซึ่งพวกพ้องเล่า 8 ก็กลัวเขาเหมาว่าเป็นบ้าบอ  สู้อยู่ผู้เดียวหาเร่ืองเคร่ืองสงบ เปน็ อนั จบเร่ืองคดิ ไม่ติดตอ่   ดกี ว่าเทีย่ วรมุ่ ร่ามท�ำสอพลอ  เดย๋ี ว ถูกยอถูกตเิ ปน็ เรอื่ งเครื่องรำ� คาญฯ ยงั มบี รุ ษุ คนหนงึ่   คดิ กลวั ตายนำ�้ ใจฝอ่   มาหาแลว้ พดู ตรงๆ น่าสงสาร  ถามว่าท่านพากเพียรมาก็ช้านาน  เห็นธรรมที่แท้จริง แล้วหรือยังที่ใจหวัง  เอ๊ะ! ท�ำไมจึงรู้ใจฉัน  บุรุษผู้น้ันก็อยาก อยู่อาศัย  ท่านว่าดีดี ฉันอนุโมทนา  จะพาดูเขาใหญ่ถ�้ำสนุก

ห ล ว ง ปู ่ ม่ั น  ภ ู ร ิ ท ั ต โ ต ทกุ ขไ์ มม่  ี  คอื กายคตาสตภิ าวนา  ชมเลน่ ใหเ้ ยน็ ใจหายเดอื ดรอ้ น หนทางจรอริยวงศ์  จะไปหรือไม่ไปฉันไม่เกณฑ์  ไม่หลอกเล่น บอกความใหต้ ามจรงิ แลว้ กล่าวปรศิ นาท้าใหต้ อบ 9 ปริศนานัน้ วา่  ระวิ่ง คอื  อะไร ตอบวา่  วง่ิ เรว็  คอื วญิ ญาณอาการใจ  เดนิ เปน็ แถวตามแนว กนั  สญั ญาตรงไมส่ งสยั   ใจอยใู่ นวง่ิ ไปมา สญั ญาเหนยี วภายนอก หลอกลวงจติ   ทำ� ใหค้ ดิ วนุ่ วายเทย่ี วสา่ ยหา  หลอกเปน็ ธรรมตา่ งๆ อยา่ งมายา ถามว่า ขันธห์ ้า ใครพ้นจนทง้ั ปวง แกว้ า่  ใจซพิ น้ อยคู่ นเดยี ว  ไมเ่ กาะเกย่ี วพวั พนั ตดิ สน้ิ พษิ หวง หมดทห่ี ลงอยูเ่ ดียวดวง  สัญญาลวงไมไ่ ดห้ มายหลงตามไป

ข ั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ ม ั ง คี ธ ร ร ม ถามว่า ที่วา่ ตาย ใครเขาตาย ท่ไี หนกัน แก้ว่า สังขารเขาตาย ท�ำลายผล ถามว่า ส่ิงใดกอ่ ใหต้ ่อวน แก้ว่า กลสัญญาพาให้เวียน  เช่ือสัญญาจึงผิดคิดยินดี ออกจากภพนไ้ี ปภพนน้ั เทย่ี วหนั เหยี น  เลยลมื จติ จำ� ปดิ สนทิ เนยี น 10 ถึงจะเพียรหาธรรมก็ไม่เห็น ถามวา่  ใครกำ� หนดใครหมายเป็นธรรม แกว้ า่  ใจกำ� หนดใจหมาย  เรอื่ งหาเจา้ สญั ญานน้ั เอง  คอื วา่ ดีวา่ ชวั่  ผลกั  ตดิ  รัก ชัง ถามว่า กินหนเดียวไม่เที่ยวกนิ แก้ว่า สิ้นอยากดูไม่รู้หวัง  ในเรื่องเห็นต่อไปหายรุงรัง ใจกน็ ั่งแท่นน่งิ ทิ้งอาลยั

ห ล ว ง ปู่ มั ่ น  ภู ร ิ ท ั ต โ ต ถามวา่  สระส่ีเหลีย่ มเป่ยี มดว้ ยน้ำ� 11 แกว้ า่  ธรรมสนิ้ อยากจากสงสยั   ใสสะอาดหมดราคไี มม่ ภี ยั สัญญาในน้ันพราก สังขารขันธ์น้ันไม่กวน  ใจจึงเปี่ยมเต็มที่ไม่มี พรอ่ ง  เงยี บระงบั ดวงจติ ไมค่ ดิ ครวญ  เปน็ ของควรชมชน่ื ทกุ คนื วนั แม้ได้สมบัติทิพย์สักสิบแสน  หาแม้นเหมือนรู้จริงท้ิงสังขาร หมดความอยากเป็นยิ่งสิ่งส�ำคัญ  จ�ำอยู่ส่วนจ�ำ ไม่ก้�ำเกิน ใจ ไมเ่ พลนิ ท้ังส้นิ หายด้ินรน เหมือนดังเอากระจกส่องเงาหน้า  แล้วอย่าคิดติดสัญญา เพราะสญั ญานนั้ เหมอื นดงั เงา  อยา่ ไดเ้ มาไปตามเรอ่ื งเครอื่ งสงั ขาร ใจขยับจับใจที่ไม่ปน  ไหวส่วนตนรู้แน่เพราะแปรไป  ใจไม่เที่ยง ของใจใช่ต้องว่า  รู้ขันธ์ห้าต่างชนิดเมื่อจิตไหว  แต่ก่อนน้ัน หลงสญั ญาวา่ เปน็ ใจ  สำ� คญั วา่ ในวา่ นอกจงึ หลอกลวง  คราวนใี้ จ เป็นใหญ่ไม่หมายพึ่ง  สัญญาหนึ่งสัญญาใดมิได้ห่วง  เกิดก็ตาม

ขั น ธ ะ ว ิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม ดับก็ตามสิ่งท้ังปวง  ไม่ต้องหวงไม่ต้องกันหมู่สัญญา  เปรียบ เหมือนข้ึนยอดเขาสูงแท้แลเห็นดิน  แลเห็นส้ินทุกตัวสัตว์... สงู ยงิ่ นกั แลเหน็ เรอื่ งของตนแตต่ น้ มา  เปน็ มรรคาทงั้ นน้ั เชน่ บนั ได ถามว่า น�ำ้ ข้ึนลงตรงสจั จงั นน้ั หรือ ตอบวา่  สงั ขารแปรแกไ้ มไ่ ด ้  ธรรมดากรรมแตง่ ไมแ่ กลง้ ใคร 12 ขืนผลักไสจับต้องก็หมองมัว  ช่ัวในจิต ไม่ต้องคิดขัดธรรมดา สภาวะสิ่งเป็นจริงดีช่ัว  ตามแต่เร่ืองของเร่ืองเปล้ืองแต่ตัว ไม่พัวพันสังขารเป็นการเย็น  รู้จักจริงต้องท้ิงสังขารที่ผันแปร เม่ือแลเห็น  เบื่อแล้วปล่อยได้คล่องไม่ต้องเกณฑ์  ธรรมก็เย็นใจ ระงบั รบั อาการ

ห ล ว ง ปู่ ม ั่ น  ภู ริ ทั ต โ ต ถามว่า หา้ หนา้ ที ่ มีครบกัน 13 ตอบว่า ขันธ์แบ่งแจกแยกห้าฐานเร่ืองสังขาร  ต่างกองรับ หน้าที่มีกิจการ  จะรับงานอ่ืนไม่ได้เต็มในตัว  แม้ลาภยศ สรรเสรญิ  เจรญิ สขุ  นนิ ทา ทกุ ข ์ เสอ่ื มยศ หมดลาภทว่ั  รวมลงตาม สภาพตามเปน็ จรงิ   ทง้ั แปดสงิ่ ใจไมห่ นั ไปพวั พนั   เพราะวา่ รปู ขนั ธ์ ก็ท�ำแก่ไข้มิได้เว้น  นามก็มิได้พักเหมือนจักรยนต์  เพราะรับผล ของกรรมทที่ ำ� มา  เรอื่ งดพี าเพลดิ เพลนิ เจรญิ ใจ  เรอื่ งชว่ั ขนุ่ วนุ่ จติ คิดไม่หยุด  เหมือนไฟจุดจิตหมองไม่ผ่องใส  นึกข้ึนเองทั้งรัก ทัง้ โกรธไปโทษใคร อยากไม่แก่ไม่ตายได้หรือคน  เป็นของพ้นวิสัยจะได้เชย เช่นไม่อยากให้จิตเท่ียวคิดรู้  อยากให้อยู่เป็นหน่ึงหวังพ่ึงเฉย จิตเป็นของผันแปรไม่แน่เลย  สัญญาเคยอยู่ได้บ้างเป็นคร้ังคราว ถ้ารู้เท่าธรรมดาท้ังห้าขันธ์  ใจน้ันก็ขาวสะอาดหมดมลทินสิ้น

ขั น ธ ะ วิ ม ุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม เรื่องราว  ถ้ารู้ได้อย่างน้ีจึงดีย่ิง  เพราะเห็นจริงถอนหลุดสุดวิถี ไม่ฝ่าฝืนธรรมดาตามเป็นจริง  จะจนจะมีตามเรื่องเคร่ืองนอกใน ดีหรือชั่วต้องดับเล่ือนลับไป  ยึดสิ่งใดไม่ได้ตามใจหมาย ใจไมเ่ ทย่ี ง ของใจไหววบิ วบั   สงั เกตจบั รไู้ ดส้ บายยง่ิ   เลก็ บงั ใหญ่ รู้ไม่ทันขันธ์บังธรรมมิดผิดท่ีน่ี มัวดูขันธ์ธรรมไม่เห็นเป็นธุลีไป สว่ นธรรมมีใหญ่กวา่ ขนั ธน์ น้ั ไมแ่ ล 14 ถามว่า มีไมม่  ี ไมม่ มี  ี น้คี ืออะไร ทนี ต้ี ดิ หมด คดิ แกไ้ มไ่ หว  เชญิ ชใ้ี หช้ ดั ทง้ั อรรถแปล  โปรด แก้เถิด ที่ว่าเกิดมีต่างๆ ท้ังเหตุผล  แล้วดับไม่มีชัดใช่สัตว์คน น้ีข้อต้นมีไม่มีอย่างนี้ตรง  ข้อปลายไม่มีมีนี้เป็นธรรม  ท่ีลึกล้�ำ ไตรภพจบประสงค ์  ไม่มีสงั ขาร มธี รรมทีม่ นั่ คง

ห ล ว ง ป่ ู ม ่ั น  ภู ร ิ ท ั ต โ ต น้ันแล องค์ธรรมเอก วิเวกจริง  ธรรมเป็นหน่ึงไม่แปรผัน 15 เลิศภพสงบยิ่ง  เป็นอารมณ์ของใจไม่ไหวติง  ระงับน่ิงเงียบสงัด ชดั กบั ใจ  ใจกส็ รา่ งจากเมาหายเรา่ รอ้ น  ความอยากถอนไดห้ มด ปลดสงสัย  เร่ืองพัวพันขันธ์ซาส้ินไป  เคร่ืองหมุนในไตรจักร ก็หักลง  ความอยากใหญ่ย่ิงก็ท้ิงหลุด ความรักหยุดหายสนิท สนิ้ พศิ วง  รอ้ นทง้ั ปวงก็หายหมดดงั ใจจง เชญิ โปรดช้ีอีกอยา่ งหนทางใจ  สมทุ ยั ของจิตที่ปดิ ธรรม แกว้ า่  สมทุ ัยกวา้ งใหญ่นกั   ยอ่ ลงกค็ ือความรกั บบี ใจอาลยั ขันธ์  ถ้าธรรมมีกับจิตเป็นนิจนิรันดร์  เป็นเลิกกันสมุทัยมิได้มี จงจ�ำไว้อย่างนี้วิถีจิต  ไม่ต้องคิดเวียนวนจนป่นปี้  ธรรมไม่มี อยูเ่ ป็นนติ ยต์ ดิ ยินดี  ใจตกทีส่ มุทัยอาลัยตวั

ขั น ธ ะ ว ิ ม ุ ต ิ ส ะ ม ั ง คี ธ ร ร ม ว่าอย่างย่อทุกข์กับธรรมประจ�ำจิต  เอาจนคิดรู้เห็นจริง จงึ เยน็ ทว่ั   จะสขุ ทกุ ขเ์ ทา่ ไรมไิ ดก้ ลวั   สรา่ งจากเครอ่ื งมวั คอื สมทุ ยั ไปที่ดี รู้เท่านี้ก็คลายหายความร้อน  พอพักผ่อนเสาะแสวงหา ทางหน ี  จติ รธู้ รรมลมื จติ ทตี่ ดิ ธลุ  ี  ใจรธู้ รรมทเ่ี ปน็ สขุ  ขนั ธท์ กุ ขแ์ ท้ แนป่ ระจำ�  ธรรมคงเปน็ ธรรม ขนั ธค์ งขนั ธเ์ ทา่ นน้ั แล  คำ� วา่ เยน็ สบาย หายเดือดร้อน  หมายจิตถอนจากผิดที่ติดแก้  ส่วนสังขารขันธ์ ปราศจากสุขเป็นทุกข์แท้  เพราะต้องแก่ไข้ตายไม่วายวัน 16 จิตรู้ธรรมที่ล้�ำเลิศจิตก็ถอน  จากผิดเคร่ืองเศร้าหมองของแสลง ผดิ เปน็ โทษของใจอยา่ งรา้ ยแรง  เหน็ ธรรมแจง้  ถอนผดิ หมดพษิ ใจ จิตเห็นธรรมดีล้นท่ีพ้นผิด  พบปะธรรมเปลื้องเครื่องกระสัน มีสติอยู่ในตัวไม่พัวพัน  เร่ืองรักขันธ์ขาดส้ินหายยินดี  ส้ินธุลีทั้ง ปวงหมดหว่ งใย  ถงึ จะคดิ กไ็ มห่ า้ มตามนสิ ยั  เมอ่ื ไมห่ า้ มกลบั ไมฟ่ งุ้ พ้นยุ่งไป  พึงรู้ได้บาปมีข้ึนเพราะขืนจริง ตอบว่า บาปเกิดได้ เพราะไม่รู้ถ้าปิดประตูเขลาได้สบายย่ิง  ชั่วทั้งปวงเงียบหาย ไม่ไหวตงิ   ขันธ์ทุกส่งิ ยอ่ มทุกขไ์ ม่สุขเลย



ขั น ธ ะ ว ิ มุ ต ิ ส ะ ม ั ง ค ี ธ ร ร ม แต่ก่อนข้าพเจ้ามืดเขลาเหมือนเข้าถ้�ำ  อยากเห็นธรรม ยึดใจจะให้เฉย  ยึดความจ�ำว่าเป็นใจหมายจนเคย  เลยเพลิน เชยชม “จ�ำ” ธรรมมานาน  ความจ�ำผิดปิดไว้ไม่ให้เห็น  จึงหลง เล่นขันธ์ห้าน่าสงสาร ให้ยกตัวอวดตนพ้นประมาณ เที่ยวระราน ตคิ นอนื่ เปน็ พนื้ ไป  ไมเ่ ปน็ ผล เทย่ี วดโู ทษคนอนื่ นนั้ ขนื่ ใจ  เหมอื น 18 ก่อไฟเผาตวั ตอ้ งมัวมอม ใครผดิ ถกู ดชี วั่ กต็ วั เขา  ใจของเราเพยี รระวงั ตงั้ ถนอม  อยา่ ให้อกุศลวนมาตอม  ควรถึงพร้อมบุญกุศลผลสบาย  เห็นคนอ่ืน เขาชั่วตัวก็ดี  เป็นราคียึดขันธ์ที่ม่ันหมาย  ยึดขันธ์ต้องร้อนแท้ เพราะแกต่ าย  เลยซำ้� รา้ ยกเิ ลสกลมุ้ เขา้ รมุ กวน  เตม็ ทงั้ รกั ทง้ั โกรธ โทษประจักษ์  ท้ังกลวั นกั หนักจิตคิดโหยหวน  ซ้ำ� อารมณ์กามห้า ก็มาชวน  ยกกระบวนทกุ อยา่ งตา่ งๆ ไป

ห ล ว ง ปู่ มั ่ น  ภ ู ริ ทั ต โ ต เพราะยึดขันธ์ท้ังห้าว่าของตน  จึงไม่พ้นทุกข์ภัยไปได้นา 19 ถ้ารู้โทษของตัวแล้วอย่าชาเฉย  ดูอาการสังขารท่ีไม่เที่ยงร�่ำไป ใหใ้ จเคย  คงไดเ้ ชยชมธรรมะอนั เอกวเิ วกจติ   ไมเ่ ทย่ี งนนั้ หมายใจ ไหวจากจำ�   เหน็ แลว้ ซำ้� ดๆู  อยทู่ ไ่ี หว  พออารมณน์ อกดบั ระงบั ไป หมดปรากฏธรรม  เห็นธรรมแล้วย่อมหายวุ่นวายจิต  จิตน้ัน ไม่ติดคู่จริงเท่านี้หมดประตู  รู้ไม่รู้อย่างน้ีวิถีใจ  รู้เท่าท่ีไม่เที่ยง จิตต้นพ้นริเริ่ม  คงจิตเดิมอย่างเท่ียงแท้  รู้ต้นจิตพ้นจากผิด ท้ังปวงไม่หว่ ง  ถา้ ออกไปปลายจิตผดิ ทนั ที คำ� ทว่ี า่ มดื นน้ั เพราะจติ คดิ หวงด ี  จติ หวงนปี้ ลายจติ คดิ ออก ไป  จิตต้นดีเมื่อธรรมะปรากฏหมดสงสัย  เห็นธรรมอันเลิศล�้ำ โลกา  เร่ืองคิดค้นวุ่นหามาแต่ก่อน  ก็เลิกถอนเปลื้องปลด ไดห้ มดสนิ้   ยงั มที กุ ขต์ อ้ งหลบั นอนกบั กนิ ไปตามเรอื่ ง  ใจเชอื่ งชดิ ต้นจิตคิดไม่ครวญ  ธรรมดาของจิตก็ต้องนึกคิด  พอรู้สึก

ขั น ธ ะ วิ ม ุ ต ิ ส ะ ม ั ง คี ธ ร ร ม จิตต้นพ้นโหยหวย  เงียบสงัดจากเร่ืองเครื่องรบกวน  ธรรมดา สงั ขารปรากฏหมดดว้ ยกัน  เส่อื มทง้ั นั้นคงทีไ่ มม่ ีเลย ระวังใจเม่ือจ�ำท�ำละเอียด  มักจะเบียดให้จิตไปติดเฉย ใจไม่เที่ยงของใจซ้�ำให้เคย  เม่ือถึงเอยหากรู้เองเพลงของใจ เหมือนดังมายาที่หลอกลวง  ท่านว่าวิปัสสนูปกิเลสจ�ำแลงเพศ 20 เหมือนดังจริงที่แท้ไม่จริง  รู้ขึ้นเองหมายนามว่าความเห็น ไม่ใช่เช่นฟังเข้าใจชั้นไต่ถาม  ท้ังตรึกตรองแยกแยะแกะรูปนาม ก็ใช่ความเห็นเองจงเล็งดู  รู้ขึ้นเองใช่เพลงคิด  รู้ต้นจิต จิตต้น พน้ โหยหวนตน้ จติ รตู้ วั แนว่ า่ สงั ขาร  เรอ่ื งแปรปรวนใชก่ ระบวนไป ดหู รือรู้อะไร รู้อยู่เพราะหมายคู่ก็ไม่ใช่  จิตคงรู้จิตเองเพราะเพลงไหว จติ รไู้ หวๆ กจ็ ติ ตดิ กนั ไป  แยกไมไ่ ดต้ ามจรงิ สง่ิ เดยี วกนั   จติ เปน็

ห ล ว ง ปู่ ม ่ั น  ภ ู ร ิ ท ั ต โ ต สองอาการเรยี กวา่ สญั ญาพาพวั พนั   ไมเ่ ทย่ี งนนั้ กต็ วั เองไปเลง็ ใคร 21 ใจรเู้ สอื่ มของตวั กพ็ น้ มวั มดื   ใจกจ็ ดื สน้ิ รสหมดสงสยั   ขาดคน้ ควา้ หาเรื่องเคร่ืองนอกใน  ความอาลัยท้ังปวงก็ร่วงโรย  ท้ังโกรธรัก เครื่องหนักใจก็ไปจาก  เรื่องใจอยากก็หยุดได้หายหวนโหย พน้ หนกั ใจทงั้ หลายโอดโอย  เหมอื นฝนโปรยใจ ใจเยน็ เหน็ ดว้ ยใจ ใจเย็นเพราะไม่ต้องเที่ยวมองคน  รู้จิตต้นปัจจุบันพ้นหวั่นไหว ดหี รอื ชวั่ ทง้ั ปวงไมห่ ว่ งใย  ตอ้ งดบั ไปทง้ั เรอ่ื งเครอื่ งรงุ รงั   อยเู่ งยี บๆ ตน้ จติ ไมค่ ดิ อา่ น  ตามแตก่ ารของจติ สน้ิ คดิ หวงั   ไมต่ อ้ งวนุ่ ตอ้ งวาย หายระวงั   นอนหรือนั่งนกึ พน้ อยู่ต้นจิต ทา่ นชมี้ รรคฟงั หลกั แหลม  ชา่ งตอ่ แตม้ กวา้ งขวางสวา่ งไสว ยงั อกี อยา่ งทางใจไมห่ ลดุ สมทุ ยั   ขอจงโปรดชใี้ หพ้ สิ ดารเปน็ การดี ตอบว่า สมุทัย คือ อาลัยรัก  เพลินยิ่งนักท�ำภพใหม่ ไม่หน่ายหนี  ว่าอย่างต�่ำกามคุณห้าเป็นราคี อย่างสูงชี้สมุทัย

ขั น ธ ะ วิ มุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม อาลัยฌาน  ถ้าจับตามวิถี  มีในจิตก็เรื่องคิดเพลินไปในสังขาร เพลินท้ังปวงเคยมาเสียช้านาน  กลับเป็นการดีไปให้เจริญ จิตไปในส่วนที่ผิด  ก็เลยแตกก่ิงก้านฟุ้งซ่านใหญ่  เที่ยวเพลินไป ในผดิ ไมค่ ดิ เขนิ  สง่ิ ใดชอบอารมณก์ ช็ มเพลนิ  เพลนิ จนเกนิ ลมื ตวั ไมก่ ลัวภัย 22 เพลินดูโทษคนอื่นด่ืนด้วยชั่ว  โทษของตัวไม่เห็นเป็นไฉน โทษคนอนื่ เขามากสกั เทา่ ไร  ไมท่ ำ� ใหเ้ ราตกนรกเลย  โทษของเรา เศรา้ หมองไมต่ อ้ งมาก  สง่ วบิ ากไปตกนรกแสนสาหสั   หมน่ั ดโู ทษ ตนไวใ้ ห้ใจเคย  เวน้ เสยี ซึง่ โทษนน้ั  คงไดเ้ ชยชมสุขพ้นทกุ ขภ์ ัย เมื่อเห็นโทษตนชัดรีบตัดทิ้ง  ท�ำอ้อยอ่ิงคิดมากจากไม่ได้ เรอื่ งอยากดไี มห่ ยดุ คอื ตวั สมทุ ยั   เปน็ โทษใหญก่ ลวั จะไมด่ นี กี้ แ็ รง ดีแลไม่ดีน้ีเป็นพิษของจิตนัก  เหมือนไข้หนักถูกต้องของแสลง ก�ำเริบโรคด้วยพิษผิดส�ำแลง  ธรรมไม่แจ้งเพราะอยากดีน้ีเป็น

ห ล ว ง ปู่ มั ่ น  ภ ู ริ ทั ต โ ต เดิม  ความอยากดีมีมากมักลากจิต  ให้เที่ยวคิดวุ่นไปจนใจเหิม สรรพช่ัวมัวหมองก็ต้องเติม  ผิดย่ิงเพ่ิมร�่ำไปไกลจากธรรม ที่จริงชี้สมุทัยนี้ใจฉันคร้าม ฟังเน้ือความไปข้างนุงทางยุ่งยิ่ง เมื่อชี้มรรคฟังใจไม่ไหวตงิ  ระงบั น่งิ ใจสงบจบกนั ทฯี อันนี้ชื่อว่า  ขันธวิมุติสะมังคีธรรม  ประจ�ำอยู่กับที่ไม่มี อาการไป  ไม่มีอาการมา  สภาวธรรมที่เป็นจริงสิ่งเดียวเท่าน้ี 23 และไม่มเี รื่องจะแวะเวยี น สิ้นเน้อื ความแตเ่ พยี งเทา่ น้ีฯ ผดิ หรือถูกจงใชป้ ญั ญาตรองดใู ห้รเู้ ถดิ ฯ พระภูรทิ ัตโตฯ (มัน่ ) วดั สระประทุมวนั  เปน็ ผ้แู ต่งฯ



ห ล ว ง ปู่ ม่ ั น  ภ ู ร ิ ท ั ต โ ต ทาน ศีล ภาวนา ทาน คอื  เครอ่ื งแสดงนำ้� ใจของมนษุ ยผ์ มู้ จี ติ ใจสงู  มเี มตตา 25 จิตต่อเพ่ือนมนุษย์และสัตว์ด้วยการให้  การเสียสละแบ่งปัน มาก น้อยตามก�ำลังของวัตถุเคร่ืองสงเคราะห์ท่ีมีอยู่ จะเป็นวัตถุทาน ธรรมทานหรอื วทิ ยาทาน เพอ่ื สงเคราะหผ์ อู้ นื่ โดยไมห่ วงั สงิ่ ตอบแทน ใดๆ นอกจากกศุ ล คอื  ความดที ไี่ ดจ้ ากทานนนั้  เปน็ สง่ิ ตอบแทน ที่เจ้าของทานได้รับอยู่โดยดีเท่านั้น  อภัยทาน  ควรให้แก่กัน เมื่ออกี ฝ่ายหน่งึ ผิดพลาดหรอื ล่วงเกนิ

ข ั น ธ ะ วิ ม ุ ต ิ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม คนมีทานย่อมเป็นผู้สง่าผ่าเผยและเด่นในปวงชน เป็นท่ี เคารพรักในหมู่ชน จะตกอยู่ทิศใด  ย่อมไม่อดอยากขาดแคลน จะมีส่ิงหรือผู้อุปถัมภ์จนได้ ไม่อับจนทนทุกข์ ผู้มีทานประดับตน ยอ่ มไมเ่ ป็นคนล้าสมัย บคุ คลทกุ ชัน้ ไมร่ งั เกียจ ผู้มีทานย่อมเป็นผู้อบอุ่น  หนุนโลกให้ชุ่มเย็น  การเสียสละ 26 จึงเป็นเคร่ืองค�้ำจุนหนุนโลก  การสงเคราะห์กัน  ท�ำให้โลกมี ความหมายตลอดไป ไมเ่ ปน็ โลกทไ่ี รช้ าตขิ าดกระเจงิ  เหลอื แตซ่ าก แผน่ ดินไมแ่ หง้ แล้งแข่งกันทุกขต์ ลอดไป ศีล คือ ร้ัวก้ันความเบียดเบียนและท�ำลายสมบัติร่างกาย  และจติ ของกนั และกนั  ศลี  คอื  พชื แหง่ ความดอี นั ยอดเยย่ี มทค่ี วร มีประจ�ำชาติมนุษย์ ไม่ปล่อยให้สูญหายไป เพราะมนุษย์ไม่มีศีล เป็นรั้วก้ัน เป็นเครื่องประดับตัว จะไม่มีท่ีให้ซุกหัวนอนหลับสนิท

ห ล ว ง ป่ ู ม่ั น  ภ ู ริ ทั ต โ ต ได้โดยปลอดภัย แม้โลกเจริญด้วยวัตถุจนกองสูงกว่าพระอาทิตย์ แต่ความรุ่มร้อนแผดเผาจะทวีคูณย่ิงกว่าพระอาทิตย์ ถ้ามัวคิดว่า วัตถุมีค่ามากกว่าศีลธรรม  ศีลธรรมเป็นเพียงสมบัติของมนุษย์ พระพุทธเจ้าผู้ค้นพบ  และน�ำมาประดับโลกที่ก�ำลังมืดมิด ใหส้ วา่ งไสว ร่มเย็นดว้ ยอำ� นาจศลี ธรรมเปน็ เครื่องปัดเป่า ความคิดของมนุษย์ผู้มีกิเลส ผลิตอะไรออกมาท�ำให้โลก 27 ร้อนจะบรรลัยอยู่แล้ว ย่ิงปล่อยให้ความคิดตามอ�ำนาจ  โดยไม่มี ศีลธรรมช่วยเป็นยาชโลมไว้บ้าง จะผลิตยักษ์ใหญ่ทรงพิษขึ้นมา กว้าน กินมนุษย์จนไม่มีอะไรเหลืออยู่บ้างเลย ความคิดของคน สนิ้ กเิ ลสทที่ รงคณุ อยา่ งสงู  คอื พระพทุ ธเจา้  มผี ลใหโ้ ลกไดร้ บั ความ รม่ เยน็ ซาบซงึ้ กบั ความคดิ ทเี่ ปน็ กเิ ลสมผี ลใหต้ นเองและผอู้ นื่ ไดร้ บั ความเดือดร้อน  จนคาดไม่ถึงผิดกันอยู่มาก ควรหาทางแก้ไข ผ่อนหนักให้เบาลงก่อนจะหมดทางแก้ไข ศีลจึงเป็นเหมือนยา

ขั น ธ ะ ว ิ มุ ต ิ ส ะ ม ั ง คี ธ ร ร ม ปราบโรค ทง้ั โรคระบาดและเรอ้ื รงั ภาวนา คอื  การอบรมใจใหฉ้ ลาดเทยี่ งตรงตอ่ เหตผุ ลอรรถ  ธรรม รจู้ กั วธิ ปี ฏบิ ตั ติ อ่ ตวั เองและสงิ่ ทงั้ หลาย ยดึ การภาวนาเปน็ รวั้ กั้นความคิดฟุ้งของใจ  ให้อยู่ในเหตุผลอันจะเป็นทางแห่งความ สงบสขุ  ใจทย่ี งั มไิ ดร้ บั การอบรมจากภาวนา จงึ เปรยี บเหมอื นสตั ว์ 28 ท่ียังมิได้รับการฝึกหัด ยังมิได้รับประโยชน์จากมันเท่าที่ควร จ�ำ ตอ้ งฝึกหดั ใหท้ �ำประโยชน ์ ถงึ จะได้รบั ประโยชน์ตามควร ใจจึงควรได้รับการอบรมให้รู้เรื่องของตัว จะเป็นผู้ควรแก่ งานทงั้ หลาย ทง้ั สว่ นเลก็ สว่ นใหญภ่ ายนอกภายใน ผมู้ ภี าวนาเปน็ หลกั ใจ จะทำ� อะไรชอบใชค้ วามคดิ อา่ นเสมอ ไมเ่ สยี่ ง และไมเ่ กดิ ความเสยี หายแก่ตนและผ้เู กย่ี วขอ้ ง

ห ล ว ง ปู่ มั่ น  ภู ริ ท ั ต โ ต การภาวนาจึงเป็นงานเพื่อผลในปัจจุบันและอนาคต การ 29 งานทุกชนิดท่ีท�ำด้วยใจของผู้มีภาวนา  จะส�ำเร็จลงด้วยความ เรยี บรอ้ ย ทำ� ดว้ ยความใครค่ รวญ เลง็ ถงึ ประโยชนท์ จี่ ะไดร้ บั  เปน็ ผู้มีหลักมีเหตุผล ถือหลักความถูกต้อง  เป็นเข็มทิศทางเดินของ กาย วาจา ใจ ไม่เปิดช่องให้ความอยากอันไม่มีขอบเขตเข้ามา เก่ียวข้อง  เพราะความอยากดั้งเดิมเป็นไปตามอ�ำนาจของกิเลส ตัณหา ซึ่งไม่เคยสนใจต่อความผิดถูก ดีชั่ว พาเราเสียไปจนนับ ไมถ่ ว้ น ประมาณไมถ่ กู  จะเอาโทษมนั กไ็ มไ่ ด ้ ยอมใหเ้ สยี ไปอยา่ ง นา่ เสยี ดาย ถา้ ไมม่ สี ตริ ะลกึ บา้ งเลยแลว้  ของเกา่ กเ็ สยี ไป ของใหม่ กพ็ ลอยจมไปด้วย ไม่มีวันฟน้ื คนื ตัว ฉะน้ัน การภาวนาจึงเป็นเครื่องหักล้างความไม่มีเหตุผล ของตนได้ดี วิธีภาวนานนั้ ล�ำบากอยู่บา้ ง เพราะเป็นวธิ ีบังคบั ใจ

ขั น ธ ะ ว ิ มุ ต ิ ส ะ มั ง ค ี ธ ร ร ม วิธีภาวนาก็คือวิธีสังเกตตัวเอง สังเกตจิตท่ีมีนิสัยหลุกหลิก  ไม่อยู่เป็นปกติสุข ด้วยมีสติตามระลึกรู้ความเคลื่อนไหวของจิต  โดยมธี รรมบทใดบทหนงึ่ เปน็ คำ� บรกิ รรม เพอื่ เปน็ ยารกั ษาจติ ใจให ้ ทรงตัวอย่ไู ดด้ ว้ ยความสงบสุขในขณะภาวนา ที่ให้ผลดีก็มี อานาปานสติ คือ ก�ำหนดจิตตามลมหายใจ 30 เขา้ ออกดว้ ยค�ำภาวนา พทุ  โธ พยายามบงั คบั ใจให้อย่กู บั อารมณ์ แหง่ ธรรมบททน่ี ำ� มาบรกิ รรมขณะภาวนา พยายามทำ� อยา่ งนเ้ี สมอ ด้วยความไม่ลดละความเพียร จิตท่ีเคยท�ำบาปหาบทุกข์อยู่เสมอ จะคอ่ ยรสู้ กึ ตวั  และปลอ่ ยวางไปเปน็ ล�ำดบั มคี วามสนใจหนกั แนน่ ในหน้าที่ของตนเป็นประจ�ำ จิตท่ีสงบตัวลงเป็นสมาธิ เป็นจิตที่ มีความสุขเย็นใจมากและจ�ำไม่ลืม ปลุกใจให้ต่ืนตัวและตื่นใจได้ อยา่ งนา่ ประหลาด



ข ั น ธ ะ ว ิ ม ุ ต ิ ส ะ มั ง ค ี ธ ร ร ม เมื่อพูดถึงการภาวนา บางท่านรู้สกึ เหงาหงอยนอ้ ยใจว่าตน มีวาสนาน้อย ท�ำไม่ไหว เพราะกิจการยุ่งยากท้ังภายในบ้านและ นอกบ้าน ตลอดงานสังคมต่างๆ ที่ต้องเป็นธุระ จะมาน่ังหลับตา ภาวนาอยู่ เห็นจะไม่ทันอยู่ทันกินกับโลกเขา ท�ำให้ไม่อยากท�ำ ประโยชน์ท่คี วรได้ จึงเลยผา่ นไป ควรพยายามแก้ไขเสียบดั นี้ 32 แทจ้ รงิ การภาวนา คอื  วธิ แี กค้ วามยงุ่ ยากลำ� บากใจทกุ ประเภท  ทเ่ี ปน็ ภาระหนกั ใหเ้ บาและหมดสนิ้ ไป ไดอ้ บุ ายมาแกไ้ ขไลท่ กุ ขอ์ อก  จากตวั  การอบรมใจดว้ ยการภาวนากเ็ ปน็ วธิ หี นง่ึ แหง่ การรกั ษาตวั   เปน็ วธิ ีที่เกีย่ วกบั จิตใจผ้เู ป็นหัวหน้างานทกุ ดา้ น จติ จำ� ตอ้ งเปน็ ตวั การรบั ภาระแบกหาม โดยไมค่ ำ� นงึ ถงึ ความ หนกั เบาวา่ ชนดิ ใดพอยกไหวไหม จติ ตอ้ งรบั ภาระทนั ท ี ดชี วั่ ผดิ ถกู หนักเบา เศร้าโศกเพยี งใด บางเร่ืองแทบเอาชีวิตไปด้วย ขณะน้ัน

ห ล ว ง ปู่ มั ่ น  ภ ู ร ิ ท ั ต โ ต จิตใจยังกล้าเอาตัวเข้าเส่ียงแบกหามจนได้ มิหน�ำซ�้ำยังหอบเอา มาคดิ เปน็ การบา้ นอกี  จนนอนไมห่ ลบั  รบั ประทานไมไ่ ดก้ ม็  ี คำ� วา่ หนักเกนิ ไปยกไม่ไหว เกินกำ� ลังใจจะคิดและต้านทานนัน้ ไมม่ ี งานทางกาย ยงั มเี วลาพกั ผอ่ นนอนหลบั  และยงั รปู้ ระมาณวา่ 33 ควรหรอื ไมค่ วรแกก่ ำ� ลงั ของตนเพยี งใด สว่ นงานทางใจ ไมม่ เี วลาได้ พกั ผอ่ นเอาเลย พกั ไดเ้ ลก็ นอ้ ยขณะนอนหลบั เทา่ นน้ั  แมเ้ ชน่ นน้ั จติ ยงั อตุ สา่ หท์ ำ� งานดว้ ยการละเมอเพอ้ ฝนั ตอ่ ไปอกี  ไมร่ จู้ กั ประมาณ ว่าเร่ืองต่างๆ นั้นควรแก่ก�ำลังของใจเพียงใด เมื่อเกิดอะไรขึ้น ทราบแต่ว่าทุกข์เหลือทน ไม่ทราบว่า ทุกข์เพราะงานหนัก และ เร่อื งเผ็ดร้อนเหลือกำ� ลังใจจะสไู้ หว ใจคือนักต่อสู้ ดีก็สู้ ชั่วก็สู้ สู้จนไม่รู้จักหยุดยั้งไตร่ตรอง สู้จนไม่รู้จักตาย หากปล่อยไปโดยไม่มีธรรมเป็นเคร่ืองยับย้ัง คง

ข ั น ธ ะ วิ ม ุ ติ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม ไม่ได้รบั ความสขุ  แม้จะมสี มบตั ิกา่ ยกอง ธรรม เป็นเครื่องปกครองสมบัติและปกครองใจ ถ้าขาด ธรรมเพียงอย่างเดียว ความอยากของใจจะพยายามหาทรัพย์ ได้ กองเทา่ ภเู ขากย็ งั หาความสขุ ไมเ่ จอ ไมม่ ธี รรมในใจเพยี งอยา่ งเดยี ว  จะอยู่ในโลกใด กองสมบัติใด ก็เป็นเพียงโลกเศษเดนและกอง  34 สมบตั เิ ดนเทา่ นน้ั  ไมม่ ปี ระโยชนอ์ ะไรแกจ่ ติ ใจแมแ้ ตน่ ดิ  ความทกุ ข์ ทรมาน ความอดทน ทนทานตอ่ สง่ิ กระทบกระทง่ั ตา่ งๆ ไมม่ อี ะไร จะแข็งแกร่งเท่าใจ ถ้าได้รับความช่วยเหลือที่ถูกทาง ใจจะกลาย เปน็ ของประเสรฐิ  ใหเ้ จา้ ของไดช้ มอยา่ งภมู ใิ จตอ่ เรอ่ื งทงั้ หลายทนั ที จติ  เปน็ สมบตั สิ ำ� คญั มากในตวั เรา ทคี่ วรไดร้ บั การเหลยี วแล ดว้ ยวธิ เี กบ็ รกั ษาใหด้  ี ควรสนใจรบั ผดิ ชอบตอ่ จติ อนั เปน็ สมบตั ทิ ม่ี ี คา่ ยงิ่ ของตน วธิ ที ค่ี วรกบั จติ โดยเฉพาะกค็ อื  ภาวนา ฝกึ หดั ภาวนา

ห ล ว ง ปู ่ ม่ ั น  ภู ริ ท ั ต โ ต ในโอกาสอนั ควร ควรตรวจดจู ติ วา่  มอี ะไรบกพรอ่ งและเสยี ไป จะ 35 ได้ซอ่ มสุขภาพจติ  คอื น่งั พินิจพิจารณาดสู งั ขารภายใน คอื  ความ คิดปรุงแต่งของจิตว่าคิดอะไรบ้าง ในวันและเวลาที่น่ังๆ มีสาระ ประโยชน์ไหม คิดแส่หาเรื่อง หาโทษ ขนทุกข์มาเผาตนอยู่น้ัน พอรู้ผิดถูกของตัวบ้างไหม พิจารณาสังขารภายนอกว่ามีความ เจริญข้ึนหรือเจริญลง สังขารร่างกายมีอะไรใหม่ หรือมีความเก่า แก่ชราหลุดลงไป พยายามเตรียมตวั เตรียมใจเสียแต่เวลาท่ีพอจะ ท�ำได้ ตายแลว้ จะเสยี การ ให้ท่องอยู่ในใจเสมอว่า เรามีความแก่เจ็บตายอยู่ประจ�ำ ตัวท่ัวหน้ากัน ป่าช้าอันเป็นที่เผาศพภายนอก และป่าช้าที่ฝังศพ ภายในคือตัวเราเอง เป็นป่าช้าร้อยแปดพันเก้าแห่งศพท่ีน�ำมาฝัง ภายในหรือบรรจอุ ยู่ในตัวเราตลอดเวลา ทัง้ ศพใหมศ่ พเก่าทกุ วัน

ขั น ธ ะ วิ มุ ต ิ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม พจิ ารณาธรรมสงั เวช พจิ ารณาความตายเปน็ อารมณ ์ ยอ่ มมี ทางถอดถอนความเผลอเยอ่ หย่งิ ในวันในชีวิตและวทิ ยฐานะตา่ งๆ ออกได้ จะเห็นโทษแห่งความบกพร่องของตัว และพยายามแก้ไข ได้เป็นล�ำดับ มากกว่าจะไปเห็นโทษของคนอื่น แล้วมานินทาเขา ซง่ึ เป็นความไม่ดีใสต่ น 36 น่ีคือการภาวนา คือวิธีเตือนตน สั่งสอนตน ตรวจตรา ดูความบกพร่องของตนว่า ควรแก้ไขจุดใดตรงไหนบ้าง ใช้ความ พจิ ารณาอยทู่ ำ� นองนเ้ี รอ่ื ยๆ ดว้ ยวธิ สี มาธภิ าวนาบา้ ง ดว้ ยการรำ� พงึ ในอิริยาบทต่างๆ บ้าง ใจจะสงบเย็น ไม่ล�ำพองผยองตัว และ ไม่เอาความทุกข์มาเผาลนตัวเอง เป็นผู้รู้จักประมาณในหน้าท่ี การงานท่ีพอเหมาะพอดีแก่ตัว ท้ังทางกายและทางใจ ไม่ลืมตัว มว่ั สมุ ในสงิ่ ทเ่ี ปน็ หายนะตา่ งๆ คณุ สมบตั ขิ องผภู้ าวนาน ี้ มมี ากมาย ไม่อาจพรรณนาใหจ้ บสนิ้ ได้

ห ล ว ง ปู่ มั่ น  ภ ู ริ ทั ต โ ต ทาน ศลี  ภาวนา ธรรมทง้ั  ๓ น ้ี เปน็ รากแกว้ ของความเปน็   มนษุ ย์ และเป็นรากเหง้าของพระศาสนา ผู้เกิดมาเปน็ มนุษย์ตอ้ ง เป็นผู้เคยส่ังสมธรรมเหล่าน้ีมา อยู่ในนิสัยของผู้จะมาสวมร่าง เป็นมนุษย์ท่ีสมบรู ณ์ ด้วยมนุษย์สมบตั อิ ยา่ งแท้จรงิ 37



ห ล ว ง ปู่ ม ั่ น  ภู ร ิ ท ั ต โ ต คนดีมศี ลี ธรรม 39 หาคนดมี ศี ลี ธรรมในใจ หายากยงิ่ กวา่ เพชรนลิ จนิ ดา ไดค้ น เปน็ คนดเี พยี งคนเดยี ว ยอ่ มมคี ณุ คา่ มากกวา่ เงนิ เปน็ ลา้ นๆ เพราะ เงินเป็นล้านๆ ไม่สามารถท�ำความร่มเย็นให้แก่โลกได้อย่างถึงใจ เหมอื นได้คนดมี าทำ� ประโยชน์

ข ั น ธ ะ ว ิ ม ุ ต ิ ส ะ มั ง คี ธ ร ร ม คนดีแม้เพียงคนเดียว ยังสามารถท�ำความเย็นให้แก่โลกได้ มากมายและย่ังยืน เช่นพระพุทธเจ้าและพระสาวกทั้งหลายเป็น ตัวอย่าง คนดีแต่ละคนมีคุณค่ามากกว่าเงินเป็นก่ายกอง เป็น คุณค่าแห่งความดีของตนที่จะท�ำต่อไปมากกว่าเงิน แม้จะจนก็ ยอมจน ขอแตใ่ หต้ วั ดแี ละโลกมคี วามสขุ 40 แต่คนโง่ชอบเงินมากกว่าคนดีและความดี ขอแต่ได้เงินแม้ ตัวจะเป็นอย่างไร ไม่สนใจคิดสนใจดู ถึงจะช่ัวช้าลามกหรือแสน โสมมเพยี งไร ไมห่ ลกี หา่ ง ขนาดยมบาลเกลยี ดกลวั  ไมย่ อมนบั เขา้ บัญชีผตู้ อ้ งหา กลวั จะไปท�ำลายสตั ว์นรกด้วยกันใหเ้ ดือนร้อน ขอ แต่ไดเ้ งินก็เป็นทพี่ อใจ ส่วนจะผดิ ถกู ประการใด เขาไมย่ งุ่ เก่ยี ว คนดกี บั คนชวั่  สมบตั เิ งนิ ทอง กบั ธรรมะคอื คณุ ความดี ผดิ กันอย่างนี้แล ใครมีหูมีตาก็คิดแก้ไขเสียแต่บัดน้ี อย่าให้สายเกิน

ห ล ว ง ป ู่ มั ่ น  ภ ู ร ิ ทั ต โ ต แก้ ฉะน้ัน สัตว์โลกจึงต่างกันท้ังภพก�ำเนิด รูปร่างลักษณะ จริต นสิ ยั  ด-ี ชว่ั  สขุ -ทกุ ข ์ เพราะกฎของกรรม หรอื กฎของตวั เอง ทท่ี ำ� ขึน้  ไม่ใชก่ ฎของใครไปทำ� ให ้ ตัวทำ� เอาเอง ของดีมีอยู่กับตัวเราทุกคน ก็พากันปฏิบัติเอา ท�ำเอา เมื่อ เวลาตายแลว้ วนุ่ วาย หานมิ นตพ์ ระมากสุ ลามาตกิ า ไมใ่ ชเ่ กาถกู ที่ คนั  ตอ้ งรบี แกเ้ สยี แตบ่ ดั น ้ี คอื เรง่ ทำ� ความดแี ตบ่ ดั น ี้ จะไดห้ ายหว่ ง 41 อะไรๆ ที่เป็นสมบัติของโลก มิใช่สมบัติอันแท้จริงของเรา ตวั จรงิ ไมม่ ใี ครเหลยี วแล สมบตั ใิ นโลก เราแสวงหามา หามาทจุ รติ ก็เป็นไฟเผา เผาตัวท�ำให้ฉิบหายได้จริงๆ ข้อน้ี ขึ้นอยู่กับความ ฉลาดและความโง่เขลาของผู้แสวงหาแต่ละราย ท่านผู้พ้นทุกข์ไป ดว้ ยความอตุ สา่ หส์ รา้ งความดใี สต่ น จนกลายเปน็ สรณะของพวกเรา ทา่ นไมเ่ คยมสี มบตั เิ งนิ ทองเครอื่ งหวงแหน เปน็ คนรำ่� รวย สวยงาม

ขั น ธ ะ ว ิ มุ ติ ส ะ ม ั ง ค ี ธ ร ร ม เฉพาะสมัย จึงพากันรักพากันห่วงจนไม่รู้จักเป็นรู้จักตาย ส�ำคัญ ตนว่าจะไม่ตาย และพากันประมาทจนลืมตัว เพลิดเพลินตักตวง เอาแตส่ ่งิ ไมเ่ ป็นท่าใส่ตนแทบหาบไม่ไหว อย่าส�ำคัญตนว่าเก่งกาจสามารถฉลาดรู้กว่าเขาเลย ถึงกับ สรา้ งความมดื มดิ ปดิ ตาทบั ถมตวั เองจนไมม่ วี นั สรา่ งซา เมอื่ ถงึ เวลา 42 จนตรอกอาจจนย่ิงกว่าสัตว์ ถ้าไม่เตรียมทราบไว้เสียแต่บัดนี้ ซึ่งอยู่ในฐานะอันควร อาตมาขออภัยด้วย ถ้าพูดหยาบคายไป แตค่ ำ� พดู ทส่ี ง่ั สอนคนใหล้ ะชวั่ ท�ำความด ี จดั เปน็ หยาบคายอยแู่ ลว้ โลกเราก็จะถึงคราวหมดสนิ้ ศาสนา เพราะไม่มีผู้ยอมรับความจริง การทำ� บาปหยาบคาย มมี าประจำ� แทบทกุ คน ทง้ั ใหผ้ ลเปน็ ทกุ ขต์ น ยงั ไมอ่ าจรไู้ ด ้ และตำ� หนมิ นั บา้ ง พอมที างคดิ แกไ้ ข แตก่ ลบั ตำ� หนิ ค�ำส่งั สอนหยาบคาย กน็ บั เป็นโรคทหี่ มดหวงั

ห ล ว ง ป ู่ ม่ ั น  ภ ู ริ ทั ต โ ต เม่ือมีผู้เตือนสติ ควรยึดมาเป็นธรรมค�ำสอน จะเป็นคนมี ขอบเขตมเี หตผุ ล ไมท่ ำ� ตามความอยาก เมอ่ื พยายามฝา่ ฝนื ใหเ้ ปน็ ไปตามทางของนกั ปราชญไ์ ด ้ จะประสบผลคอื ความสขุ ในปจั จบุ นั ทนั ตา แมจ้ ะมไิ ดเ้ ปน็ เจา้ ของเงนิ ลา้ น แตม่ ที างไดร้ บั ความสขุ จาก สมบัตแิ ละความประพฤติดีของตน คนฉลาดปกครองตนให้มีความสุขและปลอดภัย ไม่จ�ำเป็น 43 ตอ้ งเทย่ี วแสวงหาทรพั ยม์ ากมาย หรอื เทยี่ วกอบโกยเงนิ เปน็ ลา้ นๆ มาเป็นเครื่องบ�ำรุงจึงมีความสุข ผู้มีสมบัติพอประมาณในทาง ท่ีชอบมีความสุขมากกว่าผู้ได้มาในทางมิชอบเสียอีก เพราะนั่น ไม่ใช่สมบัติของตนอย่างแท้จริง ทั้งๆ ท่ีอยู่ในกรรมสิทธิ์ แต่กฎ ความจริงคือกรรม สาปแช่งไม่เห็นด้วย และให้ผลเป็นทุกข์ไม่สิ้น สดุ  นกั ปราชญท์ า่ นจงึ กลวั กนั นกั หนา แตค่ นโงอ่ ยา่ งพวกเราผชู้ อบ สุกเอาเผากินและชอบเห็นแก่ตัว ไม่มีวันอิ่มพอ ไม่ประสบผลคือ ความสุขดังใจหมาย

ข ั น ธ ะ ว ิ ม ุ ติ ส ะ ม ั ง คี ธ ร ร ม คนหวิ อยเู่ ปน็ ปกตสิ ขุ ไมไ่ ด ้ จงึ วง่ิ หาโนน่ หาน ่ี เจออะไรกค็ วา้ ติดมือมา โดยไม่ส�ำนึกว่าผิดหรือถูก คร้ันแล้วส่ิงคว้ามา ก็มาเผา ตัวเองให้ร้อนย่ิงกว่าไฟ คนท่ีหลงจึงต้องแสวงหา ถ้าไม่หลงก็ไม่ ต้องหา จะหาไปให้ล�ำบากท�ำไม อะไรๆ ก็มีอยู่กับตัวเองอย่าง สมบรู ณอ์ ยแู่ ลว้  จะตนื่ เงาตะครบุ เงาไปท�ำไม เพราะรอู้ ยแู่ ลว้ วา่ เงา ไม่ใชต่ วั จริง 44 ตัวจริงคือสัจจะทั้งส่ีท่ีมีอยู่ในกายในใจอย่างสมบูรณ์แล้ว ความมงั่ มศี รสี ขุ จะไมบ่ งั เกดิ แกผ่ ทู้ จุ รติ สรา้ งกรรมชว่ั  มมี ากเทา่ ไหร่ ยอ่ มหมดไป พอ่ แม ่ ปยู่ า่  ตายาย ทสี่ รา้ งบาปกรรมไว ้ ผลกรรมนน้ั ย่อมตกอยู่กับลูกหลานรุ่นหลังให้มีอันเป็นไป ผู้ทุจริตเบียดเบียน รงั แกผูอ้ ื่น จะหาความสุขความเจริญไม่ได้เลย

วา่ อยา่ งย่อทุกข์กบั ธรรมประจ�ำจติ เอาจนคิดร้เู ห็นจริงจงึ เยน็ ท่วั จะสุขทกุ ข์เทา่ ไรมิได้กลัว สร่างจากเครอื่ งมวั คอื สมทุ ยั



ห ล ว ง ปู่ ม่ั น  ภ ู ร ิ ทั ต โ ต สัตว์โลก ยอ่ มเปน็ ไปตามกรรม 47 เราท้ังหลายต่างเกิดมาด้วยวาสนา มีบุญพอเป็นมนุษย์ได้ อย่างเต็มภูมิ ดังที่ทราบอยู่แก่ใจ อย่าลืมตัวลืมวาสนา โดยลืม สร้างคุณงามความดีเสริมต่อ ภพชาติของเราที่เคยเป็นมนุษย์จะ เปลย่ี นแปลง และกลบั กลายหายไปเปน็ ชาตทิ ตี่ ำ�่ ทรามไมป่ รารถนา จะกลายมาเป็นตวั เราเขา แล้วแกไ้ มต่ ก

ข ั น ธ ะ ว ิ ม ุ ต ิ ส ะ มั ง ค ี ธ ร ร ม ความสูงศักดิ์ ความต�่ำทราม ความสุขทุกช้ันจนถึงบรมสุข และความทุกข์จนเข้าขั้นมหันตทุกข์เหล่านี้ มีได้กับทุกคนตลอด สัตว์ ถ้าตนเองท�ำให้มี อย่าเข้าใจว่า มีได้เฉพาะผู้ก�ำลังเสวยอยู่ เท่าน้ัน โดยผู้อื่นไม่มี เพราะส่ิงเหล่าน้ีเป็นสมบัติกลาง แต่กลับ กลายมาเปน็ สมบตั จิ ำ� เพาะของผผู้ ลติ ผทู้ ำ� เองได ้ ทา่ นจงึ สอนไมใ่ ห้ ดถู กู เหยยี ดหยามกนั  เราอาจมเี วลาเปน็ เชน่ นน้ั  หรอื ยงิ่ กวา่ นนั้ กไ็ ด้ 48 เมอ่ื ถงึ วาระเขา้ จรงิ ๆ ไมม่ ใี ครมอี ำ� นาจหลกี เลยี่ งได ้ เพราะกรรมดี กรรมชวั่ เรามที างสรา้ งไดเ้ ชน่ เดยี วกบั ผอู้ น่ื  จงึ มที างเปน็ ไดเ้ ชน่ เดยี ว กับผอู้ ่ืน และผอู้ น่ื ก็มีทางเป็นไดเ้ ชน่ เดยี วกับที่เราเคยเป็น ศาสนา เป็นหลักวิชาตรวจตราดูตัวเองและผู้อ่ืนได้อย่าง  แมน่ ย�ำ ไมม่ วี ชิ าใดในโลกเสมอเหมอื น สงิ่ ดชี วั่ ทม่ี แี ละเกดิ อยกู่ บั   ตนทกุ ระยะ มใี จเปน็ ตวั การ พาใหส้ รา้ งกรรมประเภทตา่ งๆ จนเหน็   ได้ชดั วา่  กรรมมอี ยกู่ ับผทู้ ำ�  มใี จเปน็ เหตขุ องกรรมท้ังมวล

ห ล ว ง ปู่ มั่ น  ภ ู ร ิ ทั ต โ ต กรรมเป็นของลึกลับและมีอ�ำนาจมาก ไม่มีผู้ใดหนีกฎแห่ง กรรมไดเ้ ลย ถา้ เราสามารถรเู้ หน็ กรรมด ี กรรมชว่ั  ทตี่ นและผอู้ น่ื ทำ� ข้ึนเหมือนเห็นวัตถุต่างๆ จะไม่กล้าท�ำบาป แต่จะกระตือรือร้น ท�ำแต่ความดี ซ่ึงเป็นของเย็นเหมือนน้�ำ ความเดือดร้อนในโลกก็ จะลดนอ้ ยลง เพราะตา่ งก็รักษาตัว กลวั บาปอนั ตราย ท่านว่าดีช่ัวมิได้เกิดข้ึนเอง แต่อาศัยการท�ำบ่อยก็ชินไป 49 เอง เมื่อชินแล้วก็กลายเป็นนิสัย ถ้าเป็นฝ่ายช่ัวก็แก้ไขยาก คอย แต่จะไหลลงไปตามนิสัยท่ีเคยท�ำอยู่เสมอ ถ้าเป็นฝ่ายดีก็นับว่า คล่องแคล่วกล้าข้ึนเป็นล�ำดับ เราเกิดเป็นมนุษย์ มีความสูงศักด์ิ มาก อยา่ นำ� เรอ่ื งของสตั วม์ าประพฤต ิ มนษุ ยเ์ ราจะตำ�่ ลงกวา่ สตั ว์ และจะเลวกว่าสัตว์อีกมากมาย อย่าพากันท�ำ ให้พากันละบาป บำ� เพญ็ บญุ  ทำ� แตค่ ณุ ความด ี อยา่ ใหเ้ สยี ชวี ติ เปลา่  ทมี่ วี าสนาเกดิ มาเป็นมนษุ ย์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook