10 พี่ เ ณ ร ส อ น น้ อ ง 11 ตั้งสติหยดุ นิง่ ซึ้ง เกษมศานต์ รรู้ อบขอบเขตฐาน ดง่ั แก้ว ร้สู ตพิ อประมาณ ฌานมน่ั ระลกึ รู้องคพ์ ระแก้ว ผอ่ งแผว้ กลางศูนย์ การฝกึ สติประคองใจไวท้ ศี่ นู ยก์ ลางกายถอื เปน็ หลกั ธรรม ปฏิบัติที่แท้จริง ไม่มหี ลักธรรมใดที่ยิ่งใหญ่ไปกว่าการอบรม จิตใจใหห้ ยุดน่งิ อย่างมีสติ การปฏบิ ตั ธิ รรมเพอ่ื ให้บรรลมุ รรค ผลนพิ พาน ต้องอาศัยสติตั้งแต่เบือ้ งต้น ท่ามกลางและท่สี ุด ใจของเราจะต้องนำมาตั้งไว้ในแหล่งของสติท่ีศูนย์กลางกาย ฝึกฝนใจให้หยุดนง่ิ โดยมี “สตคิ ู่กับสบาย และทำอย่าง สมำ่ เสมอ” ตามคำสง่ั สอนของพระเดชพระคณุ หลวงพอ่ ธมั มชโย ท่ีไดแ้ นะนำเอาไว้ การฝกึ สตจิ ะทำใหเ้ ราเป็นผู้ไมป่ ระมาทในชวี ติ สติจะ กระตนุ้ เตอื นให้เราขวนขวายในการสร้างบารมี ยำ้ เตอื นให้เรา ตระหนักถงึ หนา้ ทขี่ องการเกิดมาเป็นมนุษย์ ตักเตือนให้เราไม่ ประมาทในเวลาของชวี ิตทเ่ี หลืออยเู่ พยี งนอ้ ยนิด ดงั นัน้ เราควรมสี ตกิ ำกับตวั เสมอ ไม่ว่าจะคิด พดู ทำ ส่งิ ใด ไมค่ วรให้ถลำลงไปสคู่ วามเส่ือม ควรมสี ตริ ะลึกถงึ ส่งิ ทีต่ อ้ ง ทำกรรมท่ตี อ้ งเว้นอยเู่ สมอ สติต้องฝึกในทุกอิริยาบถ ทกุ ทว่ งทเี ราต้องมสี ติ ตงั้ แต่ ตน่ื นอนจนกระทงั่ เขา้ นอนตอ้ งเปน็ ผตู้ ่ืนอยเู่ สมอ คอื ตนื่ จากกเิ ลส www.kalyanamitra.org
11 ส ติ เ ป็ น หั ว ใ จ ใ น ชี วิ ต ไม่ให้อกศุ ลเข้าครอบงำ ในแงก่ ารปฏิบัติในชีวิตจริง พอตืน่ นอนเร่ิมรู้ตวั กเ็ อาใจจรดไปทศ่ี ูนยก์ ลางกาย ตรกึ ธรรมะใสๆ เลย แลว้ แผเ่ มตตาใหส้ รรพสตั ว์ไดร้ บั ความสขุ ทว่ั หน้า ไม่วา่ จะยนื เดิน นัง่ นอน มสี ตอิ ย่าให้ใจคลาดจากศูนย์กลางกาย “จะทำอะไรก็ ทำไปแต่ใจจรดศนู ย”์ ทำอย่างนี้บญุ เพิม่ พนู สตสิ มบรู ณ์ “สติ จะสมบรู ณ์เม่ือใจจรดศูนยก์ ลางกาย” สติถือประคองใจไวท้ ่ศี นู ย์ บญุ เพ่มิ พนู ชว่ ยเกือ้ กลู ดวงชดั ใส ใจตั้งมั่นดงิ่ เขา้ กลางกายเรอ่ื ยไป องคพ์ ระใสสว่างโพลงโลง่ เบาสบาย มันแปลกนะ คนเรานีค้ ดิ ใหด้ ีก็นา่ ขำ “ส่ิงทีอ่ ยากจำกลับ ลืม ส่ิงที่อยากลมื กลับจำ” สง่ิ ดีๆ ท่ตี ้องจดจำมีมากมาย กลับไม่ จำ ไปจำส่งิ ที่ไม่ควรจำ แตส่ ิง่ ท่ีอยากจะลมื กลับลมื ไม่ลง เลย ตอ้ งทนหวานอมขมกลนื กันไป มีสง่ิ หนง่ึ ที่จะลมื ไม่ได้ คือ “อยา่ ลมื ศูนย์กลางกาย” ถา้ จำอะไรไม่ได้ขอให้จำแค่เลขสามตัว “๐๗๒” ศูนย์กลางกายฐาน ทีเ่ จ็ดเหนือสะดอื ขน้ึ มาสองนิว้ มือ น้องเณรตั้งสติให้ดี จำให้ได้ “๐๗๒” จำแคน่ ้ีได้ไปนพิ พานได้ “สตเิ ปน็ หัวใจ...พาเราไปพระ นิพพาน” www.kalyanamitra.org
12 พ่ี เ ณ ร ส อ น น้ อ ง 11 ทอ้ งฟ้าไมเ่ คยลมื ฝน สายชลไมเ่ คยลืมปลา พนาไม่เคยลมื ไม้ ใจใสไม่เคยลมื บญุ พระอาทิตย์ไมเ่ คยลมื วนั พระจันทร์ไมเ่ คยลมื คนื ทะเลไมเ่ คยลืมคลืน่ ผู้ตืน่ ไมเ่ คยลมื ศูนย์กลางกาย” AAA www.kalyanamitra.org
1 ค ว า ม ลํ า บ า ก ส ร้ า ง ค น ๑๒ ส่ ง ท้ า ย ด้ ว ย ธ ร ร ม ล้ำ ค่ า สวสั ดนี ้องเณรที่คิดถึง เวลาเปลีย่ นแปลงทุกอนวุ ินาที ชวี ยี อ่ มเปล่ียนไปพรอ้ มกบั กาลเวลา ทุกสิง่ ที่ผา่ นมาทำใหเ้ รารจู้ กั ตัวเองดีข้ึน ประสบการณ์เรียนรเู้ ป็นครสู อนตน กาลผา่ นพน้ ไปหนึง่ ปสี ง่ิ ดีๆ มมี ากมาย ชีวติ ยงั ไมส่ ายถ้าไม่คลายจากความดี เผลอประเด๋ียวเดียวก็จะหมดไปอีกปีหน่ึงแล้ว หนึ่งปีที่ กำลงั จะผา่ นไปช่างรวดเร็วเหลือเกิน น้องเณรว่าไหม? ๓๖๕ วันท่ีผา่ นไปมอี ะไรใหมๆ่ ในชวี ิตเยอะแยะ พเ่ี ณรหวังวา่ นอ้ ง เณรคงได้รับสิง่ ดๆี เพมิ่ ขนึ้ มากมาย เพราะได้ใชเ้ วลาทกุ นาที www.kalyanamitra.org
2 พ่ี เ ณ ร ส อ น น้ อ ง 3 ในการสร้างบารมีอย่างเต็มที่ พี่เณรก็ขออนุโมทนาบุญด้วยนะ หนงึ่ ปผี ่านไปไดอ้ ะไรในชีวิต ฝกึ ฝนอบรมจติ ชีวิตสุขทุกวันคืน ปีเกา่ ผ่านไปแลว้ ปีใหมแ่ กว้ แววระรน่ื บณั ฑติ เปน็ ผตู้ ่นื ยอ่ มสดชื่นในความดี ทกุ สง่ิ ทุกอยา่ งทผี่ า่ นมาลว้ นมคี ุณคา่ น้องเณรลองทบทวน ชีวิตของตนเองดู ตง้ั แต่ต้นปจี นกระทงั่ ถงึ บดั นี้ ชวี ติ เรามีทัง้ ที่ สมบูรณ์และบกพร่อง แต่เราก็ได้พยายามต้งั ใจปรบั ปรุงแก้ไข กันอย่างเตม็ ท่ี แมจ้ ะยงั ได้ไมด่ ที สี่ ุดก็ตาม หนงึ่ ปีทผ่ี า่ นมา คณุ - ธรรมหลายๆอยา่ งของเราไดเ้ จรญิ งอกงามขนึ้ ในระดบั ทเี่ ราภมู ใิ จ แต่เพื่อความไมป่ ระมาท เอาอย่างน้ีดไี หม “ฉบบั นีเ้ รามาทบ ทวนธรรมะอันล้ำค่าของพระเดชพระคณุ หลวงพ่อธัมมชโยกัน ดีกว่า” เพอ่ื ความเป็นสริ ิมงคลและความเจรญิ รงุ่ เรืองยง่ิ ๆ ขน้ึ ไปสำหรับปีใหมท่ ี่ใกลจ้ ะมาถงึ นี้ ชีวิตท่จี ะประสบความสขุ และความสำเร็จอันสงู สุดได้ ตอ้ งอาศยั “บญุ ” ผู้รกั ตนเองพึงรักบญุ สั่งสมบญุ อย่เู นืองนิตย์ เพราะบญุ เท่านัน้ เป็นท่พี ึ่งของสัตว์โลกอนั แทจ้ ริง ทั้งในโลกน้ี และโลกหน้า พระเดชพระคุณหลวงพ่อธัมมชโยได้กลา่ วเกีย่ ว กบั เร่ืองการทำบุญเอาไว้ว่า “กอ่ นทำบุญทำใจใหห้ ยุดนิง่ ก่อน กลั่นให้บริสทุ ธิแ์ ลว้ จงึ ให้ทาน วบิ ัตจิ ะเขา้ มาปนเป็นไม่ได้ ถา้ ทำบุญดว้ ยความ www.kalyanamitra.org
3 ค ว า ม ลํ า บ า ก ส ร้ า ง ค น หงดุ หงิด สมบตั ิจะมเี ชื้อวบิ ตั ติ ิดมาดว้ ย” การทำบุญจะให้ได้บุญเตม็ ที่ พระเดชพระคุณหลวงพ่อ สอนใหท้ ำใจใหห้ ยุดนง่ิ ก่อน ทานนัน้ จงึ จะเป็น “มหาทานบารม”ี ยอ่ ม ได้อานิสงส์มาก แล้วควรนึกทำบญุ ด้วยใจทีเ่ ป็นกลางๆ เพือ่ หมู่ สงฆแ์ ละพระพทุ ธศาสนา ผฉู้ ลาดใหท้ านอยา่ งนจ้ี ะได้ บุญมาก ความตระหน่ีจะหลุดออกจากใจ ถ้าใครตระหนี่ไม่ ชอบทำทาน นอกจากจะไม่ไดส้ มบัตแิ ล้ว ความตระหนย่ี งั ดงึ ความวบิ ตั ิเข้ามาหาตัวอกี ด้วย “ทาน.. คือกระแสแห่งความดเี กิดขนึ้ ในใจ ทห่ี ลดุ พน้ เปน็ อสิ ระจากกระแสความตระหนี่ผู้ใหเ้ ปน็ ผเู้ ปดิ ประตสู วรรค์ เม่อื ให้ดว้ ยใจทีบ่ รสิ ุทธ์ผิ อ่ งใส” พระเดชพระคุณหลวงพ่อบอกวา่ .. ตอนนบี้ ญุ ใหญส่ ุดสุด คอื “ธรรมกายเจดยี ์” และ “วิหารท่ปี ระดิษฐานรปู หลอ่ ทองคำ พระมงคลเทพมุนี (สด จนทฺ สโร)” ถ้าเราทำบุญนี้ จะทำใหเ้ ราได้ บรรลธุ รรมต้งั แต่เยาว์วยั รูญ้ าณของเราจะกว้างไกล เราจะได้ บรรลธุ รรมทห่ี ลวงพ่อวดั ปากนำ้ ภาษีเจริญไดบ้ รรลุและบญุ ใหญ่ น้ีจะนำพาเราไปจนถึงทส่ี ดุ แห่งธรรม ธรรมกายเจดยี ์งามตระหงา่ น ดุจนพิ พานเมอื งมนษุ ย์สุดไพศาล ส่องสว่างพราวพร่างกลางจกั รวาล เทพเล่าขานชนรว่ มสานสรา้ งเจดยี ์ www.kalyanamitra.org
4 พ่ี เ ณ ร ส อ น น้ อ ง 3 พระวหิ ารประดษิ ฐานรูปหลวงพอ่ ผเู้ กดิ กอ่ กายธรรมนำสุขศรี นามก้องฟ้าพระมงคลเทพมุนี ชาวเราน้ีร่วมกตัญญูครูวิชชาฯ การใหอ้ ามสิ ทานแม้จะได้บุญมาก แตก่ ็ยงั สกู้ ารให้ธรรม ทานไม่ได้ “การใหธ้ รรมทาน ย่อมชนะการให้ท้งั ปวง” เรา ควรจะให้ถอ้ ยคำที่ทำให้ใจหลุดพ้น เปน็ ธรรมทานแก่ชาวโลก ชวี ติ ของชาวโลกมักติดอยูก่ บั กระแสโลก เราจะต้องชว่ ยยกใจ ของเขาใหส้ ูงข้นึ สกู่ ระแสธรรม “ไมม่ คี ำพดู ใดย่ิงใหญ่ไปกวา่ คำพดู ทท่ี ำให้บคุ คลบรรลุ ธรรมกาย” จงพดู ...เหมอื นดอกบัวชูขึน้ เหนือน้ำ พดู ยกใจ...ขนึ้ สู่ความหวงั ใหม่ พดู พลิกใจ...ทที่ ้อแท้ใหเ้ ข้มแขง็ พูดปรบั ใจ...ทีห่ ยาบใหล้ ะเอยี ด พูดกลับใจ...ที่สบั สนให้สงบน่งิ พดู ถอนใจ...ที่ติดใหห้ ลุดพ้น พระเดชพระคุณหลวงพ่อสอนให้ว่า “เราควรหัดพูดจา เพราะๆ มีหางเสยี ง จะเป็นบญุ ติดตวั ทำใหเ้ ราเปน็ ทีร่ ักของ มนุษย์และเทวดา ไมม่ ีใครคดิ เปน็ ศัตรู วาจาจะนา่ เช่ือถอื เป็น ผมู้ วี าจาศกั ดสิ์ ทิ ธ”์ิ เหล็กปกตจิ ะแขง็ แตเ่ มอ่ื เอามาทำเปน็ ลวด www.kalyanamitra.org
5 ค ว า ม ลํ า บ า ก ส ร้ า ง ค น จะอ่อน สามารถมัดสิ่งของได้ ฉนั ใด ถอ้ ยคำท่ีออ่ นหวาน ก็ สามารถมดั ใจคนได้ ฉนั นัน้ ท่านยังสอนอีกวา่ จะพดู จาอะไรตอ้ งเปน็ ไปตามข้นั ตอน “อย่าหักด้ามพรา้ ด้วยเข่า” ถา้ ไม่เขา้ ใจกันอย่าใชอ้ ารมณ์ ให้ เป็นผู้ฟงั ทดี่ ีมีใจหยดุ นิ่ง อยา่ พูดชวนทะเลาะ ให้ใชว้ ิธี “แลกเปลย่ี นความคิดเห็น” จะได้ไมท่ ะเลาะกัน “ปรึกษาหารอื ” ไม่ใช่ “ปรกึ ษาหาเรอื่ ง” อยา่ เอาความแตกตา่ งมาคุย ให้ “แสวงจุดรว่ ม สงวน จดุ ตา่ ง” อวดดอ้ื ถอื ดี คอื วถิ ีทางแหง่ ความแตกแยก อจิ ฉาริษยา นำมาซ่ึงความร้าวฉาน สมัครสมานจริงใจ คือหนทางแก้ไข ทฏิ ฐมิ านะตอ้ งลดละไมเ่ หลือหรอ ประนปี ระนอม ยอมพอหยดุ ก่อโทสะ ผกู โกรธโปรดลดละ ยอ่ มชนะใจตน นอกจากให้ธรรมทานแลว้ ยงั ตอ้ งร้จู ักให้ “อภัยทาน” อกี ด้วย เม่ือผอู้ นื่ ทำให้เราบันดาลโทสะ พระเดชพระคณุ หลวงพ่อ สอนใหม้ สี ติ รีบระงบั อย่าให้ลกุ ลาม ไมเ่ ชน่ นัน้ ความตึงเครียด จะระบาด ท่านบอกว่าไฟโทสะจะเผาลนจิตใจ ทำให้ใจเกรียม ไหม้ น้ำเสยี งคำพดู จะหยาบ ผวิ พรรณจะพลอยหมองคลำ้ เกรยี ม ไปด้วย จมูกจะไม่สวย แบนโหวเ่ หมือนพวกยักษ์ จมกู แบนโหว่ จมูกส้นั ฟนั ห่าง ผวิ หยาบกรา้ น www.kalyanamitra.org
6 พ่ี เ ณ ร ส อ น น้ อ ง 3 ส่วนคนท่ีรจู้ ักใหอ้ ภยั ไม่ผกู โกรธ ไม่มกั โกรธ ไมแ่ คน้ เคือง เขาว่าก็ไม่ขัดใจ ไม่โกรธเคือง ไม่พยาบาท ไม่ทำร้าย ไม่ ทำความเครง่ เครียดใหป้ รากฏ เกดิ ไปก่ีภพก่ีชาติก็จะเป็นคนท่ี น่าเลอ่ื มใส เมื่อใดเธอกระทบถ้อยคำอันไม่พอใจ ยงั เปน็ คนสงบเสงย่ี ม อ่อนโยนได้ เธอช่ือว่า ‘เป็นคนสงบเสง่ียม อ่อนโยนจริง’ บคุ คลเป็นมนุ ผี ู้สงบ เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทงั้ หมด คนเขม้ แขง็ ย่อมไม่หว่นั ไหว แม้ ใครจะเขา้ ใจผดิ ก็ตาม เขา ยอ่ มมตี บะธรรม อดทนต่อสงิ่ ท่เี หลอื ทนได้ แม้จะถกู ด่าว่าก็ไม่ กล่าววาจาหยาบชา้ โตต้ อบ เปน็ มนุ ีผูน้ ่ิงอยา่ งประเสรฐิ เพราะ รวู้ า่ การดา่ วา่ สบประมาทเปน็ การทำรา้ ยจติ ใจทเ่ี จบ็ ปวดทส่ี ดุ จะทำให้มติ รภาพถงึ กาลอวสาน เหมอื นแกว้ ทห่ี ลน่ ลงมาแตก กระจาย ยากทจี่ ะประสานให้ตดิ กนั ไดด้ งั เดิม ในชวี ิตประจำวันของการอยู่รว่ มกัน ยอ่ มมีการกระทบ กระทั่งกนั เป็นปกติ การท่ีจะประสานใจทุกๆ ดวงใหเ้ ป็นดวง เดียวกันได้เป็นส่ิงที่วิเศษสุด นอกจากบุคคลเหล่าน้ันจะมี อุดมการณ์ และเป้าหมายชีวิตเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันแล้ว ยงั จะตอ้ งมีความเข้าใจซง่ึ กันและกัน ความเขา้ ใจต่อทกุ สง่ิ ทุกอย่าง ทำใหเ้ ราให้อภยั ต่อทุก สิ่งทุกอย่างได้ ความเข้าใจและรู้ใจกันจะก่อใหเ้ กดิ ความ สามคั คี ซึง่ เปน็ หวั ใจของความเป็นทีม www.kalyanamitra.org
7 ค ว า ม ลํ า บ า ก ส ร้ า ง ค น ทีม ทีม ทมี คำน้ีมคี วามหมาย ธรรมกายทมี แก้วแวววับใส สามัคคีพ่ีนอ้ งคลอ้ งดวงใจ ทำสงิ่ ใหญท่ ่ีใครวา่ ไมม่ ีวนั เราจกั อยูร่ ว่ มกนั ฉันพ่นี อ้ ง จะประคองกันไปใหถ้ ึงฝนั ใจเปิดกว้างว่าไงวา่ ตามกนั สำนึกม่นั ม่งุ เนน้ ความเป็นทีม พระเดชพระคณุ หลวงพ่อสอนพวกเราอย่เู สมอวา่ “ให้มี จติ สำนึกของความเปน็ ทมี อยู่ในใจตลอดเวลา เราต้องมีความ รกั สมคั รสมานสามคั คกี นั เป็นทมี ทง้ั หยาบและละเอยี ด” ท่าน จะเนน้ ตรงนม้ี าก เพราะเราสรา้ งบารมกี นั เปน็ ทมี “ที่นี่ไมม่ ี ศิลปนิ เด่ียว” ทกุ คนจะตอ้ งเท่าเทยี มกันทัง้ ทมี ถา้ หยาบยังเป็น ทมี ไม่ได้ ละเอียดจะเปน็ ทีมไดอ้ ยา่ งไร? กำลังใจเป็นสิ่งสำคัญมากในการสร้างบารมี พระเดช พระคุณหลวงพอ่ บอกวา่ “เราตอ้ งเพ่มิ เตมิ กำลังใจให้ตัวเองทกุ ๆ วนั เพม่ิ มากข้ึนไปเร่ือยๆ เท่าเดมิ ก็ไมเ่ อา ตอ้ งเพ่ิมเขา้ ไปจนมี กำลังใจเต็มอนันตจกั รวาล มองเห็นโลกเลก็ เทา่ ผงธุลี เหมือน มองเหน็ ช้างทีว่ ่ิงเข้ามาตัวเทา่ มด แล้วทุกส่ิงทุกอยา่ งจะสำเรจ็ ลงอยา่ งง่ายดายด้วยกำลังใจอนั ย่ิงใหญ่ของเรา” www.kalyanamitra.org
8 พ่ี เ ณ ร ส อ น น้ อ ง 3 จงเข้มแข็งแกรง่ กล้าอย่าทอ้ ถอย อย่าเหงาหงอยคอยหวังยงั ไม่สาย เรม่ิ ตน้ ใหม่กา้ วต่อไปไมเ่ สอ่ื มคลาย ธรรมกายเพือ่ นคู่ใจใกล้ชิดเรา การประคับประคองตนให้ตลอดรอดฝ่ังบนหนทางแห่ง การสรา้ งบารมเี ปน็ สงิ่ ท่ีไมง่ า่ ยนกั พระเดชพระคณุ หลวงพ่อสอน ใหร้ ะมดั ระวงั ตอ่ สง่ิ ทเ่ี ปน็ ขา้ ศกึ ตอ่ พรหมจรรย์จะตอ้ งมสี ตสิ ำรวม อนิ ทรยี ์ใหม้ าก ไมม่ ีใจยินดีในเพศตรงขา้ ม ไมด่ ำริ ไมส่ นใจ ไม่ ปรุงแตง่ ในเร่ืองกาม หดั หักห้ามใจ ขม่ ใจเอาไว้ มองให้เหน็ โทษ ของการครองเรือน ทุกข์ในวัฏฏสงสาร แลว้ ใหม้ ีจติ ยนิ ดีในเพศ พรหมจรรย์ เพราะชีวิตพรหมจรรยเ์ ปน็ ชีวติ ท่ีประเสริฐท่ีสุด ดาบท่ลี บั คมแลว้ เชือด กระบีท่ ีข่ ดั ดแี ลว้ แทง หอกท่ีพุ่งปกั อก กามทั้งหลายเจ็บปวดยง่ิ กวา่ พระเดชพระคณุ หลวงพอ่ บอกใหเ้ ราสอนตนเองอยเู่ สมอวา่ “เราเกดิ มาทำหนา้ ท่สี รา้ งบารมีอนั ย่ิงใหญ่ เพอ่ื จะนำพาสรรพ สตั ว์ไปให้ถงึ ที่สุดแหง่ ธรรม ใหเ้ ราตระหนักถึงงานอันแท้จริง คอื งานขจดั กเิ ลสอาสวะ กำจดั อวชิ ชาให้ส้นิ ไป เราศกึ ษาธรรมะ เพื่อความบริสุทธ์ิ หลดุ พ้นจากการเป็นบ่าวเป็นทาสของเขา” www.kalyanamitra.org
9 ค ว า ม ลํ า บ า ก ส ร้ า ง ค น เราเกิดมาทำวชิ ชามิใชอ่ ื่น ท่วั ทัง้ หมืน่ โลกธาตเุ ขาคาดหวงั ทหารกลา้ สูฟ้ นั ฝ่าสดุ กำลงั เมือ่ ถึงฝังพระนพิ พานมารบรรลัย พระเดชพระคณุ หลวงพอ่ มกั จะถามพวกเราอยู่เสมอวา่ ... “รักวชิ ชาธรรมกายรึเปลา่ จ๊ะ.. รกั แค่ไหน...” ทา่ นอยากใหล้ กู ๆ เข้าถึงวิชชาธรรมกายกันทุกคน อยากให้ลูกๆ รักและหวง แหนวิชชาธรรมกายย่ิงชีวิต ให้ทุ่มตัวทุ่มชีวิต เอาชีวิตเป็น เดิมพันในการศกึ ษา ให้ใจรักและผกู พนั กับวชิ ชาธรรมกายท้งั วนั ทง้ั คนื โดยไม่ผูกพนั กับอะไรเลย รักวชิ ชาธรรมกายยง่ิ สง่ิ อ่ืนใด ทุ่มหมดใจในการเรียนเพยี รฝึกฝน หยุดนิง่ เฉยไม่ละเลยกลางของตน หวังหลดุ พ้นอวิชชาพญามาร ชีวติ เผชญิ กับลมฝนพายรุ ้ายรอบทิศ ร่างกายและจิตใจ ตอ้ งเขม้ แขง็ อุปสรรคชว่ ยสรา้ งเกราะอนั กลา้ แกรง่ แม้มรสุม ชวี ติ รุนแรง แต่นักสรา้ งบารมีตอ้ งอดทน ในสงครามของความ เป็นคนเราต้องอดทนและอดกลั้น เพชร..เป็นคาร์บอน เช่น เดียวกับถ่าน เพราะถูกแรงกดดันและอุณหภูมิท่ีสูงสุด จะ ทนทานนานนับลา้ นๆ ปี ในท่ีสดุ จงึ กลายมาเป็น “เพชร” ท่ี ทรงคณุ ค่าย่งิ กวา่ อัญมณีใดๆ ในโลก www.kalyanamitra.org
10 พี่ เ ณ ร ส อ น น้ อ ง 3 แม้งานหนกั ใจเหน่ือยกายเมือ่ ยล้า ใครบน่ วา่ ชา่ งเขาเราไม่สน จะขอสเู้ รอื่ ยไปใจอดทน มงุ่ ฝกึ ฝนคน้ วิชชาราวมี าร ในการศกึ ษาวชิ ชาธรรมกายผเู้ ขา้ ศกึ ษาจะตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิ ทดี่ พี ร้อมท้ังคุณธรรมภายนอกและคุณธรรมภายใน เพื่อจะได้ รองรบั ความรอู้ นั บริสทุ ธข์ิ องพระพทุ ธเจา้ ไดอ้ ยา่ งลกึ ซงึ้ กวา้ งไกล พระเดชพระคณุ หลวงพอ่ ได้ให้โอวาทไวว้ ่า “ผูศ้ กึ ษาวชิ ชาธรรมกายจะต้องหลอ่ หลอมใจให้เป็นดวง เดยี วกับหลวงพอ่ รวมใจใหเ้ ปน็ หน่งึ โดยเช่ือฟังคำแนะนำสั่ง สอน บอกอย่างไรให้ทำอย่างนัน้ ให้ดหู ลวงพ่อเปน็ เกณฑ์ วา่ ไง ว่าตามกนั จิตใจต้องเดด็ เดยี่ วเขม้ แขง็ มอี ดุ มการณม์ ่ันคง เปา้ หมาย ชวี ิตชดั เจน รักษามโนปณธิ านย่ิงชวี ติ อุทิศชีวติ เปน็ พุทธบชู า เพ่อื ศกึ ษาวชิ ชาธรรมกาย เพือ่ ความบรสิ ุทธ์ิหลุดพ้นจรงิ ๆ รักในวิชชาธรรมกายยิง่ ส่ิงอื่นใด ไมต่ ดิ อะไรทง้ั สิน้ ตดิ แต่ ธรรมะ ติดกลางของกลางอยา่ งเดียว ไม่ยึดมั่นผูกพนั กับอะไร เลย ไมม่ ีห่วงกังวลใดๆ ไมห่ ่วงแมก้ ระท่งั ทางบา้ น มุ่งรดุ หนา้ เร่อื ยไปอย่างไมห่ ยุดย้ัง ตอ้ งสามคั คกี นั ท้งั ทมี เทา่ เทยี มกนั ทั้งทีม เป็นทีมทั้งหยาบ และละเอยี ด ไม่ทะเลาะเบาะแว้งกนั ไมจ่ จู้ ้ขี ้บี น่ ไม่กระทบ กระทัง่ กบั ใคร ไม่นอ้ ยใจ ไม่เพ่งโทษใคร www.kalyanamitra.org
11 ค ว า ม ลํ า บ า ก ส ร้ า ง ค น เมือ่ ได้รบั มอบหมายให้ทำอะไร ต้องประกอบด้วยสติ ปัญญา ไม่เกยี่ งงอนเก่ยี งงาน อยู่ดว้ ยกนั ต้องชว่ ยกันดูแลเปน็ หูเปน็ ตา อยา่ เฉยเมยปล่อยปละละเลย ต้องมีความเคารพ ออ่ นนอ้ มถ่อมตน ไม่คุยโวโอ้อวดยก ตนขม่ ทา่ น ต้องสงบเสงีย่ มเจยี มตน ไม่อวดด้อื ถือดี มที ฏิ ฐิ มานะ อย่าเอาตัวเองเปน็ ใหญ่ ให้เอาหมคู่ ณะเป็นหลัก มีความกตญั ญู ไมม่ ีเหลยี่ มมีคู ไมห่ ลงตวั ลมื ตวั คิดวา่ เราเก่งหรือเราแน่กว่าใคร ไมค่ ดิ อยากเด่นอยากดัง หรอื หวัง ให้ใครเขาช่ืนชม รักความสะอาด ความเปน็ ระเบียบวนิ ัย มักน้อยสันโดษ ไม่สะสม ไม่คลุกคลีดว้ ยหม่คู ณะ ยนิ ดีปจั จยั ตามมีตามได้ ไมต่ ิด ในลาภสักการะสรรเสริญ ทำความดีโดยหวงั เอาบารมีเปน็ ท่ีตั้ง สขุ ภาพร่างกายตอ้ งสมบูรณ์แข็งแรง อดทน ไม่ย่อทอ้ ตอ่ อุปสรรคใดๆ ไมก่ ลวั ความยากลำบาก ไม่ยอมแพ้ จนกวา่ จะ บรรลุเป้าหมาย อยา่ งน้จี งึ จะศกึ ษาวิชชาธรรมกายได้” วชิ ชาธรรมกาย คือวิชชาที่เลศิ ทสี่ ดุ ย่ิงกว่าวชิ ชาใดๆ ในโลก ขอให้น้องเณรจงภูมิใจและดีใจเถอะว่า เราได้เลือกทาง เดินชีวิตได้ถูกต้องท่ีสุดและลัดท่ีสุดแล้ว แมน้ ้องเณรจะเป็น เด็กตัวเล็กๆ แต่เราหาได้เป็นเหมือนเด็กท่ัวไป ที่ว่ิงเล่น สนกุ สนานเฮฮาไม่ เพราะเราเป็นผูส้ ืบทอดอายุของพระพุทธ ศาสนาและวิชชาธรรมกาย www.kalyanamitra.org
12 พี่ เ ณ ร ส อ น น้ อ ง 3 ตอนนี้นอ้ งเณรเปน็ คลื่นลูกใหม่ ผูย้ กยอ่ งเชดิ ชูพระพทุ ธ- ศาสนาและวิชชาธรรมกายให้สูงเด่นเป็นปิ่นของนานาประเทศ เป็นหลักชยั ในชวี ติ ของมวลมนษุ ยชาติ ขอให้น้องเณรตั้งใจฝกึ ฝน อบรมตนเองให้สมบูรณ์พร้อม ดว้ ยวชิ ชาและจรณะ ปรยิ ตั ิ ปฏบิ ตั และปฏเิ วธ ใหเ้ ปน็ สามเณร ดีท่ีโลกต้องการ ช่วยสบื สานมโนปณธิ านอันสูงส่งของพระเดช พระคณุ หลวงพ่อปฏบิ ตั ธิ รรมใหเ้ ขา้ ถงึ วชิ ชาธรรมกายและนอ้ ม นำธรรมกายไปสดู่ วงใจของชาวโลก ร้อยดวงใจหลอมไว้ให้เป็นหนึ่ง รอ้ ยใหซ้ ้ึงอดุ มการณ์สานเป้าหมาย ร้อยดว้ ยรักสามัคคีมเิ สอ่ื มคลาย รอ้ ยกลางกายสายใจใฝ่วชิ ชา รอ้ ยอดทนมากล้นความเคารพ ร้อยสงบมกั นอ้ ยปลอ่ ยตณั หา ร้อยวินัยใครแ่ ทนคุณจนุ เจือมา ร้อยกายารักษาไว้ให้สมบูรณ์ รอ้ ยหยุดน่งิ ด่งิ เข้าไปในกายธรรม รอ้ ยใจนำตามติดจติ ตกศูนย์ ร้อยองค์พระภายในใสเพ่มิ พนู ร้อยกลางศนู ยก์ ลางพอ่ กอ่ เกิดธรรม AAA www.kalyanamitra.org
1 พ่ี เ ณ ร ส อ น น้ อ ง โ ร ง เ รี ย น ข อ ง ผู้ มี บุ ญ โดย...พระสมศักด์ิ จนทฺ สีโล “ เส้นทางการศกึ ษาของพระภกิ ษสุ งฆ์ จะตอ้ งมงุ่ เนน้ ปลูกฝังเป้าหมาย ปณธิ าน และอดุ มการณข์ องนกั บวช ”เพ่อื ใหเ้ ปน็ นักบวชท่สี มบูรณพ์ รอ้ มตามพุทธประสงค์ พระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธิ์ (หลวงพ่อธมั ม- ชโย) เคยกลา่ วไวว้ า่ เสน้ ทางการศกึ ษาของพระภกิ ษสุ งฆ์ จะตอ้ ง มงุ่ เน้นปลกู ฝงั เปา้ หมาย ปณิธาน และอดุ มการณ์ของนักบวช เพื่อให้เป็นนกั บวชท่ีสมบูรณ์พรอ้ มตามพทุ ธประสงค์ เพราะ “นักบวช” คอื “ผมู้ ีบญุ ” ไม่ใช่ “ผูด้ ้อยโอกาส” และเส้นทางสายน้ี มิใช่ “ทางออ้ ม” แตเ่ ป็น “ทางลดั ” ทีจ่ ะ นำไปสคู่ วามสำเรจ็ สมบรู ณด์ ว้ ย ปรยิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ ปฏเิ วธ และเทศนา www.kalyanamitra.org
2 พ่ี เ ณ ร ส อ น น้ อ ง ดงั น้ัน โรงเรียนพระปรยิ ตั ิธรรมทแ่ี ท้ ก็คอื โรงเรียน ของผู้มีบุญ ที่หล่อหลอมอบรมบุคคลตั้งแต่ระดับต้นจนถึง อดุ มศึกษาให้กลายเป็น “บณั ฑิตทแ่ี ทจ้ รงิ ” ที่โลกต้องการ เริม่ ต้นรอบที่สองปีนักษัตรพระปรยิ ตั ิธรรม ชื่อเสียงของวัดพระธรรมกายที่คุ้นเคยกันมานานว่า เป็นศนู ย์กลางแห่งการสอนธรรมภาคปฏบิ ตั ิท่ีใหญ่ทส่ี ดุ แห่งหนงึ่ โดย มีผู้คนท้ังในและต่างประเทศเข้ามาประพฤติปฏิบัติธรรม กนั มาตลอด แต่อีกมุมหน่ึงวัดพระธรรมกาย คือแหล่งของนักการ ศึกษา ท่ีนบั ตั้งแต่ผู้บรหิ ารระดบั สงู สุดของวดั จนถึงสมาชกิ ใน วัดทั้งอุบาสก อุบาสิกา ต่างมุ่งศึกษาพระปริยัติธรรมควบคู่ ธรรมปฏบิ ัติ มานบั ตง้ั แต่ก่อนสร้างวดั กนั เลยทเี ดยี ว ทั้งน้ีก็เพื่อมุ่งประพฤติปฏิบัติตามแนวทางการศึกษาท่ี พระพทุ ธองคท์ รงวางเอาไว้ ๒ ประการ คอื ดา้ นปรยิ ัตธิ รรม หรือ “คันถธรุ ะ” และด้านธรรมปฏิบัติหรือ“วิปัสสนาธรุ ะ” เพราะท้ังปริยัติและปฏิบัติ จักเป็นบันไดนำไปสู่จุดยอด คอื “ปฏิเวธ” คือการประจักษ์แจ้งแทงตลอด ในธรรม โดยเฉพาะวดั พระธรรมกาย มเี ปา้ หมายและมโนปณธิ าน ที่แน่ชัดทจ่ี ะมุง่ .. “สร้างวดั ใหเ้ ปน็ วัด” “สร้างพระให้เปน็ พระ” และ www.kalyanamitra.org
3 พี่ เ ณ ร ส อ น น้ อ ง “สรา้ งคนให้เปน็ คน” การศึกษาพระปริยัติธรรมจึงได้ดำเนินมานับตั้งแต่ พระเดชพระคุณหลวงพอ่ ธมั มชโย เรม่ิ อุปสมบทในปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๑๒ และมวี ิวัฒนาการขยายรปู แบบมาเรือ่ ยๆ ถ้าหากจะเริม่ ถอื วา่ ปพี ทุ ธศักราช ๒๕๒๗ ที่ปรากฏเป็น โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรมท่ีชัดเจน โดยมีการสง่ นักเรยี นบาลีเข้า สอบในสนามหลวงเป็นครั้งแรก จนถึงปัจจุบนั ก็ถอื วา่ บดั นี้โรง- เรยี นพระปริยัติธรรม วดั พระธรรมกาย ดำเนนิ มาได้ ๑๓ ปี อนั เปน็ การเรม่ิ นบั หนงึ่ สรู่ อบทีส่ องของปนี กั ษตั ร และถอื เปน็ เกยี รติ ประวตั แิ ละยงั ความร้สู ึกปลาบปล้มื เป็นอยา่ งยิง่ ท่ีในรอบปนี กั - ษัตรแรก ปรากฏมพี ระภกิ ษสุ อบได้เปรียญธรรม ๙ ประโยคอนั เป็นประโยคสูงสุด จำนวน ๑ รูป และเพียงแค่เริ่มต้นรอบ นกั ษตั รทสี่ องคอื ปนี ี้ ปรากฏมผี สู้ อบไดเ้ ปรยี ญธรรม ๙ ประโยคอกี ถึง ๒ รูป โดยเปน็ พระภกิ ษุ ๑ รูป สามเณร ๑ รูป วงศ์พระปริยตั วิ ดั พระธรรมกาย พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (หลวงพ่อวดั - ปากน้ำ ภาษเี จริญ) ทา่ นเป็นผู้ใฝ่ใจในการศึกษาเป็นอย่างยง่ิ ท่านเคยกล่าวไวว้ ่า “การศึกษานน้ั เปลี่ยนชวี ิตผู้ศึกษาใหส้ งู กวา่ เดมิ คนที่มกี ารศกึ ษาดีจะได้อะไรกด็ ีกว่า ประณตี กวา่ ผูอ้ ่ืน คนมวี ชิ าเท่ากบั ได้สมบัตจิ กั รพรรดิ กินใช้ไมห่ มด...” www.kalyanamitra.org
4 พ่ี เ ณ ร ส อ น น้ อ ง ดังน้ัน พระธรรมเทศนาของท่านจึงไพเราะลึกซงึ้ ทั้ง เบอื้ งต้น ท่ามกลางและที่สุด เปน็ ท่ยี อมรบั ของนักปริยตั แิ ละ นกั ปฏบิ ัติ ตอ่ มา เมอ่ื พระเดชพระคณุ หลวงพอ่ ธมั มชโยไดอ้ ปุ สมบท ณ วัดปากนำ้ ภาษีเจรญิ เม่อื วันที่ ๒๗ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๑๒ ชวี ติ แหง่ สมณะของทา่ น แมจ้ ะมงุ่ ปฏบิ ตั ธิ รรมมากเพยี งใด แตท่ า่ นก็ตระหนกั ถึงคุณคา่ ของการศกึ ษาควบคู่ไปด้วย ในยุคแรก แม้จะเรม่ิ ก่อสรา้ งวดั พระธรรมกาย ข้นึ ทอี่ ำ- เภอ คลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี แต่พระเดชพระคุณหลวงพ่อ และพระภิกษทุ เี่ ร่มิ บวชตามมาภายหลัง เชน่ พระพพิ ฒั น์ ฐติ - สทุ โฺ ธ, พระเผดจ็ ทตตฺ ชีโว (ปจั จบุ นั ดำรงสมณศกั ดท์ิ ่ี พระภาวนา- วิริยคุณ) ก็ยังต้องเดินทางไปศกึ ษาทว่ี ดั ปากนำ้ ภาษีเจรญิ บาง คร้ังท่มี ีงานพระศาสนารบี เรง่ ไม่ได้ไปวดั ปากน้ำ แตก่ ็ต้องอา่ น หนังสือเอง หากมีข้อสงสัยติดขัดประการใด ก็ไปกราบเรียน ถามพระอปุ ชั ฌาย์อาจารยอ์ ยู่เสมอๆ เริ่มพระปริยัติศกึ ษา “บาล”ี แมว้ ่าจะมกี ารเรียนภาษาบาลกี นั มาบา้ ง ทง้ั ด้วยการ เรยี นดว้ ยตนเองและมีครูอาจารย์มาให้การสอน แตเ่ ริ่มมีการ เรยี นการสอนอย่างไม่เปน็ ทางการ เมอื่ วนั ที่ ๒๖ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๒๖ โดยนิมนต์ พระมหายุทธนา ปริชาโน ป.ธ. ๙ จากวดั ปากนำ้ ฯ มาสอนวิชาไวยากรณ์และแปลธรรมบท ซึ่งในครง้ั น้นั www.kalyanamitra.org
5 พี่ เ ณ ร ส อ น น้ อ ง มผี เู้ ขา้ เรยี นไดแ้ ก่ พระเดชพระคุณหลวงพอ่ ทตั ตชีโว พระดลิ ก กิตฺตติ ลิ โก (พระครสู าครสทุ ธธิ รรม) พระมหาชาติชาย ตก-ฺ กสรโณ พระมหาสุวทิ ย์ วชิ ฺเชสโก เปน็ ตน้ และมีการส่งเข้า สอบบาลสี นามหลวงเปน็ คร้งั แรกเมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๗ ในปตี อ่ มา วดั พระธรรมกายเรมิ่ มพี ระภกิ ษอุ ยปู่ ระจำมาก ขน้ึ และเรม่ิ มกี ารรบั สามเณรเขา้ อยู่ในวดั เปน็ คร้งั แรก ๕ รปู การ ให้การศกึ ษาพระปรยิ ัติธรรม ทัง้ แผนกธรรมและแผนกบาลี ก็ เริ่มมกี ารศึกษากันมากขนึ้ ไดม้ กี ารเชญิ ครบู าอาจารยผ์ มู้ คี วาม รคู้ วามชำนาญเขา้ มาชว่ ยบรรยายถวายความรู้ แม้ในระยะน้ี สถานที่เรยี นจะไม่สะดวกสบาย เชน่ เปน็ เต็นท์ผา้ ใบ พอคมุ้ แดด คุ้มฝน และช่วงเวลาที่อาจารย์จะมาสอน ส่วนมากเป็นช่วง หลังเลิกงานประจำ เปน็ ทน่ี า่ ยนิ ดวี า่ ในปี พ.ศ.๒๕๒๘ มีการสง่ พระภิกษเุ ขา้ สอบระดบั นกั ธรรมตรีสนามหลวงเป็นครงั้ แรก ๕๐ รปู และ สามารถสอบได้ถงึ ๔๔ รปู สว่ นดา้ นการศกึ ษาบาลที กี่ ลา่ ววา่ เรม่ิ เปน็ จรงิ เปน็ จงั กค็ อื ไดม้ กี ารเปดิ ชน้ั เรยี นขนึ้ ทอี่ าคารปโุ รหติ า เพอ่ื ใหพ้ ระภกิ ษสุ ามเณร เข้าเรียน ซง่ึ ถือเปน็ การจดุ ประกายทีจ่ ะให้บงั เกิดมปี ราชญ์ทาง บาลีปรากฏขน้ึ ในวัดในเวลาตอ่ มา ทศวรรษแรกแหง่ พระปรยิ ตั ิธรรม การเรียนการสอนทั้งด้านนักธรรมและทางด้านบาลี www.kalyanamitra.org
6 พ่ี เ ณ ร ส อ น น้ อ ง ศกึ ษา หรอื การเรยี นการสอนนวกภมู ิ แมจ้ ะมกี ารสอนในช้นั เรยี น แตร่ ูปแบบที่ช่วยทำให้เกิดประสทิ ธภิ าพทางการเรยี นอยา่ งมาก มาย ก็คือการเรียนการสอนลักษณะพ่ีสอนน้อง แม้พระภกิ ษุ รนุ่ พ่ีจะยงั มีภารกจิ และการศกึ ษา แตก่ ต็ อ้ งหาเวลามาชว่ ยสอน ตลอดจนให้คำแนะนำแก่รุ่นน้อง อันเป็นการช่วยเสรมิ ส่ิงทีอ่ า- จารยส์ อนในช้ันเรยี น แต่สภาพท่ีมักจะปรากฏพบเหน็ ในระยะนี้ กค็ ือ ภาพพระภกิ ษุสามเณรชว่ ยกนั สรา้ งหอ้ งเรียน ซ่ึงเปน็ อา- คารหลงั คาและกน้ั ฝาผนงั ด้วยใบจาก นบั ตง้ั แตก่ ารออกแบบสรา้ ง ลงมอื สร้าง ตลอดจนปรับ ปรุงส่งิ แวดล้อมใหเ้ หมาะสมสามารถรองรบั พระภิกษแุ ละสาม- เณรทเ่ี พมิ่ จำนวนมากขนึ้ ใหพ้ อเพียง แม้จะพบกับอุปสรรคความ ยากลำบาก แต่ไม่เคยมีใครทอ้ ถอย แตก่ ลบั หล่อหลอมให้พระ ภิกษุสามเณรทกุ รูป มีความรกั ใครส่ ามัคคี พรอ้ มทจี่ ะเคียงบา่ เคยี งไหลก่ นั ทำกจิ กรรมต่างๆ อย่างไม่เกรงกลัววา่ จะหนกั หนา สาหสั ประการใด ทัง้ การศึกษา กจิ วตั รและการทำกจิ กรรมร่วม กัน จงึ ทำใหเ้ กดิ ความแขง็ แกรง่ ทง้ั ร่างกายและจิตใจ โดยเฉพาะการได้เห็นแบบอยา่ งของครูบาอาจารย์ ทั้ง จริยาวัตรและมโนปณธิ านอันสงู สง่ จงึ เป็นส่งิ ยำ้ เตอื นและปลกู ฝังอุดมการณ์อันม่ันคง ที่จะดำเนินตนเองไปในเส้นทางของ นกั บวช นักสรา้ งบารมผี สู้ รา้ งสันตสิ ุขใหแ้ ก่โลก และในทีส่ ดุ สถาบันศาสนศกึ ษาเล็กๆแหง่ นี้ ได้เร่มิ มีผล ผลติ เปน็ นักธรรม และนกั ศึกษาบาลที เ่ี รมิ่ มีปรมิ าณและคุณภาพ www.kalyanamitra.org
7 พี่ เ ณ ร ส อ น น้ อ ง มากข้นึ มผี ู้สอบนกั ธรรมได้ทกุ ระดับ ทัง้ นกั ธรรมช้ันตรี โท เอก สว่ นหลกั สตู รธรรมศกึ ษาของฆราวาส กม็ อี บุ าสกอบุ าสกิ าผสู้ นใจ สมัครและสอบได้มากขึ้นเรือ่ ยๆ ประวัติศาสตร์แห่งพระปริยัติศกึ ษาของวัดพระธรรม- กายไดจ้ ารกึ ไวอ้ ยา่ งนา่ ชน่ื ชมว่า ในปี พ.ศ.๒๕๓๕ โรงเรียน พระปรยิ ัติธรรม วดั พระธรรมกาย ซึ่งสังกดั ในสำนักเรยี น คณะจงั หวัดปทุมธานี มีพระภกิ ษสุ ามเณรสอบผ่านเปรียญ ธรรม ตง้ั แต่ระดับประโยค ๑-๒ จนถงึ ประโยค ๙ มากทีส่ ุด ในประเทศไทย คือเป็นจำนวน ๑๒๐ รูป และพระมหาสวุ ิทย์ วิชฺเชสโก พระอาจารย์ใหญ่ของ โรงเรียน กส็ ามารถสอบได้เปรียญธรรม ๙ ประโยค เป็น รูปแรกของวัดพระธรรมกาย เช่นกัน ด้วยเมตตาและบารมขี องหลวงพอ่ จากการสนบั สนนุ และการดำเนนิ งานการศึกษาอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง จนปรากฏผลอย่างน่าปลาบปลม้ื เพราะทุกครงั้ จะมี พระภกิ ษสุ ามเณรวดั พระธรรมกาย สอบบาลีได้มากเปน็ อันดบั ตน้ ๆ ของประเทศเป็นประจำทุกปี สว่ นการสอบนวกภมู ิ ก็มัก จะครองอันดบั หน่ึงของจังหวัดเรอื่ ยมา บางปีกท็ ำคะแนนได้เตม็ ทุกวิชา พระเดช พระคุณหลวงพ่อธัมมชโยผู้ ให้กำลังใจและ เมตตาใหก้ ารสนับสนนุ อยู่เบ้ืองหลงั ไดเ้ คยกลา่ วไวว้ า่ www.kalyanamitra.org
8 พ่ี เ ณ ร ส อ น น้ อ ง พระเดชพระคุณหลวงพ่อมีนโยบายส่งเสริม เช่น ด้านปัจจยั พน้ื ฐานท้งั ๔ อันควร แกส่ มณบริโภค รวมท้งั ตำรับตำรา และ อปุ กรณก์ ารเรยี นการสอนตอ้ งพร้อม จะได้ไมเ่ ปน็ กงั วลแกผ่ เู้ รยี น พระเดชพระคณุ หลวงพ่อมงุ่ เน้น ปลูกฝัง เป้าหมาย ปณธิ านและอดุ มการณข์ องนกั บวช เพอ่ื ใหเ้ ปน็ นกั บวชทสี่ มบรู ณ์ พรอ้ มตามพุทธประสงค์ เพราะนักบวชคือ “ผ้มู ีบญุ ” ไม่ใช่ “ผ้ดู ้อยโอกาส” และหนทางน้เี ปน็ “ทางลดั ” ไม่ใช่ “ทางอ้อม” พระเดชพระคุณหลวงพ่อวางกฎเกณฑ์ให้มีการจัด กิจวตั รและกจิ กรรมของสงฆ์ เพือ่ ให้มสี ิ่งแวดล้อมทด่ี ีเหมาะสม แกก่ ารศกึ ษา มกี ารปลกู ฝงั ถ่ายทอดคณุ ธรรมจากรนุ่ พสี่ รู่ ุน่ นอ้ ง มีการจัดพระอาจารย์ที่มีความรู้ และเป็นต้นแบบแห่งศีลา- จารวัตรอนั งดงาม ทั้งนย้ี ังไดม้ ีการใหก้ ำลังใจอยา่ งสมำ่ เสมอ สว่ นตวั ของพระเดชพระคณุ หลวงพอ่ ทา่ นก็ไดท้ ำตนเปน็ แบบอยา่ ง และเปน็ ศนู ยร์ วมแหง่ ความรักศรทั ธาของพุทธบรษิ ทั ของวัดพระธรรมกาย ท่านคอยสอดส่องเอาใจใส่และติดตาม ความคบื หนา้ ของการศกึ ษาอยเู่ สมอ ไมเ่ พยี งจะใหล้ กู พระลกู เณร หรอื ลกู อุบาสกอบุ าสกิ ามคี วามเปน็ เลิศทางวิชาการเท่านนั้ ท่านยังส่งเสริมสมาชิกทุกคนให้เห็นความสำคัญของ ธรรมปฏิบัติควบคู่กันไป ทั้งกิจวัตรและกิจกรรมล้วนเป็นไป www.kalyanamitra.org
9 พ่ี เ ณ ร ส อ น น้ อ ง เพอื่ การสร้างศาสนทายาท ผ้เู ปี่ยมด้วยความรู้และคณุ ธรรม ดงั ทที่ า่ นไดก้ ำหนดคณุ สมบตั เิ บอื้ งตน้ วา่ จะตอ้ งสมบรู ณ์ ด้วย ๓ ป. คือปรยิ ัติ ปฏบิ ตั ิ และปฏิเวธ และอีกประการหน่ึง คอื “เทศนา” เพื่อทีจ่ ะนำพระสทั ธรรมยังประโยชน์ใหแ้ ก่สังคม ชาวโลกดว้ ย ผทู้ ำความปรารถนาพระเดชพระคณุ หลวงพอ่ ใหส้ ำเรจ็ พระเดชพระคุณหลวงพ่อ ไม่เพียงแตจ่ ะส่งเสริม สนบั สนนุ การศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรมเฉพาะภายในวดั แตพ่ ระเดช พระคุณหลวงพ่อยังได้แผ่ความเมตตาไปทั่วสังฆมณฑล ดว้ ย การจดั ทนุ การศึกษา เพอื่ สนับสนุนพระภกิ ษุสามเณรท่ีกำลงั ศกึ ษาทงั้ หลกั สตู รบาลแี ละนกั ธรรมทว่ั ประเทศ รวมถงึ การศกึ ษา ในมหาวิทยาลัยสงฆ์ ซึ่งพระเดชพระคุณหลวงพ่อก็ให้การส่ง เสรมิ ตามสมควรแก่ความปรารถนา เช่น การมอบทุนสนับสนุน การศึกษา ทนุ ส่งเสรมิ การวิจยั เปน็ ตน้ นอกจากนพ้ี ระเดชพระคณุ หลวงพ่อ ยังให้จัดพธิ แี สดง มุทิตาสกั การะแกผ่ ู้สำเร็จการศกึ ษาอกี ด้วย ดังเช่น การจัดพิธี มุทติ าสกั การะพระภิกษุสามเณร ผสู้ อบไดเ้ ปรยี ญธรรม ๙ ประ- โยค ซึ่งได้จัดอย่างต่อเน่ืองมาจนถึงปีที่ ๑๐ แล้ว ท้ังน้ี พระเดชพระคณุ หลวงพอ่ ไดก้ ลา่ ววา่ “หลวงพอ่ ไดด้ ำรใิ ห้จดั พธิ ดี งั กลา่ วขน้ึ ทกุ ปี แมจ้ ะต้องทมุ่ www.kalyanamitra.org
10 พี่ เ ณ ร ส อ น น้ อ ง เทท้ังด้านการจัดหากองทุนสนับสนุนการศึกษา ปัจจัยไทยธรรม การจดั งานทง้ั การประสานงานบคุ ลากรและสถานที่ ทั้งน้มี ุง่ หวงั ทจี่ ะใหเ้ ปน็ ขวญั กำลงั ใจแกน่ ักเรยี น ผปู้ กครอง พระอาจารย์ เจา้ สำนกั เรยี นตา่ งๆ อกี ท้ังเหลา่ ญาตโิ ยมและท่วั สังฆมณฑล ท่ีจะ ได้ชื่นชมว่าบัดน้ีได้ปรากฏมเี พชรนำ้ เอกบังเกิดขึ้น เพื่อเป็น กำลังสำคญั แก่พระพุทธศาสนา ความสำเร็จท่ีปรากฏขึ้นแต่ละคร้ังก็ยงั ความปีติใหแ้ ก่ พระเดชพระคณุ หลวงพ่อ ไม่ว่าทา่ นเหล่านัน้ จะมาจากวดั หรือ สำนักเรียนใด เพราะส่ิงที่เกิดข้ึนเสมือนผลิตผลอันงอกงาม ของชาวสวน หลังจากที่ได้หมั่นรดนำ้ พรวนดนิ ที่โคนต้น จน ปรากฏดอกและผลที่ปลาย ในปีน้ี อนั เป็นการเร่มิ ตน้ รอบท่ีสองปีนักษตั รของโรง- เรยี นพระปริยตั ิธรรม วัดพระธรรมกายก็ได้ปรากฏบัณฑติ แหง่ บาลี ผูส้ ามารถสอบไดเ้ ปรยี ญธรรม ๙ ประโยค อันเปน็ ประโยค สูงสดุ แหง่ การคณะสงฆ์ไทย ถึง ๒ รปู ได้แก่ พระมหาจำเรียน สกิ ฺขาสโภ และ สามเณรสามารถ เพชรสมัย โดยเฉพาะสามเณรสามารถ ผู้สามารถดุจเพชรรูปน้ี ถอื วา่ เปน็ สามเณร ป.ธ.๙ รปู แรกของวดั พระธรรมกายและ เปน็ รปู แรกของอำเภอคลองหลวง ซง่ึ ไดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั พระราชทานฐานะนาคหลวง เขา้ อปุ สมบทในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ณ วดั พระศรีรตั นศาสดาราม เมอ่ื วันเสารท์ ี่ ๑๒ กรกฎาคม พุทธศกั ราข ๒๕๔๐ www.kalyanamitra.org
11 พี่ เ ณ ร ส อ น น้ อ ง โดยมีฉายาวา่ “ธมมตฺถรํสี” อนั มีความหมายว่า “ผู้ ทำความสมปรารถนาของพระเดชพระคณุ หลวงพอ่ ใหส้ ำเรจ็ ” สว่ นพระมหาจำเรยี นน้นั กำลงั เป็นพระหนุม่ ท่มี ากดว้ ย ความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรร ท่ีกำลงั จะพัฒนารูปแบบการเรียนการ สอนให้มีประสิทธิภาพทันสมัย ด้วยวิทยาการและเทคโนโลยี สมยั ใหม่ แต่ท้ังน้ีและทง้ั นนั้ ท้งั สองรูปก็คือลูกหลวงพ่อผู้เปน็ กำลังสำคัญของพระพทุ ธศาสนา และเปน็ ผทู้ ่ียงั ความปีติปลาบ ปลม้ื ตลอดจนความช่นื ชมยินดี อันเปน็ ช่ือเสยี งเกียรตคิ ุณมา สู่หมู่คณะอยา่ งนา่ ภาคภูมใิ จ คล่ืนลูกใหมแ่ ห่งวงการพระปรยิ ัติธรรม ไม่นา่ เชื่อเลยวา่ โรงเรยี นพระปริยัติธรรม วัด พระธรรมกาย อันเป็นอาคารเรียน มุงและบุผนังด้วยใบจาก สถานที่ทผี่ เู้ ป็นเจา้ ของกลา่ วด้วยความรกั และภมู ิใจว่า “สมถะ เรยี บง่าย แต่ไฮคลาส” ได้เป็นจุดกำเนิดให้แก่บัณฑิตบาลี ผู้สำเรจ็ ประโยคสงู สดุ แหง่ การคณะสงฆ์ไทยมาแลว้ สิ่งก่อสร้างง่ายๆ ที่ใครมองข้าม มิได้เปน็ เครื่องบั่น- ทอนกำลงั ใจแกน่ กั เรยี นแตอ่ ยา่ งใด เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ตกึ ราคา แพง มีสงิ่ อำนวยความสะดวกครบครัน เพราะอาคารมงุ ใบจากน้ี คอื สงิ่ ปรากฏใหเ้ หน็ ความลำบาก ทจี่ ะมมุ านะฝา่ ฟนั และยำ้ สำนกึ ว่า “เรามิไดเ้ ปน็ ลูกเถา้ แก่ ทเี่ กิดมาเสวยสุขจากคนรนุ่ ก่อน ทำเอาไว้ให้” www.kalyanamitra.org
12 พี่ เ ณ ร ส อ น น้ อ ง ความสำเร็จท่ีเกิดข้ึนล้วนเกิดมาจากนำ้ พักนำ้ แรง ด้วยความมงุ่ มัน่ จนเทวดาและมหาชนเกิดศรทั ธาใหก้ ารสนับ สนุน โดยเรามิได้ประกาศเรียกร้องงบประมาณจากรัฐบาล หรือองค์กรใด หรือถือเอาสิ่งเหล่าน้ีเป็นเง่ือนไขต่อรองว่าจะ ทำหรือไมท่ ำ เพราะเราตระหนกั เสมอวา่ “ถ้าจะรอใหท้ ุกสิง่ พร้อม แลว้ ค่อยดำเนินการ นน่ั คือสภาพท่ีเป็นเพยี งความฝนั ” ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากโรงเรยี นพระปรยิ ตั ทิ ่ีไมม่ รี ปู แบบ จนเรม่ิ มีรูปแบบ ชัดเจน เร่ิมมีการปรับปรุงสถานท่ี ตลอดจนการ จัดการเรียนการสอนขึ้น ซ่ึงย่อมจะไม่หยุดยัง้ เพียงความเป็น โรงเรียนมุงใบจากเท่าน้ี แต่ส่ิงที่กำลังจะเป็นความภาคภูมิใจ รออยู่ในอนาคตอันใกลน้ ี้ก็คือ สถาบันแห่งนี้มีพระภิกษุ สามเณรท่ีกำลังเป็นคล่ืนลูกใหม่ของวงการพระปริยัติธรรม เตรียมจะเข้าสู่ทำเนียบ ผสู้ อบไดเ้ ปรยี ญธรรม ๙ ประโยคตาม มาอีกเป็นระลอกๆ แตล่ ะรปู ลว้ นเปน็ ธรรมทายาท ผู้ได้รบั การฟมู ฟักและ สนับสนุนมาต้ังแต่เป็นสินแร่ ซึ่งกำลงั ถูกเจียรนัยให้เป็นเพชร เม็ดงามโดยพระเดชพระคณุ หลวงพ่อทั้งสอง (พระเดชพระคุณ หลวงพอ่ ธัมมชโยและพระเดชพระคุณหลวงพ่อทตั ตชีโว) และ พระอาจารย์ทุกรูปผู้เป็นเสมือนนายช่างเจียรนัยฝีมือชั้นเลิศ เพ่อื ให้ เป็นเพชรเมด็ งามสมบรู ณพ์ ร้อม ดว้ ยสี แวว และแสง www.kalyanamitra.org
13 พี่ เ ณ ร ส อ น น้ อ ง เหล่ารัตนะอันลำ้ ค่าจากโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัด พระธรรมกาย หรือ “โรงเรียนของผมู้ บี ญุ ” แห่งน้ี มุ่งร่วมใจกัน ยกสังฆมณฑลให้สงู เดน่ เป็นสถาบนั แห่งผนู้ ำจิตใจของมหาชน และมวลมนษุ ยชาติไปส่ทู ี่สดุ แหง่ ธรรม www.kalyanamitra.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178