Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทักษะชีวิต

ทักษะชีวิต

Published by bungon_2009, 2022-06-22 07:30:03

Description: ทักษะชีวิต

Search

Read the Text Version

หนา้ ๑ สรุปผลการดาเนนิ กจิ กรรมการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ติ โครงการดูแล สขุ ภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนในชมุ ชน ดาเนนิ การวันท่ี 1 ธนั วาคม 2564 ณ บา้ นราษฎร์เกษมศรี หมู่ 7 ตาบลนาดี อาเภอสุวรรณคหู า จังหวดั หนองบัวลาภู อตั ลกั ษณ์สถานศึกษา: อยูอ่ ย่างพอเพยี ง เคยี งคู่คุณธรรม กศน.ตำบลสวุ รรณคหู ำ ศนู ยก์ ำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั อำเภอสวุ รรณคหู ำ สำนกั งำนสง่ เสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบ และกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั จงั หวดั หนองบวั ลำภู สำนกั งำนสง่ เสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบ และกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั สำนกั งำนปลดั กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

หนา้ ๒ คานา เอกสารเล่มนี้จดั ทาข้นึ เพ่อื เป็นการสรุปผลการดาเนนิ กิจกรรมการศึกษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวติ โครงการดแู ล สุขภาวะและสุขอนามยั ของประชาชนในชมุ ชน วนั ที่ 1 เดอื น ธันวาคม พ.ศ.2564 ณ บ้านราษฎร์เกษมศรี ตาบลนาดี อาเภอสวุ รรณคูหา จังหวดั หนองบวั ลาภู โดยมีวัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ประชาชนทั่วไปในอาเภอ สวุ รรณคูหาสามารถพัฒนาทักษะชวี ติ ของตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสงั คมได้ เพ่ือให้ประชาชนในอาเภอ สุวรรณคหู าได้ฝึกกระบวนการมีสว่ นรว่ ม คดิ เป็น แกป้ ญั หาเป็น เพื่อใหป้ ระชาชนในอาเภอสุวรรณคหู า สามารถนาความรู้ท่ีได้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวัน จึงได้จัดโครงการนข้ี ึ้นมา โดยไดร้ วบรวมการดาเนิน กิจกรรมทจ่ี ัดข้นึ ได้ดาเนินงานตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มศักยภาพ นามาซึ่งผลการดาเนนิ งานอนั มี ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลตามวัตถุประสงคท์ ตี่ ้ังไว้ กศน.ตาบลสุวรรณคูหา จึงหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจในงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้ใช้เป็นประโยชน์ด้านการศึกษาได้ดีในระดับหนึ่ง หากมี ข้อผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยไว้ ณ ท่ีนี้ และพร้อมน้อมรับคาชี้แนะ เพื่อนาไปพัฒนาและปรับปรุงการจัด กจิ กรรม กศน.ใหด้ ยี ่ิงขึ้นตอ่ ไป กศน.ตาบลสวุ รรณคูหา ผจู้ ดั ทา 11 ธันวาคม 2564

สารบัญ หนา้ ๓ เนือ้ หา หนา้ คานา ก สารบัญ ข บทท่ี 1 1 บทที่ 2 3 บทท่ี 3 6 บทท่ี 4 8 บทที่ 5 13 ภาคผนวก คณะผูจ้ ัดทา

หนา้ ๔ บทท่ี 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญ การจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ิต มีความสาคัญตอ่ การเรียนรขู้ องประชาชนและการพฒั นา คุณภาพของประชาชน กระบวนการจดั การศึกษาท่สี มบูรณ์จึงเปรยี บเสมือนเหรยี ญสองด้าน ด้านหนึง่ คือการ พฒั นาประชาชนในด้านวชิ าการการเรยี นรู้ตามหลกั สูตร อีกด้านหน่ึงคือการพัฒนาประชาชนทางด้านจติ ใจ ดา้ นคุณธรรมทั้งน้ีเพื่อให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆกนั มกี ารนาเอาไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของ ตนเองครอบครัว สังคม และประเทศชาติ และสถานศึกษามนี โยบายในการสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นได้ประพฤติปฏิบตั ิ ประชาธิปไตย ทั้งนีเ้ พ่อื ใหป้ ระชาชนมีความรู้ มที ักษะในการดาเนินวิถชี วี ติ และเปน็ พลเมอื งท่ีดีของ ประเทศชาติ สบื ไป ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จึงได้ดาเนินการจัดโครงการกระบวนการ เสรมิ สรา้ งและพฒั นาทักษะชีวิต วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ให้ประชาชนท่ัวไปในอาเภอสวุ รรณคูหาสามารถพัฒนาทกั ษะชีวติ ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสงั คมได้ 2. เพือ่ ให้ประชาชนในอาเภอสุวรรณคหู าไดฝ้ ึกกระบวนการมีสว่ นร่วม คดิ เปน็ แก้ปญั หาเปน็ 3. เพ่ือให้ประชาชนในอาเภอสุวรรณคูหาสามารถนาความรทู้ ี่ไดไ้ ปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวนั เปา้ หมาย เชิงประมาณ ประชาชนทั่วไป ตาบลสวุ รรณคหู า ตาบลกดุ ผ้ึง ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาดา่ น ตาบลบุญ ทัน ตาบลบา้ นโคก ตาบลดงมะไฟ จานวน 48 คน เชิงคุณภาพ ประชาชนทว่ั ไปในอาเภอสุวรรณคูหา สามารถพัฒนาทักษะชีวิตของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และ สังคมได้ ขอบเขตของโครงการ 1. ด้านเนื้อหา โครงการนีม้ งุ่ ให้ผ้เู รียนกลุ่มเปา้ หมายท่เี ข้ารับการอบรมสามารถนา ความรู้ ทกั ษะ และประสบการณก์ ารเรียนร้ตู ่างๆ ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้ 2. ด้านระยะเวลา ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน วนั ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ณ ศาลาประชาคมบา้ นราษฎร์เกษมศรี หมู่ 7 ตาบลสวุ รรณคูหา ตาบลกดุ ผ้ึง ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนา ดา่ น ตาบลบญุ ทนั ตาบลบา้ นโคก ตาบลดงมะไฟ อาเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลาภู 3. ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชาชนตาบลสุวรรณคูหา ตาบลกุดผงึ้ ตาบลนาสี ตาบล นาดี ตาบลนาด่าน ตาบลบุญทนั ตาบลบ้านโคก ตาบลดงมะไฟ จานวน 48 คน และครู กศน.ตาบลสุวรรณคูหา ตาบลกุดผ้ึง ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาด่าน ตาบลบญุ ทนั ตาบลบา้ นโคก ตาบลดงมะไฟ จานวน 22 คน

หนา้ ๕ ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ บั - ประชาชนตาบลสุวรรณคูหา ตาบลกุดผ้ึง ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาด่าน ตาบลบญุ ทัน ตาบลบา้ นโคก ตาบลดงมะไฟท่เี ข้ารว่ มโครงการรจู้ ักกระบวนการเสรมิ สรา้ งของการพฒั นาทักษะชีวิตของ ตนเองในแต่ละดา้ น - ประชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการอยู่รว่ มกบั สังคมได้อยา่ งมคี วามสขุ และสามรถนาความรูท้ ่ไี ด้ไปใชใ้ น ชีวิตประจาวนั ตวั ชว้ี ดั ตัวช้วี ดั ผลผลติ ร้อยละ 80 ของประชาชนทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ ตาบลสวุ รรณคูหา ตาบลกดุ ผึ้ง ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาด่าน ตาบลบญุ ทนั ตาบลบ้านโคก ตาบลดงมะไฟ ทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการดูแลสุขภาพของตนเองไดแ้ ละ อยูร่ ่วมกับสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ ตวั ชว้ี ัดผลลพั ธ์ ประชาชนตาบลสุวรรณคหู า ตาบลกุดผึ้ง ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาดา่ น ตาบลบญุ ทัน ตาบลบ้านโคก ตาบลดงมะไฟ ทเ่ี ข้าร่วมโครงการสามรถนาความรู้ที่ได้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ย่างมี ความสุข

หนา้ ๖ บทท่ี 2 เอกสารท่เี กี่ยวข้อง ความหมายและความสาคัญของกระบวนการพัฒนาทักษะชวี ติ การดแู ลสุขภาพ เปน็ ความรบั ผิดชอบของบุคคล ชุมชน และสังคม การดแู ลสขุ ภาพจึงเป็นภารกิจรว่ ม ของ ทุกภาคส่วนในชุมชนการทีจ่ ะทราบถึงปัญหาและความตอ้ งการ ทางสขุ ภาพของแตล่ ะชมุ ชนทอ้ งถิ่นนน้ั พยาบาลชุมชน ตอ้ งใช้กระบวนการในการดูแลสขุ ภาพชุมชน ซึง่ เปน็ วธิ ี การศึกษาภาวะสุขภาพและความ ต้องการของประชาชนเพื่อน ไปสกู่ ารแก้ไขปญั หารว่ มกบั ชุมชน โดยต้องมกี ระบวนการ ประเมนิ ปัญหาสุขภาพ ชุมชนท่ีชัดเจนและสอดคล้องกบั สภาพจรงิ ใชเ้ ครื่องมือหลายอยา่ งประกอบ เชน่ การสังเกต การสัมภาษณ์ การสนทนากลมุ่ การใชแ้ บบสอบถามและนา ขอ้ มลู ทไ่ี ด้มาวิเคราะห์เพื่อกาหนดปัญหาและความต้องการ ของ ชุมชน วางแผนเพอ่ื แก้ไขปญั หา ดาเนนิ การตามแผน ร่วมกบั ชุมชนและประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านรว่ มกันเพ่ือ นา ไปสู่การปรับปรงุ รปู แบบการดาเนินงานเพ่ือสรา้ งสขุ ภาพของ คนในชมุ ชนต่อไป สาระของบทความน้ี ประกอบดว้ ยเน้อื หา3สว่ น ได้แก่ แนวคิดของสขุ ภาพชมุ ชน บทบาทขององค์กรภาคีในการดูแล สุขภาพชุมชน และกระบวนการในการดูแลสุขภาพชมุ ชนใน บทบาทของพยาบาลชมุ ชน กระบวนการในการดูแลสขุ ภาพชมุ ชน: บทบาทของ พยาบาลชมุ ชน กระบวนการในการดูแลสุขภาพ ชมุ ชน เป็นเคร่ืองมือ สาคัญทพ่ี ยาบาลชุมชนใช้เพื่อทาการศึกษาภาวะสขุ ภาพ และความตอ้ งการด้านสขุ ภาพ ของประชาชน และร่วมกับ ชุมชนในการแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพด้วยการป้องกันโรค สง่ เสรมิ สุขภาพ ใหบ้ รกิ าร พยาบาล และฟน้ื ฟสู ุขภาพแก่ ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ซง่ึ กระบวนการในการดแู ลสขุ ภาพ ชมุ ชนใช้หลกั การ เดยี วกับกระบวนการพยาบาลชมุ ชน ดงั นี้ 1. การประเมนิ สุขภาพชุมชน เปน็ ขนั้ ตอนของ การรวบรวมขอ้ มลู พืน้ ฐาน ภาวะสุขภาพ ข้อมูลสิ่งแวดล้อม ข้อมูลด้านพฤติกรรมสขุ ภาพ ตลอดจนความสามารถของ ชุมชนและ หน ว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ งในการแกไ้ ขปัญหา เพ่อื ชว่ ยให้เข้าใจปัญหาสุขภาพของคนในชมุ ชน (Shuster, 2014) กระบวนการนี้ให้ความสาคัญกบั 3 ประเด็น ได้แก่ 1) การคน้ หา เข้าถึงขอ้ มูลทเี่ กีย่ วกับสุขภาพคนในชุมชน 2) การเปิดเผยให้เห็นปญั หาสุขภาพของคนในชมุ ชน พร้อมท้ังศักยภาพในการแก้ไขปัญหาและ3) กระบวนการ สร้างการมสี ว่ นรว่ มของผู้ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ท้งั ภาคส่วนของ องค์กรหนว่ ยงานรฐั ภาคประชาชน และองค์กรชุมชน ใน การให้ข้อมูล เกบ็ ข้อมูล และรับทราบข้อมลู รว่ มกนั (Severtson, Baumann, & Will, 2002; Cibula, Novick, Morrow, & Sutphen, 2003) ข้อมลู ท่จี าเป็นในการประเมนิ สขุ ภาพชุมชน ประกอบดว้ ย1) ขอ้ มูล ทั่วไปของชมุ ชนท่ีแสดงถงึ ลกั ษณะ ทางกายภาพของชุมชน สามารถแสดงได้ด้วยแผนท่เี ดนิ ดิน การทาแผนท่ี ชุมชน ซึ่งจะทาใหเ้ หน็ ลักษณะความเป็นอยู่ ของชุมชน 2) ข้อมูลด้านประชากร โครงสรา้ งประชากร เชน่ เพศ อายุเชื้อชาตศิ าสนา การศึกษา อาชพี รายได้ ความหนาแน่นของประชากร เช่น จานวนประชากรต่อ พ้ืนที่ อาศยั วฒั นธรรม ความเชื่อ และค่านิยมของชุมชน 3) ขอ้ มูลดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม เป็นข้อมลู ที่แสดงให้ เห็น ฐานะวถิ ีการดาเนนิ ชวี ิต และความเป็นอยู่ของชุมชน เช่น กิจกรรมในรอบปีกิจกรรมตามประเพณีกลุ่มคนที่ เก่ยี วขอ้ ง4) ข้อมลู ดา้ นสขุ ภาพ เปน็ ข้อมลู หลักในการวินิจฉัย ปัญหาสุขภาพของชมุ ชน เชน่ จานวนผู้ปว่ ยด้วยโรคต่างๆ ข้อมลู การรับบริการด้านการสร้างเสริม สขุ ภาพและป้องกัน โรค อตั ราป่วย อตั ราตาย5) ข้อมลู ด้านพฤติกรรมสขุ ภาพ ท้ังพฤติกรรมส่งเสริมสขุ ภาพ และพฤตกิ รรมเสี่ยงต่อสุขภาพ ของประชาชน 6) ขอ้ มูลด้านบรกิ ารสุขภาพ ระบบบริการ สุขภาพ ความ พอเพยี ง รวมทัง้ บริการสุขภาพแบบพน้ื บา้ น สมุนไพรแพทยแ์ ผนโบราณ ร้านขายยา(ขนิษฐา นันทบตุ ร, 2551; วนดิ า ดรุ งคฤ์ ทธชิ ยั และจรยิ าวัตร คมพยคั ฆ์, 2553; ศิวพร องึ้ วฒั นา และพรพรรณ ทรัพยไ์ พบลู ย์ กจิ , 2555; Shuster, 2010) วิธกี ารรวบรวมข้อมลู สุขภาพชมุ ชน พยาบาล ชุมชนสามารถเลอื กใชว้ ิธกี ารได้ ตามความเหมาะสม แต่ควร เปน็ วธิ ีที่ใหค้ นในชุมชนเข้ามาร่วมเรยี นร้ขู อ้ มลู สขุ ภาพ ชุมชนและเหน็ ปัญหา

หนา้ ๗ สขุ ภาพ เพ่ือนาไปสู่การวางแผน การดแู ลสุขภาพรว่ มกัน การรวบรวมขอ้ มลู สุขภาพชุมชน มีหลายวิธดี งั น้ี (สมใจวนิ ิจกลุ ,2550;วนิดา ดุรงคฤ์ ทธิชยั และจรยิ าวัตร คมพยคั ฆ์, 2553; สนุ ยี ์ละกาป่ัน, 2558) 1. การ วิเคราะห์ข้อมูลทตุ ิยภูมิท่มี ีอยู ่ เป็นการรวบรวมขอ้ มูลท่ีมอี ยจู่ ากแหลง่ ต่างๆ มาวเิ คราะห์ แยกตามหมวดหมทู่ ่ี ตอ้ งการ ข้อมลู ท่ไี ด้มาเบื้องต้น เชน่ ประวตั ิศาสตร์ชมุ ชน ข้อมูลสขุ ภาพที่มีอยู่ เช่น ข้อมูล จากบนั ทึกรายงาน ตา่ งๆ ที่ทาอยใู่ นงานประจาของหนว่ ยงาน จะใช้เป็นข้อมูลเริม่ ต้นในการทาความรูจ้ ักชมุ ชนในแง่มุม ต่างๆ เพื่อ นาไปขยายความในการศึกษาจากข้อมลู ปฐมภมู ิ ตอ่ ไป การวิเคราะห์ข้อมลู ทตุ ยิ ภูมิอาจทาไดโ้ ดยใช้ความรู้ ทาง วทิ ยาการระบาดเกี่ยวกบั โรค การกระจายโรค และสาเหตุ ของการเกดิ โรค มาประกอบการวิเคราะหข์ ้อมลู วา่ เพยี งพอ ตอ่ การอธิบายภาวะสขุ ภาพของคนในชุมชนหรอื ไม่ซง่ึ ถ้า ขอ้ มลู ส่วนใดยังไม่สามารถอธิบายได้ชดั เจน จาเป็นต้อง ศกึ ษาข้อมูลเพิ่มเตมิ ตอ่ ไป 2. การสัมภาษณ์ผใู้ หข้ อ้ มลู หลัก ซ่งึ เปน็ กล่มุ เป้าหมายท่ตี ้องการการ ดูแล และผทู้ ีเ่ ก่ียวข้องกบั การดูแลสุขภาพของกลุ่มเปา้ หมายเช่น ผดู้ แู ล ผู้นาชมุ ชน ผอู้ าวโุ ส เจ้าอาวาส กลมุ่ แม่บ้าน อาจเร่ิมสมั ภาษณเ์ กี่ยวกบั สมาชิกหรอื กลุ่มและเหตุการณใ์ นชุมชน ภาวะสุขภาพของ คนในชมุ ชน และการจัดการตามความเหน็ ของบุคคลทีถกู สมั ภาษณ์ข้อมูลที่ได้มักเปน็ ข้อมลู เชิงคุณภาพ เช่น วิธีการดแู ล สขุ ภาพของกลุ่มคนตา่ งๆ วิธกี ารรักษาตัวเม่ือ เจ็บปว่ ย ประวัติชุมชน การดาเนินกจิ กรรมของกลุ่มตา่ งๆ ใน ชมุ ชน ปัจจัยท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การดูแลสขุ ภาพชุมชน เช่น การจัดการขยะในครัวเรือน บทบาทของชมุ ชนตอ่ การ จดั การ สุขภาพ 3. การสังเกต เป็นการหาข้อเทจ็ จริงโดย การเฝา้ ดูสง่ิ ท่เี กิดขนึ้ อยา่ งเอาใจใส่ เพ่ือวิเคราะหห์ า ความสมั พันธข์ องสง่ิ ท่ีเกดิ ขึน้ กบั ส่ิงอน่ื การสังเกตแบ่ง ออกเป็น 1) การสังเกตแบบมีสว่ นรว่ มผ้สู ังเกตเข้าไป ร่วม กิจกรรมของผู้ถูกสังเกตโดยมกี ารซักถาม สงั เกต และบนั ทึก ข้อดขี องวิธีน้คี ือทาให้ได้ข้อมูลทแ่ี ท้จริง สว่ น ข้อด้อยคือ อาจเกดิ อคติได้ง่ายตามประสบการณ์ของผสู้ ังเกต และ 2) การสังเกตแบบไม่มีสว่ นรว่ ม ผสู้ งั เกตจะ ไม่เขา้ ร่วมใน กิจกรรมของผู้ถูกสงั เกตแตใ่ ชก้ ารเฝ้าดจู ากภายนอก ข้อดี คอื ใชเ้ วลาน้อย ประหยดั ส่วนข้อด้อย คอื ผ้สู ังเกตจะเก็บ ข้อมูลได้ไม่ครบทุกเร่ือง เน่ืองจากอาจไมไ่ ดส้ นใจในส่งิ ท่ี ผู้ถูกสงั เกตให้ความสาคญั หรือผถู้ กู สงั เกตร้ตู วั ว่าถูกสงั เกต อยู่อาจไม่แสดงพฤติกรรมที่แทจ้ ริงออกมา ซงึ่ การสงั เกต อาจสังเกตส่ิงทเ่ี กิดขน้ึ ใน ชมุ ชนในประเดน็ ท่เี ก่ยี วข้องกับ สขุ ภาพและการจัดการข้อมูลที่ไดเ้ ชน่ พฤติกรรมการกิน อาหารและดื่มสรุ าใน งานบุญประเพณีต่างๆ ของชุมชน การใช้ สารเคมใี นการทาเกษตรกรรมของคนในชุมชน 4. การสนทนากลุ่ม เป็นการอภิปรายกับ คนกลุม่ เลก็ ๆ ประมาณ 5-10 คน โดยมจี ดุ เนน้ เฉพาะใน ประเดน็ ที่อภิปราย วธิ กี ารนี้ใช้ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมอ่ื ต้องการขอ้ มูลจากหลากหลายคนพร้อมกนั เพื่อยนื ยัน รว่ มกันในประเด็นทีเ่ ป็น ปัญหาหรือประเดน็ สาคญั เช่น หาข้อคดิ เห็นเกยี่ วกับการดาเนินงานเพ่ือป้องกันการด่ืม เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ของเด็กวยั รนุ่ ในชมุ ชน 5. การใชแ้ บบสารวจ แบบสอบถามเป็น การคน้ หาข้อมลู โดยภาพรวม สว่ นใหญม่ กั ใช้ ในการรวบรวม ขอ้ มลู เก่ยี วกับข้อมูลด้านประชากร ความรู้เจตคตแิ ละ พฤติกรรมการสารวจอาจใช้ แบบสอบถามโดยให้ผตู้ อบ อ่านและตอบดว้ ยตนเอง หรือใชก้ ารสัมภาษณ์ที่มีผ้ถู าม และอธิบายให้ก่อนตอบ เชน่ แบบสารวจคา่ ใช้จ่ายในครัวเรอื นแบบสอบถามความคิดเห็นเร่ืองการใช้สารเสพตดิ การด่มื เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์ของเด็กวยั รุ่นในชมุ ชน 6. การประเมนิ ชุมชนแบบเรง่ ด่วน เป็น กลวธิ ีที่ให้คนในชุมชนเขา้ มารว่ ม เรยี นรู้ข้อมลู สขุ ภาพ ชมุ ชนและเห็นปัญหาสุขภาพ นาไปสู่การวางแผนการดูแล สุขภาพร่วมกนั โดยมีการสรา้ ง ทมี วจิ ยั ชมุ ชน ซ่ึงประกอบ ด้วยองค์กรในพน้ื ที่ ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ประชาชน ผูน้ าชมุ ชน เชน่ กานนั ผใู้ หญ่บา้ น และหน่วยงาน ราชการในพื้นทโี่ ดยเฉพาะหน่วยงานดา้ นสขุ ภาพ องค์กร ในพ้ืนทีจ่ ะเขา้ มาร่วมเกบ็ ข้อมลู เรยี นรู้ขอ้ มูลสุขภาพรว่ มกนั หลังจากนั้น ทีมวิจัยชมุ ชนมารว่ มกนั วิเคราะห์ข้อมลู เพื่อหา ปัญหาสุขภาพและแนวทางการแกไ้ ขปัญหารว่ มกนั (ขนิษฐา นนั ทบุตร, 2551) เมื่อพยาบาลชมุ ชนไดข้ อ้ มูล สุขภาพชุมชนแลว้ ควรนาขอ้ มูลมาวเิ คราะหต์ ามหมวดหมู่ โดยอาจแบง่ เป็น 4 หมวดใหญๆ่ ไดแ้ ก่1)ลักษณะ ท่วั ไปของชมุ ชน ประกอบ ด้วยทต่ี ัง้ ชุมชน สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคม ขอ้ มลู ด้านประชากร เชน่ อายุเพศ อาชีพ รายได้ลักษณะ ชุมชน สภาพแวดล้อม 2) ขอ้ มูลด้านสุขภาพอนามัย เช่น อัตราการเกิด อัตรา

หนา้ ๘ การตาย การเกดิ โรค การเจบ็ ป่วย ในชุมชน 3) ขอ้ มูลต่างๆ ทีเ่ ก่ยี วกบั โรค เช่น การได้รับ ภูมคิ มุ้ กนั โรคในเด็ก อายุ0-6 ปภี าวะโภชนาการ ภาวะ เจรญิ พันธข์ุ องหญิงวยั เจริญพันธุ์อายุ15-44 ปรี วมถึง พฤติกรรมของชุมชน ในการรกั ษาสขุ ภาพ เปน็ ตน้ และ 4) ข้อมูลระบบบริการต ่างๆ สิทธิในการรักษา และการใชบ้ ริการสุขภาพ เชน่ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ตาบล ศูนย์สขุ ภาพชุมชน (อาภาพร เผา่ วฒั นา,2558) สว่ นขอ้ มูลทไี่ ดจ้ าก การเก็บขอ้ มลู เชิงคุณภาพ สามารถ วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้วิธีวิเคราะห์เนือ้ หา (content analysis) ซง่ึ เปน็ การ คน้ หาคาหรอื กลมุ่ คาจากขอ้ มูลท่ี เกบ็ รวบรวมมาไดเ้ พ่ือแสดงรายละเอียดของประเด็นที่มี การกาหนดไวแ้ ละ ควรจดั ทาการนาเสนอข้อมูลท่เี ขา้ ใจง่าย เช่น การนาเสนอขอ้ มลู สขุ ภาพเป็นกราฟ แผนภมู ิแท่ง การนาเสนอ ปจั จยั ท่ีมีผลกระทบตอ่ สุขภาพชุมชนเปน็ รปู ภาพ เพ่ือให้ประชาชนในชุมชนเหน็ ข้อมูลแนวโน้มของ ปัญหาและ ความต้องการของชมุ ชน จัดสาดับความสาคญั ของปัญหาและนาไปวางแผนดาเนนิ งานแกไ้ ขปัญหาร่วมกับ ชุมชนตอ่ ไป 2. การจดั ลาดบั ความสาคัญของปัญหาสุขภาพ ชุมชน เปน็ ข้นั ตอนทบี่ อกใหท้ ราบวา่ ชุมชนนัน้ มี ปัญหาอะไร สาเหตเุ กิดจากอะไร และมคี วามตอ้ งการสุขภาพอยา่ งไร หวั ใจสาคญั ในการจัดลาดับความสาคญั ของปญั หาคือ การมีส่วนรว่ มของประชาชนในการพจิ ารณาขนาดของ ปญั หา ความรุนแรงของปัญหา ความ ยากง่ายในการแก้ไข ปัญหาและความวิตกกังวลของชุมชนที่มีต่อปัญหา (อาภาพร เผ่าวฒั นา,2558) ซ่ึงการ จดั ลาดับความสาคัญของปญั หา สุขภาพชมุ ชนเน้นการใชแ้ นวทางการทาประชาคม ซงึ่ เปน็ การจดั ประชมุ เพือ่ รับทราบปัญหา ประชาชนทุกคนมีสิทธิ เขา้ รว่ มและเสนอความคดิ เห็นที่เป็นประโยชน์ตอ่ ชมุ ชน อย่างเทา่ เทียม กนั ซ่ึงแบ่งออกเป็น 3 ข้ันตอน ไดแ้ ก่ 1) ข้ันเตรียมการ พยาบาลชุมชนต้องมีการสรุปขอ้ มลู ท่ี ได้จากชุมชน โดยเปน็ ปญั หาที่พบทง้ั หมด เพอื่ ใหช้ ุมชน รับทราบวา่ ภาพรวมของชมุ ชนนน้ั ปัญหาของชุมชนมเี รื่อง ใดบา้ ง ซึ่งอาจนาเสนอด้วยภาพถา่ ยที่เห็นบรบิ ทปญั หา และผลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ ได้อย่างชัดเจน นอกจากน้ียงั ต้อง เตรียมคนทเี่ ขา้ ร่วม โดยต้องเป็นตัวแทนของคนในชุมชน และเปน็ ผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียเชน่ ตัวแทนภาค ประชาชน ตวั แทนภาครฐั ท้ังน้เี วลาและสถานท่ีทีจ่ ัดควรเอ้ืออานวย ใหค้ นในชมุ ชนสามารถเข้าร่วมได้2) ขน้ั ดาเนนิ การจะต้อง มีการอธิบายวัตถุประสงคท์ ่สี าคัญคือ การเลือกปัญหาท่ี ต้องการให้ไดร้ ับการแก้ไขใน ชุมชน โดยพยาบาลชุมชนควร สรุปประเดน็ ปัญหา พร้อมบอกขอ้ มลู สนับสนนุ ในแต่ละ ปญั หา และให้ ผูเ้ ขา้ ร่วมไดร้ ว่ มกันจัดลาดับความสาคญั ของ ปัญหา และ3) ระยะสรุป เปน็ การสรุปว่าปัญหาทช่ี มุ ชน ตอ้ งการ แก้ไขอยา่ งเรง่ ด่วนคือปัญหาใด และเพ่ือเปน็ การวางแผนการแกไ้ ขปัญหา พยาบาลชุมชนควรถาม ความ คิดเห็นของชุมชนว่ามีแนวทางแกไ้ ขปญั หาอย่างไร ชมุ ชนควรเขา้ มามสี ่วนรว่ มในการแก้ไขปัญหาในสว่ นใด บา้ ง ใครเป็นผู้ทเ่ี ก่ยี วข้องและมีบทบาทอยา่ งไรในการเข้ามา มีส่วนรว่ มในการแก้ไขปญั หา เพอ่ื นาข้อมูลไป วางแผนใน การดแู ลสขุ ภาพชมุ ชนในประเด็นทีช่ ุมชนต้องการแกไ้ ข ตอ่ ไป

หนา้ ๙ บทที่ 3 วิธีการดาเนนิ การ ในการดาเนินงานจดั โครงการกระบวนการเสรมิ สรา้ งและพัฒนาทักษะชวี ติ กศน.ตาบล ตาบลสุวรรณคูหา ตาบลกดุ ผึ้ง ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาดา่ น ตาบลบุญทนั ตาบลบา้ นโคก ตาบลดงมะไฟ มี รายละเอียดดังต่อไปนี้ ขน้ั ตอนการวางแผน (plan) ขั้นตอนการลงมือทา (Do) ขัน้ ตอนการตรวจสอบ (Check) ข้ันตอนการปรับปรงุ แก้ไข (Act) ข้ันตอนการวางแผน (plan) 1. ดาเนินการประชาคมกลุ่มผู้สนใจเขา้ ร่วมโครงการ 2. ได้กลมุ่ เป้าหมาย 3. เตรียมหลกั สตู ร เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 4. แตง่ ตง้ั คณะทางานภายในตาบล คณะกรรมการนเิ ทศกิจกรรม 5. ประสานวทิ ยากร ข้นั ตอนการลงมือทา (Do) 1. ดาเนนิ การประสานงานผ้ทู เี่ ก่ยี วขอ้ ง ครู กศน.ตาบล ครู ศรช. ผนู้ าชมุ ชน คณะกรรมการหมู่บา้ นและชาวบ้านจดั เตรยี มสถานที่ 2. นาประชาชนทีส่ นใจมาเขา้ รว่ มกิจกรรม 3. ประเมนิ ผลโครงการโดยให้ผู้เข้าร่วมโครงการออกแบบประเมนิ ความพงึ พอใจในการเขา้ ร่วม โครงการ 4. รวบรวมข้อมูลจากแบบประเมิน 5. สรุปผลความพึงพอใจของผ้เู ข้าร่วมโครงการ ขัน้ ตอนการตรวจสอบ (Check) 1.เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นการตรวจสอบ แบบประเมินความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการ 2. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล กศน.ตาบลสวุ รรณคหู า ตาบลกุดผงึ้ ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาด่าน ตาบลบญุ ทัน ตาบลบา้ นโคก ตาบลดงมะไฟ ไดด้ าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ - ประชาชนกลมุ่ เป้าหมาย จานวน 50 คน 3.การวเิ คราะหข์ ้อมลู การประเมินผลการดาเนนิ งานของโครงการกระบวนการเรียนรู้และพฒั นา ทกั ษะชวี ิต กศน.ตาบลดงมะไฟ ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมลู ดังน้ี 3.1 แบบประเมนิ ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไป วิเคราะหห์ าค่าร้อยละ 3.2 แบบประเมนิ ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจตัวบ่งชี้ของโครงการ 3.2.1 ให้คะแนนตามน้าหนักแบบประเมินฉบับสมบูรณ์ ตามเกณฑ์ มาตรฐาน ของ สมศ. โดยมีเกณฑ์ให้คะแนน ดงั นี้

หนา้ ๑๐ ระดับ 5 หมายถงึ ดาเนนิ งานได้ตามเกณฑข์ องตวั บง่ ชี้ดีมาก ระดบั 4 หมายถงึ ดาเนินงานได้ตามเกณฑข์ องตัวบ่งชี้ดี ระดบั 3 หมายถงึ ดาเนนิ งานได้ตามเกณฑ์ของตวั บง่ ช้ีพอใช้ ระดบั 2 หมายถงึ ดาเนนิ งานได้ตามเกณฑ์ของตวั บง่ ชป้ี รบั ปรงุ ระดับ 1 หมายถงึ ดาเนินงานได้ตามเกณฑข์ องตัวบง่ ชี้ต้องปรบั ปรงุ 3.2.2 วเิ คราะหข์ ้อมูลโดยการหาคา่ เฉล่ยี รอ้ ยละความพึงพอใจ 3.3 แบบประเมนิ ตอนที่ 3 ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะอื่นๆ วเิ คราะห์ดว้ ยเนอ้ื หา (Content analysis)

หนา้ ๑๑ บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน การจดั กจิ กรรมโครงการดแู ลสุขภาวะและสุขอนามยั ของประชาชนในชุมชน ณ กศน.ตาบลสุวรรณ คูหา ตาบลกดุ ผง้ึ ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาด่าน ตาบลบญุ ทนั ตาบลบา้ นโคก ตาบลดงมะไฟ อาเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบวั ลาภู สรุปผลการดาเนินงานได้ดังน้ี ช่อื โครงการ วันที่ดาเนินการ เป้าท่ีไดร้ บั จัดสรร ผล คดิ เปน็ รอ้ ยละ โครงการดูแลสขุ 1 ธนั วาคม 48 50 100 ภาวะและ 2564 สุขอนามยั ของ ประชาชนในชุมชน การประเมนิ ความพึงพอใจในการดาเนินงานตามโครงการดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามยั ของประชาชน ในชมุ ชน กศน.ตาบลสวุ รรณคูหา ตาบลกุดผึง้ ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาด่าน ตาบลบุญทนั ตาบล บ้านโคก ตาบลดงมะไฟ ของผรู้ ับบรกิ ารที่เข้าร่วมโครงการ โดยเสนอรายละเอียดตามลาดบั คอื สัญลกั ษณ์ท่ี ใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู ลาดบั ข้ันตอนในการวิเคราะหข์ ้อมลู ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล และการแปล ความหมายข้อมลู ดงั ตอ่ ไปน้ี สัญลกั ษณ์ทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู การเสนอผลการประเมินครัง้ น้ีไดก้ าหนดสญั ลักษณ์ท่ีใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดงั นี้ N แทน ขนาดของกลุม่ ผปู้ ระเมินการใชค้ มู่ ือ (Sample size) % แทน ค่าร้อยละ (Percentage) ลาดบั ขัน้ ตอนในการวิเคราะหข์ ้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมลู ผู้ประเมินได้เสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู เปน็ ตอนๆ เรยี งลาดบั ดังน้ี ตอนที่ 1 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลเกยี่ วกับข้อมลู ทว่ั ไป ตอนที่ 2 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลด้านความพึงพอใจของผ้รู ับบรกิ าร ตอนที่ 3 การวเิ คราะหข์ ้อมูล ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะอืน่ ๆ ในการสรุปผลการดาเนินงานโครงการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ณ ศาลา ประชาคมบ้านราษฏร์เกษมศรี หมู่ 7 ตาบลสุวรรณคูหา ตาบลกุดผึ้ง ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาด่าน ตาบลบุญทัน ตาบลบ้านโคก ตาบลดงมะไฟ อาเภอสุวรรณคุหา จังหวัดหนองบัวลาภู ได้จัดทาเคร่ืองมือ เป็นแบบสอบถาม วัดระดับความคิดเหน็ และความพึงพอใจในการดาเนนิ การพัฒนาซ่ึงแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนแรกเป็นคาถามปลายเปิด มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scales) ส่วนที่ 2 มาตราส่วน ประมาณค่าของ ลิเคิร์ท likert’s Scales 5 ระดับ ส่วนที่สามเป็นคาถามปลายเปิด ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ส่วนท่ีสามเป็นคาถามปลายเปิดเน้ือหาสาระท่ีต้องการพัฒนาในครั้งต่อไป ซึ่งในการเก็บรวบรวมนั้น ได้แจก แบบสอบถามแก่ผู้เข้าร่วมโครงการกระบวนการเสริมสร้างและพัฒนาทักษะชีวิต จานวน 50 คน ได้ แบบสอบถามคืนจานวน 50 ฉบับ จากผู้เข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 กระทาการวิเคราะห์ ข้อมูลตามประเภทและลักษณะของข้อมูล โดยหาค่าเฉลี่ยเป็นค่าร้อยละ ซ่ึงได้วัดระดับความคิดเห็นและ ความพึงพอใจทม่ี ีต่อโครงการจะปรากฏดังนี้

หนา้ ๑๒ สรปุ ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ความพึงพอใจ โครงการกระบวนการเสริมสร้างและพัฒนาทักษะชวี ิต ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไป รายการข้อมูลพ้ืนฐาน จานวน รอ้ ยละ (ƒ) (%) 1.เพศ 1.1 ชาย 2 4.00 1.2 หญงิ 48 96.00 รวม 50 100.00 2.อายุ 2.1 ต่ากว่า 15 ปี 00 2.2 อายุ 15 – 39 ปี 00 2.3 อายุ 40 – 59 ปี 21 42.00 2.4 อายุ 60 ปขี ึน้ ไป 29 58.00 รวม 50 100.00 3.ระดบั การศึกษา 3.1 ป.4 27 54.00 3.2 ป.6 18 36.00 3.3 ม.ตน้ 3 6.00 3.4 ม.ปลาย 2 4.00 3.5 ปวช. 3.6 ปวส. 00 3.7 ปรญิ ญาตรี 00 3.8 อน่ื ๆ 00 รวม 50 100.00 4.อาชพี 4.1 ผนู้ าทอ้ งถิ่น 00 4.2 อบต/เทศบาล 00 4.3 พนักงานรฐั วสิ าหกิจ 00 4.4 ทหารกองประจาการ 00 4.5 เกษตรกร 50 100 4.6 รบั ราชการ 00 4.7 ค้าขาย 00 4.8 รบั จ้าง 00 4.9 อสม. 00 4.10 แรงงานตา่ งดา้ ว 00 4.11 วา่ งงาน 00 4.12 อื่นๆ 00 รวม 50 100.00

หนา้ ๑๓ จากตาราง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของผ้เู ข้าร่วมโครงการดแู ลสขุ ภาวะและสขุ อนามยั ของ ประชาชนในชุมชน ผลการวิเคราะหป์ รากฏวา่ ผู้เข้าร่วมโครงการ 50 คน เปน็ เพศหญงิ จานวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 96.00 เพศชาย จานวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.00 ด้านอายุ อายุ 60 ปี ข้ึนไป จานวน 29 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 58.00 อายุ 40-59 ปี จานวน 21 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 42.00 อายุ15-39 ปี จานวน -คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ระดับการศึกษา ป.4 จานวน 27 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 54.00 ป.6 จานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 36.00 ม.ปลาย จานวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.00 ม.ตน้ จานวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.00 ดา้ นอาชพี เกษตรกร จานวน 50 คน คดิ เป็นร้อยละ 100

หนา้ ๑๔ สรปุ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลความพึงพอใจ โครงการ ดแู ลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ตอนที่ 2 ความพึงพอใจในการให้บริการ ตารางท่ี 2.1 จุดมงุ่ หมาย/เนือ้ หาหลกั สตู ร ระดบั ความพึงพอใจ/จานวน หมาย เหตุ ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย ทส่ี ุด กลาง ท่ีสดุ ตอนท่ี ๑ ความพงึ พอใจดา้ นเน้ือหา 1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ 43 7 2 เนอ้ื หาเพยี งพอต่อความต้องการ 17 33 3 เนื้อหาปจั จบุ ันทันสมยั 50 4 เนอื้ หามปี ระโยชนต์ อ่ การนาไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ 50 ตอนท่ี ๒ ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 5 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม 43 7 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ 17 33 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 43 7 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกล่มุ เปา้ หมาย 50 9 วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 43 7 ตอนท่ี ๓ ความพึงพอใจต่อวิทยากร 10 วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรื่องท่ถี า่ ยทอด 50 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถา่ ยทอดใช้ส่ือเหมาะสม 43 7 12 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ สี ว่ นรว่ มและซักถาม 50 ตอนท่ี ๔ ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก 13 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสิง่ อานวยความสะดวก 50 14 การสอ่ื สาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกดิ การเรียนรู้ 50 15 การบริการ การชว่ ยเหลือและการแกป้ ัญหา 44 6

หนา้ ๑๕ สรุปความคดิ เหน็ และความพึงพอใจของผ้รู ับบริการ โครงการดแู ลสุขภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนใน ชุมชน สรปุ ไดด้ ังนี้ ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจด้านเน้อื หา ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจดา้ นเน้ือหา ดังน้ี มเี น้ือหาปจั จบุ นั ทนั สมยั และเน้ือหามี ประโยชน์ต่อการนาไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตอบมาก ท่ีสุด จานวน 50 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 เนือ้ หาตรงตามความต้องการ ตอบมากท่สี ุด จานวน 43 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 86.00 และตอบมาก จานวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 14.00 เนื้อหามีความเพียงพอต่อความตอ้ งการ ตอบมากทส่ี ดุ จานวน 17 คน คิด เป็นร้อยละ 30.00 และตอบมาก จานวน 33 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 66.00 ตามลาดับ ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจด้านการจัดกิจกรรมการอบรม ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านการจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย ตอบมากที่สดุ จานวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 การเตรยี มความพรอ้ มก่อนการอบรม จัดกิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา และ วธิ กี ารวัดผล ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ ตอบมากทส่ี ดุ จานวน 43 คน คิดเปน็ ร้อยละ 86.00 ตอบมาก จานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14.00 และการออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับ วัตถุประสงค์ ตอบมากท่สี ดุ จานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 34.00 ตอบมาก จานวน 33 คน คิดเปน็ รอ้ ย ละ 66.00 ตามลาดบั ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจต่อวิทยากร ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจดา้ นวทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถา่ ยทอด ตอบมาก ทส่ี ุด จานวน 50 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มสี ่วนรว่ มและซักถาม ตอบมากท่ีสดุ จานวน 50 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อที่เหมาะสม ตอบมากที่สุด จานวน 43 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 86.00 และตอบมาก จานวน 7 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 14.00 ตามลาดบั ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก ผูต้ อบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจดา้ นสถานท่ี วสั ดุ อุปกรณแ์ ละสิ่งอานวยความสะดวก และด้าน การสือ่ สาร การสร้างบรรยากาศเพอื่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ ตอบมากท่ีสุด จานวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และดา้ นการบรกิ าร การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา ตอบมากทีส่ ดุ จานวน 44 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 88.00 ตอบมาก จานวน 6 คน คดิ เป็นร้อยละ 12.00 ตามลาดับ

หนา้ ๑๖ บทที่ 5 สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ การดาเนนิ งานโครงการกระบวนการเสริมสร้างและพฒั นาทักษะชวี ิต สรุปผลการดาเนินงานได้ดังนี้ 1. เพือ่ ให้ประชาชนท่ัวไปในตาบลสุวรรณคหู า ตาบลกุดผึง้ ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาด่าน ตาบลบญุ ทัน ตาบลบ้านโคก ตาบลดงมะไฟ สามารถพัฒนาทักษะชีวิตของตนเอง ครอบครวั ชุมชน และสงั คมได้ 2. เพอื่ ใหป้ ระชาชนในตาบลสุวรรณคูหา ตาบลกุดผง้ึ ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาด่าน ตาบล บญุ ทัน ตาบลบา้ นโคก ตาบลดงมะไฟ ไดฝ้ กึ กระบวนการมสี ่วนรว่ ม คิดเป็น แกป้ ัญหาเป็น 3. เพอ่ื ให้ประชาชนในตาบลสวุ รรณคูหา ตาบลกุดผ้งึ ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาด่าน ตาบล บญุ ทัน ตาบลบา้ นโคก ตาบลดงมะไฟ สามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั ขอบเขตของโครงการ 4. ด้านเนือ้ หา โครงการนี้มุ่งให้ผ้เู รียนกลมุ่ เป้าหมายทีเ่ ขา้ รับการอบรมสามารถนา ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์การเรียนรตู้ า่ งๆ ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ 5. ดา้ นระยะเวลา ระยะเวลาในการดาเนินงาน วนั ท่ี 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2564 ณ ศาลาประชาคมบา้ นราษฏรเ์ กษมศรี หมู่ท่ี 7 ตาบลสุวรรณคหู า ตาบลกุดผง้ึ ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาดา่ น ตาบลบญุ ทนั ตาบลบ้านโคก ตาบลดงมะไฟ อาเภอสุวรรณคหู า จงั หวดั หนองบัวลาภู 6. ด้านประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง ประชาชนตาบลสวุ รรณคูหา ตาบลกดุ ผง้ึ ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาดา่ น ตาบลบญุ ทัน ตาบลบ้านโคก ตาบลดงมะไฟ จานวน 50 คน และครู กศน.ตาบลสวุ รรณคูหา ตาบลกุดผ้งึ ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาดา่ น ตาบลบญุ ทนั ตาบล บา้ นโคก ตาบลดงมะไฟ จานวน 3 คน ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ บั - ประชาชนตาบลสุวรรณคหู า ตาบลกุดผึ้ง ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาดา่ น ตาบล บุญทัน ตาบลบ้านโคก ตาบลดงมะไฟทเี่ ขา้ ร่วมโครงการรู้จักกระบวนการเสรมิ สรา้ งของการพฒั นาทกั ษะชวี ติ ของตนเองในแตล่ ะด้าน - ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมคี วามสขุ และสามรถนาความร้ทู ่ีไดไ้ ป ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ตวั ชว้ี ัด ตัวช้ีวัดผลผลิต รอ้ ยละ 80 ของประชาชนทีเ่ ข้ารว่ มโครงการตาบลสุวรรณคหู า ตาบลกุดผ้งึ ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาด่าน ตาบลบญุ ทนั ตาบลบ้านโคก ตาบลดงมะไฟ ทเี่ ข้ารว่ มโครงการดูแลสขุ ภาพของตนเองได้และ อย่รู ่วมกับสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข

หนา้ ๑๗ ตวั ชีว้ ัดผลลพั ธ์ ประชาชนตาบลสวุ รรณคหู า ตาบลกุดผงึ้ ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาดา่ น ตาบลบุญทัน ตาบลบ้านโคก ตาบลดงมะไฟ ทเี่ ข้ารว่ มโครงการสามรถนาความรู้ทไี่ ดไ้ ปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้อยา่ งมี ความสขุ ผลการดาเนนิ โครงการ ประชาชนตาบลสวุ รรณคหู า ตาบลกุดผึ้ง ตาบลนาสี ตาบลนาดี ตาบลนาดา่ น ตาบลบญุ ทนั ตาบลบ้านโคก ตาบลดงมะไฟ ทเี่ ข้ารว่ มโครงการกระบวนการเสริมสร้างและพัฒนาทักษะชวี ติ มีความพอใจ ในการจัดกจิ กรรมในระดบั ดีข้ึนไป รอ้ ยละ 100 และประชาชนทีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรมสามารถนาความรู้ท่ีได้ไป ใช้ในชวี ติ ประจาวัน ปญั หา-อุปสรรค - แนวทางแก้ไขปัญหา - ข้อเสนอแนะ ประชาชนทเ่ี ข้าร่วมโครงการควรนาความรูท้ ี่ได้รบั ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน

หนา้ ๑๘ ภาคผนวก

หนา้ ๑๙ ภาพประกอบกจิ กรรมกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ิต โครงการดแู ลสุขภาวะและสุขอนามยั ของประชาชนในชุมชน ดาเนนิ การวนั ท่ี 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2564 ณ ศาลาประชาคมบ้านราษฏรเ์ กษมศรี หมู่ 7 ตาบลนาดี อาเภอสวุ รรณคูหา จงั หวดั หนองบวั ลาภู นายฤาชัย สาจันทร์ นายกเทศมนตรเี ทศบาลตาบล นาดี เป็นประธานในพิธเี ปดิ โครงการพรอ้ มถา่ ยรปู กับผรู้ ว่ มโครงการ

หนา้ ๒๐ ภาพประกอบกิจกรรมกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ โครงการดูแลสุขภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชุมชน ดาเนินการวนั ที่ 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2564 ณ ศาลาประชาคมบา้ นราษฏรเ์ กษมศรี หมู่ 7 ตาบลนาดี อาเภอสุวรรณคูหา จงั หวดั หนองบวั ลาภู ลงทะเบียนผเู้ ขา้ รว่ มอบรม

หนา้ ๒๑ ภาพประกอบกจิ กรรมกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต โครงการดูแลสขุ ภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชุมชน ดาเนนิ การวนั ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ณ ศาลาประชาคมบ้านราษฏรเ์ กษมศรี หมู่ 7 ตาบลนาดี อาเภอสวุ รรณคหู า จงั หวัดหนองบวั ลาภู วิทยำกรอธิบำยเนื้อหำสขุ ภำวะของประชำชนในชมุ ชน

หนา้ ๒๒ ภาพประกอบกจิ กรรมกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิต โครงการดแู ลสุขภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชมุ ชน ดาเนินการวนั ท่ี 1 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ณ ศาลาประชาคมบา้ นราษฏรเ์ กษมศรี หมู่ 7 ตาบลนาดี อาเภอสุวรรณคูหา จงั หวัดหนองบวั ลาภู ภาพประกอบกิจกรรมกิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ิต

หนา้ ๒๓ โครงการดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ดาเนินการวันที่ 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2564 ณ ศาลาประชาคมบ้านราษฏร์เกษมศรี หมู่ 7 ตาบลนาดี อาเภอสุวรรณคหู า จังหวัดหนองบวั ลาภู คณะผจู้ ดั ทา

หนา้ ๒๔ ท่ีปรกึ ษา นายวนิ ัย แสงใส ผอ.กศน.อาเภอเมืองหนองบัวลาภู รกั ษาการในตาแหน่ง ผอ.กศน.อาเภอสุวรรณคหู า คณะทางาน/ผใู้ ห้ข้อมูล 1. นางสาวพชิ ชาพมิ พ์ เพ็ชรเวยี ง ครผู ชู้ ่วย 2. นางสาวอารยา วิชาสวสั ด์ิ ครูผูช้ ว่ ย 3. นายวชรพล เพียเทพ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นายอภิชาติ สทุ ธิโสม ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสุวรรณา สทุ ธิโสม ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 6. นางยพุ รัตน์ ทมุ วนั ครู กศน.ตาบลสวุ รรณคหู า 7. นางสาวหทัยรตั น์ พมิ พจ์ ่อง ครู กศน.ตาบลสุวรรณคูหา เรียบเรยี ง/พิมพ/์ รปู เลม่ / 1. นางยุพรัตน์ ทุมวัน ครู กศน.ตาบลสวุ รรณคูหา 2. นางสาวหทยั รตั น์ พมิ พ์จ่อง ครู กศน.ตาบลสุวรรณคหู า

หนา้ ๒๕ กศน.อาเภอสวุ รรณคูหา ถนนพระไชยเชษฐา ตาบลสุวรรณคูหา อาเภอสุวรรณคูหา จงั หวัดหนองบัวลาภู อัตลักษณ์สถานศึกษา ”มีคุณธรรม นาความรสู้ ่อู าชีพ ดาเนินชีวติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook