Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรปรับปรุง 2559

หลักสูตรปรับปรุง 2559

Published by suwaphitcha, 2018-06-12 00:03:58

Description: หลักสูตรปรับปรุง 2559

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รการแพทย์แผนไทยประยุกต์บณั ฑติ สาขาวชิ าการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2559 คณะการแพทย์แผนไทยอภยั ภเู บศร มหาวทิ ยาลยั บรู พา ร่วมกับวทิ ยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร จงั หวดั ปราจีนบรุ ี สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข

สารบัญ หนา้หมวดท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไป 1ชอ่ื หลักสตู ร 1ช่ือปรญิ ญาและสาขาวชิ า 1จานวนหนว่ ยกิตท่เี รียนตลอดหลกั สตู ร 1รปู แบบของหลักสตู ร 2สถานภาพของหลกั สูตรและการพิจารณาอนมุ ตั ิ/เหน็ ชอบหลกั สตู ร 3ความพร้อมในการเผยแพร่หลกั สตู รทีม่ ีคุณภาพและมาตรฐาน 3อาชีพที่สามารถประกอบไดห้ ลังสาเร็จการศึกษา 3อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตร 4สถานทจี่ ัดการเรยี นการสอน 5สถานการณภ์ ายนอกหรือการพฒั นาทจ่ี าเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผน 5หลักสตู รผลกระทบต่อการพัฒนาหลักสตู รและความเก่ยี วขอ้ งกับพันธกิจของสถาบนั 6ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอืน่ ที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบันหลักสตู รท่ี 6นามาใชเ้ ป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสตู รหมวดท่ี 2 ข้อมูลเฉพาะของหลกั สตู ร 8ปรัชญา ความสาคญั วตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสตู ร และคณุ ลกั ษณะบัณฑติ ที่พึงประสงค์ 8แผนพัฒนาปรับปรงุ 10หมวดที่ 3 ระบบการจดั การศกึ ษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลกั สูตร 11ระบบการจัดการศึกษา 11การดาเนินการหลักสูตร 11หลกั สตู รและอาจารยผ์ ูส้ อน 14องคป์ ระกอบเกีย่ วกบั ประสบการณภ์ าคสนาม (การฝกึ งาน หรือสหกจิ ศึกษา) 30ขอ้ กาหนดเกีย่ วกับการทาโครงงานหรอื งานวิจยั 31

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ 33หมวดที่ 4 ผลการเรยี นรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล 33 การพัฒนาคณุ ลักษณะพเิ ศษของนิสติ 34 การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละดา้ น 38 38หมวดที่ 5 หลักเกณฑใ์ นการประเมนิ ผลนิสติ 38 กฎ ระเบียบ หรือหลกั เกณฑใ์ นการให้ระดับคะแนน (เกรด) 38 กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธข์ิ องนสิ ิต 39 เกณฑ์การสาเร็จการศกึ ษาของหลกั สตู ร 39 39หมวดที่ 6 การพฒั นาคณาจารย์ 40 การเตรยี มการสาหรับอาจารยใ์ หม่ 40 การพฒั นาความรแู้ ละทกั ษะให้แก่คณาจารย์ 40 41หมวดที่ 7 การประกนั คณุ ภาพหลกั สตู ร 41 การกากบั มาตรฐาน 41 บัณฑติ 42 นสิ ติ 43 อาจารย์ 44 หลักสูตร การเรยี นการสอน การประเมินผ้เู รียน 44 สง่ิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ 44 ตวั บ่งชผ้ี ลการดาเนินงาน 44 44หมวดท่ี 8 การประเมินและการปรบั ปรุงการดาเนนิ การของหลักสูตร การประเมินประสิทธผิ ลของการสอน การประเมินหลกั สูตรในภาพรวม การประเมินผลการดาเนนิ งานตามรายละเอียดหลักสูตร การทบทวนผลการประเมนิ และการวางแผนปรบั ปรงุ

สารบัญ (ตอ่ )ภาคผนวก 46 เอกสารแนบหมายเลข 1 คาอธบิ ายรายวิชา 68 เอกสารแนบหมายเลข 2 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รและ อาจารย์ประจาหลักสตู ร 70 เอกสารแนบหมายเลข 3 แผนท่ีแสดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบผลการเรยี นรู้ สู่รายวิชา (Curriculum Mapping) 81 เอกสารแนบหมายเลข 4 ตารางเปรยี บเทียบระหว่างหลักสูตรเดิมและ หลักสูตรปรบั ปรุง (กรณหี ลกั สตู รปรับปรงุ ) 95 เอกสารแนบหมายเลข 5 คาสัง่ แต่งตง้ั คณะกรรมการพัฒนาหลกั สตู ร 97 เอกสารแนบหมายเลข 6 ขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลัยบูรพาว่าดว้ ยการศึกษา ระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2555 111 เอกสารแนบหมายเลข 7 ขอ้ ตกลงวา่ ดว้ ยความร่วมมือวชิ าการระหวา่ งสานกั งาน ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ และมหาวิทยาลยั บรู พา 112 เอกสารแนบหมายเลข 8 สรปุ ผลข้อเสนอแนะของผทู้ รงคณุ วุฒิ

1 หลักสูตรการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์บัณฑิต สาขาวชิ าการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559ชื่อสถาบันอุดมศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั บูรพาวทิ ยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะการแพทยแ์ ผนไทยอภัยภูเบศร หมวดท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไป1. ชอ่ื หลักสตู ร รหัส 25500191106251 ภาษาไทย : หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกตบ์ ัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Applied Thai Traditional Medicine Program in Applied Thai Traditional Medicine2. ชื่อปรญิ ญาและสาขาวชิ า การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์บัณฑติ (การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์) ชอ่ื ปริญญาภาษาไทย : Bachelor of Applied Thai Traditional Medicine ชื่อปรญิ ญา ภาษาองั กฤษ : (Applied Thai Traditional Medicine) พทป.บ. (การแพทย์แผนไทยประยุกต์) อกั ษรย่อภาษาไทย B.ATM. (Applied Thai Traditional Medicine) อกั ษรย่อภาษาอังกฤษ3. วิชาเอก ไมม่ ี4. จานวนหน่วยกิตท่ีเรียนตลอดหลกั สตู ร จานวนหนว่ ยกิตทเี่ รยี นตลอดหลกั สูตรไมน่ ้อยกว่า 144 หน่วยกิต

25. รูปแบบของหลกั สตู ร 5.1 รูปแบบ  หลกั สูตรปริญญาตรี 4 ปี  หลกั สูตรปรญิ ญาตรี 5 ปี  หลักสตู รปรญิ ญาตรี 6 ปี 5.2 ประเภทของหลกั สูตร  หลกั สตู รปรญิ ญาตรีทางวิชาการ  ปรญิ ญาตรีทางวชิ าการ  ปริญญาตรีแบบกา้ วหนา้ ทางวิชาการ  หลกั สูตรปรญิ ญาตรีทางวชิ าชีพ  ปรญิ ญาตรีทางวิชาชพี  ปรญิ ญาตรีแบบก้าวหน้าทางวิชาชีพ  หลักสตู รปริญญาตรีปฏบิ ตั กิ าร  ปรญิ ญาตรีปฏิบตั กิ าร  ปริญญาตรีแบบก้าวหน้าปฏิบัติการ 5.3 ภาษาท่ใี ช้  หลกั สตู รจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  หลักสตู รจดั การศึกษาเป็นภาษาตา่ งประเทศ  หลักสตู รจัดการศึกษาเปน็ ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) 5.4 การรบั เข้าศึกษา  รบั เฉพาะนสิ ิตไทย  รบั เฉพาะนสิ ติ ต่างชาติ  รบั ทั้งนิสิตไทยและนสิ ติ ตา่ งชาติ 5.5 ความรว่ มมือกบั มหาวิทยาลยั อื่น  เปน็ หลักสตู รของสถาบนั โดยเฉพาะ  เป็นหลกั สตู รทีไ่ ดร้ ับความรว่ มมอื สนบั สนุนจากสถาบนั อื่น ชื่อสถาบนั ................................................................................................... รปู แบบของความรว่ มมือสนับสนุน.............................................................

3  เปน็ หลักสตู รรว่ มกบั สถาบนั อ่ืน ชือ่ สถาบัน วิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภเู บศร จังหวดั ปราจีนบุรี และโรงพยาบาล เจา้ พระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจนี บุรี ประเทศไทย รปู แบบของการร่วม  ร่วมมอื กนั โดยสถาบันฯ เปน็ ผู้ใหป้ รญิ ญา  ร่วมมือกนั โดยสถาบันฯอ่ืน เปน็ ผูใ้ ห้ปรญิ ญา  ร่วมมอื กัน โดยผู้ศึกษาอาจได้รับปริญญาจากสองสถาบัน (หรอื มากกว่า 2 สถาบัน) 5.6 การให้ปริญญาแกผ่ ู้สาเรจ็ การศึกษา  ให้ปริญญาเพยี งสาขาวิชาเดยี ว  ใหป้ รญิ ญามากกว่า 1 สาขาวิชา (เชน่ ทวปิ รญิ ญา)  อื่น ๆ (ระบุ)...............................................6. สถานภาพของหลกั สูตรและการพิจารณาอนมุ ตั ิ/เหน็ ชอบหลักสตู ร  หลักสตู รใหม่ พ.ศ. ................. เปิดสอน ภาคการศึกษา………………… พ.ศ. ………………  หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2559 เปิดสอน ภาคการศึกษาตน้ ปีการศกึ ษา 2559 ปรบั ปรุงจากหลักสตู รการแพทย์แผนไทยประยกุ ตบ์ ัณฑิต สาขาวิชาการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2554  สภาวิชาการใหค้ วามเหน็ ชอบหลักสูตรในการประชุม คร้งั ท่ี 3/2559 วนั ที่ 28 เดือนมถิ ุนายน พ.ศ. 2559  สภามหาวทิ ยาลัยให้ความเหน็ ชอบหลักสูตรในการประชุม ครง้ั ที่ 4/2559 วนั ที่ 27 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559  สภาวชิ าชพี การแพทย์แผนไทยเห็นชอบหลักสูตรในการประชมุ ครงั้ ท่ี 7/2559 วนั ที่ 22 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 25597. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรทมี่ คี ณุ ภาพและมาตรฐาน หลกั สตู รมคี วามพรอ้ มในการเผยแพรค่ ณุ ภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ ในปกี ารศึกษา 25618. อาชีพทสี่ ามารถประกอบไดห้ ลังจบการศึกษา ประกอบอาชีพแพทย์แผนไทยประยกุ ตใ์ นสถานพยาบาลทุกระดบั เป็นอาจารย์ นกั วิชาการ นักวจิ ยัทางดา้ นการแพทยแ์ ผนไทยประยุกตใ์ นสถานศึกษาทีเ่ ปิดสอนหลกั สูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือสามารถประกอบวิชาชีพอสิ ระด้านการแพทย์แผนไทยประยุกต์

49. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สตู ร1. ชอ่ื นางสาวพลอยชนก ปทุมานนท์ เลขประจาตวั ประชาชน 315010023xxxxคณุ วุฒกิ ารศกึ ษา- วท.ม. (การบริหารจดั การสง่ิ แวดล้อม) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. 2549- คศ.บ. (โภชนาการชุมชน) มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช พ.ศ. 2537- ปวส. (แพทยแ์ ผนโบราณประยกุ ต์) โรงเรียนอายุรเวทวทิ ยาลยั (ชวี กโกมารภจั จ์) พ.ศ. 2531- ปวส. (แพทย์แผนโบราณแบบประยกุ ต์) ประเภทวชิ าเวชกรรม โรงเรยี นอายรุ เวทวิทยาลัย(ชวี กโกมารภัจจ์) พ.ศ. 2544ใบประกอบวิชาชีพ- ใบอนญุ าตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ เลขที่ บ.ป. 202 พ.ศ. 2537 (เดิม)ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์2. ชอ่ื นางสาววรัมพา สุวรรณรตั น์ เลขประจาตัวประชาชน 193990003xxxxคุณวฒุ ิการศึกษา- วท.ม. (การแพทย์แผนไทยประยกุ ต์) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2554- วท.บ. (การแพทย์แผนไทยประยกุ ต์) มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2551ใบประกอบวิชาชีพ- ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวชิ าชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ เลขท่ี พท.ป.622 พ.ศ. 2552ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์3. ชอ่ื นางสาวชลาลัย โชคดีศรีจันทร์ เลขประจาตวั ประชาชน 110080042xxxxคุณวฒุ ิการศึกษา- พทป.บ. (แพทย์แผนไทยประยุกต์) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2553ใบประกอบวิชาชีพ- ใบอนุญาตเปน็ ผู้ประกอบวชิ าชพี การแพทย์แผนไทยประยุกต์ เลขท่ี พท.ป. 698 พ.ศ. 2553ตาแหนง่ ทางวิชาการ อาจารย์4. ช่อื นางสาวจริ าภรณ์ โยวทิตย์ เลขประจาตวั ประชาชน 145060000xxxxคณุ วฒุ กิ ารศึกษา- วท.ม. (วิทยาการสงั คมและการจัดการระบบสุขภาพ) มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร พ.ศ. 2556- พทป.บ. (แพทย์แผนไทยประยุกต์) มหาวทิ ยาลัยมหิดล พ.ศ. 2550ใบประกอบวิชาชพี- ใบอนุญาตเปน็ ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ เลขที่ บ.ป.501 พ.ศ. 2550 (เดิม)ตาแหนง่ ทางวิชาการ อาจารย์

55. ชื่อ นางสาวศริ ิวดี บญุ มโหตม์ เลขประจาตวั ประชาชน 310170031xxxxคณุ วุฒกิ ารศึกษา- วท.ม. (เภสชั กรรมคลนิ กิ ) มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2547- ภ.บ. มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ พ.ศ. 2533ใบประกอบวิชาชีพ- ใบประกอบโรคศิลปะ สาขาเภสัชกรรม เลขที่ ภ.7394 พ.ศ. 2533ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์10. สถานท่จี ดั การเรยี นการสอน  ในสถานที่ต้งั โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี นิสิตช้นั ปที ี่ 1 - 2 เรียนทมี่ หาวิทยาลยั บูรพา นิสติ ชัน้ ปีท่ี 3 - 4 เรยี นที่วทิ ยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภเู บศร จงั หวดั ปราจีนบรุ ี โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภเู บศร จังหวดั ปราจีนบุรี  นอกสถานทต่ี ้งั ได้แก่ ในรายวชิ าฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ ส่งนิสติ ไปฝึกประสบการณ์ ในสถานบริการภาครฐั ที่ได้มาตรฐาน11. สถานการณภ์ ายนอกหรือการพัฒนาทีจ่ าเป็นตอ้ งนามาพิจารณาในการวางแผนหลกั สูตร 11.1 สถานการณห์ รอื การพัฒนาทางเศรษฐกจิ การพฒั นาทางเศรษฐกิจในปจั จุบันกาลงั มุ่งไปสู่การเปดิ ตลาดการคา้ เสรี การเปิดประชาคมอาเซียนโดยเฉพาะดา้ นประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (AEC : Asean Economic Community) การติดต่อธรุ กิจการค้าระหวา่ งประเทศขยายตัวกว้างขวางยิง่ ข้นึ รัฐบาลไทยได้มีนโยบายส่งเสรมิ การแพทย์แผนไทยให้เป็นสว่ นหนึง่ ของบริการสุขภาพของประเทศ เพื่อเพ่มิ คณุ ภาพของบริการ ลดค่าใชจ้ า่ ย ลดการพ่ึงพาต่างประเทศและกาหนดให้เป็นสว่ นหน่ึงของ Medical Hub ซึ่งใหบ้ ริการแกช่ าวต่างประเทศเพ่ือสรา้ งรายได้ การใหบ้ ริการทุกรูปแบบจงึ ต้องเนน้ คุณภาพมาตรฐานใหเ้ ปน็ ทีย่ อมรับและสามารถแขง่ ขันได้ในระดับนานาชาติ 11.2 สถานการณห์ รือการพัฒนาทางสงั คมและวัฒนธรรม วัฒนธรรมการดูแลรักษาสขุ ภาพดว้ ยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยอยู่ค่สู ังคมไทยมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน แมป้ ัจจุบนั การแพทย์แผนตะวนั ตกจะมบี ทบาทมากท่ีสดุ ในระบบสขุ ภาพของประเทศ แตก่ ารแพทย์แผนไทยก็ยังมสี ว่ นในการรับใช้คนไทยมาโดยตลอด ยิ่งในปัจจุบนั กระแสความนิยมในการดูแลสขุ ภาพดว้ ยวิถีธรรมชาติกาลงั เพิม่ สูงข้ึนเร่ือยๆ ท้ังในระดับประเทศและนานาชาติ ศาสตร์การแพทย์แผนไทย อันเป็นภมู ิปัญญาทบี่ รรพบุรษุ สั่งสมและถ่ายทอดสบื ต่อกันมากจ็ ะยิ่งมบี ทบาทสงู ข้นึ เรื่อยๆ ทัง้ ต่อการดแู ลสุขภาพประชาชน และการพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ และทส่ี าคญั คณะรัฐมนตรีไดม้ ีมติให้ความเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์ชาติ การพัฒนาภมู ปิ ัญญาไท สุขภาพวถิ ไี ท พ.ศ. 2555-2559 ซ่งึ กาหนดเปา้ หมายของการพฒั นาไวว้ ่าให้มีระบบบริการ

6การแพทย์แผนไทยที่มีมาตรฐานและคุณภาพทัดเทียมกับระบบบริการการแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั การผลติ ยาไทยและยาสมนุ ไพรทุกระดบั มีคุณภาพและมาตรฐานมมี ูลค่าและปรมิ าณการใช้ยาไทยและยาสมุนไพรเพ่มิ ขึ้นเพ่ือลดการพึง่ พายาและเวชภัณฑ์ที่นาเข้าจากต่างประเทศ12. ผลกระทบจากข้อ 11.1 และ 11.2 ตอ่ การพัฒนาหลักสตู รและความเก่ยี วข้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย 12.1 การพฒั นาหลักสูตร เมอ่ื สถานการณ์ทางเศรษฐกจิ สังคม และวฒั นธรรมกาลังดาเนนิ ไปในทิศทางดังกล่าวขา้ งต้นการพฒั นาหลักสตู รนจ้ี งึ ใหค้ วามสาคัญกับเนอื้ หาสาระท่ีเก่ยี วขอ้ งดว้ ย ได้แก่ ภาษาและการตดิ ต่อส่ือสาร และคุณภาพมาตรฐานของเวชปฏิบัติการแพทย์แผนไทย ซึ่งรวมทั้งการผลติ ยาและผลิตภัณฑจ์ ากสมนุ ไพร 12.2 ความเก่ียวข้องกับพันธกจิ ของสถาบนั มหาวทิ ยาลยั บรู พาเปน็ มหาวิทยาลยั ท่ีเน้นการวิจัย คณะการแพทย์แผนไทยอภยั ภูเบศรจงึ จัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ การสง่ เสริมการวจิ ัย โดยมีการกาหนดให้วิชาการวิจัยทางการแพทย์แผนไทยประยุกต์เปน็ วชิ าหน่ึงในหลกั สูตร นอกจากน้ใี นหลักสตู รยงั ให้ความสาคญั ในการสร้างบัณฑติ ให้มีความรู้คู่คณุ ธรรม เชี่ยวชาญในศาสตร์ มีการบริการวิชาการแกส่ ังคม ธารงไวซ้ ึง่ ศิลปวฒั นธรรมและความเปน็ ไทยเพ่อื พฒั นาสังคมสคู่ วามยั่งยืนและพึง่ ตนเอง13. ความสมั พนั ธ์กับหลักสตู รอื่นทเ่ี ปิดสอนในคณะ/ภาควชิ าอ่ืนของมหาวทิ ยาลัย 3(3-0-6) 13.1 รายวชิ าทีเ่ ปดิ สอนโดยคณะ/ภาควชิ า/หลักสูตรอ่ืน 3(3-0-6) หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป สอนโดยคณะต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย 3(3-0-6) หมวดวิทยาศาสตร์ สอนโดยคณะวิทยาศาสตร์ ได้แก่ 1(0-3-1) 30310759 เคมีพื้นฐาน 3 (3-0-6) 30322059 เคมีอนิ ทรยี ์ 2 (2-0-4) 30610059 ชีววทิ ยาทว่ั ไป 1 30610159 ปฏบิ ตั ิการชีววิทยาทัว่ ไป 1 30810659 ฟิสิกสส์ าหรบั วทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ 31620259 ชีวเคมีสาหรบั วทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ

7หมวดวิชาพ้นื ฐานทางวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ สอนโดยคณะสหเวชศาสตร์ ไดแ้ ก่ 68010359 กายวภิ าคศาสตร์ของมนุษย์ 4 (3-3-6) 68021159 สรีรวิทยาของมนุษย์สาหรับวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ 3 (2-3-4) 68021359 พยาธสิ รรี วทิ ยาสาหรับวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ 3 (3-0-6) 68024259 พยาธวิ ทิ ยาสาหรบั การแพทย์แผนไทย 2 (2-0-4) สอนโดยคณะเภสัชศาสตร์ ไดแ้ ก่ 79223559 เภสชั วิทยาเบื้องตน้ 3 (3-0-6) สอนโดยคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ไดแ้ ก่ 65124359 จุลชีววิทยา ปรสติ วทิ ยาและวทิ ยาภมู ิคุม้ กัน 3 (2-2-5)13.2 รายวชิ าทเี่ ปดิ สอนให้คณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอืน่ไม่มี13.3 การบรหิ ารจัดการคณะการแพทยแ์ ผนไทยอภัยภเู บศรมีความรว่ มมือกับวิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภยั ภเู บศร จงั หวดัปราจนี บรุ ีในการจัดการเรยี นการสอน โดยมกี ารประชุมเพื่อกาหนดขอบเขตของเน้ือหาแตล่ ะกลุ่มวชิ าใหเ้ ป็นไปทศิ ทางเดียวกัน และประสานงานกับโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภูเบศรในการส่งนสิ ิตไปฝึกงาน นอกจากนั้นยังมีการประสานงานกับคณะต่างๆ ท่จี ัดรายวชิ าซึง่ นสิ ิตในหลักสูตรนต้ี อ้ งไปเรียน ระหว่างผเู้ ก่ียวขอ้ งตั้งแต่ผ้บู ริหารอาจารย์ เจา้ หน้าที่ ซึง่ อยตู่ า่ งคณะ เพื่อกาหนดเน้ือหาและกลยุทธก์ ารสอนตลอดจนการวดั และประเมนิ ผลทงั้ นี้ เพอ่ื ใหน้ สิ ติ ไดบ้ รรลุผลการเรยี นรู้ตามหลักสูตรนอกจากน้ีคณะการแพทย์แผนไทยอภยั ภเู บศร ได้แต่งต้ังอาจารย์ของคณะเป็นประธานสาขาวิชาทางานร่วมกับอาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สูตรในการบริหารจดั การ โดยมีอาจารย์ประจาและอาจารย์ผู้สอนตามหลกั เกณฑ์ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสภาการแพทย์แผนไทย

8 หมวดท่ี 2 ข้อมูลเฉพาะของหลกั สูตร1. ปรัชญา ความสาคญั และวัตถปุ ระสงค์ของหลกั สตู ร ปรัชญา สร้างบัณฑิตการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ที่มคี ุณภาพ คุณธรรม มีเจตคตอิ ันดีงามในการประกอบวชิ าชพี และมีความรู้ความสามารถทางด้านวทิ ยาศาสตร์และวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์เพื่อเป็นพื้นฐานในการประยุกต์และพัฒนาการแพทย์แผนไทย ความสาคัญ การแพทย์แผนไทยเป็นอีกหน่ึงทางเลือกในการพัฒนาการสาธารณสุขของประเทศ การแพทย์แผนไทยเป็นองค์ความรู้ภมู ปิ ัญญา ทีท่ รงคุณค่าในการดูแลสขุ ภาพของคนไทย มีประวัติและพัฒนาการมาควบคู่กับการสร้างชาติไทย ต่อมาเม่ือประเทศไทยมีการนาวิทยาการทางการแพทย์แบบตะวันตกเข้ามาในประเทศ ทาให้การแพทย์แผนไทยถูกละเลย และขาดการพฒั นาสืบทอดมาสู่คนร่นุ หลัง แต่หลังจากมีการติดตามคุณภาพของบริการของการแพทยม์ าอย่างตอ่ เน่ือง พบว่าการแพทย์แบบตะวันตก ยงั ไม่สามารถตอบสนองความต้องการและไมไ่ ด้ผลลัพธ์ที่พึงประสงคท์ ั้งหมด จงึ ได้มีการรือ้ ฟนื้ การแพทยแ์ ผนไทยกลับมารว่ มใช้ในการบริการสุขภาพ เพ่ือใหป้ ระชาชนได้รับบริการสุขภาพทมี่ ีคุณภาพและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นการแพทย์แผนไทยเป็นการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมสอดคลอ้ งตอ่ วิถชี วี ิตคนไทย โดยผสมผสานศาสตร์ทางดา้ นเวชกรรมแผนไทย หัตถเวชกรรมแผนไทย เภสชั กรรมแผนไทย ผดุงครรภ์แผนไทยและแพทย์แผนปัจจุบันบางส่วน มีการใช้สมุนไพร ซ่งึ สามารถทดแทนยานาเข้าจากต่างประเทศมูลค่าปีละหลายพนั ล้านบาท หลักสตู รการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์บัณฑติ มุ่งเน้นใหม้ ีการฟ้นื ฟแู ละพัฒนาการแพทย์แผนไทย ใหม้ ีการถ่ายทอดสูช่ นรุ่นหลังอย่างเป็นระบบ โดยผลิตบัณฑิตทางด้านการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ซึง่ เป็นการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ให้มีองค์ความรมู้ ีความสามารถในการใหบ้ ริการแบบองค์รวม มีคุณธรรม จรยิ ธรรมและเจตคติทีด่ ีต่อการแพทยแ์ ผนไทย สามารถศึกษาค้นคว้าวจิ ยั และนาองค์ความรู้ด้านแพทย์แผนไทยประยุกตท์ ีไ่ ดร้ บั มาใช้ในการบริการประชาชนให้มีสุขภาพท่ีดี และสามารถให้บริการแบบวิชาชีพได้ในระดับสากล สามารถนาไปสรา้ งสุขภาพ สรา้ งงาน สรา้ งเศรษฐกิจ ก่อใหเ้ กิดความภาคภูมใิ จในเอกลกั ษณข์ องความเป็นไทย เหตุผลในการปรบั ปรงุ หลกั สูตร หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยกุ ตบ์ ัณฑิต ของคณะการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร มหาวทิ ยาลยับรู พา ได้ปรับปรุงครั้งสดุ ท้ายเมื่อปีการศกึ ษา 2554 ครบรอบระยะเวลา 5 ปี จงึ ตอ้ งปรับปรงุ หลักสูตรใหมต่ ามข้อกาหนดของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และให้สอดคล้องตอ่ ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื งเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2558 ขอ้ บงั คับมหาวิทยาลยั บูรพา ว่าการศึกษาระดบั ปริญญาตรี

9พ.ศ. 2555 และแผนยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยบรู พา เพื่อการพฒั นามหาวทิ ยาลัยสคู่ วามเปน็ เลศิ ฉบับปรบั ปรุงปี 2559-2563 ซ่งึ กาหนดวิสยั ทัศนไ์ วว้ ่า “ขุมปญั ญาตะวันออกเพ่ืออนาคตของแผน่ ดิน”รวมทง้ั ปรับปรงุ ให้ทันสมัย รองรับการเปดิ ประชาคมอาเซียน และยุทธศาสตร์การพฒั นาให้ประเทศไทยเปน็ “Medical Hub”และตามขอ้ เสนอแนะของคณาจารย์ นสิ ติ บัณฑติ ผ้ใู ช้บณั ฑติ และผูท้ รงคุณวุฒิ วตั ถุประสงค์วตั ถุประสงค์ของหลักสูตร (Program Objective) สร้างบณั ฑติ แพทย์แผนไทยประยุกตท์ ่ีมีคุณธรรม จริยธรรม ความรคู้ วามสามารถ ทกั ษะ และเจตคตติ ามเกณฑม์ าตรฐานคุณวุฒริ ะดบั ปรญิ ญาตรี สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ไปประกอบวชิ าชีพแพทย์แผนไทยในสถานบริการของกระทรวงสาธารณสุข อย่างนอ้ ยร้อยละ 70วตั ถปุ ระสงค์เชงิ สมรรถนะ (Competency) 1. มคี ุณธรรมจริยธรรมของแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ และคุณธรรมจรยิ ธรรมที่วิญญชู นพึงมี 2. มีความร้คู วามสามารถเพยี งพอต่อการทาเวชปฏบิ ตั กิ ารแพทย์แผนไทยประยกุ ต์อย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐาน การศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมด้วยตนเอง การตดิ ตามวิทยาการใหม่ ๆ การศกึ ษาต่อเน่ืองตลอดจนการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้การแพทย์แผนไทย 3. มีวิจารณญาณ สามารถวเิ คราะห์และสังเคราะห์ขอ้ มลู /สภาพการณ์ และกาหนดแนวทางในการแก้ปัญหาหรือการพฒั นางานในความรบั ผดิ ชอบได้อย่างมีเหตผุ ล เป็นองคร์ วม และอย่างสร้างสรรค์ ท้ังในสภาพการณ์ท่ีคนุ้ เคยและที่แตกตา่ งออกไป 4. มีมนษุ ยสัมพันธ์ดี สามารถทางานรว่ มกบั บุคลากรสาขาวชิ าชพี อ่ืนได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ และสามารถบูรณาการศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยกับศาสตรแ์ ขนงอนื่ ในการปฏิบตั งิ านและการใหบ้ ริการดา้ นสุขภาพแก่ประชาชน 5. มีโลกทัศน์กว้างไกล และสามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตามความกา้ วหน้าทางดา้ นวิชาการและการเปลยี่ นแปลงในดา้ นต่าง ๆ ไดอ้ ย่างทนั สมยั และทนั เหตุการณ์ 6. มที ักษะในการทาหัตถการดา้ นการแพทย์แผนไทย ตามมาตรฐานวิชาชพี และสามารถปฏบิ ตั งิ านในสถานพยาบาลด้านการแพทย์แผนไทยร่วมกบั ชมุ ชนได้

102. แผนพัฒนาปรบั ปรุง กลยุทธ์ หลักฐาน/ดัชนชี ี้วัดแผนการพัฒนา/เปล่ยี นแปลง 1. ตดิ ตามความเปลยี่ นแปลงและ 1. รายงานผลการดาเนนิ งาน1. ปรับปรุงหลกั สูตรใหไ้ ด้ ความต้องการกาลังคนในระบบ ประจาปีมาตรฐานตามท่ีสภาการแพทย์ สาธารณสขุ ของประเทศเพือ่ เปน็ ข้อมูล 2. ความพึงพอใจในทักษะความรู้แผนไทยกาหนดและตรงตาม ในการพฒั นาหลักสตู ร ความสามารถในการทางานของความต้องการของประเทศ 2. เชิญผเู้ ช่ียวชาญ มีส่วนรว่ มในการ บัณฑิตโดยเฉล่ยี อยู่ในระดบั ดี พัฒนาหลักสูตร 3. ผลการประเมนิ เพ่อื รบั รอง2. พัฒนาบุคลากรดา้ น 3. ดาเนนิ การตามเกณฑก์ ารรับรอง หลักสตู รจากสภาการแพทย์การจดั การเรยี นการสอน สถาบันการศึกษาการแพทยแ์ ผนไทย แผนไทย ทสี่ ภาวิชาชพี ฯ กาหนด3. พฒั นานิสิตให้มคี วามรู้และมี 1. การอบรมหลกั สูตรเก่ียวกับเทคนคิ 1. หลกั ฐานหรือเอกสารแสดงผลสมรรถนะตามมาตรฐานผลการ การสอนการวดั และประเมินผลแก่ การดาเนินการเรียนรู้ อาจารย์ใหม่ 2. ผลการประเมินการเรียน 2. การอบรม ประชมุ สมั มนา ท้งั ด้าน การสอน4. พัฒนาวชิ าการเพ่ือการวิจยั การจัดการเรียนการสอน ดา้ นวชิ าชีพ การแพทยแ์ ผนไทย และด้านอืน่ ที่ 1. หลักฐานการจัดการเรียน5. พัฒนาหลักสตู รเพ่ือรองรบั เกี่ยวขอ้ งตามแผนพฒั นาอาจารย์ การสอน การฝึกปฏบิ ตั ิ และการเปดิ ประชาคมอาเซยี น ให้มีประสบการณใ์ นการบรบิ าลผปู้ ว่ ย โครงการจติ อาสาที่นิสิตได้และ Medical Hub แบบองคร์ วมและมีจิตบรกิ ารด้วยหวั ดาเนินการ ใจความเป็นมนุษย์ 2. ผลการสอบเพ่ือขอรบั ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ ในหลกั สตู รไดจ้ ดั ให้มกี ารจัดการเรยี น 1. มคอ.3 วชิ าการวิจยั ทางการ การสอนวิชาวิจยั ทางการแพทย์แผน แพทย์แผนไทยประยกุ ต์และ ไทยประยุกตใ์ ห้แก่นสิ ติ เพื่อให้เป็น งานวจิ ัยทีน่ สิ ติ ทา ความรพู้ ้ืนฐานส่กู ารพฒั นาวิชาชีพด้วย 2. ผลการทดสอบความรู้ทางด้าน กระบวนการวิจยั การวจิ ยั ของนสิ ติ 1. เพม่ิ การเรยี นภาษาอังกฤษ ผลการทดสอบภาษาอังกฤษของ 2. เพ่ิมการเรียนรูเ้ ก่ยี วกับประเทศ นิสติ สมาชกิ อาเซยี นในการเรียนการสอน

11 หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนนิ การและโครงสรา้ งหลักสูตร1. ระบบการจดั การศึกษา 1.1 ระบบ  ระบบทวิภาค  ระบบไตรภาค  ระบบจตรุ ภาค  ระบบอน่ื ๆ (ระบรุ ายละเอียด)........................................................... 1.2 การจัดการศกึ ษาภาคฤดรู อ้ น  มีภาคฤดรู ้อน จานวน...............ภาค ภาคละ...............สัปดาห์  ไม่มภี าคฤดรู อ้ น 1.3 การเทียบเคยี งหน่วยกิตในระบบทวภิ าค ไม่มี2. การดาเนนิ การหลกั สตู ร 2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรยี นการสอน  วัน-เวลาราชการปกติ  นอกวนั -เวลาราชการ 2.2 คุณสมบตั ขิ องผู้เขา้ ศกึ ษา  เปน็ ผ้สู าเรจ็ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทียบเท่า  เป็นผู้สาเรจ็ การศกึ ษาประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชัน้ สงู หรือเทียบเท่า หรืออนปุ ริญญา  มเี กณฑค์ ณุ สมบัติเพิม่ เติม - สาเรจ็ การศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนคณิตศาสตร์-วทิ ยาศาสตร์ 2.3 ปัญหาของนิสติ แรกเขา้ - การปรบั ตัวในการใช้ชีวติ ท่หี ่างจากครอบครวั และตอ้ งมาดารงชวี ิตร่วมกับเพ่ือนทมี่ าจาก ตา่ งทก่ี นั - การปรับตัวเข้ากบั ระบบการเรยี นระดบั อุดมศึกษา ที่ต้องรับผดิ ชอบตนเองใหม้ าเข้าเรียน และต้องศึกษา ค้นควา้ ด้วยตนเองมากขึน้ - ขาดทพี่ ง่ึ ในการปรึกษาปัญหา เชน่ การลงทะเบียน การเลอื กวชิ าเรยี น การคน้ หาความรู้ 2.4 กลยทุ ธใ์ นการดาเนินการเพือ่ แก้ไขปัญหา / ขอ้ จากัดของนสิ ิตในข้อ 2.3 - จัดใหม้ ีปฐมนเิ ทศนสิ ิตใหม่ - จดั ให้มีกจิ กรรมรับน้องใหม่ทสี่ รา้ งสรรค์ การเตรียมความพรอ้ มดา้ นความรู้ ทักษะด้าน วชิ าชพี และภาษาองั กฤษ - จัดระบบอาจารย์ท่ีปรึกษา และระบบพดี่ ูแลน้อง

122.5 แผนการรับนสิ ติ และผู้สาเรจ็ การศึกษาในระยะ 5 ปีปกี ารศกึ ษา 2559 2560 2561 2562 2563จานวนทค่ี าดว่าจะรบั ปีที่ 1 64 64 64 64 64ปที ่ี 2 64 64 64 64ปีที่ 3 64 64 64ปีที่ 4 64 64รวม 64 128 192 256 256คาดวา่ จะสาเรจ็ การศกึ ษา 64 642.6 สดั ส่วนอาจารย์ต่อนิสิตตารางคาดการณ์จานวนนสิ ิตต่อจานวนอาจารยผ์ ูส้ อน (เฉพาะวชิ าทางด้านการแพทยแ์ ผนไทย) จานวน เป้าหมาย 1 : 4 ปีการศกึ ษา 2558 ปกี ารศกึ ษา 2559 ปกี ารศึกษา 2560ชน้ั ปที ่ี หนว่ ย จานวน FTES จานวน FTES จานวน FTES จานวน FTES กิต นสิ ติ นสิ ติ นสิ ติ นสิ ติปี 1 49 0.00 49 0.00 64 0.00 64 0.00ปี 2 12 58 19.33 58 19.33 49 16.33 64 21.33ปี 3 18 54 27.00 54 27.00 58 29.00 49 24.50ปี 4 17 60 28.33 60 28.33 54 25.50 58 27.39รวม 47 74.67 74.67 70.83 73.22จานวนอาจารย์ (อตั รา) ตอ้ งมี 19 21 21 21สดั สว่ นอาจารย์ 1 คนต่อนสิ ิต 3.56 3.37 3.49ตารางคาดการณจ์ านวนนิสิตตอ่ จานวนอาจารย์ผ้สู อน (ตอ่ ) ปกี ารศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 ปีการศกึ ษา 2564ช้นั ปที ี่ จานวน FTES จานวน FTES จานวน FTES จานวน FTES นิสิต นิสติ นิสติ นสิ ติปี 1 64 0.00 64 0.00 64 0.00 64 0.00ปี 2 64 21.33 64 21.33 64 21.33 64 21.33ปี 3 64 32.00 64 32.00 64 32.00 64 32.00ปี 4 49 23.14 64 30.22 64 30.22 64 30.22รวม 76.47 83.56 83.56 83.56จานวนอาจารย์ (อตั รา) 21 21 21 21สัดส่วนอาจารย์ 1 คนต่อนิสติ 3.64 3.98 3.98 3.98

132.7 งบประมาณตามแผน หมวดรายจา่ ย 2559 2560 2561 หนว่ ย : พนั บาท 2,100 2,250 2,400 2562 2563งบบคุ ลากร 1,015 1,065 1,115 2,550 2,700งบดาเนินงาน 120 125 130งบสาธารณปู โภค 235 270 290 1,165 1,215งบกลาง 470 540 580 135 140งบอุดหนุนทุนวจิ ยั 40 50 50 295 295งบอดุ หนนุ กจิ การนิสติ 240 240 300 595 595งบอุดหนุนโครงการพฒั นา 50 50รบวคุ มลากร 4,220 4,540 4,865 325 325 5,115 5,3202.8 ระบบการศึกษา  แบบช้นั เรยี น  แบบทางไกลผ่านสื่อส่ิงพิมพ์เป็นหลกั  แบบทางไกลผา่ นส่ือแพร่ภาพและเสยี งเป็นสอ่ื หลัก  แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนิกสเ์ ป็นส่ือหลัก (E-learning)  แบบทางไกลทางอินเตอรเ์ น็ต  อ่ืนๆ (ระบุ) 2.9 การเทยี บโอนหนว่ ยกติ รายวชิ าและการลงทะเบียนเรยี นขา้ มมหาวิทยาลัย เปน็ ไปตามประกาศมหาวิทยาลยั บูรพา เร่อื ง การเทียบโอนผลการเรยี นนสิ ติ ระดบั ปรญิ ญาตรีพ.ศ. 2556 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ถ้ามี)

143. หลักสูตรและอาจารย์ผ้สู อน3.1 หลักสูตร3.1.1 จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกว่า 144 หน่วยกิต3.1.2 โครงสร้างหลักสตู ร หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป 30 หนว่ ยกิต 1) กลมุ่ วิชาภาษาเพื่อการสอ่ื สาร ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกติ 2) กลมุ่ วชิ าอตั ลักษณ์และคุณภาพชวี ติ บัณฑติ บรู พา ไมน่ ้อยกวา่ 4 หนว่ ยกิต 3) กลุม่ วิชาทักษะชีวติ และความรับผิดชอบต่อสงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม 7 หนว่ ยกติ 4) กลมุ่ วชิ านวัตกรรมและความคิดสรา้ งสรรค์ ไมน่ ้อยกว่า 4 หนว่ ยกิต 5) กล่มุ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไมน่ ้อยกวา่ 3 หนว่ ยกิต หมวดวชิ าเฉพาะ 108 หน่วยกิต กลุ่มวิชาพ้นื ฐานวชิ าชีพ 61 หนว่ ยกิต ก. วิทยาศาสตร์ 13 หนว่ ยกิต ข. พน้ื ฐานวิทยาศาสตร์การแพทย์ 27 หนว่ ยกิต ค. วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 21 หนว่ ยกิต กล่มุ วิชาชีพ 47 หนว่ ยกิต ก. วิชาชพี 30 หน่วยกิต ข. ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ 17 หน่วยกติ หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต3.1.3 รายวชิ าและจานวนหน่วยกิตหมวดวชิ าศึกษาทัว่ ไป1) กลุ่มวชิ าภาษาเพ่อื การส่ือสาร 12 หนว่ ยกิต ประกอบดว้ ยภาษาอังกฤษบงั คับ 9 หนว่ ยกิต99910159 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 3 (3-0-6) English for Communication99910259 ภาษาอังกฤษระดับมหาวทิ ยาลัย 3 (3-0-6) Collegiate English99920159 การเขียนภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร 3 (3-0-6) English Writing for Communicationภาษาอนื่ ๆ 3 หน่วยกิต22810159 ทักษะการใช้ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร 3 (3-0-6) Thai Language Skills for Communication

152) กล่มุ วชิ าอตั ลักษณแ์ ละคุณภาพชวี ติ บัณฑติ บรู พา 4 หน่วยกติ85111059 การออกกาลงั กายเพ่ือคุณภาพชีวติ 2 (1-2-3)Exercise for Quality of Life59810259 เวชศาสตรก์ ารท่องเทย่ี วทางทะเล 2 (1-3-2)Marine Travel Medicine3) กลุ่มวชิ าทักษะชีวติ และความรบั ผดิ ชอบต่อสังคมและสงิ่ แวดล้อม 7 หน่วยกิต24110159 จติ วทิ ยาในการดาเนินชีวติ และการปรับตวั 3 (3-0-6)Psychology for Living and Adjustment40240359 หลักเศรษฐกจิ พอเพียงกับการพฒั นาสงั คม 2 (2-0-4)Sufficiency Economy and Social Development30610659 ความหลากหลายทางชวี ภาพและการอนุรักษ์ 2 (2-0-4)Biodiversity and Conservation4) กลุ่มวชิ านวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ 4 หนว่ ยกิต30210159 คณติ คิดทนั โลก 2 (2-0-4)Contemporary Mathematics26510359 มนุษยก์ บั ทกั ษะการคดิ 2 (2-0-4)Man and Thinking Skills5) กลุ่มวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 หนว่ ยกติ79018159 สารสนเทศทางสุขภาพในชวี ิตประจาวัน 3 (3-0-6)Health care related informatics in daily lifeหมวดวชิ าเฉพาะ กาหนดให้เรียน 108 หน่วยกติ ประกอบด้วย 2 กลุ่มวิชา ดงั นี้ 3(3-0-6)1. กลุ่มวิชาพนื้ ฐานวชิ าชีพ กาหนดให้เรียน 61 หนว่ ยกิต ดงั น้ี 3(3-0-6) 3(3-0-6) ก. วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 13 หน่วยกิต 1(0-3-1) 30310759 เคมพี ืน้ ฐาน Basic Chemistry 30322059 เคมอี นิ ทรีย์ Organic Chemistry 30610059 ชีววทิ ยาทว่ั ไป 1 General Biology I 30610159 ปฏบิ ตั กิ ารชวี วทิ ยาทั่วไป 1 General Biology Laboratory I

1630810659 ฟสิ กิ สส์ าหรบั วทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ 3 (3-0-6) Physics for Health Scienceข. วชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ หรือปรคี ลินิก (Basic Medical Sciences หรอืPreclinical Sciences) 27 หน่วยกติ31620259 ชีวเคมีสาหรับวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ 2 (2-0-4) Biochemistry for Health Sciences65110159 ศพั ท์แพทย์ 1 (1-0-2) Medical terminology65110259 เภสัชพฤกษศาสตรแ์ ละพฤกษศาสตร์พื้นบา้ น 3 (2-3-4) Pharmaceutical Botany and Ethnobotany65130359 เภสชั เวท 3 (2-3-4) Pharmacognosy68010359 กายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ 4 (3-3-6) Human Anatomy68021159 สรรี วิทยาของมนุษย์สาหรบั วิทยาศาสตร์สขุ ภาพ 3 (2-3-4) Human Physiology for Health Sciences68021359 พยาธสิ รีรวทิ ยาสาหรบั วิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ 3 (3-0-6) Pathophysiology for Health Sciences68024259 พยาธิวิทยาสาหรบั การแพทย์แผนไทย 2 (2-0-4) Pathology for Thai Traditional Medicine65124359 จุลชีววทิ ยา ปรสิตวทิ ยาและวทิ ยาภูมคิ มุ้ กัน 3 (2-2-5) Microbiology Parasitology and Immunology79223559 เภสัชวิทยาเบือ้ งตน้ 3 (3-0-6) Principle of Pharmacologyค. วชิ าวทิ ยาศาสตร์การแพทย์หรือคลนิ ิก (Medical Sciences หรอื Clinical Sciences)จานวน 21 หน่วยกติ65110459 มานษุ ยวทิ ยาการแพทย์ 1 (1-0-2) Medical Anthropology65110559 บทนาการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ 1 (1-0-2) Introduction to Applied Thai Traditional Medicine

1765120659 ทักษะการให้คาปรึกษาและส่ือสาร 2 (2-0-4)ในการบริการแพทย์แผนไทยCounseling and Communication skill inThai Traditional Medicine65124259 อาหารและโภชนาการวถิ ีไทย 2(2-0- 4)Thai Style of Food and Nutrition65130759 การตรวจรา่ งกายและวินจิ ฉยั โรค 4 (2-4-6)Physical Examination and Diagnosis65130859 เวชศาสตรท์ ั่วไป 4 (2-4-6)General Medicine65130959 การดูแลรักษาแบบองค์รวม 2 (1-2-3)Holistic Health Care65131059 การวจิ ยั ทางการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ 2 (1-2-3)Research in Applied Thai Traditional Medicine65131159 การสืบคน้ ทางเวชศาสตร์ทว่ั ไป 2 (1-2-3)Common Investigation In General Medicine65131259 คณุ ธรรม จริยธรรมและกฎหมายทางการแพทย์ 1 (1-0-2)Moral, Medical Ethics and Law2. กลุ่มวชิ าชีพ กาหนดให้เรยี น 47 หน่วยกติ ประกอบด้วยก. วชิ าชพี 30 หนว่ ยกิต65121359 เวชกรรมไทยประยุกต์ 1 3 (2-3-4)Applied Thai Traditional Medicine I65121659 เภสัชกรรมไทยประยุกต์ 1 3 (2-3-4)Applied Thai Traditional Pharmacy I65121959 หตั ถเวชกรรมไทยประยุกต์ 1 3 (2-3-4)Applied Thai Traditional Massage I65122059 หตั ถเวชกรรมไทยประยุกต์ 2 3 (2-3-4)Applied Thai Traditional Massage II65131459 เวชกรรมไทยประยุกต์ 2 3 (2-3-4)Applied Thai Traditional Medicine II65131559 เวชกรรมไทยประยกุ ต์ 3 3 (2-3-4)Applied Thai Traditional Medicine III

1865131759 เภสชั กรรมไทยประยุกต์ 2 3 (2-3-4) Applied Thai Traditional Pharmacy II65131859 เภสชั กรรมไทยประยุกต์ 3 3 (2-3-4) Applied Thai Traditional Pharmacy III65132159 หตั ถเวชกรรมไทยประยุกต์ 3 3 (2-3-4) Applied Thai Traditional Massage III65132259 ผดงุ ครรภ์แผนไทยประยุกต์ 3 (2-3-4) Midwifery for Applied Thai Traditional Medicineข. ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี จานวน 17 หนว่ ยกิต65142359 ฝกึ ประสบการณ์เวชกรรมแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ 5 (0-15-8) Applied Thai Traditional Medicine Practice65142459 ฝกึ ประสบการณ์เภสัชกรรมแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ 5 (0-15-8) Applied Thai Traditional Pharmacy Practice65142559 ฝกึ ประสบการณ์หัตถเวชกรรมแพทย์แผนไทยประยุกต์ 5 (0-15-8) Applied Thai Traditional Massage Practice65142659 ฝกึ ประสบการณ์การผดงุ ครรภ์แผนไทยประยุกต์ 2 (0-12-6) Midwifery Practice for Applied Thai Traditional Medicineหมวดวิชาเลอื กเสรีให้เลือกเรียนรายวชิ าใดๆ อย่างน้อยอีก 6 หน่วยกิต จากรายวชิ าทเี่ ปดิ สอนในมหาวิทยาลัยบูรพา หรอืเลือกเรียนจากสถาบันอุดมศึกษาอนื่ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เชน่65122759 การแพทย์ทางเลือก 2 (1-2-3) Alternative Medicine65132859 พชื สมุนไพรเกษตรอินทรีย์ 2 (2-0-4) Organic Agricultural Herb65132959 ระบาดวทิ ยาและชวี สถติ ิเบอ้ื งตน้ 2 (1-2-3) Basic epidemiology and biostatistics65143059 การจดั การบริการสุขภาพแผนไทย 2 (2-0-4) Thai Traditional Health Service Management65113159 สมนุ ไพรในชวี ิตประจาวนั 2 (1-2-3) Herbal in Daily Life

1965113259 การดูแลสขุ ภาพดว้ ยการแพทย์แผนไทย 2 (1-2-3)6511335965113459 Health care with Thai Traditional Medicine6511355965113659 ธรรมชาติบาบดั กบั การทอ่ งเท่ียวเชิงสุขภาพ 3 (3-0-6)65113759 Natural Therapy for Medical Tourism6511415965133859 ฤาษีดดั ตนเพ่ือสุขภาพ 1 (0-2-1)6513395965144059 Rue-si dotton for Health 2 (2-0-4) สุขภาพความงามและสปา Beauty health and Spa เภสัชภัณฑ์จากสมุนไพร 2 (1-2-3) Medical supplies from herb การดูแลสขุ ภาพดว้ ยการนวดไทย 2 (1-2-3) Health care with Thai massage การแพทย์แผนไทยเพ่ือความงาม 2 (1-2-3) Thai Traditional Medicine for beauty การบาบัดดว้ ยเคร่ืองหอม 2 (2-0-4) Aromatherapy จติ และสมาธิเพื่อสขุ ภาพ 2 (2-0-4) Mental and Meditation for Health สัมมนาทางแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ 2 (1-2-3) Seminar in Applied Thai Traditional Medicineความหมายของเลขรหัส หมายถงึ เลขรหสั วชิ าของสว่ นงาน เลขรหสั 3 หลกั แรก หมายถงึ ชนั้ ปที ี่เปดิ สอน เลขรหสั หลักที่ 4 หมายถึง ลาดบั ของรายวชิ า เลขรหัสหลกั ที่ 5 - 6 หมายถึง ปีที่สร้างรายวชิ า เลขรหสั หลักที่ 7 - 8

20 3.1.4 แสดงแผนการศกึ ษา แผนการศกึ ษาของนสิ ิตในหลักสตู รการแพทย์แผนไทยประยุกต์บณั ฑติ ในแตล่ ะภาคเรียนของปีการศึกษา ดงั นี้ ปีท่ี 1 ภาคการศกึ ษาตน้ (First Semester)หมวดวชิ า รหัสและชื่อรายวิชา หน่วยกติศกึ ษาท่ัวไป (ทฤษฎี-ปฏิบตั ิ- 99910159 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารวชิ าเฉพาะ 22810159 English for Communication ศึกษาด้วย 85111059 ทกั ษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสอื่ สาร ตนเอง) 24110159 Thai Language Skills for Communication 3 (3-0-6) 30310759 การออกกาลังกายเพ่ือคุณภาพชีวติ 30610059 Exercise for Quality of Life 3 (3-0-6) 30610159 จิตวทิ ยาในการดาเนนิ ชีวติ และการปรับตวั 65110159 Psychology for Living and Adjustment 2 (1-2-3) 65110459 เคมีพืน้ ฐาน 3 (3-0-6) 65110559 Basic Chemistry ชีววทิ ยาท่ัวไป 1 3 (3-0-6) General Biology I ปฏิบัติการชีววิทยาท่ัวไป 1 3 (3-0-6) General Biology Laboratory I ศัพท์แพทย์ 1 (0-3-1) Medical terminology มานษุ ยวิทยาการแพทย์ 1 (1-0-2) Medical Anthropology บทนาการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ 1 (1-0-2) Introduction to Applied Thai Traditional Medicine 1 (1-0-2) รวม (Total) 21

21 ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)หมวดวชิ า รหสั และช่ือรายวิชา หน่วยกติศึกษาท่วั ไป (ทฤษฎี-ปฏบิ ตั ิ- 99910259 ภาษาองั กฤษระดบั มหาวิทยาลัยวชิ าเฉพาะ 30210159 Collegiate English ศึกษาด้วย 30610659 คณติ คดิ ทันโลก ตนเอง) 26510359 Contemporary Mathematics 3 (3-0-6) 30322059 ความหลากหลายทางชีวภาพและการอนุรักษ์ 2 (2-0-4) 65110259 Biodiversity and Conservation 2 (2-0-4) มนษุ ย์กับทกั ษะการคดิ 2 (2-0-4) 65120659 Man and Thinking Skills 3 (3-0-6) เคมีอนิ ทรยี ์ 3 (2-3-4) 68010359 Organic Chemistry เภสัชพฤกษศาสตรแ์ ละพฤกษศาสตร์พื้นบา้ น 2 (2-0-4) Pharmaceutical Botany and Ethno botany 4 (3-3-6) ทักษะการให้คาปรึกษาและส่ือสารในการ 21 บริการแพทยแ์ ผนไทย Counseling and Communication skill in Thai Traditional Medicine กายวิภาคศาสตรข์ องมนุษย์ Human Anatomy รวม (Total)

22 ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาต้น (First Semester)หมวดวชิ า รหัสและชื่อรายวิชา หนว่ ยกติศึกษาทัว่ ไป (ทฤษฎี-ปฏิบตั ิ- 99920159 การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สารวิชาเฉพาะ 79018159 English Writing for Communication ศกึ ษาด้วย สารสนเทศทางสขุ ภาพในชีวติ ประจาวนั ตนเอง) 31620259 Health care related informatics in daily 3 (3-0-6) 30810659 life 3 (3-0-6) 68021159 ชีวเคมีสาหรับวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ Biochemistry for Health Sciences 2 (2-0-4) 65121659 ฟสิ กิ สส์ าหรบั วิทยาศาสตรส์ ุขภาพ 3 (3-0-6) 65121959 Physics for Health Science 3 (2-3-4) 65124259 สรรี วทิ ยาของมนุษย์สาหรับวทิ ยาศาสตร์ สุขภาพ 3 (2-3-4) Human Physiology for Health Sciences 3 (2-3-4) เภสัชกรรมไทยประยุกต์ 1 2 (2-0-4) Applied Thai Traditional Pharmacy I หตั ถเวชกรรมไทยประยุกต์ 1 22 Applied Thai Traditional Massage I อาหารและโภชนาการวถิ ีไทย Thai Style of Food and Nutrition รวม (Total)

23 ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาปลาย (Second Semester)หมวดวชิ า รหัสและช่ือรายวิชา หนว่ ยกติศกึ ษาทั่วไป (ทฤษฎี-ปฏบิ ตั ิ- 59810259 เวชศาสตร์การทอ่ งเทย่ี วทางทะเลวชิ าเฉพาะ 40240359 Marine Travel Medicine ศกึ ษาด้วย หลักเศรษฐกจิ พอเพยี งกับการพฒั นาสังคม ตนเอง) 65122059 Sufficiency Economy and Social 2 (1-3-2) 65121359 Development 2 (2-0-4) 68021359 หตั ถเวชกรรมไทยประยุกต์ 2 68024259 Applied Thai Traditional Massage II 3 (2-3-4) 65124359 เวชกรรมไทยประยกุ ต์ 1 3 (2-3-4) Applied Thai Traditional Medicine I 3 (3-0-6) 79223559 พยาธิสรีรวทิ ยาสาหรับวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ 2 (2-0-4) Pathophysiology for Health Sciences 3 (2-2-5) พยาธิวทิ ยาสาหรบั การแพทย์แผนไทย Pathology for Thai Traditional Medicine 3 (3-0-6) จุลชีววิทยา ปรสิตวทิ ยาและวทิ ยาภมู คิ ุม้ กนั 21 Microbiology Parasitology and Immunology เภสัชวทิ ยาเบือ้ งต้น Principle of Pharmacology รวม (Total)

24 ปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษาต้น (First Semester)หมวดวิชา รหสั และช่ือรายวิชา หน่วยกติวชิ าเฉพาะ (ทฤษฎี-ปฏบิ ตั ิ- 65131459 เวชกรรมไทยประยุกต์ 2เลือกเสรี 65131759 Applied Thai Traditional Medicine II ศึกษาดว้ ย 65130759 เภสัชกรรมไทยประยุกต์ 2 ตนเอง) 65130859 Applied Thai Traditional Pharmacy II 3 (2-3-4) 65130959 การตรวจร่างกายและวินิจฉัยโรค 65131059 Physical Examination and Diagnosis 3 (2-3-4) เวชศาสตร์ทั่วไป xxxxxxxx General Medicine 4 (2-4-6) การดแู ลรักษาแบบองคร์ วม Holistic health care 4 (2-4-6) การวิจยั ทางการแพทย์แผนไทยประยุกต์ Research in Applied Thai Traditional 2 (1-2-3) Medicine วิชาเลอื กเสรี 2 (1-2-3) รวม (Total) 2 หน่วยกติ 20

25 ปที ่ี 3 ภาคการศกึ ษาปลาย (Second Semester)หมวดวชิ า รหสั และช่ือรายวิชา หน่วยกิตวชิ าเฉพาะ (ทฤษฎี-ปฏบิ ัติ- 65130359 เภสัชเวทเลือกเสรี 65131559 Pharmacognosy ศึกษาดว้ ย 65131859 เวชกรรมไทยประยกุ ต์ 3 ตนเอง) 65132159 Applied Thai Traditional Medicine III 3 (2-3-4) 65132259 เภสัชกรรมไทยประยุกต์ 3 Applied Thai Traditional Pharmacy III 3 (2-3-4) 65131159 หัตถเวชกรรมไทยประยุกต์ 3 Applied Thai Traditional Massage III 3 (2-3-4) 65131259 ผดงุ ครรภแ์ ผนไทยประยกุ ต์ xxxxxxxx Midwifery for Applied Thai Traditional 3 (2-3-4) Medicine การสืบค้นทางเวชศาสตร์ทว่ั ไป 3 (2-3-4) Common Investigation In General Medicine 2 (1-2-3) คณุ ธรรม จริยธรรมและกฎหมายทางการแพทย์ Moral, Medical Ethics and Law 1 (1-0-2) วชิ าเลือกเสรี 2 หน่วยกิต รวม (Total) 20

26 ปที ี่ 4 ภาคการศึกษาตน้ (First Semester)หมวดวชิ า รหสั และชื่อรายวิชา หนว่ ยกติวชิ าเฉพาะ (ทฤษฎี-ปฏบิ ัติ- 65142559 ฝกึ ประสบการณห์ ตั ถเวชกรรมแพทย์แผนไทยเลอื กเสรี 65142459 ประยุกต์ ศกึ ษาด้วย xxxxxxxx Applied Thai Traditional Massage ตนเอง) Practice 5 (0-15-8) ฝกึ ประสบการณ์เภสัชกรรมแพทยแ์ ผนไทย ประยุกต์ 5 (0-15-8) Applied Thai Traditional Pharmacy Practice 2 หน่วยกติ วิชาเลอื กเสรี 12 รวม (Total) ปที ี่ 4 ภาคการศกึ ษาปลาย (Second Semester)หมวดวิชา รหัสและช่ือรายวิชา หนว่ ยกติวชิ าเฉพาะ (ทฤษฎี-ปฏบิ ตั ิ- 65142359 ฝกึ ประสบการณเ์ วชกรรมแพทย์แผนไทย 65142659 ประยกุ ต์ ศึกษาดว้ ย Applied Thai Traditional Medicine ตนเอง) Practice 5 (0-15-8) ฝึกประสบการณ์การผดุงครรภ์แผนไทย ประยกุ ต์ 2 (0-12-6) Midwifery Practice for Applied Thai Traditional Medicine 7 รวม (Total)

27 3.1.5 คาอธิบายรายวชิ า (เอกสารแนบท้ายหมายเลข 1)3.2 ชื่อ สกุล ตาแหน่งและคณุ วุฒอิ าจารย์3.2.1 อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตรและอาจารยป์ ระจาหลักสูตร1. ชื่อ นางสาวพลอยชนก ปทุมานนท์ เลขประจาตวั ประชาชน 315010023xxxxคุณวุฒกิ ารศึกษา- วท.ม. (การบริหารจัดการส่ิงแวดล้อม) มหาวิทยาลยั มหาสารคาม พ.ศ. 2549- คศ.บ. (โภชนาการชุมชน) มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2537- ปวส. (แพทยแ์ ผนโบราณประยกุ ต์) โรงเรียนอายรุ เวทวิทยาลยั (ชวี กโกมารภจั จ์) พ.ศ. 2531- ปวส. (แพทย์แผนโบราณแบบประยกุ ต์) ประเภทวชิ าเวชกรรม โรงเรยี นอายรุ เวทวิทยาลัย (ชีวกโกมารภัจจ์) พ.ศ. 2544ใบประกอบวิชาชีพ- ใบอนญุ าตเปน็ ผู้ประกอบวชิ าชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ เลขท่ี บ.ป. 202 พ.ศ. 2537 (เดิม)ตาแหนง่ ทางวิชาการ อาจารย์ผลงานทางวิชาการ เอกสารแนบท้ายหมายเลข 2ภาระงานสอนเดิมรหัสวชิ า รายวิชา จานวนหนว่ ยกติ652114 บทนาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 1 (1-0-2)652215 การฝกึ งานในชมุ ชนสาหรบั แพทย์แผนไทยประยุกต์ 2 (1-2-3)653301 เวชกรรมไทยประยกุ ต์ 1 3 (2-3-4)654301 เภสัชกรรมไทยประยุกต์ 1 3 (2-3-4)655301 หัตถเวชกรรมไทยประยุกต์ 1 3 (2-3-4)ภาระงานสอนในหลกั สตู รนี้รหสั วิชา รายวิชา จานวนหน่วยกิต65110559 บทนาการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ 1 (1-0-2)65121359* เวชกรรมไทยประยกุ ต์ 1 3 (2-3-4)65121659* เภสัชกรรมไทยประยุกต์ 1 3 (2-3-4)หมายเหตุ : * หมายถึง สอนร่วม

282. ช่อื นางสาววรัมพา สวุ รรณรัตน์ เลขประจาตวั ประชาชน 193990003xxxxคณุ วฒุ ิการศึกษา- วท.ม. (การแพทย์แผนไทยประยกุ ต์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2554- วท.บ. (การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2551ใบประกอบวิชาชพี- ใบอนญุ าตเป็นผู้ประกอบวิชาชพี การแพทย์แผนไทยประยุกต์ เลขที่ พท.ป.622 พ.ศ. 2552ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ผลงานทางวิชาการ เอกสารแนบท้ายหมายเลข 2ภาระงานสอนเดิมรหสั วิชา รายวิชา จานวนหนว่ ยกติ652305 การดแู ลรักษาแบบองค์รวม 2 (1-2-3)653301 เวชกรรมไทยประยกุ ต์ 1 3 (2-3-4)654301 เภสชั กรรมไทยประยุกต์ 1 3 (2-3-4)655301 หตั ถเวชกรรมไทยประยุกต์ 1 3 (2-3-4)ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้รหสั วชิ า รายวชิ า จานวนหน่วยกิต65121359* เวชกรรมไทยประยกุ ต์ 1 3 (2-3-4)65121659* เภสชั กรรมไทยประยุกต์ 1 3 (2-3-4)65121959* หัตถเวชกรรมไทยประยุกต์ 1 3 (2-3-4)65122059* หตั ถเวชกรรมไทยประยุกต์ 2 3 (2-3-4)หมายเหตุ : * หมายถงึ สอนร่วม3. ชื่อ นางสาวชลาลยั โชคดีศรจี นั ทร์ เลขประจาตัวประชาชน 110080042xxxxคณุ วุฒกิ ารศึกษา- พทป.บ. (แพทย์แผนไทยประยกุ ต์) มหาวทิ ยาลัยบรู พา พ.ศ. 2553ใบประกอบวิชาชีพ- ใบอนญุ าตเป็นผู้ประกอบวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ เลขท่ี พท.ป. 698 พ.ศ. 2553ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ผลงานทางวิชาการ เอกสารแนบท้ายหมายเลข 2

ภาระงานสอนเดิม 29รหัสวิชา รายวิชา จานวนหนว่ ยกิต 3 (2-3-4)653302 เวชกรรมไทยประยุกต์ 2 3 (2-3-4) 5 (0-20-10)653403 เวชกรรมไทยประยุกต์ 3 จานวนหนว่ ยกิต653404 การฝึกเวชกรรมปฏบิ ัติแพทย์แผนไทยประยุกต์ 3(2-3-4) 3(2-3-4)ภาระงานสอนในหลกั สูตรนี้ 5(0-15-8)รหัสวิชา รายวชิ า65131459* เวชกรรมไทยประยุกต์ 265131559* เวชกรรมไทยประยุกต์ 365142359* ฝกึ ประสบการณเ์ วชกรรมแผนไทยประยุกต์หมายเหตุ : * หมายถงึ สอนร่วม4. ช่อื นางสาวจริ าภรณ์ โยวทติ ย์ เลขประจาตวั ประชาชน 145060000xxxxคณุ วุฒกิ ารศึกษา- วท.ม. (วิทยาการสังคมและการจดั การระบบสุขภาพ) มหาวิทยาลยั ศิลปากร พ.ศ. 2556- พทป.บ. (แพทย์แผนไทยประยกุ ต์) มหาวทิ ยาลัยมหิดล พ.ศ. 2550ใบประกอบวิชาชีพ- ใบอนญุ าตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ เลขที่ บ.ป.501 พ.ศ. 2550 (เดิม)ตาแหนง่ ทางวิชาการ อาจารย์ผลงานทางวิชาการ เอกสารแนบท้ายหมายเลข 2ภาระงานสอนเดิมรหัสวิชา รายวิชา จานวนหน่วยกิต654302 เภสชั กรรมไทยประยุกต์ 2 3 (2-3-4)654403 เภสัชกรรมไทยประยุกต์ 3 3 (2-3-4)654404 การฝกึ เภสชั กรรมปฏบิ ัติแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ 5 (0-15-8)ภาระงานสอนในหลกั สูตรน้ีรหัสวิชา รายวชิ า จานวนหน่วยกติ65131759* เภสัชกรรมไทยประยุกต์ 2 3 (2-3-4)65131859* เภสัชกรรมไทยประยุกต์ 3 3 (2-3-4)65142459* ฝกึ ประสบการณเ์ ภสัชกรรมแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ 5 (0-15-8)หมายเหตุ : * หมายถงึ สอนร่วม

305. ชื่อ นางสาวศริ ิวดี บุญมโหตม์ เลขประจาตัวประชาชน 310170031xxxxคุณวุฒิการศกึ ษา- วท.ม. (เภสชั กรรมคลินกิ ) มหาวทิ ยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2547- ภ.บ. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2533- ใบประกอบโรคศลิ ปะ สาขาเภสัชกรรม เลขท่ี ภ.7394 พ.ศ. 2533ตาแหนง่ ทางวิชาการ อาจารย์ผลงานทางวิชาการ เอกสารแนบทา้ ยหมายเลข 2ภาระงานสอนเดิมรหัสวิชา รายวชิ า จานวนหนว่ ยกติ652102 ทกั ษะการใหค้ าปรึกษาและส่ือสารในการบริการแพทย์ 2 (2-0-4) แผนไทย652101 มานษุ ยวทิ ยาการแพทย์ 1 (1-0-2)ภาระงานสอนในหลักสูตรน้ีรหสั วิชา รายวิชา จานวนหนว่ ยกติ65120659* ทักษะการใหค้ าปรึกษาและสื่อสารในการบริการแพทย์ 2 (2-0-4) แผนไทย65110459* มานษุ ยวิทยาการแพทย์ 1 (1-0-2)หมายเหตุ : * หมายถงึ สอนร่วม 3.2.2 อาจารยพ์ ิเศษ เป็นไปตามข้อบังคบั มหาวทิ ยาลยั บรู พา ว่าดว้ ยอาจารยพ์ ิเศษ พ.ศ. 2556และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเติม (ถ้ามี)4. องค์ประกอบเกยี่ วกบั ประสบการณ์ภาคสนาม (การฝกึ งาน หรือสหกจิ ศกึ ษา) (ถ้ามี) หลกั สูตรได้จดั ใหม้ ีรายวชิ าซ่งึ มกี จิ กรรมในลักษณะของประสบการณภ์ าคสนาม ซึ่งหมายถึงการศกึ ษาและฝกึ ปฏิบัตวิ ชิ าชพี ในสถานการณจ์ รงิ ไดแ้ ก่ สถานพยาบาลทใ่ี ห้บรกิ ารทางการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ เชน่ โรงพยาบาล สถานพยาบาลแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล ศนู ย์ส่งเสรมิ สขุ ภาพ ชุมชน โรงเรียน วัด สถานที่ผลติ ยา และรา้ นขายยา เปน็ ต้น ท้งั น้โี ดยมีอาจารย์แพทย์แผนไทยประยุกตผ์ ู้ได้รบั ใบอนญุ าตเป็นผู้ประกอบวชิ าชีพสาขาการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ และสาขาวิชาชีพอนื่ ที่เกี่ยวขอ้ งเป็นผู้ดแู ล ให้คาปรึกษาอย่างเพียงพอกับนิสติ

314.1 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม(1) สามารถเลอื กและประยกุ ต์ใช้ความรใู้ นการทาเวชปฏบิ ตั ไิ ด้(2) สามารถปฏบิ ตั ทิ ักษะและหตั ถการในการทาเวชปฏบิ ัตไิ ด้(3) สามารถวเิ คราะห์สถานการณ์/ปญั หา และสังเคราะหห์ รือวางแผนการดาเนินการ/พัฒนา งาน/สรา้ งนวัตกรรมได้(4) มีมนุษยสัมพันธแ์ ละสามารถทางานร่วมกบั ผู้อน่ื ได้ดี(5) มรี ะเบียบวินยั ตรงเวลา รบั ผิดชอบ และเจตคติทีด่ ใี นการทางาน4.2 - 4.3 ช่วงเวลา - การจดั เวลาและตารางสอนวิชา ชั้นปีท่ี ภาคการศึกษา การจดั เวลาและตารางสอนฝึกประสบการณ์หตั ถเวชกรรม 4 1 รวม 15 สปั ดาห์ๆ ละ 15 ชว่ั โมงแพทย์แผนไทยประยุกต์ รวมทง้ั ส้ิน 225 ชั่วโมงฝกึ ประสบการณเ์ ภสชั กรรม 4 1 รวม 15 สปั ดาห์ๆ ละ 15 ชั่วโมงแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ รวมทัง้ สน้ิ 225 ชั่วโมงฝึกประสบการณเ์ วชกรรมแพทย์ 4 2 รวม 15 สปั ดาห์ๆ ละ 15 ช่ัวโมงแผนไทยประยุกต์ รวมทง้ั ส้ิน 225 ชั่วโมงฝกึ ประสบการณ์การผดุงครรภ์ 4 2 รวม 15 สัปดาห์ๆ ละ 12 ชั่วโมงแผนไทยประยุกต์ รวมทง้ั ส้นิ 180 ชัว่ โมง5. ข้อกาหนดเก่ียวกบั การทาโครงงานหรืองานวิจัย (ถ้ามี) คณะการแพทยแ์ ผนไทยอภัยภเู บศร มหาวทิ ยาลยั บรู พา ไดก้ าหนดวชิ าเกี่ยวกับการวจิ ยั เพ่อื ให้บณั ฑิตท่ีสาเร็จการศึกษามีความรู้ความสามารถท่จี ะตง้ั คาถาม ค้น วิเคราะห์ และประเมินข้อมูลที่เก่ยี วข้องและสังเคราะห์คาตอบ รวมท้ังสามารถวางแผนวิจัยได้ ในรายวชิ า 65131059 การวิจัยทางการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ 2 (1-2-3) 5.1 คาอธิบายโดยยอ่ หลกั สตู รไดก้ าหนดคาอธิบายรายวชิ า ดงั นี้ หลกั การวิจยั เกย่ี วกับการแพทยแ์ ผนไทย การเขียนโครงร่างวิจยั การวางแผน และดาเนินการวิจยัจริยธรรม การวจิ ารณ์งานวิจัย การประยกุ ตห์ ลกั การทางระบาดวิทยา การเก็บข้อมูล สถิตกิ ารวิเคราะห์ข้อมูลการอภิปรายผล แนวทางการเขยี นรายงานวิจัย และการนาเสนอผลงานวจิ ัยรูปแบบต่าง ๆ 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ (1) สามารถตั้งคาถามเกยี่ วกับหวั ข้อหรือเร่อื งทส่ี นใจทางการแพทยแ์ ผนไทยได้ (2) สามารถคน้ วิเคราะห์ และประเมินข้อมลู ได้ (3) สามารถสังเคราะหค์ าตอบจากผลการประเมินข้อมลู ได้

32 (4) สามารถวางแผนงานวจิ ัยได้ (5) สามารถนาเสนอผลงานการค้น ประเมิน และสังเคราะห์ขอ้ มลู และแผนงานวจิ ยั ได้ 5.3 ช่วงเวลา ชั้นปีท่ี 4 ภาคการศึกษาท่ี 1 หรือ 2 5.4 จานวนหน่วยกติ 2 หน่วยกิต 5.5 การเตรียมการ มีการกาหนดชว่ั โมงเป็นระยะๆ ในช่วงชน้ั ปที ี่ 4 เพ่ือให้นิสิตสามารถดาเนนิ กจิ กรรมต่างๆตามทีก่ าหนด รวมทัง้ ปรึกษากบั อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบรายวิชาได้ 5.6 กระบวนการประเมนิ ผล ประเมินผลงานท่นี สิ ิตนาเสนอเป็นระยะๆ เพอื่ ดูพัฒนาการและคุณภาพงาน

33หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธก์ ารสอนและการประเมินผล1. การพัฒนาคณุ ลกั ษณะพิเศษของนิสติคุณลักษณะพิเศษ กลยุทธห์ รือกิจกรรมของนิสิต1.1 มีความรู้ความสามารถในการทา ในหลกั สตู รกาหนดให้มีการฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพมากถงึเวชปฏบิ ัติการแพทย์ ร้อยละ 36 ของกล่มุ วิชาชพี แพทย์แผนไทยแผนไทยประยุกต์อยา่ งมี (17 นก./47 นก. x 100 = 36%)คุณภาพและได้มาตรฐาน1.2 มจี ติ สานึกต่อสังคม - การเรียนการสอนกลุ่มวชิ าชพี (เวชกรรมไทย เภสชั กรรมไทย หตั ถเวชกรรมไทย และผดุงครรภไ์ ทย) มเี น้ือหาดา้ นศีลธรรม จรรยาบรรณ ตลอดจนมารยาทวชิ าชพี ซ่งึ เป็นการกระตนุ้ และ ส่งเสรมิ การมีจิตสานึกท่ดี ตี ่อสังคม1.3 มภี าวะผนู้ า มีมนุษยสัมพันธท์ ่ีดี - มหาวทิ ยาลัยบรู พา กาหนดใหม้ ีสโมสรนสิ ติ คณะ เพือ่ กาหนดสามารถทางานเปน็ ทีมใน บทบาทตา่ งๆ ของนสิ ิตใหส้ ามารถทางานร่วมกนั ได้ท้ังในระหว่างบทบาทตา่ งๆได้ นสิ ิตคณะเดยี วกนั และระหว่างคณะ - กาหนดใหม้ รี ายวิชาท่นี ิสติ ต้องทางานรว่ มกันเป็นกลุ่ม แบ่ง ภาระหนา้ ที่กนั ทา ซึ่งเปน็ การฝกึ ความรบั ผดิ ชอบและการทางาน รว่ มกับผอู้ นื่1.4 มีระเบยี บวินยั ตรงตอ่ เวลา - ทาความเข้าใจเหตผุ ลและความจาเป็นของการมรี ะเบียบวนิ ัยมคี วามรับผิดชอบ การตรงต่อเวลาและการมีความรับผิดชอบ - มกี ารตรวจสอบการเขา้ ชั้นเรียนของนิสติ ในแตล่ ะรายวิชาอย่าง สมา่ เสมอ และกาหนดการส่งงานท่ีมอบหมายในระยะเวลาท่ี กาหนด

2. การพฒั นาผลการเรียนรใู้ นแตล่ ะดา้ น ผลการเรยี นรู้ กลยทุ2.1 ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม(1) มีคุณธรรมจรยิ ธรรมในการดาเนนิ ชีวติ บนพ้นื ฐานปรชั ญา คณเศรษฐกิจพอเพียง และวชิ าชพี สาขา การแพทย์แผนไทยประยุกต์ เพือ่ ปลูก(2) มีวินยั เปน็ แบบอยา่ งทดี่ ตี อ่ ผู้อ่นื มคี วามเข้าใจและเห็นคณุ คา่ ของ โดยเน้นตนเอง ผู้อน่ื สังคม ศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาติ ระเบยี บ(3) แสดงออกซง่ึ พฤตกิ รรมดา้ นความรับผดิ ชอบ ความเมตตากรุณา ตรงเวลาความซ่อื สตั ยส์ ุจริต เสียสละ จติ สานึกตอ่ สงั คม และตระหนักในคุณคา่ ของ สอบตลอการอนุรักษแ์ ละเผยแพรว่ ัฒนธรรมอันดีงามของไทย มอบหม กจิ กรรม (4) สามารถวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์ / ปัญหาทวั่ ไปและทางวิชาชพี ท่ี ทกุ คนมเก่ยี วขอ้ งกับคุณธรรมจริยธรรม และสังเคราะห์แนวปฏิบตั ิท่ีเหมาะสม จรยิ ธรร ตลอดจน ด้านคุณ

ทธ์การสอนทีใ่ ชพ้ ัฒนาการเรียนรู้ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ณะกาหนดให้มวี ัฒนธรรมองค์กร (1) จากการตรงเวลาในการเข้าชน้ักฝงั การมรี ะเบยี บวนิ ัยของนิสิต เรยี น การสง่ งาน และความรับผิดชอบในนดา้ นการแตง่ กายใหเ้ ป็นไปตาม หนา้ ทท่ี ี่ได้รบั มอบหมายบของมหาวิทยาลยั การเขา้ ชนั้ เรียน (2) การกระทาผิด ทจุ รติ ในการสอบา การซ่ือสัตยส์ จุ ริต ไมท่ ุจรติ ในการ (3) จากพฤติกรรมการฝกึ เวชปฏิบตั ิอดจนลอกการบ้านหรืองานท่ีมายจากเพอื่ น ชว่ ยเหลอื งานหรอืมกลมุ่ ตามภาระหนา้ ที่ และอาจารย์มกี ารสอดแทรกเรือ่ งคุณธรรมและรม ในเนื้อหาการเรยี นแต่ละรายวชิ านประพฤติตนเปน็ แบบอยา่ งที่ดีณธรรมและจริยธรรม 34

2.2 ดา้ นความรู้ จดั (1) มคี วามรอบรู้ เข้าใจหลกั การและทฤษฎีพ้นื ฐานทางดา้ น โดยเน้น เนอ้ื หาววทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน และศาสตร์การแพทย์แผนไทยตามเกณฑ์มาตรฐานวชิ าชพี สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ จดั โดยการ (2) สามารถประยกุ ต์ความร้จู ากทฤษฎสี กู่ ารปฏบิ ตั ิ ประสบก (3) มคี วามสามารถในการติดตามงานวิจัยและองคค์ วามร้ใู หม่ และจัดใ วชิ าชีพ2.3 ดา้ นทักษะทางปัญญา กา (1) มที ักษะการแสวงหาความรู้ ประยุกต์ เพ่ือพฒั นาตนเองอย่าง ฝึกกระบ ปญั หาทต่อเนื่อง เรียนกา (2) มีทกั ษะการคิดแบบองคร์ วม เพ่อื แกป้ ญั หาได้อย่างมี การแกป้ จดั ให้มีกประสิทธิภาพและสอดคล้องกับสถานการณ์ ในสถาน (3) สามารถประยุกต์ความรแู้ ละประสบการณ์เพ่ือใชใ้ นการวเิ คราะห์ปญั หา และสังเคราะหแ์ นว ทางหรอื วิธีการเพื่อปรับปรุงแก้ไขปญั หาท้ังเรอื่ งทัว่ ไปและดา้ นวิชาการ/วิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ได้อยา่ งสร้างสรรค์ท้ังในสถานการณ์ที่คยุ้ เคยและทแี่ ตกตา่ งกันออกไป

ดการเรยี นการสอนหลายรปู แบบ (1) ทดสอบย่อย กลางภาคและนผเู้ รียนเป็นสาคญั ตามลักษณะ ปลายภาคเรยี นวชิ านนั้ ๆ (2) รายงาน โครงการ และการดการเรยี นร้จู ากประสบการณ์จริง นาเสนอในชั้นเรยี นรศกึ ษาดงู านและเชิญผู้มีการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพเิ ศษ (3) การฝกึ ปฏิบัตใิ นวิชาชีพใหม้ ีการฝกึ ปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานารเรียนการสอนแต่ละรายวชิ า ตอ้ ง ประเมนิ จากผลงาน ได้แก่ การบวนการคิดอยา่ งสรา้ งสรรค์จาก นาเสนอรายงานในชน้ั เรยี น การทดสอบท่ีง่ายไปสู่ยากตามลาดับ จดั การ จากแบบทดสอบ และการฝึกปฏบิ ตั ิจรงิารสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั โดย ตามบริบทต่าง ๆปัญหาจากสถานการณ์จาลอง และการฝึกปฏิบตั ิจริงเพื่อฝกึ แกป้ ญั หานการณ์จรงิ ในบรบิ ทต่าง ๆ 35

2.4 ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรับผิดชอบ(1) มีจิตสาธารณะ มคี วามรบั ผิดชอบ สานึกในความเป็นพลเมืองทมี่ ี จดัคุณคา่ ต่อสังคม และมีความเป็นไทย เรยี นรู้ ร(2) มภี าวะผู้นา และสามารถทางานเป็นทีม สอดแทร(3) มีมนุษยสัมพนั ธ์ที่ดีกับผปู้ ว่ ย ญาติ และผู้รว่ มงาน โดยตระหนกั ใน และสงั คคณุ ค่าและความรสู้ ึกของความเป็นมนษุ ย์ ในวฒั นธ(4) สามารถทางานกลุ่มไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรคท์ ัง้ ในฐานะผู้นาหรอืสมาชกิ ของกล่มุ มีสว่ นชว่ ยและเอื้อตอ่ การแก้ปัญหาในกลุ่ม(5) สามารถแสดงออกซ่ึงภาวะผนู้ าในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่ไม่ชัดเจน สามารถวิเคราะห์และบูรณาการศาสตรต์ ่างๆ เข้าด้วยกัน(6) มีความรับผิดชอบในการเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนื่องเพอื่ พฒั นาตนเองและวชิ าชีพ

ดกิจกรรมรายวชิ าตา่ ง ๆ ใหน้ ิสิต ประเมินพฤตกิ รรมและการร่วมมือ ฝกึ ทางานเปน็ กลุ่ม โดย แสดงออกการนาเสนอรายงานในชั้นเรยี นรกเรือ่ ง ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง ตลอดจนการสงั เกตพฤติกรรมที่แสดงออกคม การมมี นุษยสัมพันธ์ การเขา้ ใจ ในการร่วมกิจกรรมธรรมองคก์ ร 36

2.5 ดา้ นทักษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การสอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จัด(1) สามารถใชข้ ้อมูลเชงิ ตัวเลข และเทคโนโลยีสารสนเทศ อยา่ งรู้เทา่ รายวชิ าทันในการศกึ ษาคน้ ควา้ และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปญั หา ในทกั ษะ(2) สามารถใช้ภาษาในการสอื่ สารอย่างมปี ระสิทธิภาพทง้ั ในการฟังการพูด การเขียน รวมทงั้ สามารถเลอื กใชร้ ูปแบบของการนาเสนอที่เหมาะสมสาหรบั กลุม่ บุคคลท่ีแตกต่างกนั ได้(3) ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ประมวลผลแปลความหมาย และการนาเสนอข้อมูลสารสนเทศ2.6 ดา้ นทกั ษะพสิ ัย กา(1) มคี วามสามารถในการทาหัตถการทางการแพทย์แผนไทย ต้องฝกึ ทประยุกตต์ ามมาตรฐานวิชาชีพสาขาการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ คณะกร แผนไทย ปฏิบัติจ3. แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรส่รู (เอกสารแนบทา้ ยหมายเลข 3)

ดกจิ กรรมการเรียนการสอนใน (1) การนาเสนอโดยการใช้าต่าง ๆ ใหน้ สิ ิตได้เรยี นรู้การปฏบิ ตั ิ เทคโนโลยีสารสนเทศ ทกั ษะเชิงตวั เลขในะตา่ ง ๆ หลากหลายสถานการณ์ การวิเคราะห์และแปลผลงานการศึกษา (2) ความสามารถในการอธบิ าย อภิปรายกรณีศกึ ษาตา่ ง ๆ ในชน้ั เรียน ใน สถานบริการสขุ ภาพด้านการแพทยแ์ ผน ไทยแผนไทยารเรยี นการสอนในกลุ่มรายวชิ าชพี ประเมนิ จากผลงาน ไดแ้ ก่ การทกั ษะพิสยั ตามตามเกณฑ์ของ นาเสนอกรณีศกึ ษาในช้นั เรียน การรรมการวชิ าชพี สาขาการแพทย์ ทดสอบจากแบบทดสอบ และการฝึกยประยุกต์ และจัดให้มีการฝกึ ปฏิบัตจิ รงิ ตามทกั ษะพิสัยต่าง ๆจริงเพ่อื ฝึกทกั ษะพิสยั ด้านตา่ ง ๆรายวชิ า Curriculum Mapping) 37

38หมวดท่ี 5 หลักเกณฑใ์ นการประเมินผลนสิ ิต1. กฎระเบียบหรอื หลักเกณฑใ์ นการใหร้ ะดับคะแนน เป็นไปตามข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยบรู พา ว่าด้วยการศึกษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2555 และที่แก้ไขเพมิ่ เติม2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธข์ิ องนิสติ กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ขิ องนสิ ติ ประกอบด้วย การมอบหมายใหก้ ลุม่ อาจารย์ซงึ่ ทาหน้าที่กากับดแู ลการจดั การเรยี นการสอนและการประเมินผลกลุ่มวชิ าหรอื วิชานน้ั 2.1 ตรวจสอบว่าขอ้ สอบทจ่ี ะใชส้ อบหรืองานท่จี ะมอบหมายให้นิสติ ปฏบิ ตั ิเพ่อื ประเมินผลการเรยี นรู้มีระดับท่ีเหมาะสม เนื้อหาถกู ต้อง และสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานผลการเรยี นรู้ที่กาหนด 2.2 วิเคราะห์ผลการสอบเพื่อหาจดุ อ่อนของนิสิต เพื่อให้ข้อมลู ปอ้ นกลับสาหรบั การพฒั นา3. เกณฑก์ ารสาเร็จการศกึ ษาตามหลักสูตร  เรยี นครบตามจานวนหนว่ ยกติ ท่กี าหนดไวใ้ นหลักสูตร  ระดบั แตม้ คะแนนเฉลย่ี สะสมขน้ั ต่า 2.00 (จากระบบ 4 ระดับคะแนน)  เกณฑอ์ ื่น ๆ - เปน็ ผ้มู คี วามประพฤตดิ เี หมาะสมแก่ศกั ด์ศิ รแี หง่ ปรญิ ญาการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ - สอบประมวลความรอบรู้ (Comprehensive Examination) ผ่าน

39หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์1. การเตรียมการสาหรบั อาจารย์ใหม่ 1. มกี ารปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ให้รูจ้ กั มหาวิทยาลัยและคณะ ให้เขา้ ใจวตั ถุประสงค์ เป้าหมายของหลักสูตรตามแนวคดิ ของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 2. ใหอ้ าจารย์ใหม่เข้าใจการบริหารวิชาการของคณะ และเรือ่ งของการประกันคุณภาพการศกึ ษาที่คณะตอ้ งดาเนินการและสว่ นทอี่ าจารย์ทกุ คนต้องปฏิบัติ 3. มกี ารแนะนาอาจารย์พิเศษให้เข้าใจเกย่ี วกบั วัตถุประสงค์ของหลักสตู ร ตลอดจนรายวิชาท่จี ะสอนพรอ้ มทัง้ มอบเอกสารท่เี กี่ยวข้องใหก้ ับอาจารย์2. การพัฒนาความร้แู ละทกั ษะใหแ้ กค่ ณาจารย์ 2.1 การพัฒนาทักษะการจดั การเรยี นการสอน การวัดและการประเมินผล (1) มหาวทิ ยาลยั บรู พามหี ลักสูตรอบรมสาหรบั อาจารยใ์ หม่ โดยทกุ คนต้องผ่านการอบรมสองหลักสตู ร คอื หลักสตู รเกี่ยวกบั การสอนทว่ั ไป และหลักสตู รการวัดและประเมินผล ซ่งึ อาจารยใ์ หม่ทุกคนตอ้ งผา่ นการอบรมภายใน 1 ปที ไ่ี ด้รับการบรรจุและแต่งตั้ง (2) อาจารยท์ ุกคนต้องผา่ นการอบรมหลักสูตรเกยี่ วกบั การสอนแบบต่างๆ การสรา้ งแบบทดสอบตา่ งๆ ตลอดจนการประเมนิ ผลการเรียนรู้ท่อี ิงพฒั นาการของผ้เู รียน การใช้คอมพวิ เตอร์ในการจดั การเรยี นการสอน การใช้และผลิตสอ่ื การสอน 2.2 การพฒั นาวิชาการและวชิ าชีพดา้ นอนื่ ๆ (1) สนบั สนนุ ใหค้ ณาจารย์ในหลักสตู รไปอบรมหรอื ประชุมสมั มนาทั้งในวชิ าชีพและวิชาการอน่ื ๆท่เี ก่ียวข้อง (2) สนบั สนุนใหค้ ณาจารย์จัดทาผลงานทางวชิ าการเพื่อใหม้ ตี าแหนง่ ทางวชิ าการสูงขนึ้ (3) ส่งเสริมให้คณาจารย์ทาวจิ ัยทงั้ การวจิ ยั ในสาขาวิชาชีพ และการวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรียนการสอน

40 หมวดที่ 7 การประกนั คณุ ภาพการศึกษา1. การกากับมาตรฐาน มีอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สูตร จานวน 5 คน เปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบการบรหิ าร กากับมาตรฐานหลักสตู ร โดยมีคณบดีเป็นผู้กากับดูแลและให้คาแนะนา ตลอดจนกาหนดนโยบายปฏิบตั ิให้แก่อาจารยป์ ระจาหลักสูตร อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สูตร เป็นไปตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 และตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552และมาตรฐานคุณวฒุ ิสาขาวิชาการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ และมีการปรับปรงุ หลักสตู รตามรอบทุก 5 ปี2. บัณฑติ สร้างบัณฑิตแพทย์แผนไทยที่มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ และเจตคตติ ามเกณฑ์มาตรฐานคณุ วุฒิระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาการแพทย์แผนไทย ไปประกอบวิชาชีพแพทยแ์ ผนไทยในสถานบริการของกระทรวงสาธารณสขุ และสถานบริการอื่น โดยมีสมรรถนะ ดงั น้ี (1) มีคุณธรรม จรยิ ธรรมของวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทย คุณธรรม จริยธรรมท่ีวิญญชู นพึงมี มีเจตคติอนั ดีงามต่อการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย และการทางานเพ่อื สงั คมและประเทศชาติ (2) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศถ่ายทอดองคค์ วามรู้ทางดา้ นการแพทย์แผนไทยสู่ชุมชนได้มีทักษะ ความสามารถในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การใช้สถิติ การใช้เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนและพัฒนาการปฏบิ ัติงานในวชิ าชีพและการส่ือสารได้อย่างเหมาะสม (3) มีความรู้ความสามารถทางวิชาการและวิชาชีพตามเกณฑ์สภาวิชาชพี สาขาการแพทย์แผนไทย (4) มีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ หาความรู้เพม่ิ เติมดว้ ยตนเอง การศึกษาตอ่ เนือ่ งและการติดตามความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาการ (5) สามารถผสมผสานและประยกุ ต์ความรู้ความสามารถทางเวชปฏบิ ตั ิการแพทย์แผนไทยเพื่อการประกอบวชิ าชีพและพัฒนาการแพทย์แผนไทย (6) มมี นุษยสัมพนั ธ์ดแี ละสามารถทางานร่วมกับผอู้ น่ื ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ท้ังในฐานะผู้นาและผู้ตาม มหาวิทยาลัยบรู พา มีการสารวจภาวะการมงี านทาของบัณฑิตและให้นายจา้ งตอบแบบสอบถามสมรรถนะของบัณฑติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศกึ ษาเป็นประจาทุกปีการศึกษา

413. นสิ ติ คณะการแพทย์แผนไทยอภยั ภูเบศร รับผเู้ ข้าศกึ ษาต่อทีม่ ีคุณสมบตั ิ คือ เป็นผูท้ ่ีสาเรจ็ การศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้นปีที่ 6 ทางดา้ นคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยเป็นการรับรว่ มกับสถาบันพระบรมราชชนกตามโควตาจังหวดั ที่ไดร้ ับการจดั สรร เตรยี มความพร้อมก่อนเขา้ ศกึ ษาดว้ ยการจัดปฐมนิเทศ มีระบบพี่ดูแลน้องตามสายรหสั กาหนดอาจารยท์ ป่ี รึกษาเพื่อใหป้ รึกษา แนะนาทางด้านการเรียน และด้านอน่ื ๆ การคงอยู่ การสาเร็จการศกึ ษา การประเมนิ ความพงึ พอใจและการจัดการข้อร้องเรยี นของนิสติเป็นไปตามขอ้ บังคับมหาวิทยาลยั บรู พา ว่าด้วยการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 25554. อาจารย์ 4.1 ระบบการรบั ตามประกาศคณะกรรมการบรหิ ารงานบุคคลฯ เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์และวิธีการการสรรหาหรอื คัดเลือกบุคคลเพ่ือบรรจเุ ป็นพนกั งานและลูกจา้ ง พ.ศ. 2552 4.2 การคดั เลอื ก ตามประกาศคณะกรรมการบรหิ ารงานบุคคลฯ เรือ่ ง หลกั เกณฑ์และวิธีการการสรรหาหรอื คัดเลือกบุคคลเพ่ือบรรจเุ ปน็ พนักงานและลูกจ้าง พ.ศ. 2552 4.3 คุณสมบัติ ตามข้อบงั คบั มหาวิทยาลยั บูรพา วา่ ดว้ ยการบริหารงานบคุ คลของมหาวทิ ยาลัย พ.ศ.2556 ประกอบกับประกาศคณะกรรมการบรหิ ารงานบุคคลฯ ที่ 0006/2559 เรื่อง การกาหนดคณุ สมบัติดา้ นภาษาองั กฤษในการคดั เลอื กบุคคลเพื่อแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ คณาจารย์ประจา พ.ศ. 2559 4.4 ความเชีย่ วชาญทางสาขาวชิ า ผู้เปน็ อาจารย์ต้องมีภาระงานตามข้อบงั คับมหาวิทยาลัยบูรพาวา่ด้วยมาตรฐานภาระงานทางวิชาการของคณาจารย์ พ.ศ. 2558 4.5 ความก้าวหน้าในการผลติ ผลงานวชิ าการ ตามขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลัยบรู พา วา่ ดว้ ยตาแหนง่ ทางวิชาการ พ.ศ. 2556 และประกาศมหาวิทยาลยั บูรพา ท่ี 0007/2559 เรอ่ื ง ภาระงานทางวชิ าการของผดู้ ารงตาแหน่งบริหาร พ.ศ. 25595. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรยี น คณะการแพทยแ์ ผนไทยอภัยภูเบศร ได้พฒั นาหลักสูตรอย่างตอ่ เนื่อง โดยมกี ารปรับปรงุ หลกั สูตรทุก 5ปี ตามรอบระยะเวลาที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด เพื่อใหห้ ลักสตู รมีมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดับอดุ มศึกษาแห่งชาติและไดร้ บั การรับรองหลักสูตรจากสภาการแพทย์ แผนไทยตามมาตรฐานคณุ วุฒิสาขาวิชา ในการจัดการเรียนการสอนกาหนดให้อาจารยจ์ ัดทา มคอ.3 ถึง มคอ. 7 เพื่อพฒั นากระบวนการจดั การเรยี นการสอน มกี ารจัดประชมุ เพ่ือพิจารณาผลการจดั การเรยี นการสอนอย่างตอ่ เน่ือง และกาหนดใหม้ รี ะบบประเมินการเรยี นการสอนทุกภาคการศึกษา

426. สิ่งสนบั สนนุ การเรยี นรู้ คณะไดร้ ว่ มจดั การเรียนการสอนกับวทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทยอภยั ภูเบศร จังหวดั ปราจีนบรุ ี ซึ่งแตล่ ะหนว่ ยงานมีความพร้อมหน่วยงานละด้าน คอื คณะสามารถบริหารจดั การการเรยี นการสอนในส่วนของวชิ าพ้ืนฐานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ดว้ ยมหาวทิ ยาลัยบรู พา มีคณะต่างๆ ที่มคี วามพร้อมในการจดั การเรยี นการสอน อาทิ ด้านภาษาสอนโดยสถาบนั ภาษา ดา้ นมนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์สอนโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์สอนโดยคณะวทิ ยาศาสตร์ ดา้ นพ้ืนฐานการแพทย์สอนโดยคณะสหเวช-ศาสตร์ มีสานกั คอมพวิ เตอร์ สานักหอสมุด สนับสนนุ การค้นควา้ ดว้ ยตนเอง เป็นต้น สว่ นวิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร จงั หวัดปราจีนบรุ ี มีความพร้อมทางด้านการแพทย์แผนไทย มโี รงผลติ ยามีสถานบรกิ ารด้านการแพทย์แผนไทยทเี่ ป็นทยี่ อมรับ สามารถสนบั สนนุ การเรยี นรขู้ องนิสิตได้อย่างครบถ้วน อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร/อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร รว่ มกนั กาหนดความต้องการสง่ิ สนบั สนนุ การเรียนรู้ คณะการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร มหาวทิ ยาลัยบูรพา และวทิ ยาลยั การแพทย์แผนไทยอภัยภเู บศรจงั หวดั ปราจนี บรุ ี รบั ผดิ ชอบจดั หาใหม้ ีสิ่งสนบั สนนุ การเรียนรทู้ ี่มคี ุณภาพและพร้อมใช้งาน