Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานis-กลุ่ม เสร็จแล้ว จรืงๆ

โครงงานis-กลุ่ม เสร็จแล้ว จรืงๆ

Published by BXUXMXP, 2021-09-30 12:48:23

Description: โครงงานis-กลุ่ม เสร็จแล้ว จรืงๆ

Search

Read the Text Version

1 โครงงาน เรอื่ ง ทีก่ รองนา้ จากธรรมชาติ จดั ทาโดย นาย กิตติกร เทพอินทร์ เลขที2่ ม.5/7 นาย เจียรนยั แก้วโก เลขท่6ี ม.5/7 นาย ภาณุพง ปัญญาภู เลขท8ี่ ม.5/7 นาย พงษศ์ กร ชราพก เลขที่12 ม.5/7 นาย ฐิตกิ ร ท้าวยศ เลขท่2ี 2 ม.5/7 เสนอต่อ คุณครดู ารงค์ คนั ธะเรศย์ สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาน่านเขต37 โรงเรียนปัว อาเภอปัว จังหวดั นา่ น

ก บทคัดย่อ ในอดีตประเทศไทยมีการพัฒนาอตุ สาหกรรมในขอบเขตท่ี จากดั อุตสาหกรรมท่ี สาคัญส่วนใหญ่เปน็ เพียงการผลติ สนิ คา้ หตั ถกรรมและการแปรรปู สินค้าเกษตรอยา่ งง่าย ๆ ภายใน ครัวเรือนเทา่ น้ันตอ่ มาเมอ่ื มีการค้าขายสินค้ากบั ชนชาติตะวนั ตกจึงกอ่ ใหเ้ กิดการแลกเปล่ยี น วฒั นธรรมไม่ว่าจะเปน็ ด้านอาหาร, การใชช้ วี ิต, วิทยาการเทคโนโลยีซึ่งนามาสกู่ ารก่อตั้งโรงงาน อตุ สาหกรรมเพมิ่ มากข้นึ แต่ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยกี ม็ กั มาพรอ้ มกบั ผลเสียมากมายซงึ่ ปัญหาหลักทเี่ กิดจากอตุ สาหกรรมในปัจจบุ ันนีย้ ่อมหนีไม่พน้ ปัญหามลพษิ ทงั้ ทางนา้ และทาง อากาศไมว่ า่ จะเป็นอากาศเปน็ พษิ ส่งผลตอ่ โรคทางเดินหายใจรวมถึงน้าเน่าเสียทสี่ ง่ ผลตอ่ ส่ิงมีชวี ิต ทั้งสตั วน์ า้ และมนุษย์ในดา้ นการอุปโภคและดว้ ยวิทยาการทกี่ า้ วไกลของมนุษย์กม็ กี ารคดิ แนว ทางการแกป้ ัญหานา้ เน่าเสียน้หี ลากหลายแนวทางไมว่ ่าจะเป็นการสรา้ งระบบบาบัดน้าการใช้ สารเคมีในการบาบัดน้า แตก่ ็ย่อมสง่ ผลตอ่ ระบบนเิ วศทางนา้ เช่นกันทางผูจ้ ดั ทาได้เล็งเหน็ ในปญั หา น้แี ละต้องการแก้ไขปัญหาน้าเนา่ เสยี โดยลดการใชส้ ารเคมีและหันมาใช้วัสดจุ ากจากธรรมชาตแิ ทน เพือ่ เป็นการอนุรักษ์ระบบนิเวศและเปน็ การส่งเสริมและให้ความสาคญั กับวัสดุธรรมชาตใิ นท้องถ่นิ อกี ท้ังยงั สามารถสร้างรายไดใ้ หก้ ับคนในชุมชนเพือ่ นาไปสูก่ ารสร้างประโยชนส์ ูงสดุ ผจู้ ัดทาโครงงาน จงึ ไดค้ ิดทาโครงงานเกีย่ วกับการนาน้าเสยี มาใช้สาหรับอุปโภคจงึ เกดิ เปน็ โครงงาน \"เครื่องกรองน้า จากวสั ดธุ รรมชาต”ิ ข้นึ โดยมีจุดมุง่ หมายให้สามารถนาน้าเสียมาบาบดั ให้สะอาดและปลอดภยั เพียงพอท่จี ะใชใ้ นการอุปโภคได้

ข กติ ติกรรมประกาศ โครงงานเร่ือง“ เครอื่ งกรองน้าจากวัสดุธรรมชาต”ิ น้ไี ดส้ าเรจ็ ลุลว่ งไปด้วยดเี พราะได้รับ ความอนุเคราะหแ์ ละความชว่ ยเหลอื จากคุณครูดารงค์ คนั ธะเรศยค์ ุณครูทปี่ รึกษาโครงงาน นอกจากนย้ี ังได้รบั ความอนเุ คราะห์จากผ้ปู กครองทาใหโ้ ครงงานวิทยาศาสตร์ฉบบั นส้ี าเร็จลุลว่ งไป ดว้ ยดี คณะผู้จัดทามีความซาบซงึ้ ในความกรุณาของทุกทา่ นที่ได้กลา่ วมาขา้ งต้นนี้รวมทง้ั ผู้ท่ีไดม้ ี ส่วนสนับสนนุ ที่ไมอ่ าจกลา่ วไดท้ ัง้ หมดตลอดจนแหลง่ เรียนรตู้ ่างๆทเี่ ราไดน้ ามาประกอบทางคณะ ผู้จัดทาจงึ ขอขอบพระคุณทุกๆทา่ นเป็นอยา่ งสูงดว้ ยความจริงใจคุณค่าและประโยชน์ที่พงึ มขี อมอบ ใหผ้ ู้มีพระคุณทกุ ๆทา่ นดว้ ยใจจริงท่ไี ด้ให้ความสนบั สนุนโครงงานนี้จนสาเร็จสมบรู ณ์ คณะผูจ้ ดั ทา

สารบญั ค บทที่ หน้า บทคดั ย่อ ก กติ ติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนา 1 บทที่ 2 เอกสารและความรู้ท่เี ก่ยี วข้อง 4 บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ 7 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน 8 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล 10 บรรณานุกรม 11

1 บทที่1 บทนา 1.ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา ด้วยเหตทุ ่ีวา่ น้าหมนุ เวียนเป็นวฏั จักร ไมส่ ญู หาย แต่จะอยใู่ นลกั ษณะทีแ่ ตกต่างกันไป มนษุ ย์จึงใช้ นา้ กันอยา่ งสะดวกสบาย และคอ่ นขา้ งฟมุ่ เฟอื ย ด้วยความรู้สึกท่ีวา่ น้าไม่มวี ันหมดส้นิ จงึ ทาให้ มนษุ ย์ละเลยและมองขา้ มคณุ คา่ ของนา้ ซึ่งนอกจากจะไม่สงวนรักษาให้อยูใ่ นสภาพทดี่ แี ล้ว ยงั กลบั ทาลายโดยการทิ้งส่ิงโสโครกต่าง ๆ ทาใหน้ ้าเนา่ เสีย จนกลายเปน็ ปญั หาส่ิงแวดลอ้ มอยู่ใน ขณะนใี้ นบางแห่ง น้าเสยี เปน็ ผลมาจากการใชน้ ้า เพือ่ การอปุ โภคบรโิ ภคของมนษุ ย์ ท้งั ในกจิ วัตรประจาวัน อตุ สาหกรรม และการเกษตรกรรม ฯลฯ แหล่งกาเนิดนา้ เสยี สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 4 เภทใหญ่ ๆ คือ 1. น้าเสียชุมชน (Domestic Wastewater) ไดแ้ ก่ นา้ เสียที่เกิดจากกิจกรรมตา่ ง ๆ ของประชาชน ทอี่ าศัยในชุมชน เช่น น้าเสียจากบ้านเรือน อาคาร ทพี่ ักอาศัย โรงแรม โรงพยาบาล โรงเรียน ร้านค้า อาคารสานกั งาน เปน็ ต้น นา้ เสียชมุ ชนนส้ี ว่ นใหญ่จะมีส่งิ สกปรก ในรูปของสารอินทรยี ์ (Organic Matters) เป็นองคป์ ระกอบทส่ี าคัญ และเปน็ สาเหตุสาคญั ของการทาใหค้ ณุ ภาพน้าใน แหล่งนา้ เสอ่ื มโทรมลง 2. นา้ เสียจากอุตสาหกรรม (Industrial Wastewater) ไดแ้ ก่ น้าเสยี ที่เกิดจากกระบวนการ อตุ สาหกรรมตั้งแต่ขั้นตอนการลา้ งวตั ถุดบิ กระบวนการผลิต การลา้ งวัสดุอุปกรณ์ และ เครือ่ งจกั รกล ตลอดจนการทาความสะอาดโรงงาน ลกั ษณะของน้าเสียประเภทน้ี จะแตกตา่ งกนั ไปตามประเภทของวัตถุดบิ กระบวนการผลติ รวมท้ังระบบควบคุมและบารงุ รักษา องคป์ ระกอบ ของน้าเสยี ประเภทนี้ส่วนใหญ่จะมีสงิ่ สกปรก ท่ีเจือปนอยใู่ นรปู สารอินทรีย์ (Organic Matter ) สา รอนินทรยี ์ (Inorganic Matters) อาทิ สารเคมี โลหะหนกั เป็นตน้

2 3. นา้ เสียเกษตรกรรม (Agricultural Wastewater) ได้แก่ น้าเสยี ทีเ่ กิดจากกิจกรรมทาง การเกษตร ครอบคลุมถึงการเพาะปลูกและการเล้ยี งสัตว์ ลกั ษณะของนา้ เสยี ประเภทน้จี ะมีสิ่ง สกปรกทีเ่ จอื ปนอยู่ ทง้ั ในรูปของสารอินทรีย์ Organic Matters) และสารอนนิ ทรีย์ (Inorganic Matters) ข้นึ อยูก่ ับลกั ษณะการใช้นา้ การใชป้ ุ๋ย และสารเคมีต่าง ๆ ถา้ หากเปน็ น้าเสยี จากพื้นที่ เพาะปลูก จะพบสารอาหารจาพวกไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแตสเซียม และสารพษิ ตา่ ง ๆ ใน ปรมิ าณสูง แตถ่ ้าเปน็ น้าเสียจากกจิ การการเลี้ยงสัตว์ จะพบสิง่ สกปรกในรูปของสารอินทรยี ์เปน็ ส่วนมาก 4. น้าเสยี ทไ่ี ม่ทราบแหล่งกาเนดิ (Nonpoint Source Wastewater) ได้แก่ นา้ ฝน และน้าหลากท่ี ไหลผา่ นและชะล้างความสกปรกตา่ ง ๆ เชน่ กองขยะมลู ฝอย แหลง่ เกบ็ สารเคมี ฟาร์มเลย้ี งสตั ว์ และคลองระบายนา้ ทางผจู้ ดั ทาได้เล็งเห็นในปญั หานีแ้ ละต้องการแกไ้ ขปญั หานา้ เน่าเสยี โดยลดการใช้สารเคมี และหนั มาใชว้ ัสดุจากจากธรรมชาติแทนเพื่อเปน็ การอนุรักษ์ระบบนเิ วศและเป็นการส่งเสรมิ และ ใหค้ วามสาคัญกบั วัสดุธรรมชาตใิ นท้องถ่นิ อกี ทง้ั ยงั สามารถสร้างรายไดใ้ ห้กบั คนในชมุ ชนเพอื่ นาไปสกู่ ารสร้างประโยชน์สงู สดุ ผู้จดั ทาโครงงานจึงได้คิดทาโครงงานเกย่ี วกับการนาน้าเสยี มาใช้สาหรับอุปโภคจึงเกดิ เปน็ โครงงาน \"เคร่อื งกรองนา้ จากวัสดุธรรมชาติ\" ขนึ้ โดยมีจุดมงุ่ หมายใหส้ ามารถนานา้ เสยี มา บาบดั ให้สะอาดและปลอดภัยเพียงพอทจ่ี ะใชใ้ นการอุปโภคได้ 2. วตั ถุประสงค์ - เพอื่ ประดิษฐ์ท่กี รองนา้ จากธรรมชาติ - เพื่อลดสารเคมีในนา้ 3. สมมตุ ตฐิ าน เราสามารถนา กรวด ทราย ถ่าน สาลี นามากรองน้าได้ ตัวแปรตน้ นา้ บรสิ ทุ ธิจากเคร่ืองกรองนา้ วัสดุธรรมชาติ ตวั แปรตาม น้าบรสิ ุทธจิ ากเครอื่ งกรองน้าได้

3 4. ขอบเขตของการศึกษา ตัวแปรควบคุม – 5. ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ - สามารถประดิษฐท์ ก่ี รองนา้ จากธรรมชาติได้ - สามารถนาความรู้ทไ่ี ดไ้ ปพฒั นาและตอ่ ยอดไดเ้ พื่อลดปญั หาการขาดแหลง่ นา้ สะอาด สาหรับการอุปโถภคบรโิ ภค 6. นิยามศัพท์เชงิ ปฎิบตั กิ าร เครือ่ งกรองน้า คือ น้าดมื่ ทใี่ ชบ้ รโิ ภคทั่วไป จะไดจ้ ากการเก็บกักน้าฝนไว้ในภาชนะตา่ ง ๆ เชน่ โอ่ง หรอื ไห หรอื จากแหล่งน้าใตด้ ิน เช่น น้า บาดาล หรอื ได้จากแหล่งนา้ ผวิ ดนิ เช่น น้าจากแม่นา้ ลาธาร โดยอาจจะผ่านการแกวง่ ดว้ ยสารสม้ หรอื เกบ็ นา้ ไว้ให้ตกตะกอนจนใสพอจะใช้ ตม้ ดื่มได้ ใชใ้ นงานตา่ ง ๆ จนความสมดุลยข์ องน้าจืดและนา้ เค็มเสียหาย นา้ บาดาลในหลาย ๆ แห่งจึงมรี ส กรอ่ ย เนอ่ื งจากนา้ เค็มจากทะเล ไหล เข้ามาปะปน ส่วนน้าฝนนนั้ เลา่ กโ็ ดนปญั หาฝ่นุ ละอองและ สารเคมีตกคา้ งในอากาศ กลายเป็นฝนกรดไป กรวด คือ ก้อนหินเล็กๆ เขอ่ื งกวา่ เมด็ ทราย ทราย คอื ตามธรรมชาติแล้ว ทรายเกิดจากหนิ ที่ถูกย่อยเป็นเม็ดละเอียด ซึง่ หมายถึงทรายท่วั ๆ ไปทีเ่ ราพบเห็นตามชายหาด แตอ่ กี ความหมายหนง่ึ ในแง่วทิ ยาศาสตร์แล้ว หมายถึงชือ่ ขนาดของ อนภุ าคขนาดเมด็ \"ทราย\" ถ่าน คอื ธาตชุ นิดหนึ่ง สีดา สาหรับใชเ้ ป็นเช้อื เพลงิ ช่ือไมย้ ืนตน้ ชนดิ หนงึ่

4 บทที่2 เอกสารและความรู้ทเี่ ก่ียวข้อง 1.สรรพคุณของท่ีกรองนา้ ชว่ ยขจัดสารปนเปื้อน เช้อื โรค และแบคทเี รียขนาดเล็กมาก ๆ ออกจากน้าดม่ื รวมทง้ั โลหะหนกั ตา่ ง ๆ เช่น ตะกว่ั สนิมเหล็ก สารโลหะหนัก ซึง่ ถา้ เข้าสู่ร่างกายแลว้ จะกาจัดยากและจะไปสะสม ในรา่ งกายทาให้เกดิ โรคต่าง ๆ 2. ความหมายของถา่ นกัมมนั ต์ ถ่านกัมมันต์(สารกรองคาร์บอน)มกี ารใชง้ านหลากหลายรูปแบบมากตามพื้นทผ่ี ิวและขนาดของรู พรนุ ในบทความน้ีจะพดู ถึงถ่านกัมมันตท์ ่ีใช้กบั บน้าเท่านน้ั นะคะ เคยสงั เกตกนั ไหมวา่ นา้ เปลา่ หรือ น้าบรสิ ทุ ธทิ์ เี่ ราด่มื กนั กม็ ีกลน่ิ และราชาตเิ ฉพาะของมนั ขึ้นอยู่กบั แหลง่ นา้ ทีม่ า และแหล่งนา้ น้นั เอง อาจเจอื ปนด้วยโลหะ แรธ่ าตุ สารเคมีต่างๆหรือแมแ้ ตส่ ง่ิ ชวี ิตเล็กๆเช่น แบคทเี รีย ทท่ี าให้เกิด สี กนิ่ และรสชาติ หรอื แมแ้ ตน่ ้าทผี่ า่ นการทาให้บริสทุ ธิ์แลว้ เช่นน้าประปาเองกม็ กี ล่ินและรสชาติ เฉพาะ ทาให้บางทา่ นติดเครอ่ื งกรองน้าไว้ทบี่ า้ น เพ่ือใหไ้ ดน้ ้าท่มี คี ณุ ภาพมากขน้ึ และเพอื่ ลดกล่นิ รสชาติ คลอรนี ทไี่ มต่ ้องการ 3.ความสาคญั และการใช้ประโยชน์จากถา่ นกัมมนั ต์ ปัจจบุ นั มกี ารนาถ่านกัมมันต์มาใชเ้ พอ่ื ดูดซบั สารประกอบอนนิ ทรยี ์จากน้าเสียซึง่ การนาถา่ นกัมมนั มาใชใ้ นการดูดซบั สารอนิ ทรยี น์ น้ั มกี ารศึกษามาเป็นเวลานานแลว้ แต่การนาถ่านกัมมันต์มาใช้ใน การดดู ซบั โลหะหนักเพ่ิงมีการศกึ ษาอยา่ งจรงิ จงั เมื่อประมาณ 5-6 ปที ่ผี า่ นมาเนือ่ งจากถา่ นกัม มันต์เปน็ วัสดุท่มี ีราคาไมส่ ูงและมีความสามารถในการดดู ซบั สูงมาก แตย่ ังมขี ้อ จากัด เกยี่ วกบั การ ดดู ซับทไ่ี มค่ รอบคลุมกบั สารละลายโลหะหนักทกุ ชนิดและตอ้ งอยภู่ ายใต้สภาวะท่เี หมาะจงึ จะมี ประสทิ ธิภาพการดดู ซับทด่ี ีสภาวะเหลา่ นัน้ ไดแ้ ก่ ความเป็นกรด-ดา่ ง, อุณหภูมิ, ความเข้มขน้ และ ขนาดของถา่ นกมั มันตเ์ ปน็ ต้น

5 4. การผลิตและการนาถา่ นกมั มนั ต์ไปใช้ การผลิตถ่านกมั มันต์โดยท่ัวๆไปแบง่ เปน็ 2 ขั้นตอนคือข้นั ตอนการเผาวตั ถดุ บิ ให้เป็นถา่ น โดยทัว่ ไปมักใช้วธิ เี ผาทไี่ มม่ ีอากาศเพอ่ื ไม่ใหว้ ัตถดุ บิ กลายเปน็ เถา้ ซงึ่ อณุ หภูมใิ นการเผาประมาณ 200-400 องศาเซลเซยี สข้ันตอนการนาถ่านไปเพิม่ คุณภาพด้วยเทคโนโลยที างวิทยาศาสตรท์ ี่เรียกวา่ การกระตนุ้ (activation แบ่งได้เปน็ 2 วธิ คี ือการกระตนุ้ ทางเคมแี ละการกระตนุ้ ทางกายภาพ -การกระตนุ้ ทางเคมเี ป็นการกระต้นุ ดว้ ยการใช้สารเคมเี ช่นแคลเซยี มคลอไรด์สังกะสคี ลอไรด์กรด ฟอสฟอรกิ เป็นต้นซ่ึงสามารถแทรกซึมไดท้ วั่ ถึงทาใหส้ ่วนทีไ่ ม่บริสุทธ์ลิ ะลายหมดไปไดเ้ รว็ ข้นึ จากน้นั นาไปเผาในถงั ทีม่ ีออกซเิ จนเปน็ เวลาหลายชว่ั โมงโดยใช้อุณหภมู ิเผาประมาณ 600-700 องศาเซลเซยี ส แตม่ ขี อ้ เสยี ตรงที่ตอ้ งลา้ งสารเคมีที่ใช้ในการกระตุ้นซ่งึ ตดิ มากับถา่ นกมั มนั ต์ออกให้ หมดไม่ให้เหลือตกค้างอยู่เลยเพอ่ื ความปลอดภัยในการนาไปใชง้ าน -การกระตนุ้ ทางกายภาพเป็นการกระต้นุ ด้วยการใช้แกส๊ หรอื ไอนา้ ซ่งึ ใชอ้ ุณหภูมิในการเผา กระตุ้นค่อนขา้ งสูงประมาณ 800-1000 องศาเซลเซียสเพราะไอนา้ ทใ่ี ช้จะตอ้ งเป็นไอนา้ ท่ีรอ้ น ยง่ิ ยวด (superheated stream) เพ่ือทาให้สารอินทรีย์ตา่ งๆสลายไปทาใหโ้ ครงสร้างภายในมี ลกั ษณะรูพรุน (porous) อยทู่ ่วั ไปขนาดของรพู รุนทไี่ ดจ้ ะมีขนาดเลก็ กว่าการกระตนุ้ ทางเคมซี ง่ึ ถ่านกมั มนั ตท์ ี่กระตนุ้ ดว้ ยวิธนี ีม้ ขี ้อดที ส่ี ามารถนามาใชง้ านไดเ้ ลยทันทโี ดยไม่ตอ้ งล้างสารที่เหลือ ตกคา้ งนอกจากนย้ี ังอาจจะใชท้ ้ังสองวิธรี ่วมกนั กไ็ ด้คือเม่ือใชส้ ารเคมีกระตุ้นแลว้ นาไปกระตนุ้ ต่อ โดยใช้แก๊สหรือไอนา้ ท่รี ้อนย่งิ ยวดเพื่อการเพม่ิ จานวนรพู รุนให้มากข้ึนถ่านกัมมันตท์ ่ใี ชม้ ที ั้งชนดิ ผงเกลด็ และเมด็ โดยทว่ั ไปถา่ นกมั มนั ต์จะใช้ชนดิ ใดกไ็ ดแ้ ลว้ แตค่ วามเหมาะสมในการใช้งาน ถ่านกัมมนั ตถ์ ูกนามาใชก้ ันแพร่หลายในอตุ สาหกรรมตา่ งๆเชน่ ใชใ้ นการฟอกสีในอุตสาหกรรม นา้ ตาลใชก้ าจดั กลน่ิ ในอตุ สาหกรรมเครื่องดม่ื เบียรแ์ ละไวนใ์ ช้ในการทาตวั ละลายบริสุทธ์ิเพ่อื นา กลบั มาใชใ้ หม่ในอุตสาหกรรมเส้นใยสงั เคราะห์และอุตสาหกรรมการพิมพ์ใชใ้ นการดูดซับสแี ละ กลิ่นในการทาน้าประปาใชใ้ นเคร่ืองกรองนา้ หรือเคร่ืองทานา้ ใหบ้ รสิ ุทธท์ิ ี่มจี าหนา่ ยอยา่ ง แพร่หลายอย่ใู นขณะนีแ้ ละใช้เป็นวัสดทุ าหนา้ กากป้องกันแก๊สพษิ เป็นต้นในปัจจบุ ัน

6 ผ้ปู ระกอบการผลติ ถ่านกัมมันตม์ ีการนาเสนอรปู แบบการใชง้ านไดห้ ลากหลายมากขึ้นเช่นการทา ผลติ ภัณฑฟ์ อกอากาศจากถ่านกมั มนั ต์ในรูปแบบทีส่ วยงามใช้ในรถยนตใ์ นตูเ้ ย็น ฯลฯ

7 บทที3่ วิธีการดาเนนิ การศกึ ษาค้นคว้า วัสดุ - - อปุ กรณ์ที่ใช้ในการศึกษา 1. ขวดหรอื ถงั 2. ถ่าน 3.หินกรวด 4.สาลี 5.ทราย 6.ปืนกาว 7.เชือก 8.กรรไกร วธิ ีการศกึ ษา 1.นาขวดเหลือใชม้ าตดั กน้ ทข่ี วดแลว้ ลา้ งให้สระอาด 2. แล้วนาสาลมี าใส่ในขวดเปน็ ชนั้ ที่ 1 ใส่ไปหลายๆชั้นๆ ชัน้ ที่ 2 แลว้ ก็ใสท่ รายลงไป แลว้ จากนั้น กน็ าถ่านกอ้ นเล็กๆที่เราเตรยี มไว้มาใส่เป็นช้นั ท่ี 3 และชัน้ ท่ี 4 กใ็ สก่ รวดลงไป 3. เจาะรทู ่ขี า้ งขวดเพื่อสาหรับแขวน แลว้ นาเชือกฟางมาใส่ในรทู ่ีเจาะไว้ 4. นอกจากนั้นใสน่ ้าลงไปแล้วนาขวดไปแขวน

8 บทท4่ี ผลการดาเนินงาน จากการประดิษฐเ์ คร่อื งกรองน้าจากวัสดุธรรมชาติ ไดแ้ ก่ หนิ กรวด ทราย และจากที่ ผู้จดั ทานาเครือ่ งกรองน้านี้ไปใช้ในการกรองน้าขนุ่ เพื่อทดสอบประสิทธิภาพ พบว่าสามารถชว่ ย กรองนา้ ขุน่ ใหม้ ีความใสมากขึน้ ยง่ิ ขึน้ ภาพที่ 1 น้าท่ียงั ไม่ไดผ้ า่ นการกรอง ภาพที่ 2 นา้ ที่ผา่ นการกรองครง้ั แรก

9 ภาพที่ 3 น้าที่ผา่ นการกรองครั้งทสี่ อง

10 บทที่5 สรปุ และอภปิ รายผล จากทีค่ ณะผจู้ ัดทาได้ศกึ ษาและดาเนนิ งานในโครงงานเรอ่ื งเคร่ืองกรองน้าจากวัสดธุ รรมชาติ ไดผ้ ลการศึกษาว่า การประดษิ ฐ์เคร่อื งกรองน้าด้วยถ่านกัมมนั ตแ์ ละวัสดธุ รรมชาติซงึ่ ได้แก่หนิ กรวดทราย สามารถใช้ได้จรงิ และจากที่ผ้จู ดั ทาได้นาเครือ่ งกรองนา้ มไี ปใช้ในการกรองนา้ ขุ่นเพ่ือทดลอง ทดสอบประสทิ ธิภาพพบวา่ สามารถช่วยกรองน้าขนุ่ ใหไ้ ดม้ ีความใสขึ้นและสามารถนานา้ มาใชใ้ น การอปุ โภคได้ อภปิ รายผล การทดสอบประสิทธภิ าพของเครื่องกรองนา้ ทาโดยการเปรียบเทยี บคุณสมบตั ทิ ส่ี ามารถ สงั เกตไดเ้ ชน่ สขี องนา้ ความใสกินของน้าท่ยี งั ไม่ผ่านการกรองนา้ ท่ีผา่ นการกรองครง้ั แรกและนา้ ท่ี ผ่านการทดลองครง้ั ที่ 2 พบวา่ นา้ ทย่ี ังไม่ได้ไม่ไดผ้ า่ นการกรองมีความขุ่นคอ่ นขา้ งมากพบตะกอน ดนิ ปะปนอยู่ดา้ นล่างมีกล่ินของดินและกล่นิ เหม็นเล็กนอ้ ยน้าทีผ่ า่ นการกรองคร้ังแรกมีความขนุ่ เล็กน้อยมเี ศษตะกอนขนาดเล็กลอยอย่ดู า้ นบนผิวนา้ เล็กน้อยกล่ินของดินจางลงแตย่ ังคงไดก้ ลน่ิ เหม็นอยสู่ วนน้าทผ่ี ่านการกรองคร้ังท่ี 2 คอ่ นข้างคอ่ นขา้ งใสไมพ่ บเศษตะกอนลอยหรอื จมอยู่ในนา้ ไมม่ กี ล่นิ ของดนิ เกลอื กนิ เหมน็ จางลงจนแทบไมไ่ ด้กลิน่ เครอื่ งกรองน้าจากวัสดธุ รรมชาตินี้สามารถช่วยกรองน้าที่มีเศษตะกอนตา่ งๆและมีกลนิ่ ไดด้ ใี น ระดบั หน่ึงโดยสามารถกรองตะกอนขนาดใหญแ่ ละขนาดเล็กออกได้หมดและสามารถกาจัดกลน่ิ ท่ี ไมพ่ ึงประสงคไ์ ด้โดยเมอื่ นาน้าที่ไดไ้ ปกลองผา่ นเครือ่ งกรองน้าซ้าๆจะช่วยให้น้าทีไ่ ด้ออกมามีความ สะอาดมากยิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะ 1.ควรนานา้ ทีไ่ ด้จากการกรองไปต้มเพอ่ื ฆา่ เชอ้ื กอ่ น 2. สามารถเพ่ิมจานวนช้ันของวัสดธุ รรมชาติเพ่อื เพ่ิมความสะอาดของน้าได้

11 บรรณานกุ รม https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/175986.html https://home.kapook.com/view190748.html https://sites.google.com/site/pumpimwater/payha-na-seiy


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook