Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Monthly Investment Update Special - January 2021

Monthly Investment Update Special - January 2021

Published by Chayakorn Bunditnopparat, 2021-01-18 15:21:24

Description: Monthly Investment Update Special - January 2021

Search

Read the Text Version

Group in Solar System กลุ่มต่าง ๆ ในระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ ระบบสุริยะ (Solar System) เป็ นระบบทศี่ ึกษาเกย่ี วกบั ดวงดาวทถ่ี ูกแรงดงึ ดูดของดาวฤกษ์ โคจรใน ระนาบทเี่ หมาะสม ก่อให้เกดิ ระบบนิเวศทเ่ี ปลีย่ นแปลงไปในดวงดาว แต่การศึกษาดวงดาวท่ลี อยใน จักรวาลมีอยู่จานวนมาก จึงมีการแบ่งประเภทของดวงดาวไว้ เพ่ืออธิบายลักษณะของดวงดาวท่ี โคจรรอบดาวฤกษ์ ซ่ึงประกอบด้วย ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์แคระ กลุ่มเมฆออร์ต แถบไคเปอร์

ดาวเคราะห์ (Planet) สหพนั ธดาราศาสตร์สากล (IAU: International Astronomical Union) นิยามดาวเคราะห์ใน ระบบสุริยะว่า 1. มที ศิ การโคจรรอบดวงอาทติ ย์ 2. มมี วลทส่ี ามารถเอาชนะแรงโน้มถ่วงของดวงดาว ท่ีส่งผลความสมดุลไฮโดรสแตติก (hydrostatic equilibrium; เช่น ทรงเกือบกลม) 3. ไม่มวี ตั ถุอ่ืนหรือขนาดของดวงดาวที่ใกล้เคยี งอยู่ใกล้วงโคจรเดยี วกนั

ดาวเคราะห์ (Planet) ดวงจนั ทร์ ดาวเคราะหช์ ั้นนอก ดวงจนั ทร์ ดาวเคราะห์ - ดาวพฤหสั บดี 79 ดวง ชั้นใน - ดาวเสาร์ 82 ดวง ดาวพธุ 1 ดวง ดาวยเู รนสั 27 ดวง ดาวศกุ ร์ 2 ดวง ดาวเนปจนู 14 ดวง โลก ดาวองั คาร - ดาวเคราะห์ช้ันใน เป็ นดาวเคราะห์ประเภทหิน มรี ะบบนิเวศทเี่ หมาะสมกบั ส่ิงมชี ีวติ อย่างแผ่นดนิ แผ่นนา้ แก๊สต่าง ๆ ทเี่ หมาะกบั ส่ิงมชี ีวติ ดาวเคราะห์ช้ันนอก เป็ นดาวเคราะห์ประเภทแก๊ส มแี ก๊สปกคลุมอย่างหนาแน่น

ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf Planet) เป็ นเทหวตั ถุทโ่ี คจรรอบดวงอาทิตย์มีตาแหน่งทโ่ี คจรรอบดวงอาทิตย์ท่ี ไม่ค่อยชัดเจน มีสัณฐานเป็ นทรงกลมที่มีแรงโน้มถ่วงที่เหมาะสมกับการ เคล่ือนที่โคจรรอบตัวเองและดวงอาทิตย์ และไม่เป็ นดาวบริวารของดาว ดวงอื่น ปัจจุบันมีการค้นพบดาวเคราะห์ แคระอยู่หลายดวงอย่าง ดาวพลูโต (Pluto) ดาวซีรีส (Ceres) ดาวอีริส (Eris) ดาวเฮาเมอา (Haumea) และดาวมาคมี าคี (Makemake)

Pluto • ดาวพลูโต เปรียบเสมือนเทพเจ้า เฮดสิ (Hades) เป็ นน้องชายสุดท้องของเทพซุส เทพแห่งความตาย ผู้ปกครองนรกภูมิ • ดาวพลูโต มชี ื่อเรียกอกี อย่างหน่ึงว่า ดาวยม • ดาวพลูโต ค้นพบตามข้อสันนิษฐานของ ไคลด์ วลิ เลยี ม ทอมเบาห์ (Clyde William Tombaugh) ในช่วง 1930 ทีห่ อดูดาว โลเวลล์ รัฐแอริโซนา สหรัฐอเมริกา • ในปี 2558 ยานนิวฮอไรซอนส์ (New Horizons) ได้ถ่ายภาพพืน้ ผวิ ดาวพลูโตส่ง มายงั โลก

Pluto • ดาวพลูโต มแี ก่นกลางเป็ นหิน ปกคลมุ ด้วยนา้ แขง็ ของมีเทน • นักดาราศาสตร์คาดว่า เป็ นหิน 70% และเป็ นนา้ แข็ง 30% • พืน้ ทสี่ ว่าง ประกอบด้วย ไนโตรเจนแข็ง มเี ทนแข็ง และ คาร์บอนไดออกไซด์ • 1 วนั ของดาวพลูโต เท่ากบั 6.4 วนั ของโลก • 1 ปี ของดาวพลูโต โคจรรอบ 248 ปี • ดาวพลูโต มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2,580 – 3,530 km • มดี วงจนั ทร์เป็ นบริวาร 5 ดวง คือ แครอน (Charon) นิกซ์ (Nix) ไฮดรา (Hydra) เคอร์เบรอส (Kerberos) และ สตกิ ซ์ (Styx ) • อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 5,913.52 ล้านกโิ ลเมตร

ดาวเคราะห์เฮาเมอา มีขนาดใกล้เคียงกับดาวพลูโต มีรัศมี 620 กิโลเมตร อุณหภูมิเฉลี่ย –241 ๐C ใช้เวลาโคจรรอบตัวเอง 4 ช่ัวโมง ถือได้ว่าเป็ น ดาวเคราะห์ที่โคจรรอบตนเองเร็วท่ีสุด ทาให้มองเห็นดาวดวงนี้มี ลักษณะเป็ นวงรี เป็ นดาวเคราะห์ช้ันนอกระบบสุริยะ ที่ใช้เวลาโคจร รอบดวงอาทติ ย์เป็ นระยะเวลา 285 ปี ลกั ษณะพืน้ ผิวดาวเฮาเมอาจะมีสี แดงขนาดใหญ่ (Dark Red Spot) ท่ีเกิดจากการสะสมของแร่ธาตุ คาร์บอนอยู่จานวนมาก และปกคลุมด้วยน้าแข็ง มีดวงจันทร์ 2 ดวง เป็ นดาวบริวาร เป็ นดาวเคราะห์แคระดวงเดยี วทมี่ วี งแหวน

ดาวเคราะห์มาคมี าคี เป็ นดาวเคราะห์มีรัศมีประมาณ 715 กิโลเมตร ใช้เวลาในการหมุนรอบตัวเองประมาณ 22.5 ช่ัวโมง และ โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็ นเวลา 305 ปี อุณหภูมิ –239 ๐C ดาวมาคีมาคี มีน้าแข็งเป็ นองค์ประกอบหลัก ที่เชื่อว่าเป็ นยุค แรกของดาวเคราะห์ดวงอ่ืน ๆ เม่ือประมาณ 4.5 พันล้านปี ที่ แล้ว มีพื้นผิวดาวมาคีมาคี มีสีน้าตาลแดงคล้ายดาวพลูโต ที่ ประกอบด้วย มีเทนและอีเทนแข็ง มีช้ันบรรยากาศท่ีบรรจุ แก๊สไนโตรเจนอย่างเบาบาง

ดาวเคราะห์อรี ิส อยู่ไกลจากดวงอาทิตย์มากท่ีสุด มีมวลมากที่สุด รัศมีประมาณ 1,163 กิโลเมตร มีอุณหภูมิเฉล่ีย –231 ๐C ใช้ เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ประมาณ 557 ปี หมุนรอบตัวเอง เป็ นเวลา 25.9 ช่ัวโมง มีการคาดการณ์เชื่อว่าพื้นผิวส่วนใหญ่ ของดาวอีริสจะเป็ นของแข็งและมีน้าแข็ง มชี ้ันบรรยากาศท่ี เบาบาง และมดี วงจนั ทร์ 1 ดวงเป็ นดาวบริวาร ท่ีมีช่ือว่า “ดิส โนเมยี (Dysnomia)”

ดาวเคราะห์น้อย (Asteriod) ดาวเคราะห์น้อยเป็ นเศษหินและโลหะที่มีขนาดต้ังแต่ 1 กิโลเมตรถึงหลายร้อยกิโลเมตร ท่ีมีลักษณะ สัณฐานเป็ นทรงกลม โคจรรอบดวงอาทิตย์ ปัจจุบันมีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยอยู่จานวนมาก ประมาณ 250,000 กว่าดวง มีการคาดการณ์เพิ่มจานวนยิ่งขึ้นเร่ือย ๆ ผ่านการสารวจด้วยกล้อง โทรทรรศน์อวกาศและหอดูดาวทต่ี ่าง ๆ

“ดาวเคราะห์น้อยเซเรส (ceres)*” ทถ่ี ูกต้ังชื่อตามเทพ แห่งการเพาะปลูกของชาวโรมนั มขี นาดประมาณ 930 กโิ ลเมตร ทอี่ ยู่ระหว่างดาวเคราะห์ 2 ดวงในระบบสุริยะ คือ ดาวองั คารกบั ดาวพฤหัสบดี เปรียบเสมือนเป็ นดาว เคราะห์ทสี่ ามารถแบ่งแยกกลุ่มดาวเคราะห์ช้ันในและ ดาวเคราะห์ช้ันนอก

ภายหลังการค้นพบดาวเซเรสมีการค้นพบดาว เคราะห์น้อยดวงอ่ืน ๆ เพม่ิ เติมอย่างปี ค.ศ. 1802 พบดาวเคราะห์น้อยพาลาส (Pallas) ค.ศ. 1804 พบดาวเคราะห์น้อยจูโน (Juno) และปี ค.ศ. 1807 พบดาวเคราะห์เวสตา (Vesta) ส่ วนใหญ่ การค้ นพบกลุ่มดาวเคราะห์ น้อยที่ ระนาบการโคจรอยู่ใกล้ ดาวอังคารและดาว พฤหัสบดี ที่ทาให้มองเห็นเป็ นเข็มขัดภายใน ระบบสุริยะ โดยมีระยะห่ างจากดวงอาทิตย์ ประมาณ 2.5 –3.1 AU เรียกแถบนี้ว่า “เข็มขัด ดาวเคราะห์น้อย (Asteroid Belt)” *หมายเหตุ AU ; Astronomical Unit (หน่วยดาราศาสตร์) ������ ������������ ≈ ������. ������ × ������������������������������

เมฆออร์ต (Oort Cloud) เป็ นกลุ่มเมฆท่ีก่อตัวในจักรวาล ท่เี ช่ือว่าเป็ นทีอ่ ยู่อาศัยของ เศษเหลื อบางส่ วนของดาวเคราะห์ ท่ีมีองค์ ประกอบน้าแข็ง คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน แอมโมเนีย ฝ่ ุนและหิน ที่มีขนาดต้ังแต่ไม่ ถึงกโิ ลเมตรจนถงึ 10 กโิ ลเมตร อยู่ห่างจากดวงอาทติ ย์ประมาณ 50,000 – 100,000 AU คือกลุ่มเมฆออร์ต เม่ือวนั ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 ต้ังตามช่ือนักดาราศาสตร์ ชาวดัตซ์ นามว่า “ยาน เฮนดริก ออร์ ต (Jan Hendrik Oort)” และเชื่อว่าเป็ นแถบที่ก่อให้เกิดดาวหางหลาย ประเภททโ่ี คจรเข้ามาในระนาบของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

แถบเขม็ ขดั ไคเปอร์ (Kuiper Belt) สุ ดเขตระบบสุ ริ ยะคือแถบเข็มขัดไคเปอร์ ที่มีวัตถุค้ นพบแล้ วจานวน 1,100 วัตถุ โดยมีการคาดการณ์ว่าจะมีการเพม่ิ อกี 70,000 วัตถุ ทมี่ ีขนาด ใหญ่กว่า 100 กิโลเมตร ตามแนวคิดทางทฤษฎีโดย เจอราด ไคเปอร์ (Gerard Kuiper) นักดาราศาสตร์ชาวเนเธอร์แลนด์ ในปี ค.ศ. 1951 ต่อมาในปี ค.ศ. 1992 เดวดิ จิวิตต์ (David Jewitt) ได้ค้นพบวัตถุในแถบ เขม็ ขดั ไคเปอร์ทมี่ ีระยะห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 37 – 59 AU โดยต้ัง ช่ือวัตถุว่า “1992 QB” เป็ นวัตถุหน่ึงท่ีตอบสนองแนวคิดของทฤษฎีไค เปอร์ และแถบเขม็ ขดั ไคเปอร์

ท่ีมาของขอ้ มูล https://stem.in.th/hygiea/, https://www.iau.org/ https://ngthai.com/science/23178/dwarfplanet/, https://sites.google.com/site/chanbrryakaskhxnglok/daw-phluto/daw-briwar ธนากิต, นานาถาม - ตอบ ดาราศาสตร์, กรุงเทพฯ : สุวรี ิยาสาสน์ 2554. กนก จนั ทร์ขจร คูม่ ือดูดาว พิศิษฐ์ก์ ารพิมพ,์ กรุงเทพฯ 2530. วภิ ู รุโจปการ, เอกภพ เพอื่ ความเขา้ ใจในธรรมชาติของจกั รวาล, นานมีบุคส์พบั สิเคชน่ั ส์ กรุงเทพฯ 2547. https://www.wegointer.com/2016/09/meteor/ https://space-facts.com/kuiper-belt/ https://astronomy.com/magazine/ask-astro/2012/08/interstellar-comets

THANK YOU


































































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook