Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลนิเทศcoding64

รายงานผลนิเทศcoding64

Published by tooktook719, 2021-12-12 06:26:31

Description: รายงานผลนิเทศcoding64

Search

Read the Text Version

46 2.2 การออกแบบวธิ กี ารและกจิ กรรมการนเิ ทศเม่อื ผนู ิเทศ ไดม กี ารวเิ คราะหค วาม ตองการ ความจำเปน และประเด็นอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ดังที่ไดกลาวมาแลว ก็จะเปนขั้นตอนของการ ดำเนินการ กำหนดวิธีการนิเทศ ไดสอดคลองกับผลการวิเคราะห ในเบื้องตน เชน การนิเทศทางไกล ผานเว็บไซต โดยการใชชองทางกระดานถาม-ตอบ (Web การนิเทศและใหคำแนะนำปรึกษา ทาง จดหมายอิเล็กทรอนิกส การนิเทศทางไกลดวยจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail) การนิเทศทางไกล ดว ยเทคโนโลยีเวบ็ บล็อก (Web Blog) การจัดสงแผน ซดี รี อมหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส (E-Book) 3. ขัน้ การนเิ ทศ 3.1 การเตรยี มการและประสานงานการนิเทศเมื่อผูนิเทศไดมกี ารวิเคราะห ความ ตองการ ความจำเปน วิเคราะหผูรับการนิเทศเนื้อหา ภารกิจ สภาพการณตาง ๆ มีการสรางและ พฒั นาส่ือและกิจกรรมการนิเทศแลว ควรมกี ารเตรยี มการประสานงานและนเิ ทศการศกึ ษา ดงั น้ี 3.1.1 การจัดทำตารางและกำหนดการนิเทศ ทีส่ อดคลอ งกับวัตถุประสงค 3.1.2 ประสานงานกบั คณะนเิ ทศ เพื่อใหมกี ารบูรณาการการนเิ ทศ ใหครอบคลุม ภารกจิ และกลยุทธต าง ๆ รวมทั้งการบรู ณาการการนิเทศ ตามความจำเปน 3.1.3 ประสานงานไปยงั โรงเรยี นกลมุ เปาหมาย เพ่ือนัดหมายเกยี่ วกับวัน เวลา ตารางการนเิ ทศ รวมทัง้ การเตรยี มขอ มูลเบือ้ งตนในดา นตา ง ๆ 3.2 การปฏบิ ัติการนิเทศ เปน ขน้ั ตอนที่ผนู เิ ทศ ลงมือดำเนนิ การนิเทศ ซง่ึ ควรใชห ลักการ นิเทศที่สำคัญๆ เชน การมีมนุษยสัมพันธอันดีตอกัน การทำงานเปนทีม มีการรวมคิด รวมทำ รวม ผลสำเร็จ ภายใตความเชื่อที่วา ผูรับการนิเทศทุกคน สามารถพัฒนาใหบรรลุผลตามศักยภาพได ใหความสำคัญในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ตามแนวทางการปฏิรูปกระบวนการเรียนรูที่เนน ประโยชนสูงสุดแกผูเรียนฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญปญหาและการประยุกตใช ความรูและทักษะ ในการปองกันและการแกไข ปญหาใหผูเรียน เนนใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณ จริง ฝก ใหคิดเปน ทำเปน รกั การแสวงหาความรู ดว ยตนเอง เกิดการใฝรูใฝเรียนอยางตอเนื่อง ผสมผสาน สาระความรูดานตาง ๆ อยางสมดุล ผูสอน สามารถจัดบรรยากาศ สภาพ แวดลอม สื่อการเรียนการสอน การอ านวยความสะดวกใหผ ูเรยี น มีการใช กระบวนการวิจยั เปน สว นหน่ึงของกระบวนการเรียนรู 4. ขน้ั การประเมินผลและรายงานการดำเนนิ กจิ กรรมการนิเทศตาง ๆ ควรไดมกี ารประเมนิ ท่ี สอดคลองกับวัตถุประสงคของกิจกรรม ทั้งกอนการดำเนินกิจกรรม ระหวางดำเนินกิจกรรม และหลังการ ดำเนนิ กิจกรรม ทั้งนี้เพื่อใหไดขอมูล ท่ีเปน ประโยชนหลายประการ กลาวคือ การประเมินกอนการดำเนิน กิจกรรม จะทำใหไดขอมูลเกี่ยวกับ ผูรับการนิเทศ เกี่ยวกับความสนใจ ความรูพื้นฐาน การประเมิน ระหวางดำเนินกิจกรรมจะทำใหทราบขอมูล เกี่ยวกับพัฒนาการของผูรับการนิเทศ สวนการประเมินหลัง การดำเนินกิจกรรม จะทำใหทราบถึงผลสัมฤทธิ์ ของการดำเนินงาน มีการเลือกใชวิธีการและเครื่องมือใน การประเมินผล ท่ีครอบคลุมวัตถุประสงค เมื่อการประเมินผลสิ้นสุดลง ควรไดมีการสรุปและรายงานผลให

47 ผูเกี่ยวของไดทราบ โดยอาจจัดทำเปนรายงาน อยางงาย แลวรวบรวมไวในเอกสารการนิเทศเพื่อใหเห็น เสนพัฒนาของการดำเนนิ งานไดอยางเปนรูปธรรม 5. ขัน้ ปรับปรุงและพัฒนา เปน ขนั้ ตอนสำคัญทผี่ นู ิเทศควรดำเนินการอยเู สมอในทุกข้ันตอนการ นิเทศ เพราะในปรับปรุงและพฒั นา การปฏบิ ตั ิงานน้ัน ตองมกี ารปรับปรุง แกไข และพัฒนาอยูตลอดเวลา เม่อื มกี ารประเมินผลการดำเนินการทุกครงั้ จะไดขอมลู สำคัญทผี่ ูร ับการนิเทศ ผนู ิเทศ บุคลากร หนวยงาน องคกรผูรับผิดชอบ จะนำไปประกอบการปรับปรุง แกไขหรือพัฒนาใหการทำงานเปนไปอยางสอดคลอง เหมาะสมตามบทบาทหนาท่ี และมีการผลดำเนินงานท่ีเกิด ประสทิ ธิภาพสูงสุด การปรับปรุงและพัฒนาได ดำเนินการในทุกขั้นตอนของการนิเทศ เชน การปรับปรุงวิธีการและเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล เพื่อใหไดผลที่แมนยำ มีประโยชนในการดำเนินการนิเทศการศึกษาอยางสูงสุด การปรับปรุงในขั้นตอน การออกแบบและพัฒนา เพื่อใหวัตถุประสงคของการนิเทศมีความครอบคลุม สอดคลองกับสภาพปญหา และความตองการของครูและโรงเรียน รวมทั้งการปรับปรุงพัฒนาชุดฝกอบรม ใหไดประสิทธิภาพตาม เกณฑที่กำหนดไว เลือกวิธีการนิเทศที่เหมาะสมกับกลุมผูรับการนิเทศ บริบท เนื้อหาสาระ งบประมาณ รวมทั้งการปรับปรุงแผนการนิเทศใหมีประสิทธิภาพตลอดจนการปรับปรุงพัฒนาวิธีการประเมิน ผลการ นเิ ทศ ใหไ ดเ ครื่องมือท่มี ีคุณภาพตามหลักวชิ าการซึ่งจะสงผลถึงขอมูลที่ไดจ ากการประเมินมีความถูกตอง ตามความเปนจริง กระบวนการนเิ ทศเปนแนวปฏบิ ตั ิ หรอื วิธีการในการดำเนินการนเิ ทศเพ่ือใหบรรลุเปาหมายใน การดำเนินงานตามวัตถุประสงคที่วางไวโดยมีกระบวนการดำเนินงานอยางเปนระบบ มีขั้นตอนซึ่งในการ การดำเนินงานมีกระบวนการขั้นตอนที่แตกตางกันไปตามภาระหนาท่ี ในการนิเทศติดตามการจัดการ เรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ผนู ิเทศใชก ระบวนการนิเทศแบบ 3D&3Srr ซึง่ มกี ระบวนการดงั นี้ กระบวนการนเิ ทศแบบ 3D&3Srr ข้ันที่ 1 การศกึ ษาสภาพปจ จุบัน ปญ หาและความตองการ (Data base study) ข้ันที่ 2 วางแผนออกแบบการนเิ ทศ (Design) ข้ันท่ี 3 การพฒั นาสรางองคความรูและนำไปใช (Develop & Apply) ขั้นท่ี 4 การปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศ (Supervision) ข้ันที่ 5 การแลกเปลีย่ นเรียนรูแ ละสรา งเครือขา ย (Show & Share) ข้นั ที่ 6 การประเมินผล (Summative Assessment) ขั้นที่ 7 การรายงานผลและสะทอ นผล (Report & Reflex)

บทที่ 3 กระบวนการนิเทศ การวางแผนการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ ของโรงเรียน ในสังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 เพ่อื สง เสริม สนบั สนุนและ ใหค ำแนะนำการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาการคำนวณ และ เพอื่ ยกระดบั การจดั การเรียนรูวิทยาการ คำนวณ ใหเ ต็มศักยภาพ กำหนดระยะเวลาดำเนินการเปน 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ดำเนนิ การระหวาง เดือน ตุลาคม–ธันวาคม 2563 ระยะที่ 2 ดำเนินการระหวาง เดือนมกราคม – มิถุนายน 2564 ระยะที่ 3 ดำเนินการระหวางเดือน กรกฎาคม 2564 - สิงหาคม 2564 และระยะที่ 4 ดำเนินการใน เดือนกันยายน 2564 โดยคาดหวังวา แผนปฏิบัติการนิเทศ จะเปนเครื่องมือสูการปฏิบัติอยางมี ประสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธผิ ลตอ การดำเนินงาน โดยมรี ายละเอยี ดการดำเนนิ การดงั ตอไปน้ี ระยะท่ี 1 การศกึ ษาสภาพปจจุบนั ปญหาและความตอ งการและเตรยี มความพรอมเพ่ือการ นิเทศติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 ระยะที่ 2 การพัฒนาและยกระดับการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัด สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 ระยะท่ี 3 การนิเทศติดตามการการการจัดการเรยี นรวู ิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระยะท่ี 4 การสรา งขวญั กำลงั ใจและ ช่ืนชมผลงานการจดั การเรยี นรวู ิทยาการคำนวณ เปาหมายการนเิ ทศ เชงิ ปรมิ าณ 1.ครผู สู อนวิทยาการคำนวณจำนวน 109 โรงเรยี นไดร ับการอบรมเพือ่ พัฒนาทักษะการ จดั การเรยี นรูวิทยาการคำนวณ 2. รอยละ 80 ของครูผูสอนวทิ ยาการคำนวณไดรบั การนิเทศติดตามการจัดการเรียนรู วิทยาการคำนวณ 3. รอยละ 80 ของครผู สู อนวิทยาการคำนวณสามารถนำความรจู ากการอบรมพฒั นาและการ นิเทศติดตามไปปรบั ปรุงการจัดการเรียนรูว ทิ ยาการคำนวณได

49 4. ครผู ูสอนวิทยาการคำนวณอยางนอยโรงเรียนละ 1 คนเขารว มการแลกเปล่ียนเรยี นรู ทกั ษะการจัดการเรียนรวู ทิ ยาการคำนวณแบบออนไลน เชงิ คณุ ภาพ 1. ครผู สู อนวทิ ยาการคำนวณมคี วามรูความเขา ใจในการพัฒนาการเรยี นรูว ิทยาการคำนวณ เพ่ิมขึ้น 2. ครผู สู อนวทิ ยาการคำนวณในสงั กดั ไดร บั ประสบการณในการพฒั นาทักษะการเรยี นการ เรียนรูว ิทยาการคำนวณจากการแลกเปลี่ยนเรยี นรูร วมกัน 3. โรงเรยี นไดร บั การนเิ ทศติดตาม สง เสรมิ สนบั สนนุ ช้แี นะ แนวทางการพัฒนาทกั ษะการ จัดการเรยี นรวู ทิ ยาการคำนวณอยา งเปนระบบ เต็มศักยภาพ 4. ครผู ูสอนวทิ ยาการคำนวณมีผลการปฏิบตั ิทเี่ ปนเลิศดานวทิ ยาการคำนวณที่เปนแบบอยา ง แกผ อู น่ื ได ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปจจุบนั ปญ หาและความตอ งการและเตรยี มความพรอมเพอื่ การนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 มีการดำเนินการดังน้ี 1.1 ศึกษาสภาพปจจบุ ันปญ หา และความพตอ งการการจัดการเรียนรูวทิ ยาการคำนวณ 1. ศึกษาหลักสูตร เอกสาร ขอมูลและ นโยบายตลอดจนงานวิจยั ที่เกี่ยวของกับการ จัดการเรียนรูวทิ ยาการคำนวณ 2. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการสรางแบบสอบถามแบบตาง ๆ เพ่ือ การเก็บขอ มลู ท่ีครอบคลุมวตั ถุประสงค 3. สรางแบบสอบถามเพื่อเก็บขอมูลดานสภาพปจจุบัน ปญหา และการจัดการ เรียนรวู ิทยาการคำนวณดังน้ี 1) แบบสอบถามสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการดานการจัดการ เรียนรูวิทยาการคำนวณของครูผูสอนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรธี รรมราช เขต 1 แบบมาตรประมาณคา 5 ระดบั 2) แบบสอบถามเพอ่ื สำรวจขอ มูลการอบรมดา นการจัดการเรยี นรูวทิ ยาการ คำนวณของครูผูสอนในสังกัดสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 แบบ เตมิ คำตามประเด็นคำถาม

50 4. นำแบบสอบถามที่สรางขึ้นใหผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมและ ความสอดคลองของประเด็นคำถามของแบบสอบถาม 5. นำแบบสอบถามที่ผานการตรวจสอบมาจัดทำเปนแบบเก็บขอมูลแบบออนไลน ดว ยระบบ Google form 6. เก็บขอมูลดานสภาพปจจุบันปญหาและความตองการดาน การจัดการเรียนรู วิทยาการคำนวณ ดว ยแบบสอบถามออนไลนท่สี รา งขึ้น 7. นำขอมูลที่ไดจากการตอบแบบสอบถามมาวเิ คราะหสงั เคราะหเ พื่อนำผลไปใชใน การวางแผนในการนิเทศติดตามขัน้ ตอนตอไป 1.2 การสรางคลังความรูและการบริการทางวชิ าการดานการจัดการเรยี นรูวิทยาการคำนวณ โดยการรวบรวมขอมูล พัฒนาเอกสาร คูมือ เพื่อสรางความเขาใจดานการจัดการเรียนรูวิทยาการ คำนวณดังนี้ 1. ศึกษาเอกสาร ดานหลักสูตร นโยบาย แนวทางการขับเคลื่อน และงานวิจัยท่ี เกย่ี วขอ งกบั การจัดการเรียนรูว ิทยาการคำนวณ 2. เขารวมประชุม อบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู ดานการการจัดการเรียนรูวิทยาการ คำนวณ 3. รวบรวมเอกสาร คูมือ เว็บไซต คลิป และอื่น ๆ ที่ใหความรูดานการการจัดการ เรยี นรวู ทิ ยาการคำนวณ 4. เผยแพรเอกสาร คูมือ คลิป เว็บไซตตาง ๆ ลงสื่อออนไลน ไดแก เพจนิเทศ กลุม ไลน เวบ็ ไซต เพื่อใหโ รงเรยี นไดน ำไปใชป ระโยชนในการจดั การเรยี นรวู ิทยาการคำนวณ ระยะที่ 2 การพัฒนาและยกระดับการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนใน สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 การพัฒนาและยกระดับการจัดการเรยี นรวู ิทยาการคำนวณผูร ับผิดชอบไดด ำเนินการดงั น้ี 2.1 การอบรมเพื่อพัฒนาความรูความเขาใจและยกระดับทักษะการจัดการเรียนรูวิทยาการ คำนวณของครูผูส อนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 1) จดั ทำและเสนอโครงการพฒั นาและยกระดบั การจดั การเรยี นรูวทิ ยาการคำนวณ 2) จัดทำหลักสูตรและขออนุมัติหลักสูตรการอบรมเพื่อยกระดับการจัดการเรียนรู วิทยาการคำนวณ 3) แตงตั้งคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อดำเนนิ การตามโครงการในการอบรมพัฒนา ครูผูสอนวิทยาการคำนวณและประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานใหบรรลุ

51 วัตถุประสงคตามคำสั่งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ท่ี 229/2564 ลงวันที่ 8 มถิ นุ ายน 2564 4) ติดตอประสานงานผูเช่ียวชาญ และผูทรงคุณวุฒิดานการจัดการเรียนรูว ทิ ยาการ คำนวณเพ่ือวางแผนและเตรยี มความพรอ มในการอบรมพฒั นาครูผูสอนตามหลักสตู รอบรม 5) ดำเนินการอบรมครูผูสอนวิทยาการคำนวณตามแผนที่วางไวผานระบบทางไกล Google Meet โดยกลมุ เปา หมายการอบรมไดแ ก -ครูผสู อนวิทยาการคำนวณระดับประถมตน -ครผู ูส อนวิทยาการคำนวณระดับประถมปลาย -ครูผสู อนวิทยาการคำนวณระดบั มัธยมศึกษาตอนตน โดยมรี ายละเอียดเนอื้ หา กจิ กรรม และวนั เวลาในการอบรมดงั ภาคผนวก ระยะที่ 3 การนิเทศติดตามการการการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของ โรงเรียนในสงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราชเขต 1 การนิเทศติดตามการจดั การเรยี นรูว ิทยาการคำนวณไดด ำเนนิ การดังนี้ 1. แตงต้ังคณะกรรมการนิเทศติดตามการจดั การเรียนรูว ิทยาการคำนวณและ ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินการนิเทศ วิธีการนิเทศ และเครื่องมือเก็บขอมูลในการ นิเทศติดตาม ตามคำสั่งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ท่ี 208/2564 ลงวันที่ 17 พฤษภาคม 2564 และประชุมคณะกรรมการตามคำสั่งเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2564 (รายละเอยี ดดังภาคผนวก) 2. สรางเครือ่ งมือนเิ ทศตดิ ตามการจัดการเรยี นรวู ิทยาการคำนวณจำนวน 1 ชุด เพ่ือ เก็บขอมูลดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณโดยเปนขอคำถามแบบเติมคำตามประเด็นคำถาม และแนบไฟลต ามประเดน็ ที่กำหนด (แผนการสอน คลปิ การสอน) 3. ประเด็นการนิเทศ ในการนิเทศติดตามการจดั การเรียนรูวิทยาการคำนวณไดแก วิธีการสอนในสถานการณปจจุบัน การนำความรูจากการอบรมพัฒนาไปประยุกตใชในการจัดการ เรียนการสอน ปญหาอุปสรรคทีพ่ บ ความตองการชวยเหลือและความพึงพอใจตอการนิเทศติดตาม และสงเสริมสนับสนุนของเขตพื้นที่การศึกษาดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ และตัวอยาง แผนการจดั การเรยี นรู และตัวอยางคลิปการสอน

52 4. ดำเนนิ การนเิ ทศตดิ ตามการจัดการเรยี นรวู ิทยาการคำนวณ ผานกิจกรรมดังน้ี 4.1 การนเิ ทศติดตามผานกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรยี นรูเทคนิคการจัดการ เรียนรูวิทยาการคำนวณในสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ผานระบบทางไกล Google Meet โดยกลุมเปาหมายไดแกครูผูสอนวิทยาการคำนวณทุกคน ผูบริหาร และครูผูสอนท่ี สนใจ 4.2 การนิเทศติดตามการจดั การเรียนรูวิทยาการคำนวณแบบออนไลนผ า น Google form กลุมเปาหมายไดแกครูทุกคนที่สอนวิทยาการคำนวณ โดยรายละเอียดการนิเทศ ติดตามไดแก วิธีการสอนในสถานการณปจจบุ ัน การนำความรูจากการอบรมพฒั นาไปประยุกตใชใ น การจัดการเรียนการสอน ปญหาอุปสรรคที่พบ ความตองการชวยเหลือและความพึงพอใจตอการ นิเทศติดตามและสงเสริมสนับสนุนของเขตพื้นที่การศึกษาดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ และตวั อยา งแผนการจัดการเรยี นรู และตวั อยางคลิปการสอน 4.3 การสังเกตชนั้ เรียน(โรงเรียนที่มีความพรอมในการจัดการเรียนการสอน แบบออนไลน) โดยผูนิเทศไดนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณโดยการเขารวมสังเกต ช้นั เรยี นทั้ง 3 ระดับ ไดแก ระดับประถมตน ประถมปลาย และมัธยมศึกษาตอนตน โดยเปา หมายการ สังเกตชั้นเรียน ไดแก บรรยากาศการเรียนการสอนแบบออนไลน การรวมกิจกรรมของนักเรียน เนื้อหาในการเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล ตลอดจนปญ หาและอุปสรรคในการจัดการเรยี นรู ในสถานการณก ารแพรระบาดของเช้อื ไวรสั COVID-19 5. นำขอมูลที่ไดจากการนิเทศติดตามมาวิเคราะห สังเคราะหเพื่อเปนขอมูลในการ วางแผนพัฒนาการจดั การเรยี นรวู ทิ ยาการคำนวณตอ ไป ระยะที่ 4 การสรางขวัญกำลงั ใจและ ชื่นชมผลงานการยกระดบั การจัดการเรียนการสอน วทิ ยาการคำนวณ การสรางขวัญกำลังใจแกครูผูสอนไดแกกิจกรรมการชื่นชมผลงานและใหเกียรติบัตรแก ครูผูสอนที่มีผลการปฏิบัติที่เปนเลิศดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณในประเภทตาง ๆ ไดแก ประเภทวิธีการจัดการเรียนรู ประเภทสื่อนวัตกรรม และประเภทคลิปการสอน โดยไมมีการแขงขัน เนอื่ งจากตอ งการสรา งขวญั กำลังใจแกค รผู ูส อนสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิท-19 โดย มอบเกียรตบิ ัตรใหท ุกคนทส่ี ง ผลงานในแตล ะประเภทโดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี 1) ประเภทวิธกี ารหรอื กระบวนการจดั การเรยี นรูวิทยาการคำนวณ ไดแ ก กระบวนการ หรือวธิ ีการจัดกิจกรรมการเรยี นรูว ิทยาการคำนวณในรูปแบบท่ีครูผูสอนไดดำเนนิ การ ประยกุ ตใชวิธกี ารตา ง ๆ เพ่ือใหผ ูเรียนสามารถเรยี นรเู นื้อหาวิทยาการคำนวณไดในสถานการณ

53 ปจ จุบัน ซึ่งอาจจะใชว ิธีการหรือกระบวนการทหี่ ลากหลายซึ่งครูไดออกแบบใหเ หมาะสมกบั บรบิ ท และความพรอ มของผเู รยี น 2) ประเภทส่ือหรือเทคโนโลยีการจัดการเรยี นรู ไดแก ส่ือเทคโนโลยีที่ครผู สู อนได พฒั นาข้นึ เองในรปู แบบตาง ๆ เชน โปรแกรมการเรยี นรู ฐานขอ มูล เว็บไซต แอพพลิเคชั่น ฯลฯ เพ่อื ใหผ เู รยี นสามารถเรยี นรเู น้อื หาวิทยาการคำนวณได 3) ประเภทคลิปการสอนวทิ ยาการคำนวณ ไดแ ก คลปิ การสอนหรอื คลปิ การเรียนรู วทิ ยาการคำนวณซ่งึ ครผู สู อนไดพฒั นาขึน้ ดวยตนเองเพื่อใชประกอบการจดั การเรยี นรูวทิ ยาการ คำนวณ เคร่อื งมือทใ่ี ชในการนิเทศตดิ ตาม 1. แบบสอบถามสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการดานการจัดการเรียนรูวิทยาการ คำนวณของครูผูส อนในสงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 แบบ มาตรประมาณคา 5 ระดับ 2. แบบสอบถามเพื่อสำรวจขอมูลการอบรมดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของ ครูผูสอนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 แบบเติมคำตาม ประเดน็ คำถาม 3. แบบนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณโดยเปนขอคำถามแบบเติมคำตาม ประเดน็ คำถาม และแนบไฟลตามประเดน็ ที่กำหนด (แผนการสอน คลิปการสอน) 4. แบบสงั เกตช้ันเรียนการจัดการเรียนรวู ทิ ยาการคำนวณ 1 ชุด กระบวนการดำเนนิ งาน การดำเนินการนิเทศติดตามดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัด ผูรับผิดชอบไดด ำเนินการตามขนั้ ตอนดงั นี้ 1) วางแผนการดำเนนิ งาน จัดทำขอมูลสารสนเทศ จดั ทำโครงการและแผนการนิเทศติดตาม และการจดั การเรยี นรูว ทิ ยาการคำนวณของโรงเรยี นในสังกดั 2) แตงตั้งคณะทำงาน และประชุมสรางความรู ความเขาใจในการขับเคลื่อนการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาการจัดการเรียนรวู ิทยาการคำนวณใหแกคณะกรรมการและ ศกึ ษานเิ ทศกทกุ คน

54 3) จัดเตรียมเอกสาร คูมือ สื่อและ แหลงขอมูลในดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ ใหก ับโรงเรียน 4) ประชุมชี้แจง หรือฝกอบรมเพื่อสรางความรูความเขาใจดานการจัดการเรียนรูวิทยาการ คำนวณแกค รผู ูสอน 5) นเิ ทศติดตามการการจัดการเรยี นรวู ิทยาการคำนวณผานระบบ online หรือ onsite 6) แลกเปลี่ยนเรียนรู ถอดประสบการณการดำเนินงาน นำเสนอผลการปฏิบัติ ที่เปนเลิศ (Best Practice) ดา นการจดั การเรียนรวู ทิ ยาการคำนวณ 7) สรุปผลและรายงานผลการนิเทศติดตามเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงานการ จัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรธี รรมราช เขต 1 ภาพความสำเร็จ ระดับสำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา 1) มีแนวทางการขับเคลื่อนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลดานการจัดการเรียนรู วทิ ยาการคำนวณท่ชี ัดเจน มกี ระบวนการอยางเปนระบบ 2) มขี อมูลสารสนเทศดานการจัดการเรยี นรูว ิทยาการคำนวณที่ถกู ตอง ชดั เจน สะดวกในการ นำมาใช 3) มีสื่อ คูมือ คลังความรู สื่อออนไลน ชองทางการสื่อสาร และ กระบวนการนิเทศติดตาม การจัดการเรยี นรูวิทยาการคำนวณทีเ่ หมาะสมกับบรบิ ทของสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา 4) มีแผนการนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณตามบริบทของสำนักงานเขต พ้ืนทกี่ ารศกึ ษา 5) มีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียน ในสงั กดั อยา งทว่ั ถงึ ตอเนือ่ ง เปนระบบ และมปี ระสทิ ธิภาพ 6) มีการสรุปและรายงานผลการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลดานการจัดการเรียนรู วทิ ยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกดั 7) สำนักงานเขตพื้นที่มีวิธีปฏิบัติท่ีดีบรรลุ ตามนโยบายและจุดเนนของสำนักงานเขตพื้นที่ และตนสงั กดั

55 ระดบั สถานศกึ ษา 1) ครูผูสอนมคี วามรู ความเขา ใจ ดานการจดั การเรยี นรูวทิ ยาการคำนวณ 2) มขี อมูลสารสนเทศ และคลังความรู การจัดการเรยี นรวู ทิ ยาการคำนวณที่ถกู ตอง ชดั เจน สะดวกในการนำมาใช 3) มีแนวทางการขับเคลื่อนและยกระดับ การจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ ที่เขมแข็ง สามารถดำเนนิ การใหบรรลุเปาหมายของหลักสูตรได 4) ไดรับการนิเทศ ตดิ ตาม และ สงเสริมสนับสนนุ หรือคำแนะนำแนวทางการยกระดับการ จัดการเรยี นรูวทิ ยาการคำนวณทถี่ กู ตอ ง 6) ครูสามารถนำขอเสนอแนะ หรอื ตวั อยางการปฏิบัตทิ ด่ี ไี ปปรับปรุงและพฒั นาการจัดการ เรียนรูวทิ ยาการคำนวณได 7) สถานศึกษามีวิธีปฏิบัติที่ดี หรือ แนวทางการปฏิบัติที่ถูกตองดานการจัดการเรียนรู วิทยาการคำนวณ กระบวนการนิเทศ ในการพฒั นาและขับเคล่ือนการจดั การเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 ผูรับผิดชอบไดใ ชกระบวนการ นเิ ทศแบบ 3D&3Srr

56 กระบวนการนิเทศแบบ 3D&3Srr ประกอบดว ย ขน้ั ตอนดงั น้ี ขั้นท่ี 1 การศึกษาสภาพปจ จุบัน ปญหาและความตองการ (Data base study) ข้ันท่ี 2 วางแผนออกแบบการนิเทศ (Design) ขนั้ ที่ 3 การพัฒนาสรา งองคค วามรแู ละนำไปใช (Develop & Apply) ข้นั ที่ 4 การปฏบิ ัติการนิเทศ (Supervision) ขั้นที่ 5 การแลกเปล่ียนเรียนรูแ ละสรางเครือขาย (Show & Share) ขน้ั ท่ี 6 การประเมนิ ผล (Summative Assessment) ขั้นท่ี 7 การรายงานผลและสะทอนผล (Report & Reflex)

ปฏทิ ินนเิ ทศดา นวิทยาการคำนว ของสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาปร วนั เดือน ป กิจกรรมนเิ ทศ กมุ ภาพันธ 2564 รวบรวมขอ มูลสภาพปจจบุ ันการจัดการเรยี นรู แบบ พฤษภาคม - มถิ นุ ายน 2564 วทิ ยาการคำนวณ และ ขอมลู การเขารบั การอบรมดา น Goo กรกฎาคม – การจดั การเรียนรูว ิทยาการคำนวณ สิงหาคม 2564 อบรมเพ่อื พฒั นาทักษะการจัดการเรยี นรวู ิทยาการ -แบบ คำนวณ ระดบั ประถมตน ระดับประถมปลาย -แบบ -ระดับมัธยมศึกษาตอนตน -คูมือ แลกเปลย่ี นเรยี นรู แชรประสบการณการสอน แบบ วทิ ยาการคำนวณ คลปิ สิงหาคม 2564 นเิ ทศตดิ ตามแนวทางการจดั การเรียนรูวทิ ยาการ แบบ สงิ หาคม 2564 คำนวณแบบออนไลน ผาน กันยายน 2564 สรา งขวัญกำลังใจและชน่ื ชมผลงานการจัดการเรยี นรู แบบ วทิ ยาการคำนวณ (มอบเกียรตบิ ตั รผลงาน) จดั ก สรปุ รายงานผล รายง จดั ก

57 วณและการออกแบบเทคโนโลยี ระถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 เคร่ืองมอื นเิ ทศ/วิธกี าร กลมุ เปาหมายการนิเทศ ผรู ับผดิ ชอบบ/ผูนิเทศ บเก็บขอมลู ออนไลนผา น ครูผูสอนวทิ ยาการ นางปรยี า สงคป ระเสริฐ ogle Form คำนวณทุกคน น.ส.ชไมพร คำเอยี ด บวดั ความรูจ ากการอบรม ครผู ูสอนวทิ ยาการ นางปรียา สงคป ระเสริฐ บประเมินความพึงพอใจฯ คำนวณในระดบั ตาง ๆ น.ส.ชไมพร คำเอียด อใหความร/ู พรเี ซนเตช่ัน ทกุ คน ศกึ ษานเิ ทศกต ามคำสง่ั บบันทกึ ขอมลู ปการนำเสนอ ครูผสู อนวิทยาการ นางปรยี า สงคป ระเสรฐิ คำนวณอยางนอ ย น.ส.ชไมพร คำเอียด บนิเทศตดิ ตามแบบออนไลน โรงเรยี นละ 1 คน ศึกษานิเทศกเ ครือขาย น Google form บสำรวจขอ มูลผลงานการ ครูผูสอนวทิ ยาการ นางปรียา สงคป ระเสรฐิ การเรยี นรูวิทยาการคำนวณ คำนวณทุกคน น.ส.ชไมพร คำเอียด งานผลการนเิ ทศติดตามการ การเรียนรูวทิ ยาการคำนวณ ครูผสู อนท่ีสง ผลงานเขา นางปรยี า สงคป ระเสริฐ รบั เกยี รตบิ ัตร น.ส.ชไมพร คำเอยี ด นางปรียา สงคป ระเสริฐ น.ส.ชไมพร คำเอียด ศึกษานิเทศกตามคำสัง่

บทท่ี 4 ผลการนเิ ทศ ผลการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ ของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 มีรายละเอียดการดำเนินการ ดังตอ ไปนี้ ระยะท่ี 1 ผลการศกึ ษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตอ งการและเตรยี มความพรอมเพื่อ การนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ระยะที่ 2 ผลการพัฒนาและยกระดับการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนใน สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ระยะที่ 3 ผลการนิเทศติดตามการการการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนใน สังกดั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 1 ระยะที่ 4 ผลการสรางขวัญกำลงั ใจและ ชน่ื ชมผลงานการจดั การเรียนรวู ทิ ยาการคำนวณ ผลการดำเนินงาน ระยะที่ 1 ผลการศึกษาสภาพปจจบุ ัน ปญหาและความตอ งการและเตรียมความพรอม เพื่อการนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสงั กัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 กิจกรรมที่ 1 ผลการศึกษาสภาพปจจุบันปญหาและความตองการในการจัดการเรียนรู วิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ปรากฏผลดังตารางท่ี 1-2

59 ตารางที่ 1 ผลการศกึ ษาสภาพปจจุบนั ปญหาและความตอ งการในการจัดการเรียนรู วทิ ยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา นครศรีธรรมราช เขต 1 ผลการประเมนิ (รอยละ) ท่ี รายการประเมนิ เขาใจ ไมแนใจ ไม เขา ใจ 1 โครงสรางหลักสูตรวทิ ยาการคำนวณประถมตน(ป.1-3) 85.42 12.50 2.08 2 โครงสรางหลกั สตู รวทิ ยาการคำนวณประถมปลาย(ป.4-6) 77.08 20.83 2.08 3 โครงสรางหลกั สูตรวทิ ยาการคำนวณมัธยมศึกษาตอนตน 41.67 29.17 29.17 4 การจดั เวลาเรียนวิทยาการคำนวณ 77.08 20.83 2.08 5 เน้อื หาสาระการเรยี นรวู ิทยาการคำนวณ 77.08 21.88 1.04 6 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรวู ทิ ยาการคำนวณ 76.04 21.88 2.08 7 การใชส่ือการเรยี นรวู ิทยาการคำนวณ 70.83 27.08 2.08 8 การจดั ครูเพือ่ สอนวิทยาการคำนวณ 73.96 23.96 2.08 9 การวัดผลและประเมนิ ผลวิทยาการคำนวณ 72.92 23.96 3.13 10 การใชแ หลง เรยี นรดู า นวทิ ยาการคำนวณ 75.00 23.96 1.04 จากตารางที่ 1 พบวา จากการตอบแบบสอบถามดานขอมูลเบื้องตนดานสภาพปจจุบันใน การจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณพบวา ครูผูสอนวิทยาการคำนวณระดับประถมศึกษาตอนตน รอยละ 85.42 มีความรูความเขาใจดานหลักสูตรและการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ รอยละ 12.50 ตอบไมแนใจ และรอยละ 2.08 ยังไมเขาใจชัดเจน ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลายมีความรู ความเขาใจดานหลักสูตรรอยละ 77.08 ไมแนใจ รอยละ 20.83 และไมเขาใจรอยละ 2.08 ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตนมีความเขาใจดานหลักสูตร รอยละ 41.67 ไมแนใจ รอยละ 29.17 และรอยละ 29.17 ไมแนใจ และเม่ือพิจารณาดานอื่น ๆ พบวา ครูผูสอนมีความรูความเขาใจดาน การจัดเวลา เรียน ดา นเนอื้ หาสาระคิดเปนรอยละ 77.08 และดา นท่มี คี วามรูความเขาใจนอยทส่ี ุดไดแ กดานการใช สอ่ื การเรียนรวู ิทยาการคำนวณ คิดเปนรอยละ 70.83

60 ตารางที่ 2 ผลการสำรวจขอมูลการอบรมดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของครูผูสอน วิทยาการคำนวณ รายการสำรวจ จำนวน รอยละ การเขา รบั การอบรม 240 ไมเ คยรับการอบรม 14 5.83 การเขา รับการอบรม 1-2 คร้งั 120 50 เขา รับการอบรมมากกวา 2 ครัง้ 106 44.16 หนว ยงานจัดอบรม สพฐ./สสวท. 226 94.16 สพป.นศ.1 70 29.16 หนวยงานอ่นื ๆ 10 4.16 การสำรวจการอบรมดานการจดั การเรียนรูวิทยาการคำนวณ ตามชอ งทางตาง ๆ พบวา ครูผสู อนท่ตี อบแบบสอบถามจำนวน 240 คน มีผูสอนทีไมเคยผา นการอบรมจำนวน 14 คน คดิ เปน รอ ยละ 5.83 มีผูเขาอบรมจำนวน 1-2 ครั้ง 120 คนคิดเปนรอ ยละ 50 และมผี เู ขาอบรมมากกวา 2 คร้งั จำนวน 106 คน คิดเปน รอยละ 44.16 ดา นหนวยงานท่จี ดั อบรมพบวาสว นใหญครูผสู อนเขา รับการอบรมจาก สสวท.หรอื สพฐ. จำนวน 226 คนคิดเปน รอยละ 94.16 รองลงมาเขารับการอบรมกับสำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา ประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 จำนวน 70 คน คิดเปนรอยละ 29.16 และ เขารบั การอบรม จากหนว ยงานอืน่ ๆ จำนวน 10 คน คดิ เปน รอยละ 4.16 ดานปญหาหรืออปุ สรรคท่ีพบในการจัดการเรยี นการสอนวิทยาการคำนวณพบวาครูผูส อน สะทอ นปญหาดังนี้ ปญ หาดานความรคู วาม เขาใจดา นการจัดการเรียนรู ปญ หาดา นส่ืออปุ กรณ ปญหาดานครูผสู อน วทิ ยาการคำนวณ -เปน เร่อื งใหมสำหรับนักเรียน -ขาดแคลนอปุ กรณขาดสื่อการ -ครูไมค รบชัน้ ตอ งใชเ วลาในการทำความ สอนที่ครอบคลมุ ทกุ ตัวช้ีวดั -ครไู มมีความรูโดยตรง เขาใจ ซ่งึ ผลใหบ างเนื้อหาตอง -คอมพวิ เตอรไมพรอ ม ไม -ครูไมผานการอบรมการสอน ปรับลดเนอ้ื หาใหทันกับจำนวน เพยี งพอ วิทยาการคำนวณ ช่ัวโมงทต่ี อ งใชเ รียนจริง

61 ปญหาดา นความรคู วาม เขาใจดา นการจัดการเรยี นรู ปญหาดานสอื่ อปุ กรณ ปญ หาดา นครผู ูสอน วทิ ยาการคำนวณ -นักเรียนประถมตน จะเขียน -สื่อการเรยี นการสอนไม -เปน เนอื้ หาความรใู หม จึงทำ โปรแกรมไมคอยได เพยี งพอ ใหยากตอการจัดการเรยี นการ -ชว งช้ันป.1-3 คาบสอน20 -การใชงานอินเทอรเ นต็ ไม สอนอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ ช่วั โมงไปอยูกับวิทยาศาสตร เสถียร เขาไมใหช ัว่ โมงเลยไมไ ดสอน -อปุ กรณ คอมพิวเตอรไ ม -บางรูปแบบกิจกรรมครผู สู อน -ขาดแนวทางการจัดการเรยี น ตอบสนองตอ การใชง านและไม ตอ งศึกษาเพ่ิมเติมจากยูทปู การสอนรปู แบบตางๆ เพียงพอเหมาะสมกับจำนวน เพราะครูผสู อนไมเคยผา นการ -ความเขา ใจที่ไมชดั เจนในดา น นกั เรียน อบรม หลักสตู รและเน้อื หาและความ -เครอื่ งคอมพิวเตอรไมพอกับ พรอ มทางดานของสือ่ การสอน จำนวนนักเรยี น -ไมม คี รู ที่จบทางดาน ทำใหทางโรงเรยี นไมสามารถ -โปรแกรม scratch ไม วทิ ยาการคำนวณโดยเฉพาะ จัดการเรียนการสอนวิทยาการ สามารถดาวนโ หลดมาใชง าน คำนวณและบรู ณาการความรู ได -ยังไมช ำนาญการใชโ ปรแกรม ไดด เี ทาที่ควร -จำนวนเครอ่ื งคอมพวิ เตอรกับ การสอนทางวิทยาการคำนวณ -ไมเ ขาใจรูปแบบและเน้ือหาใน จำนวนนักเรยี น และ สแคช การจัดการเรียนการสอน โปรแกรม scratch ทสี่ ามารถ คดั ลอกลงเครอื่ งได -ขาดครทู ต่ี รงวชิ าเอก ยังไมเ ขาใจการ ออกแบบ -เกดิ ปญ หาในระดับปจจยั เชน คอมพิวเตอร กระบวนการจัดการเรยี นการ สอ่ื อปุ กรณก ารเรียน สถานที่ สอน ความรขู องครู เวลาเรียน ฯลฯ

62 ดานประเด็นขอเสนอแนะหรือความตองการความชวยเหลอื จากตน สงั กดั ดานการจดั การ เรยี นการสอนวิทยาการคำนวณครูผูส อนไดเสนอแนะสรปุ เปน ประเด็นไดด ังน้ี ดานสื่ออุปกรณ ดานความรคู วามเขาใจ ดานอ่นื ๆ -ตองการชดุ กจิ กรรมการเรียนรู -การจัดอบรมครผู ูสอน -จดั สรรครูใหค รบช้นั สำหรับนกั เรียน /อปุ กรณ/ วทิ ยาการคำนวณ -ควรมีชวั่ โมงแยกออกจากกนั เครอ่ื งมอื ในการนำมาจดั การ -จดั อบรมปฏิบตั กิ ารการใช -การจดั สรรคมู อื ตวั อยาง เรียนการสอน คอมพวิ เตอร ส่ือ อุปกรณท มี่ ีคณุ ภาพใชงาน ดา นการกำหนดเวลาและการ -จัดหาไฟลส่ือการสอนให ไดจ รงิ วัดการประเมนิ ผล โรงเรยี น -จดั อบรมที่ไมใชออนไลน -อปุ กรณในการทดลองหรือ -ควรจัดสรรคอมพวิ เตอรใ ห -อยากจดั อบรมแบบออนไลน พัฒนาแอปพลเิ คชน่ั เชน เพยี งพอกับจำนวนนักเรียน -อยากใหมกี ารอบรมเพิม่ เติม บอรด การทำงานตา ง ๆ -ขอคอมพวิ เตอรเพมิ่ ใหเทากับ เพื่อความเขา ใจท่ชี ดั เจนยงิ่ ขนึ้ อบรม คมู ือหรือแนวทางใน จำนวนนักเรียน -จดั การอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ การจดั การเรยี นรู รวมถงึ ส่ือ -ส่ือ เกม และอปุ กรณ เกย่ี วกบั การสอนโปรแกรม การจดั การเรยี นรทู ีส่ ามารถ เทคโนโลยี ท่ีเหมาะสมในการ scratch ฝก ปฏบิ ัติจริง ใชไ ดจ ริงและมปี ระสิทธภิ าพ เรยี นการสอนวทิ ยาการคำนวณ -ไมอ ยากอบรมออนไลน อยาก สื่อและอปุ กรณที่ทันสมัย ระดบั ประถมศึกษา ไดรบั การอบรมแบบหองอบรม อปุ กรณในการทดลองหรือ -การชว ยเหลือดา นส่ือ -ควรจัดใหม กี ารอบรมครู ใหครู พฒั นาแอปพลิเคชั่น เชน ตองการสอ่ื ที่นำมาใชใ นการ มีความรูกอนที่จะนำมาสอน บอรดการทำงานตา ง ๆ จัดการเรยี นการสอน เชน สอ่ื นักเรียน เพราะเปนเนือ้ หาใหม unplug coding เปนตน -ตอ งการใหม ีเกมใหครูนำมา -ควรมกี ารจัดสรรงบประมาณ ปรบั ใชกบั นกั เรียน หรือสรรหาคอมพิวเตอรม าให -ใหความรแู กครูกลมุ สาระ นกั เรยี นไดเรียนรใู นรายวิชา วิทยาศาสตรการฝก อบรมให วิทยาการคำนวณ ความรูกับครผู สู อนในทุก -ตองการการอบรมเพื่อทำสอ่ื ระดบั ชนั้ / การสอนแบบอันปลกั๊ เพ่มิ คะ -ใหค วามรแู ละสอนทกั ษะ เกย่ี วกับโปรแกรมทีใ่ ชใน วทิ ยาการคำนวณ -ตอ งการเขารบั การอบรม -ขยายเวลาการอบรม

63 กิจกรรมที่ 2 การสรางคลังความรูดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณโดยไดดำเนินการ เพอ่ื พัฒนา รวบรวม และสรางคลังความรูการจดั การเรียนรวู ิทยาการคำนวณเพื่ออำนวยความสะดวก แกส ถานศกึ ษาดงั นี้ 1. สรา งชอ งทางสื่อสารดา นการจัดการเรียนรวู ทิ ยาการคำนวณกับครูผูสอนในสังกัด โดยการสรา งกลมุ ไลนชอื่ “ครู CodingNSTA1” มสี มาชกิ 243 คน 2. พัฒนาเว็บไซตเพื่อใหความรูและเปนคลังความรูการจัดการเรียนรูวิทยาการ คำนวณ เชน เอกสารทางวิชาการ สรุปรายงานผล ลิงคความรูตาง ๆ แบบออนไลน ชื่อ“หองนิเทศ ออนไลน ศน.ปรียา สงคประเสรฐิ ” เขา ถงึ โดย https://sites.google.com/esdc.go.th/svnst1/ 3. เผยแพรความรูและกิจกรรมตาง ๆ ดานการสงเสริมสนับสนุนและการนิเทศ ติดตามการจัดการเรยี นรวู ทิ ยาการคำนวณผานเพจเฟชบุค “สาระนารู by ศน.Dr.tooktook” 4. จดั ทำเอกสารใหค วามรูดานการจดั การเรยี นรูวิทยาการคำนวณ ระยะที่ 2 ผลการพัฒนาและยกระดับการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนใน สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 การพัฒนาและยกระดับการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณผูรับผิดชอบไดดำเนินการ กิจกรรมอบรมพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ ระหวาง วันที่ 15-17 กรกฎาคม 2564 ผานการอบรมทางไกลดว ยระบบ Google Meet 1. จำนวนผูเขา รว มอบรมการจัดการเรยี นรูวิทยาการคำนวณท้ัง 3 ระดบั ดงั นี้ ระดบั ประถมตน จำนวน 128 คน ระดบั ประถมปลาย จำนวน 156 คน ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน จำนวน 40 คน 2. ผลการวดั ความรคู วามเขา ใจดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณหลงั การอบรมพบวา ผา นเกณฑการประเมนิ (รอยละ 80) ทุกคนคิดเปนรอยละ 100 3. ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผเู ขาอบรมเพ่ือพัฒนาทักษะการจัดการเรยี นรูวทิ ยาการ คำนวณผานระบบการประชมุ ทางไกล Google Meet พบวาในภาพรวมผูเขาอบรมมีความพงึ พอใจอยู ในระดับมากที่สดุ โดยมีรายละเอยี ดผลการประเมนิ ดงั ตารางท่ี 3

64 ตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผเู ขาอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู วทิ ยาการคำนวณ ผานระบบการประชุมทางไกล Google Meet ที่ รายการประเมนิ คา เฉลีย่ S.D ระดบั คณุ ภาพ ดา นสอื่ เทคโนโลยกี ารประชมุ 4.41 0.63 มาก 1 ความชัดเจนของสัญญาณภาพ 4.38 0.59 มาก 2 ความชดั เจนของสญั ญาณเสียง 4.27 0.70 มาก 3 ความชดั เจนของไฟลง านนำเสนอ 4.59 0.60 มากทส่ี ุด ดานเนอ้ื หาและวทิ ยากร 4.69 0.49 มากที่สดุ 4 เนอื้ หาสาระในการประชุมมีประโยชนต อ โรงเรียน 4.73 0.47 มากท่ีสดุ วิทยากรมคี วามรูความสามารถในเนอื้ หาที่ มากที่สุด 5 รับผดิ ชอบ 4.73 0.46 เวลาในการบรรยายของวทิ ยากรมีความเหมาะสม มากที่สดุ 6 กบั เนื้อหา 4.62 0.55 ดานการดำเนนิ การประชมุ 4.56 0.59 มากทส่ี ดุ 7 ความสะดวกในการประสานงานและการแกป ญหา 4.45 0.61 มาก 8 ความพรอ มในดานเอกสารการประชมุ 4.65 0.54 มากท่ีสุด 9 ความสะดวกของโรงเรยี นในการประชุมออนไลน 4.53 0.64 มากที่สดุ 10 เวลาในการจดั ประชุมเหมาะสมกบั เนื้อหา 4.53 0.63 มากที่สุด 11 ความพงึ พอใจของทา นในภาพรวมของการประชมุ 4.82 0.54 มากที่สุด เฉลยี่ 4.65 0.59 มากทส่ี ุด จากตารางที่ 3 พบวาผูเขาอบรมมีความพึงพอใจตอการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการจัด การเรียนรูวิทยาการคำนวณผานระบบการประชุมทางไกล Google Meet ในภาพรวมอยูในระดับ มากที่สุด ( Χ =4.65,SD=0.59) และเมื่อพิจารณารายดานพบวา ดานสื่อเทคโนโลยีการประชุมมี ความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( Χ =4.41,SD=0.63) ดานเน้อื หาและวิทยากรมีความพึงพอใจอยูใน ระดับมากที่สดุ ( Χ =4.69,SD=0.69) ดานการดำเนินการประชมุ มีความพึงพอใจอยูในระดับมากท่ีสุด ( Χ =4.56,SD=0.59)

65 4. ดานขอเสนอแนะ และขอคิดเห็นอื่น ๆ จากการตอบแบบสอบถามดานขอเสนอแนะ ขอคิดเห็นอื่น ๆ พบวาครูสวนใหญเห็นวา เปนการจัดกิจกรรมอบรมที่มีประโยชนมาก สามารถ นำไปใชประโยชนกับเด็กไดจริง ทำใหครูมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูวิทยาการ คำนวณที่ชัดเจนขึ้นในดานตาง ๆ ไดแก ดานหลักสูตรและการจัดโครงสรางเวลาเรียน ดานตัวชี้วัด ดานกิจกรรมการเรียนการสอน ดานเทคโนโลยีและวิธีการใหม ๆ ในการจัดการเรียนการสอน วิทยาการคำนวณ และเปนหลักสูตรที่ทันสมัยเหมาะกับความตองการและสถานการณปจจุบัน ที่ สำคัญวิทยากรมีความรู และจัดกิจกรรมการอบรมไดสนุกและมีสาระตรงกับความตองการสามารถ นำไปใชประโยชนไดเขา กบั ยุคปจ จบุ นั 5. ดานปญหาที่พบจากการอบรม ไดแก เวลาที่ใชในการอบรมนอยไป ควรเพิ่มกิจกรรมที่ได ปฏิบัติ เยอะ ๆ และปญหาจากดานสัญญานอินเทอรเน็ตบางในบางครั้ง อยากอบรมแบบออนไซต เนอื่ งจากจะไดส อบถามวิทยากรไดมากขนึ้ 6. ดานเนือ้ หาสาระทต่ี อ งการอบรมเพิ่มเติมในอนาคต -การเขียนโปรแกรมอยางงาย -การใชงานโปรแกรม Scratch -โปรแกรม ไพทอน -การผลิตสอื่ unplug -การสรางเกมสตา ง ๆ -เทคนิคการสรา งส่อื ดิจทิ ัล ฯลฯ ระยะที่ 3 ผลการนเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัดสำนักงาน เขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราชเขต 1 การนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณผูรับผิดชอบไดดำเนินการในกิจกรรม ตาง ๆ ดงั น้ี กิจกรรมที่ 1 การนิเทศติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรูเทคนิคการจัดการเรียนรูวิทยาการ คำนวณในสถานการณก ารแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 (9 สิงหาคม 2564) 1. กลมุ เปาหมายการแลกเปลยี่ นเรยี นรไู ดแกค รูผูสอนวิทยาการคำนวณอยา งนอย โรงเรียนละ 1 คน และผูสนใจเขารวมไดแก ผูบริหารและครูผูสอนรายวิชาอื่น ๆ ที่สนใจ พบวา ครูผูสอนวิทยาการคำนวณของโรงเรยี นในสังกดั เขารว มการแลกเปลย่ี นเรียนรูครบ 109 โรงเรียน โดย มจี ำนวนผเู ขารว มกจิ กรรมท้ังสิ้น จำนวน 226 คน

66 2. ผูเขารวมกิจกรรมมีความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรูอ ยูใน ระดับมากที่สุด และเห็นวาเปน กิจกรรมที่มีประโยชนเนือ่ งจากไดเหน็ แนวทางที่หลากหลายในการจัด กิจกรรมการเรยี นรวู ิทยาการคำนวณของครูผสู อนในสงั กัดท่โี รงเรียนมีบริบทแตกตา งกัน เชน โรงเรยี น ขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ นอกจากนี้ยังไดเห็นวิธีการแกปญหาในการจัด กจิ กรรมการเรยี นรูท ีแ่ ตกกนั หลายรปู แบบซ่ึงสามารถนำไปใชป ระโยชนไ ด กจิ กรรมที่ 2 การนเิ ทศติดตามการจดั การเรียนรูวทิ ยาการคำนวณแบบออนไลน (15 สิงหาคม 2564) 1. ดานวิธีการจัดการเรียนรูในสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 พบวาโรงเรียน 109 โรง จัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณแบบ on hand อยางเดียวจำนวน 14 โรง คิดเปนรอยละ 12.84 และใชวิธีสอนแบบผสมผสาน (online on hand on demand และ อื่น ๆ) จำนวน 95 โรง คิดเปน รอ ยละ 87.15 2. ดานการนำความรูจากการอบรมไปประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอนพบวา ครูผูสอนตอบแบบนิเทศออนไลนมาทัง้ สิน้ 120 คน สามารถนำความรูจากการอบรมไปประยกุ ตใชไ ด ทกุ คนคดิ เปนรอ ยละ 100 โดยมีตวั อยางการนำความรูไ ปประยุกตใชด ังนี้ เร่อื งการจัดการเรยี นการสอนโดยการนำเกมสเ ขา มามสี ว นรวม นำกระบวนการสอนท่ที ำให นกั เรียนเกดิ ทักษะทางดา นการคดิ แกปญหาดว ยตนเอง ทักษะการแกป ญหา เกมส code combat, google meet, quizizz นำความรูท่ีไดจากการอบรมไปใชบรู ณาการกับวชิ าอ่ืนๆ และใชก จิ กรรมทีน่ กั เรียนปฏิบัติอยทู ี่บา น การสรางเกม กิจกรรมใหแ กนักเรยี น การสรา งหองเรียนออนไลน นวมถึงแบบทดสอบตา งๆ การจัดการเรยี น การใชเ กมและชดุ กิจกรรมการสอน ไดนำความรเู กีย่ วกบั การใชส อ่ื ประกอบการสอน ใบงานในวิชาวิทยาการคำนวณจากแหลงตางๆ มา ประยุกตใ ชใหเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน การใชโปรแกรม canva และ projace14 การใชเกม และการประยุกตใชส อ่ื การสอนออนไลน โปรแกรมออนไลนต า งๆ เทคนคิ วิธีการสอนออนไลน การทำสอ่ื ใบงาน ใหนาสนใจ การบรู ณาการสอนสอดแทรก กบั รายวิชาวิทยาศาสตรและทกั ษะชวี ติ ของนักเรียน การสอดแทรกการจัดการเรียนการสอนควบคูไปกับการบูรณาการ การแนบลงิ คกิจกรรมการเรยี นการสอน/ผลติ สอื่ /การสอ่ื สารระหวางครและนักเรยี น ผา นระบบ ZOOM สอนเกย่ี วกบั การสิทธกิ ารเขา ถงึ ขอมูลทางอนิ เเทอรเน็ต ประโยชนจาการใชอินเทอรเ น็ต นำความรูเ รื่องการคน หาขอ มูลมาใชคะ เนื่องจากตองสอนเรอื่ งน้ีพอดี ซงึ่ ครไู ดอธบิ ายเพ่ิมเติม เกย่ี วกับการคนหาขอมูลเพ่อื นักเรยี นจะสามารถไดร ับประโยชนสูงสุดจากการคน หาขอมูลเรื่องน้ันๆ

67 3. ดานความพงึ พอใจตอการนิเทศตดิ ตามและการสง เสริมสนับสนุนการจดั การ เรียนรูวิทยาการคำนวณของสำนักงานเขตพื้นท่ีโดยใหผูรับการนิเทศสะทอนเปนขอความพบวาผูรับ การนิเทศทกุ ทานสะทอนผลในเชงิ บวกมคี วามพึงพอใจตอการนิเทศติดตามโดยมีตัวอยา งขอความดังน้ี พึงพอใจเปนอยางยิ่งเพราะจะไดจ ดั การเรียนการสอนไปในทางที่ถูก ที่เหมาะที่ควรในสถานการณ โควดิ 19 พอใจคะ ดีมาก พอใจเปนอยา งมาก มีการนิเทศตดิ ตามดี อยใู นระดบั ดีมาก มีการจัดอบรมใหความรูแกครูผูสอนวิทยาการคำนวณเพ่ือนำมาใชใในการ จดั การเรียนการสอนไดเปนอยางดี มีความพึงพอใจมาก ไดมีการแลกเปล่ียนเรียนรจู ากโรงเรยี นตา งๆ พึงพอใจมากคะ ขอบคุณทาง สพป.นศ.1 ทีใ่ หค ำแนะนำ และคอยกำกบั นเิ ทศติดตามอยา งตอ เนื่อง พึงพอใจมากคะ เปนประโยชนม ากับครผู สู อนคะ ขอบพระคุณมากคะ ระดบั มากท่สี ดุ ทา นวิทยากรนา รักใหความรู ผรู บั การอบรมเขา ใจงา ย วทิ ยากรเขาใจครูนกั เรียนเขากบั ยุกตสถานการณ พงึ พอใจคะ ชวยใหครเู กิดความกระตือรือรนในการสอน และการใหนักเรยี นทำงานสงในชองทาง ตาง ๆ เนื่องในสถานการณโควิด-19 นี้ ดีมากคะ เปนการเพิ่มเติมความรแู ละแนะนำสื่อเพมิ่ เติมสำหรับครผู สู อนท่ไี มไดจบตรงสาขาวิชามา มีความพึงพอใจเปนอยา งยิ่ง เพราะจะชวยใหค รูกระตือรือรนในการทำงาน เปนกิจกรรมท่ชี ว ยสง เสริมการจัดการเรยี นการสอนวิทยาการคำนวณไดเปนอยางดี มคี วามพ่ึงพอใจทีส่ ำนักงานเขตพื้นท่ี มีการจดั อบรม เพ่ือเปนแนวทางในการสอน วิทยากรทกุ ทาน เกงมากๆคะ. มีความพงึ พอใจตอ การนเิ ทศตดิ ตามมากที่สดุ ศน.มคี วามกระตือรือรนในการอบรมใหค วามรู รวมไปถึงการนเิ ทศตดิ ตาม มีความพึงพอใจเปน อยางยงิ่ ที่มีการสงเสริม และสนบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอนวิทยาการ คำนวณ เพื่อใหเกิดประโยชนก บั ผเู รยี นไดมากท่ีสุด โดยเฉพาะในการจัดการเรียนรใู นชว ง สถานการณการแพรร ะบาดโควิด 19 พงึ พอใจมาก ไดแลกเปล่ยี นเรยี นรูกัน พึงพอใจมาก เพราะจะไดน ำความรทู ีไ่ ดร ับมาปรบั ปรงุ แกไข ในการจดั การเรยี นการสอนให หลากหลาย เปน กิจกรรมท่ีดีมากคะ ไดมกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรูในการจดั การเรยี นการสอน วิทยาการคำนวณไดเปน อยางดี มคี วามพึงพอใจตอการจดั การเรยี นการสอนวิทยาการคำนวณ มากคะ มีความพงึ พอใจตอ การสง เสริม สนับสนุนและนเิ ทศตดิ ตามการจัดการเรยี นการสอน ทางฝา ยศึกษานเิ ทศก คอยดูแลและตดิ ตามอยตู ลอด สง เสรมิ สนนั สนนุ โรงเรียนและบุคลากร ซง่ึ เปน การดมี ากคะ จัดอบรมใหความรเู ยอะแยะมากมาย และทางคณุ ครูทุกคน กส็ ามารถนำไป ประยกุ ตใ ชใหเขา กับบรบิ ทของโรงเรียนของตนไดอยา งเหมาะสม ระดบั 5

68 4. ปญหาหรืออุปสรรคท่ีพบในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณใน สถานการณการแพรร ะบาดของเชือ้ ไวรัส COVID-19 พบวาปญหาที่พบมากที่สุดไดแกปญหาดานการ ขาดแคลนอุปกรณและการเขา ถงึ สัญญาญาณอินเทอรเนต็ ของนักเรียน ถัดมาเปนปญหาในดานวิธีการ จัดการเรียนการสอนและการจัดเวลาเรียนในชว งสถานการณการแพรระบาดทำใหค รูสอนไดไ มเต็มที่ โดยมตี ัวอยางขอ ความดังนี้ ปญ หาสญั ญาณอนิ เทอรเ น็ต อปุ กรณ หรือเทคโนโลยีของนักเรียนบางคน ความพรอมของนักเรียนดานอปุ กรณเทคโนโลยคี วามพรอมของอุปกรณคอมพิวเตอร นักเรยี นบางคนขาดความพรอมดานเทคโนโลยี อาจทำใหไมไดร ว มกจิ กรรมบางอยาง แนะนำการจดั การเรียนการสอนในชวงสถานการณการแพรระบาดโควิด 19 ตอ กลุมนกั เรยี นทีไ่ มมี ความพรอมทางเทคโนโลยี ปญ หาเร่อื งของเคร่อื งมือในการสอนระหวางครูกับนกั เรยี น ครูพรอมท่ีจะสอนสื่อสารไปยังนักเรียน แตท างดานนักเรียนขาดอปุ กรณทใ่ี ชเ รยี นเชน โทรศัพท,เครื่องคอมพิวเตอร อินเตอรเน็ท นักเรียนสวนใหญไมมีความพรอ มในเร่ืองของอินเตอรเน็ตและเทคโนโลยตี า ง ๆ ท่ใี ชเ รยี นออนไลน จึงทำใหบ างคนสง งานลาชา และครผู สู อนไมส ามารถสอนไดอยางเต็มท่ี เนื่องจากผปู กครองสว นใหญในโรงเรียนไปทำงานในตอนเชาและเอาโทรศพั ยไ ปดว ยทำใหก ารเรยี น อปุ กรณ/ คณุ ภาพของสัณญาณ /ความไมสม่ำเสมอจากการสนับสนนุ ของผปู กครอง นกั เรยี นบางคนไมสามารถเรยี นออนไลนไ ดเนื่องจากขาดแคลนมอื ถือ อปุ กรณและความพรอมของนักเรยี นและผูปกครอง นกั เรยี นบางบา นโทรทัศนเสีย และไมมอี ินเทอรเนต็ ในการเขา เรยี น DLTV หากไดร ับการจดั สรรค อนิ เทอรเ นต็ ที่เร็วจะสามารถชวยใหนักเรียนไดร ับขาวสารและเรยี นรไู ดทนั กับเพอื่ นคนอื่นๆ ปญ หาความพรอมของผูปกครองดานเคร่ืองมอื ส่ือสารแบบออนไลน และตองการความชว ยเหลือใน การอบรมโปรแกรมสแคชทีใชสอนในชวงสถาณการณในชว งโรคระบาดโควิด 19 แบบใชออนไลน และแบบออนแฮนดเพ่ือชว ยเหลอื ผปู กครองที่มปี ญ หาเรอ่ื งเครือ่ งมอื สื่อสาร นักเรียนยงั ขาดความเขาใจในตัวเนื้อหา และการจดั กจิ กรรมในตอนนี้อาจมปี ญหาบางเน่ืองจากทาง โรงเรียนยังเลอื กการจัดการเรียนการสอนในรปู แบบ online และ on demand ปญหาในดานอุปกรณและความพรอมของอินเทอรเน็ต เน่ืองจากนักเรียนท่ีสอนเปนนกั เรียนชน้ั ป. 1-2 นกั เรยี นจงึ ไมม ีอปุ กรณส ำหรบั การเรียนออนไลนเ ปนของตนเอง จึงยากตอ การจดั การเรยี นการ สอน รวมถงึ ผปู กครองสว นใหญข าดความเขาใจเกี่ยวกบั การเรยี นเรื่องวิทยาการคำนวณ จงึ ไม สามารถชว ยตรวจดูงานและการเรียนของนักเรยี นได

69 กิจกรรมท่ี 3 การนิเทศตดิ ตามโดยการสังเกตการณส อนวิทยาการคำนวณผา นระบบ Google Meet (16 สงิ หาคม 2564) ผูน ิเทศไดส งั เกตชั้นเรยี นครูผูสอนวทิ ยาการคำนวณในระดับประถมตน ประถมปลาย และ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน เพ่ือนิเทศติดตามการนำความรจู ากการอบรมพฒั นามาใชในการจัดการ เรยี นรวู ิทยาการคำนวณในชัน้ เรียน(เนอื่ งจากสถานการณการแพรร ะบาดของเชอ้ื ไวรัส COVID-19 จึง สง ผลใหการสงั เกตชัน้ เรียนสามารถทำไดเฉพาะโรงเรยี นท่สี ามารถสอนออนไลนได) ผลการสงั เกตชั้น เรยี นปรากฏผลดังนี้ ระดับประถมตน ครูผสู อน :นางสาวอมุ าพร จากระโนต โรงเรียนอนบุ าลนครศรีธรรมราช “ณ นครอุทิศ” นกั เรียน : จำนวน 35 คน ระดับชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 1 เนือ้ หา : การเขยี นโปรแกรมดวยบัตรคำส่งั เรอ่ื ง โปรแกรมแกห ิว ชองทางการสอน : Zoom Cloud Meeting กจิ กรรม : สาธิต ถาม-ตอบ ผลการสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน: นกั เรียนสามารถโตตอบ แสดงความคดิ เห็น และใชบัตร คำสั่งได การวดั และประเมินผล : แบบฝก, แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ปญ หาอุปสรรค: สัญญาณอนิ เทอรเนต็ /ระบบ Zoom ตัดทุก 40 นาที ทำใหกิจกรรมยังไม สมบูรณ ระดับประถมปลาย (18 สิงหาคม 2564) ครผู ูสอน :นางสาวอุมาพร จากระโนต โรงเรยี นอนบุ าลนครศรธี รรมราช “ณ นครอุทิศ” นักเรยี น : จำนวน 37 คน ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที่ 5 เนอ้ื หา : การเขยี นโปรแกรมแบบวนซำ้ (Scratch) ชอ งทางการสอน : Zoom Cloud Meeting กจิ กรรม : สาธติ ถาม-ตอบ นำเสนอผลงาน ผลการสงั เกตพฤติกรรมนักเรียน: นกั เรียนสามารถเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำโดยใช โปรแกรม Scratch ผานชอ งทางเวบ็ ไซตและ ใชเครื่องคอมพิวเตอร(แลวแตความพรอม) และสามารถ นำเสนอผลงานใหครแู ละเพื่อน ๆ ชน่ื ชมผลงานผานทางระบบ Zoom ได การวดั และประเมินผล : แบบฝก, แบบสังเกตพฤตกิ รรม นำเสนอผลงาน

70 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน (23 สงิ หาคม 2564) ครผู สู อน :นางจิราภรณ สกุณา นกั เรียน : จำนวน 15 คน ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 2 เน้ือหา : ภาษาไพทอน python ชอ งทางการสอน : Zoom Cloud Meeting กิจกรรม : สาธติ ถาม-ตอบ นำเสนอผลงาน ผลการสังเกตพฤตกิ รรมนักเรียน: นักเรยี นตอบคำถาม พ้ืนฐานการเขยี นโปรแกรมภาษาไพ ทอนได การวัดและประเมินผล : แบบฝก , แบบสงั เกตพฤติกรรม ปญ หาอุปสรรค : ความเร็วของสญั ญาณอนิ เทอรเน็ต และความพรอมดา นอุปกรณข อง นักเรียน ระยะท่ี 4 ผลการสรางขวัญกำลงั ใจและ ชื่นชมผลงานการจดั การเรยี นรวู ิทยาการคำนวณ การสรางขวัญกำลังใจและชื่นชมผลการดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณผูรับผิดชอบ ไดดำเนนิ การโดยสงเสริมใหค รูผสู อนสงผลงานผลการปฏิบัติที่เปน เลิศดานการจัดการเรียนรูวิทยาการ คำนวณเพื่อแบงปนเขาคลังสื่อการเรียนรูของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและคลังสื่อของเว็บนิเทศ ออนไลน เพื่อรับเกียรติบัตรจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 โดยผลงานท่ีสงมี 3 ประเภทดงั นี้ 1) ประเภทวธิ ีการหรือกระบวนการจดั การเรยี นรูวิทยาการคำนวณ มคี รผู สู อน 2) ประเภทสอ่ื หรือเทคโนโลยีการจัดการเรยี นรู 3) ประเภทคลิปการสอนวทิ ยาการคำนวณ

บทท่ี 5 สรปุ ผลและขอเสนอแนะการนเิ ทศ ผลการดำเนินงานนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ ของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 ปงบประมาณ 2564 สามารถสรปุ ผตามวตั ถปุ ระสงคของการนเิ ทศตดิ ตามไดด ังนี้ 1. ผลการศกึ ษาสภาพปจจบุ ัน ปญหาและความตอ งการและเตรยี มความพรอมเพ่ือ การนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 2. ผลการพัฒนาและยกระดับการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัด สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 3. ผลการนิเทศติดตามการการการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัด สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราชเขต 1 4. ผลการสรางขวญั กำลังใจและ ชนื่ ชมผลงานการจดั การเรียนรวู ทิ ยาการคำนวณ สรุปผลการนิเทศตดิ ตาม ผลการดำเนินงานการนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ ของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ประจำ ปงบประมาณ 2564 สรปุ ไดดังน้ี 1. ผลการศึกษาสภาพปจ จุบนั ปญ หาและความตองการและเตรียมความพรอ มเพื่อ การนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 1.1 ดานขอมูลเบื้องตนดานสภาพปจจุบันปญหาและความตองการในการจัดการ เรยี นรูวิทยาการคำนวณพบวา ครูผสู อนวิทยาการคำนวณระดับประถมศึกษาตอนตนและระดับประถถมศึกษาตอน ปลายสว นใหญม ีความรูค วามเขา ใจดานหลักสตู รและการจดั การเรยี นรวู ทิ ยาการคำนวณ แต ครูผสู อน ระดับมัธยมศึกษาตอนตนสวนใหญยังขาดความรูความเขาใจที่ชัดเจนดานหลักสูตรและการจัดการ เรียนรูวทิ ยาการคำนวณ

72 ขอ มลู ดานการอบรมการจัดการเรยี นรวู ทิ ยาการคำนวณ ตามชองทางตา ง ๆ พบวา ครูผูสอนสวนใหญผา นการอบรมการจดั การเรียนรูวิทยาการคำนวณจากหนว ยงานตาง ๆ แลว อยา ง นอย 1 หลักสตู ร พบวา หนว ยงานที่ครูเขาอบรมมากท่ีสดุ คือ สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร และเทคโนโลย(ี สสวท.) ขอมูลดานปญหาหรืออุปสรรคที่พบในการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ พบวาครูผูสอนพบปญหาดานความรูความเขาใจดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ ดานสื่อ อปุ กรณและเทคโนโลยี และดา นครผู สู อนตามลำดับ ดานประเด็นขอเสนอแนะหรือความตองการความชวยเหลือจากตนสังกัดในการ จัดการเรยี นรวู ิทยาการคำนวณพบวาครูผสู อนตองการความชวยเหลือดา นการสรา งความรคู วามเขาใจ ดา นส่อื อปุ กรณและดา นอ่ืน ๆ เชน จำนวนครู ชว่ั โมงสอน เปนตน ตามลำดบั 1.2 ดานการเตรียมความพรอมในการนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการ คำนวณไดด ำเนินการดงั นี้ - สรางชองทางสื่อสารดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณกับครูผูสอนในสังกัด โดยการสรา งกลมุ ไลนช ือ่ “ครู CodingNSTA1” มีสมาชิก 243 คน - พัฒนาเว็บไซตเพื่อใหความรูและเปนคลังความรูการจัดการเรียนรูวิทยาการ คำนวณ เชน เอกสารทางวิชาการ สรุปรายงานผล ลิงคความรูตาง ๆ แบบออนไลน ชื่อ“หองนิเทศ ออนไลน ศน.ปรยี า สงคป ระเสรฐิ ” เขา ถึงโดย https://sites.google.com/esdc.go.th/svnst1/ - เผยแพรความรแู ละกิจกรรมตาง ๆ ดา นการสง เสริมสนับสนุนและการนิเทศตดิ ตาม การจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณผา นเพจเฟชบุค “สาระนารู by ศน.Dr.tooktook” -จัดทำเอกสารใหความรดู า นการจัดการเรียนรูว ทิ ยาการคำนวณ 2. ผลการพัฒนาและยกระดับการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัด สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 1. จำนวนผเู ขารว มอบรมการจดั การเรยี นรูวิทยาการคำนวณท้ัง 3 ระดบั ดังนี้ ระดบั ประถมตน จำนวน 128 คน ระดบั ประถมปลาย จำนวน 156 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จำนวน 40 คน 2. ผลการวัดความรคู วามเขาใจดานการจดั การเรียนรวู ทิ ยาการคำนวณหลงั การ อบรมพบวาผา นเกณฑก ารประเมนิ (รอยละ 80) ทกุ คนคดิ เปนรอ ยละ 100 3. ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเขาอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู วิทยาการคำนวณในภาพรวมผเู ขา อบรมมคี วามพงึ พอใจอยใู นระดบั มากทสี่ ุด

73 4. ดานขอเสนอแนะ และขอ คิดเห็นอ่นื ๆ พบวา ครูสวนใหญเ หน็ วา เปน การจัด กิจกรรมอบรมทมี่ ปี ระโยชนมาก สามารถนำไปใชป ระโยชนกบั เดก็ ไดจรงิ ทำใหค รูมคี วามรูความเขาใจ เกี่ยวกับการจัดการเรยี นรูว ิทยาการคำนวณทีช่ ดั เจนขึ้นในดานตาง ๆ ไดแก ดานหลักสูตรและการจัด โครงสรา งเวลาเรียน ดา นตวั ชว้ี ัด ดานกิจกรรมการเรียนการสอน ดา นเทคโนโลยแี ละวิธกี ารใหม ๆ ใน การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ และเปนหลักสูตรที่ทันสมัยเหมาะกับความตองการและ สถานการณปจจุบัน ที่สำคัญวิทยากรมีความรู และจัดกิจกรรมการอบรมไดสนุกและมีสาระตรงกับ ความตอ งการสามารถนำไปใชป ระโยชนไดเขา กับยคุ ปจจบุ นั 5. ดานปญหาทพ่ี บจากการอบรม ไดแก เวลาที่ใชใ นการอบรมนอ ยไป ควรเพิม่ กจิ กรรมทีไ่ ดป ฏบิ ตั ิ เยอะ ๆ และปญหาจากดานสญั ญานอินเทอรเ น็ตบางในบางครัง้ อยากอบรมแบบ ออนไซต เนอ่ื งจากจะไดส อบถามวทิ ยากรไดมากขึ้น 6. ดานเน้ือหาสาระที่ตอ งการอบรมเพ่มิ เตมิ ในอนาคตไดแ ก การเขียนโปรแกรม อยางงาย การใชงานโปรแกรม Scratch โปรแกรม ไพทอน การผลิตสอื่ unplug การสรางเกมส ตาง ๆ เทคนิคการสรา งสอ่ื ดิจิทัล 3. ผลการนิเทศติดตามการการการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราชเขต 1 1.1 การนิเทศตดิ ตามและแลกเปลีย่ นเรยี นรูเทคนคิ การจัดการเรยี นรวู ิทยาการ คำนวณในสถานการณการแพรระบาดของเชอ้ื ไวรสั COVID-19 (9 สิงหาคม 2564) 1) กลมุ เปาหมายการแลกเปลี่ยนเรียนรูเขารว มกจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรู ครบทุกโรงเรียนคดิ เปนรอยละ 100 2) ผูเขารวมกิจกรรมมีความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยน เรยี นรอู ยใู นระดับมากท่ีสุด 1.2 การนเิ ทศติดตามการจัดการเรยี นรูวทิ ยาการคำนวณแบบออนไลน 1) ดานวิธีการจัดการเรียนรูในสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 พบวาโรงเรยี น 109 โรง พบวาสว นใหญใชว ิธีการสอนแบบผสมผสาน และแบบ on hand 2) ดานการนำความรูจากการอบรมไปประยุกตใชในการจัดการเรียนการ สอนพบวา ครูผูสอน สามารถนำความรจู ากการอบรมไปประยกุ ตใชไ ดทุกคนคิดเปนรอ ยละ 100 3) ดา นความพงึ พอใจตอการนเิ ทศตดิ ตามและการสง เสรมิ สนบั สนนุ การ จัดการเรยี นรูว ทิ ยาการคำนวณของสำนักงานเขตพน้ื ที่พบวาผูร บั การนิเทศสะทอ นผลในเชงิ บวก

74 4) ปญ หาหรืออปุ สรรคทีพ่ บในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนวทิ ยาการ คำนวณในสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ปญหาทพ่ี บมากทีส่ ุดไดแกปญหาดาน การขาดแคลนอุปกรณและการเขาถึงสัญญาญาณอินเทอรเน็ตของนักเรียน ถัดมาเปนปญหาในดาน วธิ ีการจดั การเรียนการสอนและการจัดเวลาเรยี นในชวงสถานการณการแพรระบาดทำใหค รูสอนไดไม เต็มท่ี 5) ผลการสังเกตชั้นเรียนวิทยาการคำนวณระดับประถมตน ประถมปลาย และมัธยมศึกษาตอนตน พบวา ความพรอมดานอุปกรณในการสื่อสารเปนสิ่งสำคัญในการจัดการ เรียนรูแบบออนไลนหากนักเรียนสามารถเขาถึงสัญญาณอินเทอรเน็ตได ก็สามารถเรียนรูและทำ กจิ กรรมวทิ ยาการคำนวณไดท กุ ระดับ 4. ผลการสรา งขวัญกำลงั ใจและ ชืน่ ชมผลงานการจดั การเรียนรวู ิทยาการคำนวณ ครูผูส อนวทิ ยาการคำนวณเขารวมกจิ กรรมเพอื่ รับเกียรติบตั รจากสำนักงานเขตพืน้ ท่ี การศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 ครบทง้ั 3 ประเภทไดแ ก 1) ประเภทวธิ ีการหรอื กระบวนการจดั การเรยี นรูวิทยาการคำนวณ มคี รผู สู อน 2) ประเภทสื่อหรือเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู 3) ประเภทคลปิ การสอนวิทยาการคำนวณ ขอเสนอแนะเพื่อพฒั นาการนเิ ทศ ขอ เสนอแนะจากการดำเนนิ งาน 1. เทคโนโลยดี จิ ิทัลประเภทการประชมุ หรืออบรมทางไกลมีขอดคี ือสามารถรับชมยอ นหลังได ในกรณีทม่ี ีขอสงสยั หรอื ในกรณีท่ีมีผเู ขารว มประชุมไมสะดวกเขารว มประชุมในเวลาท่ีกำหนดในตาราง การประชุม และสามารถเขาถงึ กลุมผูเขา ประชมุ ไดเ ปน จำนวนมาก 2. เครอ่ื งมือนเิ ทศหรอื แบบสอบถามตา ง ๆ แบบออนไลนสามารถอำนวยความสะดวกไดใน เบอ้ื งตน เพื่อใหโรงเรยี นไดตรวจสอบการปฏบิ ตั ขิ องตนเองในกรณที ่มี ีเวลาจำกดั ในการนเิ ทศติดตาม หรือ เกดิ สถานการณการแพรระบาดของเช้อื ไวรสั 3. ปญ หาท่ีพบมากทสี่ ดุ ในมมุ มองของครูคือการขาดอุปกรณและเทคโนโลยีทเ่ี พียงพอ แต หากครมู ีความรูค วามเขาใจท่ีชัดเจนในดานการจดั การเรียนรูว ทิ ยาการคำนวณก็จะสามารถออกแบบ กจิ กรรมการเรียนรไู ดอยา งหลากหลายมากขึ้น

75 จุดเดน ในการจดั การเรียนรูว ทิ ยาการคำนวณและการออกแบบเทคโนโลยขี องสำนกั งาน เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 1. สำนกั งานเขตพ้ืนทีใ่ หการสงเสรมิ สนับสนุน และชว ยเหลือครผู ูสอนใหสามารถจัดกิจกรรม การเรียนรูวิทยาการคำนวณไดอยางเต็มประสิทธิภาพโดยฝายบริหารไดอนุมัติโครงการพัฒนาทักษะ และสงเสรมิ การจดั การเรยี นรวู ิทยาการคำนวณแกค รผู ูส อนในสงั กัด 2. กลมุ นิเทศตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศึกษาโดยผรู ับผิดชอบไดดำเนินการอยางเปน ระบบในการสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณโดย การ วางแผนการนิเทศติดตาม และดำเนินการตามแผนตามลำดับ ไดแก สำรวจขอมูลเบื้องตน สภาพ ปจจุบันและปญหาการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของครูผูสอน ดำเนินการสรางชองทางส่ือสาร กับครูผูสอนผานกลุมไลน “Coding NSTA1” และดำเนินการใหความรูในดานการจัดการเรียนรู วิทยาการคำนวณอยางครอบคลุมเนื้อหาที่เกี่ยวของทุกระดับ(ประถมตน ประถมปลาย มัธยมศึกษา ตอนตน) อบรมใหความรูดานการใชเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู เพื่อใหครูสามารถนำไป ออกแบบและปรับแนวทางการจดั การเรียนรูใหเหมาะกบั บริบทของตนเองและนักเรยี น ดำเนินการให มีการนิเทศติดตามและแกปญหาการจัดการเรียนการสอนดวยวิธีการตาง ๆ ไดแก การแลกเปลี่ยน เรียนรูรวมกันเพื่อใหครูผูสอนไดแชรประสบการณในการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณในรูปแบบ ตาง ๆ นิเทศติดตามโดยการใชแบบนิเทศแบบออนไลน และมีการสังเกตการสอนรายบุคคลเพ่ือ รับทราบปญหา และเสนอแนะแนวทางเพื่อสงเสริมการจัดการเรียนรูของครู และ การสรางขวัญและ กำลังใจใหครูผูสอนดวยการ ชื่นชมผลงานรวมกันผานผลงานของครูผูสอนและมอบเกียรติบบัตร ใหก บั ผสู ง ผลงานทกุ คน 3. ผบู ริหารโรงเรยี นใหค วามรวมมอื ในการสง เสริมสนบั สนุนใหค รผู สู อนไดเขา รวมการอบรม จากสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 และหนวยงานอน่ื ๆ ที่ เกี่ยวขอ งจัดข้ึนเพ่อื นำความรูมาประยุกตใชในการจดั กจิ กรรมการเรียนรูว ิทยาการคำนวณ และ ให ความรวมมือกบั การนเิ ทศติดตามฯ จากศึกษานเิ ทศกทุกรูปแบบเปน อยา งดี และเขารวมกิจกรรมการ นิเทศเพ่ือแลกเปลย่ี นประสบการณรว มกันกับครผู ูสอนและศกึ ษานิเทศก 4. ครูผสู อนสวนใหญม คี วามรูความสามารถ และสามารถปรับตัวใหเขา กบั สถานการณ ปจ จบุ ันไดอยา งรวดเรว็ โดย พยายามพัฒนาตนเองในดานการใชเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพื่อการเรียนการ สอน ดานแนวการจดั การเรยี นรูวิทยาการคำนวณ โดยสงั เกตจากการเขารวมอบรมจากหนวยงานตา ง ๆ ท่ีเกีย่ วของอยางสม่ำเสมอ และใหค วามรวมมอื กบั การนเิ ทศติดตามในรปู แบบตาง ๆ อยางเตม็ ที่ เชน การรว มแชรประสบการณก ารสอน การนำเสนอผลงาน เปน ตน สง ผลใหครสู ามารถออกแบบการ จัดการเรียนรไู ดอยางหลากหลาย โดยจดั การเรียนรผู า นหลายชองทาง เชน On hand, Online, On Demand อีกทง้ั สามารถบูรณาการเนอ้ื หารายวชิ าวิทยาการคำนวณใหสามารถจดั การเรียนรูใน

76 รายวิชาอน่ื ๆ ไดท ำใหล ดปญหาในเรอื่ งสัญญาณอนิ เทอรเน็ต อุปกรณ และเวลาเรียนของนกั เรียน ไดม ากขึน้ ความทา ยทายที่สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาเผชญิ และแนวทางการแกปญ หาทจี่ ะ ดำเนินการกับความทายทาย การแพรระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา COVID-19 สงผลการใหการวางแผนการดำเนินงาน ดา นการพฒั นาการจัดการเรยี นรวู ิทยาการคำนวณของสำนักงานเขตพนื้ ท่ไี มสามารถดำเนินการไดตาม แผนที่วางไว ไดแกการจัดกจิ กรรมการอบรม การนิเทศติดตาม การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการช่ืนชม ผลงานครู ซึ่งเปน กจิ กรรมทตี่ อ งมีการรวมตวั กันของครูและบุคลากรในสังกัด มีการเปลี่ยนแปลงอยาง กะทันหัน ทำใหผูบริหารสำนักงานเขตพื้นที่และศึกษานิเทศกผูรับผิดชอบโครงการและทีมงาน ผูรับผิดชอบไดวางแผนการดำเนินงานใหมทั้งหมดมาใชระบบออนไลน ทุกกิจกรรม ไดแก ระบบการ ประชุม อบรมทางไกลโดยใช Google Meet การใชหองเรียนออนไลนไดแก Google Classroom การใชระบบไลนกลุมในการติดตอประสานงาน เพื่อการอบรมและการนิเทศติดตาม ตลอดจนการ แลกเปลี่ยนเรียนรูการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู หรือ การสังเกตการสอนของครูก็ ปรับเปลี่ยนมาใชแบบออนไลนดังกลาว โดยในเบื้องตนไดมีกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรูดานการใช เทคโนโลยีดิจิทัล และซักซอมความเขาใจกับทีมงานผูรับผิดชอบและทีมวิทยากรใหมีความชำนาญใน การใชเ ทคโนโลยดี ังกลา วกอนการดำเนินงานในกจิ กรรมตาง ๆ ตามลำดบั ปญหาอุปสรรค สวนใหญเปนปญหาในดานสัญญาณอินเทอรเนต็ ที่มคี วามเรว็ ไมเพียงพอบาง ในบางครั้งทำใหการสื่อสารติดขัด และ ความชำนาญในการใชสื่อดิจิทัลของครูและบุคลากรใน บางสวนยงั ไมมีความชำนาญสงผลใหก ารอบรมในบางเนอ้ื หาตดิ ขดั บางเล็กนอย สง่ิ ทีจ่ ะดำเนนิ การเพ่ือขบั เคล่อื นการจดั การเรยี นรูวทิ ยาการคำนวณและการออกแบบ เทคโนโลยใี นอนาคต เพ่ือสง เสริมสนบั สนนุ การพัฒนาทกั ษะการเรยี นรวู ิทยาการคำนวณใหเกิดประสิทธภิ าพมาก ท่ีสุดสำนักงานเขตพื้นทีไ่ ดว างแผนเพอื่ การนเิ ทศติดตาม ชว ยเหลือและแกป ญ หาใหแกครูผสู อน วทิ ยาการคำนวณอยางเปนระบบผานกจิ กรรมตา ง ๆ ดังน้ี 1. เติมเตม็ ความรู ชว ยเหลอื ครผู สู อนดาน วธิ กี ารจดั การเรียนการสอน หรอื เทคโนโลยี ใหม ๆ ใหกับครูผูสอนโดยการอบรม สัมมนา แลกเปลี่ยนเรียนรู หรือสรางชองทางการเรียนรูเพ่ือ ทบทวนและเติมเต็มความรูใ หกบั ครูผูสอน ที่เหมาะสมกับสถานการณปจ จุบัน เชน Classroom ชอง Youtube เว็บไซตก ารสอน เปน ตน

77 2. สรางชอ งทางการสอ่ื สารเพ่ือแนะนำชว ยเหลอื หรือสงเสรมิ สนับสนนุ การจัดการเรียนการ สอนวิทยาการคำนวณแกครูผูสอนใหสามารถติดตามขาวสารไดอ ยา งรวดเรว็ ทนั เหตกุ ารณ หรือ สถานการณ เชน ไลนก ลมุ เพจเฟชบคุ เปนตน 3. จดั ใหม ีพน้ื ที่การนำเสนอผลงานรว มกนั เพอ่ื แลกเปล่ียนส่ือการเรียนรู หรือคลปิ การสอน ของครูผูสอนวทิ ยาการคำนวณ 4. สรา งขวญั กำลังใจและช่นื ชมผลงานของครูผสู อน โดยการประกวด หรอื นำเสนอผลงาน ในรูปแบบตาง ๆ

78 บรรณานุกรม เกรียงศักด์ิ สงั ขช ัย. การพฒั นารปู แบบการนเิ ทศการสอนของครูวิทยาศาสตรเพ่ือพฒั นาศกั ยภาพ นักเรยี นทีม่ ีแววความสามารถพเิ ศษทางวิทยาศาสตร. 2552. คมกริช มาตยวิเศษ. การพฒั นาการดำเนนิ งานนเิ ทศภายในโรงเรยี นจตรุ พกั ตรพิมาน อำเภอ จตรุ พักตรพมิ าน จังหวดั รอยเอด็ . วทิ ยานิพนธก ารศกึ ษามหาบัณฑิต(การบริหาร การศกึ ษา). มหาสารคาม: คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2553. ปรยี าพร วงศอนุตรโรจน. การนเิ ทศการสอน. กรงุ เทพฯ: ศูนยสือ่ เสริมกรงุ เทพฯ. 2548. พศิน แตงจวง. รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรทางการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: ดวงกมลพบั ลิชชิง่ . 2554. มณีรตั น รตั นวชิ ัย. การศกึ ษาความตอ งการการนิเทศภายในสถานศกึ ษาเอกชน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2553. รัตนา นครเทพ. การนำเสนอรปู แบบการนเิ ทศภายในโดยการประยุกตใชแบบกลั ยาณมิตร ใน สถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน สังกดั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอบุ ลราชธานี เขต 2. วทิ ยานพิ นธ ครศุ าสตรมหาบัณฑติ : มหาวิทยาลลยั ราชภฏั อุบลราชธานี. ราชกิจจานุเบกษา. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. เลมที่ 116 ตอนที่ 74 ก, 2542. วชั รา เลา เรยี นดี. ศาสตรการนเิ ทศการสอนและการโคช การพฒั นาวิชาชีพ: ทฤษฎีกลยทุ ธสกู าร ปฏบิ ัต.ิ นครปฐม: โรงพิมพม หาวิทยาลัยศลิ ปากร. 2556. สงัด อุทรานันท. การนิเทศการศกึ ษา หลักการ ทฤษฏแี ละปฏิบตั .ิ กรงุ เทพฯ: โรงพิมพมิตรสยาม. 2530.

ภาคผนวก โครงการพฒั นาและยกระดับการจดั การเรยี นรูวทิ ยาการคำนวณ คำสง่ั การดำเนนิ งาน การนเิ ทศติดตามการจดั การเรียนรวู ทิ ยาการคำนวณ ตวั อยา งภาพกิจกรรม ผลงานครผู สู อน

80

81

82

83

84

85

86

87

88

89

90

91

92

93

94


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook