Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลนิเทศcoding64

รายงานผลนิเทศcoding64

Published by tooktook719, 2021-12-12 06:26:31

Description: รายงานผลนิเทศcoding64

Search

Read the Text Version

คำนำ วิทยาการคำนวณ (Computing science) เปนวิชาที่มุงเนนการเรียนการสอนใหเด็กสามารถคิดเชิง คำนวณ (Computational thinking) มีความพื้นฐานความรูดานเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital technology) และ มพี น้ื ฐานการรูเทาทนั สื่อและขาวสาร (Media and information literacy) ซงึ่ การเรียนวิชาการคำนวณ จะไม จำกัดอยูเพียงแคการคิดใหเหมือนคอมพิวเตอรเทานั้น และไมไดจำกัดอยูเพียงการคิดในศาสตรของนัก วิทยาการคอมพิวเตอร แตจะเปนกระบวนการความคิดเชิงวิเคราะหเพื่อนำมาใชแกปญหาของมนุษย โดยเปน การสั่งใหคอมพิวเตอรทำงานและชวยแกไขปญหาตามที่เราตองการไดอยางมีประสิทธิภาพ การจัดการเรียน การสอนวิชาวทิ ยาการคำนวณ มเี ปาหมายท่ีสำคัญในการพัฒนาผูเรยี นกลาวคอื เพ่ือใหผ ูเรียนมีความสามารถใช ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการคิดวิเคราะห แกปญหาอยางเปนขั้นตอนและเปนระบบ มีทักษะในการคนหา ขอ มลู หรือสารสนเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห สงั เคราะห และนำสารสนเทศไปใชในการแกปญหา สามารถ ประยุกตใ ชค วามรูดานวทิ ยาการคอมพวิ เตอร สอื่ ดิจทิ ลั เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการแกปญหา ในชีวิตจริง การทำงานรวมกันอยางสรางสรรคเพื่อประโยชนตอตนเองหรือสังคม และสามารถใชเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่อื สารอยา งปลอดภยั รเู ทาทนั มคี วามรับผดิ ชอบมีจรยิ ธรรม กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาไดจัดทำแผนนิเทศติดตามการจัดการเรียนรู วิทยาการคำนวณ ขึ้นเพื่อสงเสริมสนับสนุน และ นิเทศติดตามผลการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของ สถานศึกษาในสังกัด ใหเปนไปตามวัตถุประสงคสนองเปาหมายของยุทธศาสตรชาติและนโยบายของ กระทรวงศึกษาธกิ ารและสงผลตอผเู รียนอยา งเต็มศักยภาพ ขอขอบคุณคณะทำงานทุกทานที่มีสวนรวมในการสรุปรายงานผลการนิเทศติดตามการจัดการเรียนรู วิทยาการคำนวณ ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ในคร้ังนี้ จนประสบความสำเรจ็ บรรลตุ ามวัตถุประสงคแ ละสามารถนำไปใชใหเกิดประโยชนแ กสถานศึกษา ปรียา สงคป ระเสริฐ กลมุ นเิ ทศตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1

สารบญั บทท่ี หนา คำนำ 1 สารบัญ 1 2 บทที่ 1 บทนำ 2 ความเปน มา 2 วัตถปุ ระสงคของการนิเทศ 3 เปาหมายการนเิ ทศ 6 6 ประโยชนท ไ่ี ดร ับ 22 กระบวนการนิเทศ 47 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กยี่ วของ 48 เอกสารเกย่ี วกับการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ 48 49 เอกสารท่เี กย่ี วกับการนเิ ทศการศกึ ษา 53 53 กระบวนการนิเทศแบบ 3D&3Srr 54 55 บทท่ี 3 กระบวนการดำเนินงาน 57 เปา หมายการนิเทศ ขนั้ ตอนการดำเนินงาน เคร่ืองมือท่ีใชใ นการนเิ ทศติดตาม กระบวนการดำเนนิ งาน ภาพความสำเร็จ กระบวนการนิเทศ ปฏิทินการนเิ ทศ

บทท่ี หนา บทท่ี 4 ผลการนเิ ทศ 59 ระยะที่ 1 ผลการศกึ ษาสภาพปจจุบัน ปญ หาและความตองการและ เตรยี มความพรอ มเพ่ือการนิเทศติดตามการจดั การเรยี นรู วิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ท่ี การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 59 ระยะที่ 2 ผลการพฒั นาและยกระดับการจัดการเรียนรวู ทิ ยาการคำนวณของ โรงเรียนในสงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 63 ระยะที่ 3 ผลการนิเทศติดตามการการการจัดการเรียนรวู ทิ ยาการคำนวณ ของโรงเรียนในสงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราชเขต 1 65 ระยะท่ี 4 ผลการสรา งขวัญกำลงั ใจและ ชืน่ ชมผลงานการจัดการเรียนรู วิทยาการคำนวณ 70 บทที่ 5 สรปุ ผล และขอเสนอแนะ 71 สรุปผลการนิเทศติดตาม 71 74 ขอเสนอแนะเพือ่ พัฒนาการนเิ ทศ 78 79 บรรณานุกรม ภาคผนวก

สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา 1 ผลการศึกษาสภาพปจจุบันปญหาและความตองการในการจัดการเรียนรู 59 วิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรธี รรมราช เขต 1 60 64 2 ผลการสำรวจขอมูลการอบรมดานการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของครูผูสอน วทิ ยาการคำนวณ 3 ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเขาอบรมเพื่อพฒั นาทกั ษะการจดั การเรยี นรู วิทยาการคำนวณ ผานระบบการประชมุ ทางไกล Google Meet

1 บทที่ 1 บทนำ ความเปนมา ในป พ.ศ. 2551 กระทรวงศึกษาธิการประกาศใชห ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ซ่ึง กำหนดมาตรฐานการเรยี นรู ตวั ชีว้ ดั ชั้นป ตัวชวี้ ัดชว งชั้น และสาระการเรียนรูแกนกลาง ใหสถานศกึ ษา และทองถ่นิ นำไปใชเ ปน แนวทางในการจดั ทำหลกั สูตร โดยสาระเทคโนโลยี สารสนเทศและการ สื่อสาร เปนสาระที่ 3 ในกลมุ สาระการเรียนรูการงานอาชพี และเทคโนโลยี การจดั ทำตัวช้ีวัดชน้ั ปและ ตัวชว้ี ดั ชว งช้ันสำหรบั สาระนีไ้ ดน ำมาตรฐานการเรียนรูชว งชน้ั เดิม จากหลักสตู ร ป พ.ศ. 2544 มา พิจารณาและจัดแบง เนือ้ หาแตล ะช้ันป ตามความยากงายและ ศักยภาพของเด็กในแตละชวงวยั เนน ใหผ เู รยี นนำเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ไปประยุกตใชในชีวิตประจำวัน สามารถคน หา ขอ มลู และสรางชนิ้ งานไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพมีจรยิ ธรรม และมีความรูพนื้ ฐานดานการเขียนโปรแกรม เพอ่ื การศึกษาตอในระดบั ท่สี ูงข้ึน ซ่ึงสอดคลองกับสถานการณที่เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เร่ิมเขา มามบี ทบาทกับ การทำงานและการดำเนินชวี ิตประจำวันมากขนึ้ ปจ จบุ นั เศรษฐกจิ สงั คมโลก เปลยี่ นแปลงไปจากเดมิ มาก มกี ารนำเทคโนโลยีมาประยุกต ใชในชวี ิตประจำวนั และใชใ นดา น อุตสาหกรรมการผลติ การบริการ เพ่ือยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ใหด ขี ้นึ สงผลใหเ กดิ การเปล่ียนแปลงวถิ ี ชวี ติ สังคม มกี ารทำธรุ กรรมออนไลน การเขาถงึ ติดตอ ส่ือสาร นำเสนอขอมูลขาวสาร ผานสื่อตา ง ๆ สว นการพัฒนาดา นเทคโนโลยคี อมพิวเตอร และการสอ่ื สารก็ไดร บั การนำไปใชเ ปน เครื่องมือชว ยใน การทำงาน การศึกษา การเรียนรใู หมี ประสิทธิภาพและสะดวกสบายมากข้นึ เพ่ือการพัฒนาประเทศ ใหกา วทนั ตอการเปลยี่ นแปลงน้ี รัฐจงึ ไดวางนโยบาย ประเทศไทย 4.0 ทเี่ นน ขดี ความสามารถการ แขง ขนั ของประเทศ เปน โมเดลเศรษฐกจิ ทีจ่ ะนำพาประเทศไทย ใหเ ปล่ยี นผานไปสู “ประเทศในโลกที่ หน่ึง” ท่ีมคี วามมน่ั คง มัง่ คงั่ และยง่ั ยืน ในบริบทของ การปฏิวัตอิ ตุ สาหกรรมยคุ ท่ี 4 อยา งเปนรูปธรรม ตามแนวทางแผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป ดว ยการสรา งความเขมแข็งจากภายใน ควบคูไปกับการ เชือ่ มโยงกับประชาคมโลก ตามแนวคดิ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 ตระหนักและเห็นความสำคัญของการขับเคลื่อนการจัดการ เรียนรูวทิ ยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัด จึงไดจ ัดทำแผนปฏิบัติการนิเทศในการดำเนินการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของโรงเรียนในสังกัดประจำปงบประมาณ 2564 เพื่อ ยกระดับการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณของครูผูส อนใหมีศักยภาพสูงสดุ เพื่อการพัฒนาผูเ รียนให บรรลุเปา หมายการศึกษาตอ ไป

2 วตั ถุประสงคก ารนิเทศ 1. เพื่อสงเสริมสนับสนุน และยกระดับการจัดการเรียนการเรียนรูวิทยาการคำนวณของ โรงเรียน ในสังกดั สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 2. เพื่อนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ ของโรงเรียนใน สงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 3. เพื่อศึกษาผลการนิเทศติดตามการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ ของครูผูสอนในสังกัด สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 เปา หมายการนเิ ทศ เชงิ ปรมิ าณ 1. โรงเรียนในสงั กัดจำนวน 109 โรง ไดรบั การสง เสริมสนับสนนุ เพื่อยกระดับการจัดการ เรยี นรูวิทยาการคำนวณ 2. โรงเรียนในสังกัด 109 โรงไดร บั การนเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรยี นรวู ิทยาการคำนวณ 3. ครูผสู อนรอยละ 80 ท่ีไดรับการนิเทศสามารถจดั การเรียนรูว ทิ ยาการคำนวณไดเหมาะสม กบั บรบิ ทและระดับของผเู รยี น เชงิ คุณภาพ 1. ครูผูสอนมีความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณตาม หลักสตู ร 2. ครูผูสอนสามารถนำขอเสนอแนะจากการนิเทศไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน วิทยาการคำนวณไดต รงตามเปาหมายและบรรลตุ วั ช้ีวดั 3. ครูผูสอนมีความพึงพอใจตอการนิเทศติดตามการจัดการเรยี นรวู ิทยาการคำนวณ ประโยชนท ไี่ ดร บั 1) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 มีแผนการนิเทศ ติดตามดา น การจดั การเรยี นรูวทิ ยาการคำนวณ ทม่ี ีประสิทธภิ าพสามารถนำมาใชเ ปน เครือ่ งมอื ในการ ดำเนนิ การอยา งเปนระบบ 2) สถานศึกษาไดรับการนิเทศอยางทั่วถึง ตอเนื่อง เปนระบบ และสอดคลองกับสภาพ ปจ จุบนั ปญ หา และความตองการ 3) ครูสามารถจัดการเรียนรูตามแนวปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ไดอยางมี ประสิทธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธผิ ล

3 4) ผเู รียนมีความรู มที ักษะ และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคตามทห่ี ลกั สตู รกำหนด 5) ศกึ ษานเิ ทศก มกี รอบแนวทางในการปฏบิ ตั กิ ารนเิ ทศอยางเปนระบบ ครบวงจร ปจ จัยท่ีสงผลตอความสำเร็จ 1) บุคลากรในทุกระดับมีความรูความเขาใจในการดำเนินงาน และมีการจัดการความรู อยางเหมาะสม 2) มีการทำงานเปน ทีม และการมีสวนรวมในการดำเนนิ งานของทกุ ภาคสว น 3) มคี วามพรอมดานทรัพยากร (4M) 4) มกี ารดำเนินการแบบมงุ ผลสมั ฤทธ์ิ 5) มรี ะบบการตดิ ตามและประเมินผลการปฏิบตั ิงานท่ีเขม แขง็ 6) ความตอเน่อื งของการดำเนินงานแตล ะระดับ กระบวนการนิเทศ ในการพฒั นาและขบั เคลื่อนการจัดการเรยี นรูวิทยาการคำนวณของโรงเรยี นในสงั กัด สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 1 ผรู บั ผดิ ชอบไดใ ชก ระบวนการ นเิ ทศแบบ 3D&3Srr

4 กระบวนการนิเทศแบบ 3D&3Srr กระบวนการนิเทศแบบ 3D&3Srr มีขน้ั ตอนดงั น้ี ขั้นท่ี 1 การศกึ ษาสภาพปจจบุ ัน ปญหาและความตองการ (Data base study) ขน้ั ที่ 2 วางแผนออกแบบการนเิ ทศ (Design) ข้นั ที่ 3 การพฒั นาสรา งองคความรูและนำไปใช (Develop & Apply) ขนั้ ท่ี 4 การปฏบิ ัติการนเิ ทศ (Supervision) ขัน้ ท่ี 5 การแลกเปลย่ี นเรียนรูแ ละสรางเครือขา ย (Show & Share) ขัน้ ที่ 6 การประเมินผล (Summative Assessment) ขนั้ ที่ 7 การรายงานผลและสะทอนผล (Report & Reflex)

บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กย่ี วขอ ง การจัดทำแผนพัฒนานเิ ทศติดตามการดำเนนิ การประกันคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ในสงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 1 มีเอกสารและสารสนเทศที่ เกยี่ วของดังน้ี 1. เอกสารเกีย่ วกับการจดั การเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ 2. เอกสารท่ีเก่ียวขอ งกบั การนเิ ทศการศึกษา 3. กระบวนการนิเทศแบบ 3D&3Srr 1. เอกสารเกย่ี วกับการจัดการเรยี นรูว ิทยาการคำนวณ 1.1 เปาหมายของหลักสตู ร การจดั การเรยี นการสอนวชิ าวิทยาการคำนวณ มีเปาหมายทสี่ ำคัญในการพัฒนาผเู รียน ดังน้ี 1. เพื่อใชทักษะการคิดเชิงคำนวณในการคิดวเิ คราะห แกปญหาอยางเปนขั้นตอนและ เปน ระบบ 2. เพือ่ ใหมีทักษะในการคน หาขอ มูลหรือสารสนเทศ ประเมิน จดั การ วเิ คราะห สังเคราะห และนำสารสนเทศไปใชใ นการแกป ญหา 3. เพ่อื ประยุกตใชความรูดา นวทิ ยาการคอมพวิ เตอร ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสาร ในการแกปญ หาในชีวติ จริง การทำงานรวมกันอยา งสรางสรรคเ พอ่ื ประโยชน ตอ ตนเอง หรอื สงั คม 4. เพื่อใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารอยางปลอดภยั รเู ทาทนั มคี วามรับผดิ ชอบ มี จริยธรรม 1.2 สาระการเรียนรเู ทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) สาระการเรยี นรูเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) มงุ หวงั ใหผ เู รยี นไดเรียนรูและมีทกั ษะ การคิด เชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห แกปญหาเปนขั้นตอนและเปนระบบ ประยุกตใชความรู ดานวิทยาการ คอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการแกปญหาที่พบในชีวิตจริง ไดอยางมี ประสิทธภิ าพ โดยไดก ำหนดสาระสำคญั ดังนี้ วิทยาการคอมพิวเตอร การแกปญหาอยางเปนขั้นตอนและเปนระบบการใชแนวคิดเชิง คำนวณในการแกป ญ หาในชวี ิตประจำวัน การบูรณาการกบั วชิ าอ่นื การเขียนโปรแกรม การคาดการณ

6 ผลลัพธ การตรวจหาขอผิดพลาด การพัฒนาแอปพลิเคชันหรือพัฒนาโครงงาน อยางสรางสรรคเพ่ือ แกป ญหาในชวี ติ จรงิ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การรวบรวมขอมูล การประมวลผล การประเมินผล การนำเสนอขอมูลหรือสารสนเทศเพื่อแกปญหาในชีวิตจริง การคนหาขอมูลและแสวงหา ความรูบน อินเทอรเน็ต การประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล การเลือกใชซอฟตแวรหรือ บริการบน อินเทอรเน็ต ขอตกลงและขอกำหนดในการใชสื่อหรือแหลงขอมูลตาง ๆ หลักการ ทำงานของ คอมพิวเตอรแ ละเทคโนโลยกี ารส่ือสาร การรูดิจิทัล การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางปลอดภัย การจัดการ อัต ลักษณ การรูเทาทันสื่อ กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร การใชลิขสิทธิ์ของผูอื่นโดยชอบธรรม นวัตกรรมและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตอการดำเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม 1.3 มาตรฐานการเรยี นรู วิชาเทค โนโลยี (วิว 4.2 เขาใจ และใชแนวคิดเชิงคำนวณในการแกปญหาที่พบในชีวิตจริงอยางเปนขั้นตอน และเปน ระบบ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรูการทำงาน และการแกปญหา ได อยา งมปี ระสิทธิภาพ รูเทา ทัน และมีจริยธรรม ท 1.4 โครงสรา งเวลาเรียน สถานศึกษาสามารถนำหลักสูตรนี้ไปจัดการเรียนรู โดยกำหนดจำนวนชั่วโมงไดตาม ความเหมาะสม และความพรอมของสถานศึกษา ทั้งนี้เพื่อใหผูเรียนไดมีเวลาในการศึกษาเนื้อหา ฝกทักษะและสราง ประสบการณในการเรียนรอู ยา งเพยี งพอ จนสามารถบรรลตุ ัวช้ีวัดตามเปาหมาย ของหลกั สตู ร ควรจัด จำนวนชว่ั โมงขัน้ ต่ำ ดังนี้ ชว งชนั้ เวลาเรียนจำนวนช่วั โมงตอป 1 20 2 40 3 40 4 40 *หมายเหตุ สามารถเพิม่ หรือลดจำนวนช่ัวโมงจากทแ่ี นะนำไดต ามจุดเนน และบรบิ ทของสถานศกึ ษา

7 1.5 คณุ ภาพผเู รียน จบชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 3 แกป ญหาอยางงายโดยใชข ัน้ ตอนการแกป ญหา มที ักษะในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสารเบ้ืองตน รักษาขอมลู สว นตัว จบช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 คนหาขอมูลอยา งมปี ระสิทธิภาพและประเมินความนา เชื่อถือ ตดั สนิ ใจเลอื กขอมูล ใชเหตผุ ล เชงิ ตรรกะในการแกป ญหา ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการทำงาน รว มกนั เขา ใจสิทธิ และหนาทีข่ องตน เคารพสิทธิของผูอ่นื จบช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 นำขอมูลปฐมภมู ิเขาสูร ะบบคอมพิวเตอร วิเคราะห ประเมิน นำเสนอขอมูลและ สารสนเทศ ไดต ามวัตถุประสงค ใชทักษะการคิดเชงิ คำนวณในการแกปญหาที่พบในชวี ติ จรงิ และเขียนโปรแกรม อยางงาย เพ่อื ชวยในการแกปญหา ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สอ่ื สารอยา งรูเทาทันและ รับผิดชอบตอสังคมกาการ จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ใชความรูทางดานวิทยาการคอมพิวติ้ง สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อ รวบรวมขอมลู ในชวี ิตจรงิ จากแหลงตาง ๆ และความรูจากศาสตรอืน่ มาประยุกตใช สรางความรูใหม เขาใจการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลตอการดำเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใชอยาง ปลอดภยั มจี รยิ ธรรม 1.6 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู สาระการเรียนรู ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 -การแกป ญ หาใหป ระสบความสำเรจ็ ทำไดโ ดย ใชข นั้ ตอนการแกป ญหา ตัวชว้ี ดั -ปญ หาอยา งงา ย เชน เกมเขาวงกต เกมหาจุด 1) แกป ญหาอยา งงายโดยใช แตกตา ง ของภาพ การจัดหนังสือใสก ระเปา การลองผดิ ลองถูก การเปรียบเทยี บ -การแสดงขัน้ ตอนการแกป ญหาทำไดโดยการ 2) แสดงลำดับข้นั ตอนการทำงาน เขยี น บอกเลา วาดภาพ หรือใชสญั ลกั ษณ หรือการแกปญหาอยา งงา ย -ปญ หาอยางงา ย เชน เกมเขาวงกต เกมหาจดุ โดยใชภ าพ สญั ลกั ษณ หรือ แตกตา ง ของภาพ การจัดหนังสอื ใสก ระเปา ขอความ

ตวั ชวี้ ัด 8 3) เขียนโปรแกรมอยา งงาย โดยใชซ อฟตแ วรห รือส่อื สาระการเรยี นรู -การเขียนโปรแกรมเปนการสรางลำดบั ของ 4) ใชเทคโนโลยใี นการสราง คำส่งั ให คอมพิวเตอรท ำงาน จดั เกบ็ เรียกใชขอมูล -ตวั อยางโปรแกรม เชน เขียนโปรแกรมส่งั ใหต ัว ตามวัตถปุ ระสงค ละครยา ยตำแหนง ยอขยายขนาด เปลย่ี น รปู ราง 5) ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ -ซอฟตแวรหรอื สอ่ื ที่ใชใ นการเขียนโปรแกรม อยางปลอดภยั ปฏิบตั ติ าม เชน ใชบัตรคำสัง่ แสดงการเขียนโปรแกรม ขอ ตกลงในการใชคอมพวิ เตอร Code.org รวมกัน ดูแลรักษาอุปกรณ -การใชง านอปุ กรณเทคโนโลยเี บื้องตน เชน การ เบอื้ งตน ใชงานอยางเหมาะสม ใชเมาส คยี บอรด จอสัมผัส การเปด-ปด อุปกรณเทคโนโลยี -การใชง านซอฟตแ วรเ บื้องตน เชน การเขา และ ออกจาก โปรแกรม การสรา งไฟล การจดั เกบ็ การเรยี กใชไฟล ทำไดใ นโปรแกรม เชน โปรแกรมประมวลคำ โปรแกรมกราฟก โปรแกรมนำเสนอ -การสรา งและจัดเกบ็ ไฟลอยา งเปน ระบบจะทำ ใหเรียกใช คน หาขอมลู ไดง า ยและรวดเรว็ -การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย เชน รจู กั ขอ มลู สวนตวั อันตรายจากการ เผยแพรข อมลู สว นตวั และไมบอกขอ มลู สว นตัว กบั บุคคลอ่นื ยกเวนผปู กครอง หรือครู แจง ผเู ก่ียวขอ งเม่อื ตองการความชวยเหลือ เกย่ี วกบั การใชง าน -ขอ ปฏิบตั ิในการใชงานและการดูแลรกั ษา อุปกรณ เชน ไมขดี เขียนบนอุปกรณ ทำความ สะอาด ใชอปุ กรณ อยา งถกู วิธี -การใชง านอยา งเหมาะสม เชน จัดทาน่ังให ถูกตอง การพักสายตาเม่ือใชอ ุปกรณเปน เวลานาน ระมัดระวัง อุบตั ิเหตุจากการใชง าน

9 ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 2 ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู ๑.แสดงลำดับข้นั ตอนตอนการทำงาน -การแสดงขน้ั ตอนการแกปญ หาทำไดโ ดยการเขียน บอกเลา หรือการแกปญ หาอยา งงา ย โดยใชภ าพ วาดภาพ หรือใชสัญลักษณ สัญลกั ษณ หรือขอ ความ -ปญ หาอยางงาย เชน เกมตวั ตอ 6 - 12 ช้ิน การแตง ตวั มา โรงเรยี น ๒.เขยี นโปรแกรมอยา งงาย โดยใช -ตวั อยางโปรแกรม เชน เขยี นโปรแกรมสั่งใหตัวละคร ซอฟตแวรหรอื สอ่ื และตรวจหา ทำงานตามท่ีตอ งการ และตรวจสอบขอผดิ พลาดปรับแกไ ข ขอ ผดิ พลาด ของโปรแกรม ใหไดผลลพั ธตามท่ีกำหนด -การตรวจหาขอผดิ พลาดทำไดโ ดยตรวจสอบคำส่ังทแ่ี จง ขอผดิ พลาด หรอื หากผลลพั ธไมเปน ไปตามที่ตองการ ให ตรวจสอบการทำงานทีละคำสั่ง -ซอฟตแวรหรือส่อื ที่ใชใ นการเขียนโปรแกรม เชนใชบ ตั ร คำสั่งแสดงการเขยี นโปรแกรม Code.org ๓.ใชเทคโนโลยีในการสราง จดั หมวดหมู -การใชง านซอฟตแวรเ บ้ืองตน เชน การเขา และออกจาก คน หาจัดเกบ็ เรียกใชข อ มูล ตาม โปรแกรม การสรา งไฟล การจัดเก็บการเรยี กใชไฟลการ วัตถปุ ระสงค แกไขตกแตงเอกสาร ทำไดในโปรแกรม เชน โปรแกรม ประมวลคำ โปรแกรมกราฟก โปรแกรมนำเสนอ -การสรา ง คัดลอก ยาย ลบ เปลีย่ นชือ่ จดั หมวดหมูไฟล และโฟลเดอรอยางเปน ระบบจะทำใหเ รยี กใช คนหาขอมลู ไดงา ยและรวดเรว็ ๔.ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ อยาง -การการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา งปลอดภยั เชน รูจ กั ปลอดภยั ปฏิบตั ิตาม ขอ ตกลงในการใช ขอมลู สวนตัว อันตรายจากการเผยแพรขอมูลสวนตวั และไม คอมพวิ เตอรรวมกัน ดแู ลรกั ษาอุปกรณ บอ ก ขอมูลสว นตวั กบั บุคคลอ่ืนยกเวน ผปู กครองหรอื ครู เบ้ืองตน ใชง านอยา ง เหมาะสม แจงขอมูลผูเกีย่ วของเมื่อตองการความชว ยเหลือเกย่ี วกับ การใชงาน -ขอปฏิบัตใิ นการใชงานและการดแู ลรักษาอุปกรณ เชน ไม ขดี เขียนบนอปุ กรณ ทำความสะอาดใชอุปกรณอยา งถูกวธิ ี -การใชงานอยางเหมาะสม เชนจัดทานงั่ ใหถ ูกตองการพัก สายตาเมื่อใชอปุ กรณเ ปน เวลานาน ระมดั ระวงั อบุ ัตเิ หตุ จากการใชง าน

10 ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ สาระการเรียนรู ตวั ช้ีวัด -อลั กอริทมึ เปน ขั้นตอนทใี่ ชใ นการแกปญหา -การแสดงอลั กอริทึมทำไดโ ดยการเขยี น บอกเลา วาดภาพ ๑.แสดงอลั กอริทมึ ในการทำงาน หรือ หรอื ใชสัญลักษณ การแกป ญหาอยางงาย โดยใชภ าพ -ตัวอยา งปญหา เชน เกมเศรษฐี เกมบันไดงู เกม Tetris สัญลกั ษณ หรือ ขอความ เกม OX การเดนไิ ปโรงอาหาร การทำความสะอาดหอ งเรียน ๒.เขยี นโปรแกรมอยา งงา ย โดยใช -การเขยี นโปรแกรมเปน การสรา งลำดบั ของคำสงั่ ให ซอฟตแ วรหรือส่ือและตรวจหา คอมพิวเตอรทำงาน ขอ ผดิ พลาด ของโปรแกรม -ตัวอยา งโปรแกรม เชน เขียนโปรแกรมทส่ี ่ังใหตวั ละคร ทำงานซำ้ ไมส ้ินสดุ ๓.ใชอนิ เทอรเน็ตคนหาความรู -การตรวจหาขอผดิ พลาดทำไดโดยตรวจสอบคำสัง่ ที่แจง ขอ ผดิ พลาด หรือหากผลลพั ธไมเปน ไปตามทีต่ องการให ตรวจสอบการทำงานทลี ะคำสั่ง -ซอฟตแวรห รอื สอื่ ที่ใชในการเขียนโปรแกรม เชน ใชบตั ร คำส่ังแสดงการเขยี นโปรแกรม Code.org -อินเตอรเ นต็ เปนเครือขา ยขนาดใหญ ชว ยใหก าร ตดิ ตอ ส่ือสารทำไดสะดวกและรวดเร็ว เปนแหลงขอ มูล ความรทู ่ีชว ย ในการเรียนและการดำเนนิ ชวี ติ -เว็บเบราวเซอรเ ปนโปรแกรมสำหรบั อานเอกสาร บนเวบ็ เพจ -การสบื คน ขอมูลบนอินเตอรเนต็ ทำไดโดยใชเ วบ็ ไซตส ำหรับ สบื คนและตองกำหนดคำคนทเ่ี หมาะสมจงึ จะไดข อมูล ตามตองการ -ขอมูลความรู เชน วธิ ที ำอาหาร วธิ พี ับกระดาษเปนรปู ตา งๆขอมูลประวตั ิศาสตรชาติไทย(อาจเปนความรูในวิชา อื่นๆหรือเร่ืองที่เปนประเด็นที่สนใจในชว งเวลาน้ัน) -การใชอินเตอรเน็ตอยางปลอดภยั ควรอยใู นการดูแลของครู หรือผูป กครอง

11 ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู ๔.รวบรวม ประมวลผล และ นำเสนอ -การรวบรวมขอ มูลทำไดโ ดยกำหนดหัวขอทต่ี องการ เตรยี ม ขอมูล โดยใช ซอฟตแ วรตาม อุปกรณในการจดบนั ทกึ วตั ถปุ ระสงค -การประมวลผลอยา งงาย เชนเปรยี บเทียบ จัดกลุม เรียงลำดับ -การนำเสนอขอมูลทำไดหลายลกั ษณะตามความเหมาะสม เชน การบอกเลา การทำเอกสารรายงาน การจัดทำปา ย ประกาศ -การใชซ อฟแวรทำงานตามวัตถปุ ระสงค เชนใชซ อฟแวร นำเสนอหรอื ซอฟตแวรกราฟกสรา งแผนภมู ริ ปู ภาพ ใช ซอฟตแ วรป ระมวลคำทำปายประกาศหรอื เอกสารรายงาน ใชซ อฟตแวรต ารางทำงานในการประมวลผลขอมลู ๕.ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ อยาง -การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภัย เชนปกปอง ปลอดภยั ปฏบิ ตั ิ ตามขอตกลงใน ขอมูลสว นตัว การใช อนิ เทอรเ น็ต -ขอความชว ยเหลอื จากครูหรือผูปกครองเม่ือเกิดปญ หาจาก การใชงาน เม่ือพบขอ มูลหรอื บุคคลที่ทำใหไ มส บายใจ -การปฏิบตั ติ ามขอตกลงในการใชอินเทอรเน็ตจะทำให ไม เกิดความเสียหายตอตนเองและผูอ่ืน เชน ไมใ ชค ำหยาบ ลอ เลียน ดา ทอ ทำใหผอู ่นื เสียหายหรือเสียใจ -ขอ ดแี ละขอเสยี ในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร

12 ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 4 ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรู ๑.ใชเ หตผุ ลเชิงตรรกะในการ แกป ญ หา -การใชเหตผุ ลเชิงตรรกะเปน การนำกฎเกณฑ หรือเงอื่ นไขท่ี การอธบิ าย การทำงาน การคาดการณ ครอบคลุมทุกกรณีมาใชพิจารณาในการแกปญหา ผลลพั ธจ ากปญหาอยางงาย การอธบิ ายการทำงาน หรือการคาดการณผ ลลพั ธ -สถานะเริ่มตนของการทำงานทแี่ ตกตา งกนั จะใหผลลัพธท ่ี ๒.ออกแบบและเขียนโปรแกรม อยาง แตกตา งกัน งาย โดยใชซอฟตแวร หรือสือ่ และ -ตัวอยา งปญหา เชน เกม OX โปรแกรมทีม่ ีการคำนวณ ตรวจหา ขอผดิ พลาดและแกไข โปรแกรมทมี่ ีตวั ละครหลายตัวและมกี ารส่ังงานท่แี ตกตาง หรอื มกี ารสื่อสารระหวา งกันการเดนิ ทางไปโรงเรยี นโดย ๓.ใชอินเทอรเ น็ตคนหาความรู และ วิธกี ารตา งๆ ประเมนิ ความนาเชอื่ ถือ ของขอมลู -การออกแบบโปรแกรมอยางงาย เชน การออกแบบโดย ใชs toryboard หรือการออกแบบอลั กอรทิ ึม -การเขียนโปรแกรมเปนการสรางลำดับของคำสัง่ ให คอมพวิ เตอร ทำงานเพือ่ ใหไ ดผลลพั ธต ามตองการการหาก มขี อผิดพลาด ใหตรวจสอบการทำงานทลี ะคำสงั่ เมื่อพบจุด ท่ีทำใหผ ลลพั ธ ไมถูกตอง ใหท ำการแกไขจนกวา จะได ผลลัพธทถี่ ูกตอง -ตัวอยา งโปรแกรมทมี่ ีเร่ืองราว เชน นิทานทม่ี กี ารโตตอบกบั ผูใชการตนู สั้นเลากจิ วตั รประจำวันภาพเคลอ่ื นไหว -การฝกตรวจหาขอ ผดิ พลาดจากโปรแกรมของผูอื่นจะชวย พัฒนาทกั ษะการหาสาเหตุของปญ หาไดด ยี ิ่งขึน้ -ซอฟตแวรท่ีใชใ นการเขยี นโปรแกรม เชน Scratch, logo -การใชค ำคนทีต่ รงประเดน็ กระชบั จะทำใหไดผลลัพธที่ รวดเร็วและตรงตามความตอ งการ - การประเมินความหนา ทเี่ ชื่อถอื ของขอมูล เชน พิจารณา ประเภทของเว็บไซต( หนวยงานราชการ สำนักขาว องคกร) ผเู ขียน วันทเ่ี ผยแพรข อมูลการอา งอิง

13 ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู -เม่อื ไดขอ มูลที่ตองการจากเว็บไซตต างๆจะตองนำเน้ือหา มาพจิ ารณา เปรียบเทยี บ แลว เลือกขอมลู ที่มคี วาม สอดคลอง และสมั พนั ธกนั -การทำรายงานหรือการนำเสนอขอมลู จะตองนำขอมลู มา เรยี บเรียงสรุป เปนภาษาของตนเองทเี่ หมาะสมกับกลุม เปาหมายและวธิ ีการนำเสนอ (บรูณาการกบั วชิ าภาษาไทย) ๔.รวบรวม ประเมิน นำเสนอ ขอ มูลและ -การรวบรวมขอมูลทำไดโ ดยกำหนดหัวขอท่ีตอ งการ เตรยี ม อุปกรณในการจดบันทึก สารสนเทศโดย ใชซ อฟตแ วรท่ี -การประมวลผลอยา งงา ยเชน เปรยี บเทยี บ จดั กลมุ หลากหลาย เพ่อื แกปญ หาในชีวิต เรยี งลำดบั การหาผลรวม ประจำวัน -วเิ คราะหผลและสรา งทางเลือกท่เี ปน ไปได ประเมนิ ทางเลอื ก (เปรยี บเทยี บ ตัดสิน) -การนำเสนอขอมลู ทำไดหลายลกั ษณะตามความเหมาะสม เชน การบอกเลา เอกสารรายงานโปสเตอร โปรแกรมนำเสนอ -การใชซ อฟตแวรเพือ่ แกปญ หาในชีวติ ประจำวนั เชน การ สำรวจเมนูอาหารกลางวันโดยใชซอฟตแวรสราง แบบสอบถาม และเกบ็ ขอมลู ใชซอฟตแวรต ารางทำงาน เพือ่ ประมวลผล ขอ มลู รวบรวมขอ มูลเก่ยี วกับคุณคา ทาง โภชนาการและสราง รายการอาหารสำหรบั 5 วนั ใช ซอฟตแ วร นำเสนอผลการสำรวจรายการอาหารท่เี ปนทางเลอื ก และ ขอ มูลดานโภชนาการ ๕.ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ อยาง -การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา งปลอดภัย เขาใจสิทธแิ ละ ปลอดภัย เขา ใจสิทธิ และหนา ท่ี หนาทีข่ องตน เคารพในสิทธขิ องผอู น่ื เชน ไมสรา งขอความ ของตน เคารพใน สทิ ธิของผูอ่ืนแจง เท็จและสงใหผูอืน่ ไมสรางความเดือดรอนตอผูอืน่ โดยการ ผเู กยี่ วขอ ง เมื่อพบขอมูลหรือบคุ คล ที่ สงสแปม ขอ ความลกู โซ สงตอโพสตท ม่ี ีขอมลู สวนตวั ของ ไมเหมาะสม ผอู น่ื สงคำเชิญเลน เกม ไมเ ขาถึงขอมูลสว นตวั หรอื การบาน ของบุคคลอ่ืนโดยไมไดร ับอนุญาต ไมใ ชเครอ่ื งคอมพวิ เตอร/ ชือ่ บัญชขี องผูอืน่ -การสอื่ สารอยา งมีมารยาทและรูกาลเทศะ -การปกปองขอมูลสวนตัว เชน การออกจากระบบ เม่ือเลกิ ใชงานไมบ อกรหัสผาน ไมบอกเลขประจำตวั ประชาชน

14 ชั้นประถมศึกษาปท ่ี 5 ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู ๑.ใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา -การใชเ หตุผลเชงิ ตรรกะเปน การนำกฎเกณฑ หรือเงอื่ นไขที่ การอธิบาย การทำงาน การคาดการณ ครอบคลุมทกุ กรณีมาใชพจิ ารณาในการแกปญหา ผลลัพธจากปญหาอยางงา ย การอธิบายการทำงาน หรือการคาดการณผลลัพธ -สถานะเรม่ิ ตน ของการทำงานที่แตกตางกันจะใหผลลัพธท ่ี ๒.ออกแบบและเขยี นโปรแกรม ทม่ี กี าร แตกตา งกนั ใชเหตผุ ลเชงิ ตรรกะ อยา งงา ยตรวจหา -ตัวอยางปญ หา เชน เกม Sudoku โปรแกรมทำนายตัวเลข ขอ ผดิ พลาด และแกไข โปรแกรมสรา งรูปเรขาคณิตตามคาขอมูลเขา การจัดลำดบั การทำงานบานในชวงวันหยดุ จดั วางของในครัว ๓.ใชอนิ เทอรเ น็ตคนหาขอมลู ติดตอ ส่ือสารและทำงาน รวมกนั -การออกแบบโปรแกรมสามารถทำไดโ ดยเขยี นเปนขอความ ประเมินความ นา เชื่อถือของขอ มลู หรอื ผงั งาน -การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการตรวจสอบเงื่อนไข ทค่ี รอบคลุมทุกกรณีเพ่ือใหไดผลลพั ธทถี่ กู ตองตรงตาม ความตองการ -หากมขี อผดิ พลาดใหตรวจสอบการทำงานทลี ะคำสงั่ เม่ือ พบจุดที่ทำใหผ ลลัพธไ มถูกตอง ใหทำการแกไ ขจนกวา จะไดผลลัพธที่ถกู ตอง -การฝกตรวจหาขอผิดพลาดจากโปรแกรมของผูอืน่ จะชว ย พฒั นาทกั ษะการหาสาเหตุของปญหาไดด ียิ่งขึ้น -ตวั อยา งโปรแกรม เชน โปรแกรมตรวจสอบเลขคเู ลขคี่ โปรแกรมรบั ขอมลู น้ำหนกั หรือสวนสงู แลว แสดงผลความสม สว นของรา งกาย โปรแกรมสง ใหตัวละครทำตามเงื่อนไขที่ กำหนด -ซอฟตแวรท ่ใี ชใ นการเขยี นโปรแกรม เชน Scratch,logo -การคน หาขอมลู ในอินเทอรเ นต็ และการพิจารณาผลการ คนหา -การตดิ ตอสื่อสารผา นอินเทอรเนต็ เชน อีเมล บล็อก โปรแกรมสนทนา -การเขียนจดหมาย(บรู ณาการกับวิชาภาษาไทย)

15 ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู -การใชอินเทอรเ นต็ ในการตดิ ตอ ส่อื สารและทำงานรว มกัน เชน ใชนัดหมายในการประชุมกลุมประชาสมั พันธกิจกรรม ในหองเรยี น การแลกเปลีย่ นเรียนรูค วามคิดเห็นในการเรยี น ภายใตการดแู ลของครู -การประเมนิ ความนาเชอื่ ถอื ของขอมูล เชน เปรียบเทียบ ความสอดคลองสมบูรณของขอมลู จากหลาย แหลง แหลงตนตอของขอ มลู ผูเขยี น วนั ทเ่ี ผยแพรขอมลู -ขอ มูลท่ีดีตองมรี ายละเอยี ดครบทกุ ดาน เชน ขอ ดี และ ขอ เสยี ประโยชนแ ละโทษ ๔.รวบรวม ประเมนิ นำเสนอ ขอ มลู และ -การรวบรวมขอมูล ประมวลผล สรางทางเลอื ก ประเมินผล สารสนเทศ จะทำใหไดส ารสนเทศเพื่อใชในการแกปญหาหรอื การ ตามวัตถปุ ระสงคโดยใช ซอฟตแวรห รือ ตดั สนิ ใจ ไดอยา งมีประสิทธภิ าพ บรกิ ารบน อินเทอรเน็ตท่หี ลากหลาย -การใชซอฟตแวร หรือบริการบนอินเทอรเ น็ตหลากหลาย เพื่อแกปญหาในชวี ติ ประจำวัน ใน การรวบรวมประมวลผล สรา งทางเลอื ก ประเมินผล นำเสนอจะชว ยใหก ารแกปญ หาทำไดง ายและรวดเร็ว ถูกตองและแมน ยำ -ตวั อยางปญหา เชน ถา ยภาพและสำรวจแผนทใ่ี นทอ งถิ่น เพ่อื นำเสนอแนวทางในการจัดการพ้นื ท่ีวางใหเกิดประโยชน ทำแบบสำรวจความคิดเห็นออนไลน และวเิ คราะหขอ มูล นำเสนอขอมูลโดยการใช Blog หรอื webpage ๕.ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ อยาง -อันตรายจากการใชง านและอาชญากรรมทางอินเทอรเ นต็ - ปลอดภยั มมี ารยาทเขา ใจสทิ ธแิ ละ -มารยาทในการตดิ ตอสื่อสารผานอนิ เทอรเ นต็ (บรู ณาการ หนาท่ขี องตน เคารพในสทิ ธขิ องผอู ่นื กบั วชิ าท่เี กีย่ วของ) แจง ผูเกยี่ วของเมื่อพบขอ มลู หรือบุคคล ทไี่ มเ หมาะสม

16 ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรู ๑.ใชเ หตผุ ลเชิงตรรกะในการแกปญ หา -การใชเ หตุผลเชิงตรรกะเปน การนำกฎเกณฑ หรือ การอธบิ าย การทำงาน การคาดการณ เงือ่ นไขท่ีครอบคลุมทุกกรณีมาใชพ จิ ารณาในการ ผลลพั ธจากปญหาอยา งงาย แกปญ หา -การอธบิ ายการทำงาน หรอื การคาดการณผลลพั ธ ๒.ออกแบบและเขียนโปรแกรม อยางงาย สถานะเริม่ ตน ของการทำงานทแ่ี ตกตางกนั จะให เพื่อแกป ญ หาใน ชีวิตประจำวนั ตรวจหา ผลลพั ธที่ แตกตา งกนั ขอ ผดิ พลาดของโปรแกรม และแกไข -ตวั อยา งปญหา เชน เกม Sudoku โปรแกรมทำนาย ตวั เลข โปรแกรมสรา งรูปเรขาคณติ ตามคา ขอมลู เขาการ จดั ลำดบั การทำงานบานในชวงวนั หยดุ จัดวางของ ในครวั -การออกแบบโปรแกรมสามารถทำไดโ ดยเขียนเปน ขอความ หรอื ผังงาน -การออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ีมีการใชตวั แปร การวนซำ้ การตรวจสอบเง่ือนไข -หากมขี อผิดพลาดใหต รวจสอบการทำงานทีละคำสง่ั เม่อื พบจุดทท่ี ำใหผ ลลัพธไมถูกตอง ใหทำการแกไข จนกวาจะได ผลลัพธท ี่ถูกตอง -การฝก ตรวจหาขอผดิ พลาดจากโปรแกรมของผูอน่ื จะชวย พัฒนาทกั ษะการหาสาเหตุของปญหาไดดี ย่ิงข้ึน -ตัวอยางปญ หาเชน โปรแกรมเกม โปรแกรมหาคา ค.ร.น เกมฝก พิมพ -ซอฟตแวรท ใี่ ชใ นการเขยี นโปรแกรมเชน Scratch, logo

17 ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู ๓.ใชอ ินเทอรเ น็ตในการคน หา ขอมลู อยา ง -การคนหาอยางมีประสทิ ธิภาพ เปนการคนหาขอมลู มีประสทิ ธิภาพ ทไ่ี ดต รงความตองการในเวลารวดเร็ว จาก แหลง ขอ มลู ท่ีนา เชื่อถือหลายแหลง และขอมลู มี ความสอดคลองกัน -การใชเ ทคนคิ การคน หาข้นั สูงเชน การใชต ัว ดำเนนิ การ การระบุรปู แบบของขอมลู หรือชนิดของไฟล -การจัดลำดับการคน หาของโปรแกรมคน หา -การเรยี บเรียงสรปุ สาระสำคัญ(บูรณาการกับวิชา ภาษาไทย) ๔.ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทำงานรวมกัน -อันตรายจากการใชง านและอาชญากรรมทาง อยางปลอดภยั เขาใจสทิ ธิและหนา ทีข่ อง อนิ เทอรเน็ตแนวทางในการปองกนั ตนเคารพในสิทธิของผูอืน่ แจงผเู ก่ยี วขอ ง -วิธกี ำหนดรหัสผาน เมื่อพบขอมลู หรอื บุคคลท่ีไมเ หมาะสม -การกำหนดสิทธิก์ ารใชงาน(สิทธใิ์ นการเขาถึง) -แนวทางการตรวจสอบและปองกนั มลั แวร -อันตรายจากการตดิ ตง้ั ซอฟตแวรทอี่ ยบู น อินเทอรเ นต็ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู ๑.ออกแบบอัลกอริทึมทใ่ี ช แนวคดิ เชิง -แนวคิดเชิงนามธรรม เปนการประเมนิ ความสำคัญ นามธรรม เพื่อแกปญหาหรอื อธบิ าย การ ของ รายละเอียดของปญ หา แยกแยะสวนทเี่ ปน ทำงานที่พบในชีวิตจรงิ สาระสำคัญ ออกจากสว นทไี่ มใชสาระสำคญั -ตัวอยา งปญ หา เชน ตอ งการปูหญาในสนามตาม พน้ื ที่ ท่ีกำหนด โดยหญาหนงึ่ ผนื ขนาดความกวา ง 50 เซนติเมตร ยาว 50 เซนติเมตร จะใชหญา ทงั้ หมดกี่ผนื

18 ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู ๒.ออกแบบและเขยี นโปรแกรม อยางงา ย -การออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีมีการใชต ัวแปร เพ่อื แกป ญหาทาง คณิตศาสตรหรอื เงอ่ื นไขวนซ้ำ วิทยาศาสตร -การออกแบบอลั กอริทึมเพ่ือแกปญ หาทาง คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตรอยางงา ย อาจใชแ นวคิด เชงิ นามธรรมในการ ออกแบบเพื่อใหก ารแกปญ หา มปี ระสทิ ธิภาพ -การแกป ญ หาอยางเปนขั้นตอนจะชว ยใหแกปญ หา ไดอยา ง มปี ระสิทธิภาพ -ซอฟตแวรท ใ่ี ชในการเขียนโปรแกรม เชน Scratch, python, java, c -ตวั อยา งโปรแกรม เชน โปรแกรมสมการการ เคลือ่ นทีโ่ ปรแกรมคำนวณหาพืน้ ท่ี โปรแกรม คำนวณดชั นีมวลกาย ๓.รวบรวมขอมลู ปฐมภมู ิ ประมวลผล -การรวบรวมขอ มลู จากแหลงขอมูลปฐมภูมิ ประเมินผลนำเสนอขอ มลู และสารสนเทศ ประมวลผลสรางทางเลือก ประเมนิ ผล จะ ตามวตั ถุประสงคโ ดยใช ซอฟตแวรห รอื ทำใหไ ดส ารสนเทศเพ่ือ ใชใ นการแกปญหาหรือการ บรกิ ารบน อินเทอรเนต็ ทหี่ ลากหลาย ตัดสนิ ใจไดอยา งมีประสิทธิภาพ -การประมวลผลเปน การกระทำกับขอมูลเพื่อใหไ ด ผลลพั ธ ท่มี คี วามหมายและมีประโยชนต อ การ นำไปใชง านสามารถทำไดหลายวธิ ี เชน คำนวณ อตั ราสวน คำนวณคาเฉลย่ี -การใชซอฟตแ วรหรอื บริการบนอนิ เทอรเนต็ ท่ี หลากหลาย ในการรวบรวม ประมวลผล สราง ทางเลอื ก ประเมนิ ผลนำเสนอ จะชวย ใหแ กป ญหาไดอยางรวดเรว็ ถกู ตอง และ แมน ยำ -ตัวอยางปญ หา เนน การบรู ณาการกับวิชาอืน่ เชน ตม ไขใหตรงกบั พฤตกิ รรมการบริโภค คา ดัชนีมวล กายของคนในทองถิน่ การสรา งกราฟผลการ ทดลองและวเิ คราะหแ นวโนม

19 ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู ๔.ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ อยา งปลอดภัย -ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา งปลอดภัย เชน การ ปกปอง ความเปนสวนตวั และอตั ลกั ษณ ใชสือ่ และ แหลงขอมลู ตาม -การจดั การอตั ลักษณ เชน การตั้งรหัสผาน การ ขอ กำหนด และขอ ตกลง ปกปอ งขอ มูลสว นตัว -การพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหา เชน ละเมิดความเปน สว นตัวผูอื่นอนาจาร วิจารณผูอนื่ อยางหยาบคาย -ขอตกลง ขอกำหนดในการใชส่ือหรอื แหลงขอมูล ตา งๆ เชนCreative, Commons ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู ๑.ออกแบบอัลกอรทิ ึมท่ใี ช แนวคดิ เชิง -แนวคดิ เชงิ คำนวณ คำนวณในการ แกปญ หา หรือการทำงาน -การแกป ญ หาโดยใชแ นวคิดเชงิ คำนวณ ที่พบในชวี ิตจริง -ตวั อยางปญ หา เชน การเขา แถวตามลำดบั ความสูงให เร็วท่สี ุด จัดเรยี งเส้อื ใหห าไดงายที่สุด ๒.ออกแบบและเขียนโปรแกรม ท่ใี ช ตรรกะและฟงกชัน ในการแกปญ หา -ตัวดำเนนิ การบูลีน -ฟง กช ัน -การออกแบบและเขียนโปรแกรมทม่ี ีการใชตรรกะ และฟง กช ัน่ -การออกแบบอัลกอริทึมเพื่อแกปญหาอาจใชแนวคิด เชิง คำนวณในการออกแบบเพือ่ ใหการแกปญหามี ประสิทธภิ าพ -การแกปญหาอยา งเปน ขน้ั ตอนจะชวย ใหแกปญ หาไดอยา ง มปี ระสิทธิภาพ -ซอฟตแวรทใี่ ชใ นการเขียนโปรแกรม เชนScratch, python, java, c -ตัวอยา งโปรแกรม เชน โปรแกรมตัดเกรด หา คำตอบทงั้ หมด ของอสมการหลายตัวแปร

20 ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู ๓.อภปิ รายองคประกอบและ หลกั การ -องคป ระกอบและหลักการทำงานของระบบ ทำงานของระบบ คอมพิวเตอรและ คอมพิวเตอร ---เทคโนโลยกี ารสือ่ สาร เทคโนโลยี การสอ่ื สาร -การประยุกตใ ชง านและการแกปญหาเบื้องตน เพอ่ื ประยุกตใช งานหรือแกปญหา เบ้อื งตน -ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภัย โดยเลอื ก แนวทาง ปฏิบัตเิ มื่อพบเนื้อหาท่ไี มเ หมาะสมเชน แจง ๔.ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย รายงานผเู กยี่ วของ ปองกนั การเขา มาของขอมลู ทีไ่ ม มีความรบั ผดิ ชอบสรางและแสดงสิทธ์ิใน เหมาะสมไมตอบโต ไมเผยแพร การเผยแพรผลงาน -การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา งมีความรับผิดชอบ เชน ตระหนกั ถึงผลกระทบในการเผยแพรขอมลู -การสรา งและแสดงสทิ ธคิ วามเปนเจา ของผลงาน -การกำหนดสทิ ธ์กิ ารใชข อมูล ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 3 ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู ๑.พัฒนาแอปพลิเคชันทม่ี ีการ บูรณาการกบั -ขนั้ ตอนการพฒั นาแอปพลิเคชัน วชิ าอื่นอยาง สรางสรรค -Internet of Things (IoT) -ซอฟตแวรที่ใชใ นการพฒั นาแอปพลิเคชัน เชน Scratch, python, java, c, AppInventor -ตวั อยา งแอปพลิเคชัน เชน โปรแกรมแปลงสกลุ เงิน โปรแกรมผันเสยี งวรรณยกุ ต โปรแกรมจำลองการ แบง เซลล ระบบรดน้ำอัตโนมัติ ๒.รวบรวมขอมูล ประมวลผล ประเมนิ ผล -การรวบรวมขอมลู จากแหลง ขอมลู ปฐมภูมิและทตุ ยิ นำเสนอ ขอ มูลและสารสนเทศ ภูมปิ ระมวลผล สรา งทางเลือก ประเมนิ ผล จะทำให ตามวตั ถุประสงค โดยใช ซอฟตแ วร หรือ ไดส ารสนเทศ เพ่ือใชในการแกป ญ หาหรอื การ บริการบน อนิ เทอรเ นต็ ท่หี ลากหลาย ตัดสนิ ใจไดอยา งมีประสิทธภิ าพ

21 ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู -การประมวลผลเปน การกระทำกบั ขอมลู เพอ่ื ใหไ ด ๓.ประเมนิ ความนาเช่ือถือ ของขอ มลู ผลลัพธ ท่มี คี วามหมายและมีประโยชนต อ การ วเิ คราะหสอื่ และผลกระทบจากการ ให นำไปใชง าน ขาวสารที่ผดิ เพ่ือการ ใชง านอยางรเู ทาทนั -การใชซอฟตแ วรหรอื บริการบนอินเทอรเนต็ ท่ี หลากหลาย ในการรวบรวม ประมวลผล สรางทางเลอื ๔.ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ อยา งปลอดภยั ประเมินผลนำเสนอจะชว ยใหแ กปญหาไดอยา งรวดเร็ว และมีความรบั ผิดชอบตอสังคม ปฏบิ ตั ิ ถูกตองและแมน ยำ ตามกฎหมายเก่ียวกับ คอมพิวเตอร ใช -ตวั อยา งปญ หา เชน การเลอื กโปรโมชันโทรศัพทใ ห ลขิ สทิ ธ์ิ ของผูอน่ื โดยชอบธรรม เหมาะ กบั พฤตกิ รรมการใชง าน สนิ คา เกษตรท่ี ตอ งการและ สามารถปลกู ไดใ นสภาพดนิ ของทองถนิ่ -การประเมนิ ความนา เชือ่ ถือของขอมูล เชน ตรวจสอบและ ยืนยนั ขอมูลโดยเทียบเคยี งจากขอมูล หลายแหลง แยกแยะ ขอ มูลท่ีเปน ขอเทจ็ จรงิ และ ขอ คิดเหน็ หรอื ใช PROMPT -การสืบคน หาแหลงตน ตอของขอมูล -เหตผุ ลวิบตั ิ (logicalfallacy) -ผลกระทบจากขา วสารทผี่ ดิ พลาด -การรูเทา ทันส่ือ เชน การวิเคราะหถงึ จดุ ประสงค ของขอ มูล และผใู หขอมูล ตีความ แยกแยะเน้อื หา สาระของสอ่ื เลือก แนวปฏบิ ัติไดอ ยางเหมาะสมเมื่อ พบขอมลู ตา ง ๆ -การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา งปลอดภัย เชน การ ทำธรุ กรรมออนไลนการซื้อสนิ คา ซ้อื ซอฟตแวร คาบรกิ ารสมาชกิ ซื้อไอเท็ม -การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยางมีความรับผดิ ชอบ เชน ไมสรางขา วลวง ไมแชรขอมลู โดยไมตรวจสอบ ขอ เทจ็ จรงิ -กฎหมายเกีย่ วกบั คอมพิวเตอร -การใชลขิ สทิ ธขิ์ องผอู ืน่ โดยชอบธรรม (fair use)

22 2. เอกสารท่เี กย่ี วกับการนิเทศการศกึ ษา ความหมายของการนเิ ทศการศกึ ษา การนิเทศการศึกษาเปนกระบวนการหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งมีวัตถุประสงค เพื่อชวยเหลือครูในการปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสูงสุดกับผูเรียน ไดมีนักการศึกษาไดใหความหมายของการนิเทศ การศกึ ษาไวหลายทา น ดงั น้ี สงัด อทุ รานนั ท (2530 : 7) ไดใ หค วามหมายของการนิเทศการศึกษา คอื กระบวนการ ทำงาน รวมกันของครูและผูนิเทศเพื่อใหไดมาซึ่งสัมฤทธิผ์ ลสูงสดุ ในการเรียนของนักเรยี น นอกจากน้ี การนิเทศศึกษาเปนกระบวนการดำเนินงานรวมกันระหวางผูนิเทศกับผูรับการนิเทศเพื่อพัฒนาการ สอนของครู อันจะสงผลที่ดีขึ้นของนักเรียนโดยตรงไปสูผลการเรียนรู หรืออาจกลาวไดวา งานนิเทศ การสอนเปนงานที่ชวยใหครูปรับปรุงการเรียนการสอนไดดีขึ้น และการที่ครูผูสอนไดรับนิเทศภายใน อยางสม่ำเสมอ เปนวิถีทางหนึ่งที่ชวยใหครูไดรับการพัฒนาประสิทธิภาพการสอน มีความมั่นใจและ คลอ งตวั ในการปฏบิ ตั ิงาน รตั นา นครเทพ (2552 : 19) การนิเทศการศกึ ษารวมถงึ การนเิ ทศภายในโรงเรยี นหมายถึง การสงเสริม สนับสนุน หรือการใหความชวยเหลือครูในการดานตาง ๆ ใหประสบความสำเร็จ ดำเนินการใดทำใหครูมีความพึงพอใจ มีกำลังใจที่จะพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาการ ดำเนินงานตาง ๆ ของโรงเรียน ใหเปนไปตามมาตรฐาน และสงผลใหโรงเรียนเปนที่ยอมรับจากทุก ฝาย อีกท้ังผา นการประเมนิ ทั้งภายในและภายนอก คมกริช มาตยวิเศษ (2553 : 16) กลาววา การนิเทศเปนวธิ ีการทีม่ คี วามสำคญั ตอการพฒั นา บุคลากรใหมีความรูความสามารถสำหรับหนวยงาน โดยความรวมมือของบุคลากรทุกฝายในการ ดำเนินงานใหท ันกบั การเปลยี่ นแปลงทางวชิ าการและนวตั กรรมการสอนตา ง ๆ มณรี ตั น รัตนวิชยั (2553 : 26) กลาววา การนเิ ทศการศึกษา หมายถงึ การจัดกิจกรรมท่ที ำให เกิดประสทิ ธภิ าพในการเรียนการสอนหรือทำใหเกิดการเพ่ิมพลังในการปฏบิ ัติงานของครูรวมท้ังทำให ครูเกิดความกาวหนาในวิชาชีพและกอใหเกิดผลในขั้นสุดทาย คือการศึกษามีความกาวหนามี ประสิทธิภาพตามมา เกรียงศกั ด์ิ ไชยเนตร (2552 : 18) การนเิ ทศการศกึ ษา หมายถึง การรวมกันทาง การศกึ ษา ของผูบริหารโรงเรียนและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนใหมีคุณภาพ นอกจากนั้นยังเปนการสรางขวัญกำลังใจใหแกครูอีกดวย และการนิเทศภายในมีความจำเปนและมี ความสำคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเพราะเปนความรวมมือรวมใจ รวมแรงของบุคลากรทุกภาคสวนที่จะตองพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใหสูงขึ้น การให

23 กำลังใจ สรางแรงจูงใจใหกับบุคลากรในสถานศึกษาไดแสดงศักยภาพของตนเองในการจัดการเรียนรู เพ่ือมุง สูค ณุ ภาพที่สงู ขึน้ ของผเู รียน สรุปไดวา การนิเทศการศึกษา เปนกระบวนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในการจดั กจิ กรรม ระหวางผูนิเทศและผูรับการนิเทศเพื่อปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรม ดาน ตาง ๆ ของสถานศึกษาใหมีประสิทธิภาพซึ่งจะสงผลใหผูเรียนมีคุณภาพเพิ่มขึ้นและบรรลุเปาหมาย ของการจัดการศึกษา ซึ่งจะสงผลตอการพัฒนางานของสถานศึกษานั้น ๆ โดยสวนรวมใหเปนไปตาม มาตรฐานหลกั สูตร และมาตรฐานการศึกษา จุดมงุ หมายของการนเิ ทศการศกึ ษา การนิเทศการศึกษาเปนกระบวนการอยางหนง่ึ ที่จะทำใหการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ประสบผลสำเร็จตามจุดประสงคที่วางไวนักการศึกษาและหนวยงานทางการศึกษาไดแสดง ทัศนะ เกี่ยวกับจุดมงุ หมายของการนเิ ทศการศึกษา ดังนี้ วชั ราเลาเรยี นดี (2556 : 15) ไดกลาวถงึ ความมงุ หมายของการนิเทศภายในโรงเรยี นเพื่อมุง ปรบั ปรงุ การปฏิบัตงิ านของครู โดยเนนการทำงานเปน ทีมรว มกนั ในการแกป ญ หาอยา งเปน ระบบสราง เจตคตทิ ด่ี ีในการทอนั จะกอ ใหเ กิดประสทิ ธผิ ลและประสิทธิภาพในการางานจัดการศึกษา พศนิ แตงจวง (2554 : 23) การนเิ ทศการศกึ ษามีความมงุ หมายเพ่ือมุง ชวยเหลอื แนะนำ ปรับปรุงและสงเสริมครูใหพ ัฒนาในดานตา ง ๆ อยางเต็มท่ี เพื่อที่จะเอาความสามารถของครู ออกมา ใชใหเปนประโยชนตอการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อันจะสงผลตอ คุณภาพ การเรยี นการสอน ความเจรญิ กาวหนาของนักเรยี นและโรงเรียนในที่สดุ หรือสรุปไดเ ปน 4 ขอ ดงั นี้ 1. เพ่ือพัฒนาคนและบุคลากรทางการศึกษา 2. เพื่อพฒั นาการจดั กระบวนการเรียนรู 3. เพอื่ การสรางความสมั พนั ธอ นั ดี 4. เพื่อสรางขวัญและกำลังใจ มณรี ตั น รัตนวิชยั (2553 : 28) กลาววา เปาหมายหลักของการนิเทศการศกึ ษา อยูทเ่ี พอื่ สนับสนุนสงเสริมกระตุนใหครูและผูมีสวนไดเสียจากการจัดการศึกษาทุกฝายเปนรายบุคคล หรือ หลายคนรว มมอื รว มใจกนั ปฏริ ูปวิธีการจัดการเรยี นการสอนวิธกี ารบริหารจดั การศึกษาทม่ี ีความสำเร็จ ตามมาตรฐานใดๆ ของโรงเรียนและบุคลากรของโรงเรียนใหสูงขึ้นและรักษาไวไดอยาง ตอเนื่องดวย ความเต็มใจ

24 สมเดช สีแสง (2544 : 730) ไดก ลาวถงึ จุดมุงหมายของการนเิ ทศการศึกษา ไวด ังนี้ 1. เพ่อื สรา งวิธปี รับปรุงการเรยี นการสอน 2. เพอ่ื ใหเ กิดความงอกงามในวชิ าชพี ทางการศึกษา 3. เพือ่ พัฒนาครู 4. เพื่อชวยเหลอื ปรับปรงุ วตั ถุประสงคข องการศึกษา 5. เพอ่ื ชวยเหลอื ปรับปรุงวธิ ีสอน 6. เพอ่ื ชวยเหลอื และปรบั ปรุงการประเมนิ การสอน ปรียาพร วงศอนุตรโรจน (2548 : 20) กลา ววา จุดมงุ หมายของการนิเทศการสอน เปนการมงุ ปรับปรุงและพัฒนาการเรยี นการสอนในโรงเรียน ดังนี้ 1. เพ่ือการพัฒนาวชิ าชพี ครู ไดแ ก 1.1 การนิเทศการสอนใหข อ มลู แกค รใู นดานการสอน เพ่อื ครจู ะไดใ ชเปน แนวทางในการปรับปรงุ การสอนของตน 1.2 การนเิ ทศการสอนเพือ่ ใหค รูไดพ ฒั นาความรคู วามสามารถในดานการสอน 1.3 การนเิ ทศการสอนเพ่ือสง เสรมิ และพฒั นาวชิ าชพี การสอนของครู 2. เพ่อื พัฒนาคุณภาพของนักเรียน 2.1 เพื่อปรบั ปรงุ คุณภาพของการเรียนการสอนในโรงเรียนเพ่ือคุณภาพของ นักเรียน 2.2 เพือ่ สง เสรมิ ประสทิ ธิภาพงานวิชาการในโรงเรียน 3. เพอื่ สรางขวญั และกำลงั ใจแกบ คุ ลากรทเ่ี กี่ยวของกับการนิเทศการสอน 4. เพือ่ สรา งความสัมพันธท่ดี ีระหวา งบุคคลท่ีเกีย่ วของในการทำงานรว มกัน กระทรวงศึกษาธิการ (2552 : 33) กลาวถึงจดุ มุงหมายของการนิเทศไวด งั นี้ 1. เพ่ือชว ยผบู รหิ ารสถานศึกษาและครูผสู อนใหเ กิดการปรบั ปรุงพฒั นาการจดั การศกึ ษา ใหม ีประสิทธภิ าพยงิ่ ขนึ้ 2. เพือ่ พัฒนาหลกั สตู รและการเรียนรูใ หมปี ระสิทธภิ าพสอดคลองกบั ความตองการ ของชมุ ชน สงั คม ทนั ตอการเปล่ยี นแปลงทุกดา น 3. เพื่อสงเสรมิ ใหโ รงเรียนปฏริ ูประบบบริหาร โดยใหท ุกคนมีสวนรับผดิ ชอบและ ช่ืนชม ในผลงาน 4. เพ่ือใหเ กิดการประสานงานและความรว มมือในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาระหวา ง ผทู เ่ี กย่ี วขอ ง ไดแก ชุมชน สังคม สรุปไดวา จดุ มงุ หมายของการนเิ ทศการศึกษาเพ่ือสง เสริมชวยเหลอื ครูใหส ามารถปรบั ปรงุ

25 พฒั นาตนเองและกระบวนการเรียนการสอนใหมีประสิทธภิ าพสูงสดุ ความเจริญกาวหนาของนักเรียน และโรงเรียน รวมทง้ั การพฒั นาโรงเรียนในดานตาง ๆ ท่เี กิดจากปญหาหรอื ตามนโยบายของตนสงั กดั หลักการนเิ ทศการศึกษา การนเิ ทศการศกึ ษาเปน กระบวนการหนึ่งในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา การนเิ ทศ การศึกษาจะบรรลุตามความมุงหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ ตองอาศัยหลักในการดำเนินงาน มนี กั การศกึ ษาเสนอแนวคดิ เกี่ยวกบั หลักการในการนเิ ทศการศึกษาไว ดังนี้ สุรศกั ดิ์ ปาเฮ (2554 : 18) ไดส รุปหลักการของการนิเทศภายในวา ผูบ ริหาร สถานศึกษา จะตองถือเปนหนาท่ีโดยตรงท่ีจะตองนิเทศภายในสถานศึกษาของตนเองที่รบั ผิดชอบ การดำเนินการ นิเทศภายในสถานศึกษาจะตองเปนการรวมมือหรือยอมรับของบุคคลในสถานศึกษา ที่จะชวยกัน พฒั นาปรับปรุงแกไขซ่ึงกนั และกันภายใตบรรยากาศแหงความเปน ประชาธิปไตย ใชก ระบวนการทาง วิทยาศาสตรมีบรรยากาศแบบความสรางสรรคมีการประสานงานทำงานเปนหมูคณะ การนิเทศ ภายในสถานศึกษาจะตองเกิดขึ้นจากความตองการแกไขปญหาหรือตองการสนองความตองการของ สถานศึกษาที่จะตองยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและการนิเทศภายในสถานศึกษา จะตองเปนการสงเสริมสนับสนุนใหกำลังใจแกบุคลากรในสถานศึกษา ใหมีความเชื่อม่ันในตนเองและ พรอมท่ีจะเผยแพรผ ลงานทางวิชาการเพอื่ ใหบคุ คลในหนว ยงานมีความรูความสามารถสูงข้ึน เกรียงศกั ดิ์ สงั ขชัย (2552 : 25) ไดกลาวถึงหลกั การนเิ ทศการศึกษาวา การนเิ ทศเปนแนวทาง ปฏิบัติที่ผูนิเทศตองนำไปปฏิบัติขณะนิเทศภายในสถานศึกษา โดยเฉพาะทางดานวิชาการจะบรรลุ ตามความมงุ หมายท่วี างไวอ ยางมีประสิทธภิ าพผดู ำเนินงานตองมีหลักยึดในการนิเทศดังนี้ 1. การนเิ ทศควรจดั ใหมีการบริหารท่ีเปน ระบบและมกี ารวางแผนการดำเนนิ งานเปน โครงการ 2. การนเิ ทศตองถอื หลักการมสี วนรวมในการทำงาน คอื ความเปน ประชาธปิ ไตยเคารพใน ความคิดเห็นของผูอื่น เห็นความแตกตางระหวางบุคคล เนนความรวมมือรวมใจกันในการดำเนนิ งาน และใชค วามรคู วามสามารถในการปฏิบัติงานเพื่อใหง านนนั้ ไปสเู ปา หมายที่ตอ งกาi 3. การนิเทศเปน งานสรา งสรรคเ ปนการแสวงหาความสามารถพิเศษของแตละบุคคลใหแ ตละ บุคคลไดแสดงออกและพัฒนาความสามารถเหลา นัน้ ไดอ ยางเต็มที่ 4. การนเิ ทศเปนการแกป ญ หาที่เกดิ ขนึ้ จากการเรียนการสอนโดยใหครอู าจารยไดเ รยี นรูวา ปญหาของตนเปน อยางไรจะหาวธิ ีแกไขปญ หาน้ันไดอ ยางไร 5.การนเิ ทศเปน การสรา งสภาพแวดลอมในการทำงานใหด ขี นึ้ สรา งความเขาใจ ระหวางกัน สรา งมนุษยสมั พนั ธ มวี ิธกี ารทำงานทดี่ แี ละความสามารถทจี่ ะอยูรว มกนั ได 6. การนเิ ทศเปนการสรา งความผูกพันและความม่นั คงตองานอาชีพรวมทง้ั ความ เชือ่ มั่นใน ความสามารถของตนเกดิ ความพอใจในการทำงาน

26 6.การนิเทศเปน การพัฒนาและสงเสริมวิชาชพี ครูใหความรูสกึ ภาคภมู ิใจในอาชีพที่ตองใช วิชาความรูและความสามารถ ศิวากร นนั โท (2550 : 21) ไดก ลา ววา การนิเทศภายในสถานศกึ ษาใชหลักการ ดังน้ี 1.หลกั การปฏบิ ตั งิ านตามวธิ ีวิทยาศาสตรดำเนินการอยางเปน ระบบระเบยี บ ซง่ึ ครอบคลุม วธิ กี ารศึกษาสภาพปจ จุบัน ปญ หาความตองการ การวางแผนการนิเทศการศึกษา และการปฏิบัติการ นิเทศ การประเมินผลการนิเทศ ซึ่งควรจะมาจากการรวบรวมขอมูลวิเคราะหและสรุปผลอยางมี ประสทิ ธิภาพเปนทีเ่ ชื่อถือได 2.หลกั การปฏิบตั งิ านตามวธิ ีทางประชาธิปไตย เคารพในความแตกตา งระหวา ง บุคคล ให เกียรติซึ่งกันและกัน เปดใจกวางยอมรับผลการประเมินตนเอง ยอมรับในเหตุผลและปฏิบัติ ตาม ขอตกลง ตลอดจนใชความรคู วามสามารถในการปฏบิ ัตงิ านเพ่อื ใหง านนน้ั บรรลุเปา หมาย 3.หลักการปฏบิ ตั งิ านเพือ่ พัฒนาสรางสรรค โดยการแสวงหาความสามารถพิเศษของครแู ต ละบคุ คล เปด โอกาสใหไ ดแสดงออกและสนับสนุนสงเสรมิ ความสามารถเหลาน้นั อยางเต็มท่ี 4. หลักการปฏิบัติตามกระบวนการกลมุ และการมสี วนรวมเนนความรว มมอื รว มใจในการ ดำเนินงาน โดยยึดวัตถุประสงคการทำงานรวมกัน การชวยเหลือแบงปนประสบการณซึ่งกันและกัน และการรวมคดิ รว มพัฒนา ท้งั นเ้ี พื่อความสำเร็จของงานโดยรวดเร็ว 4.หลกั การปฏิบัติงานเพ่ือประสทิ ธิภาพเนนการปฏิบัตงิ านตามบทบาทหนา ท่ี รับผดิ ชอบ มี การควบคุมติดตามผลการดำเนินงานและผลผลิตอยางใกลช ดิ เพื่อใหมีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล ตามมาตรฐานการศึกษา 5.หลักการปฏบิ ัตงิ าน โดยยดึ วตั ถุประสงคก ารดำเนินงานทกุ ครั้งจะตอ งกำหนด วัตถปุ ระสงค การทำงานอยางชัดเจน ออกแบบการดำเนินงานอยางเหมาะสม ทั้งนี้เพื่อใหงานบรรลุตาม วตั ถุประสงคท ี่กำหนดไว กระบวนการนิเทศการศึกษา กระบวนการนเิ ทศการศกึ ษาเปนสิ่งจำเปน และสำคัญอยางย่ิงผนู ิเทศจะตอ งกำหนดขัน้ ตอนใน การดำเนินการนิเทศเพื่อชวยใหงานนิเทศการศึกษาประสบผลสำเร็จตามความมุงหมาย อยางมี ประสิทธิภาพ ไดม ีนักการศึกษาใหทัศนะเก่ียวกับกระบวนการนเิ ทศการศึกษาไวด ังนี้ ศุภชยั บญุ สิทธิ์ (2548 : 32) ไดกลา วถึงกระบวนการนิเทศการศกึ ษาวา เปนขั้นตอนการนเิ ทศ การศึกษาที่มีการดำเนินการอยางเปนระบบและตอเนื่อง 5 ขั้นตอนซึ่งสามารถเขียนภาพประกอบ ตามลำดับข้นั ตอนไดด งั ภาพท่ี 1

27 การศึกษา การวางแผน การสรางสื่อ การปฏบิ ัติ การประเมนิ ผล สภาพปจ จุบัน และกำหนด และเคร่ืองมือ การนิเทศ และรายงานผล ปญ หาและ ทางเลือก ความตอ งการ ภาพท่ี 1 แสดงขัน้ ตอนกระบวนการนเิ ทศภายในโรงเรียน ตามแนวทางของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาประถมศกึ ษาแหง ชาติ ท่มี า : ศุภชยั บุญสทิ ธ์ิ 2548 : 32 ขั้นตอนที่ 1 การศกึ ษาสภาพปจจบุ ัน ปญ หาและความตอ งการ ดงั น้ี 1. การดำเนินการ แกไ ขปรบั ปรุงหรือพฒั นางานใด ๆ จะตอ งเริ่มตน ดว ยการมองเห็นปญหา ของงานอยางชัดเจน เพราะการมองเห็นปญหาจะนำไปสูความตองการในการแกไขปรับปรุงพัฒนา ดังนั้น การศึกษาสภาพปจจุบันปญหาและความตองการจึงจำเปนตองกำหนดไวใหแนชัด ซึ่งมี จุดประสงคดงั นี้เพ่ือทราบสภาพการศึกษาและคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน เพือ่ ทราบสภาพปญหา ที่เปนปญหาและความตองการของครู เพื่อใชในการกำหนดแนวทางตัดสินใจแกปญหา เพื่อใชในการ กำหนดวัตถุประสงคหรือเปาหมายของการปฏิบัติงานนิเทศ ใหไปสูอนาคตที่พึงประสงคไดอยาง แทจ ริง การศึกษาสภาพปจ จบุ ัน ปญหาและความตอ งการของบคุ ลากรในโรงเรยี นนัน้ 2. ตรวจสอบขอมูลในแตละเรื่องใหแ นช ัด 3. เปรียบเทยี บขอ มูลของปญ หาโดยเทียบกบั เกณฑม าตรฐานหรอื จดุ หมายท่กี ำหนดเพ่ือจะ ไดก ำหนดเปาหมายในการแกป ญ หาไดถกู ตอง 4. จดั ลำดบั ความสำคญั ของปญหาแตละชนดิ เพ่ือนำไปพจิ ารณาดำเนนิ การแกไ ขปรบั ปรุงขั้น ตอไป ขั้นตอนท่ี 2 การวางแผนและกำหนดทางเลือก การวางแผนการนิเทศ หมายถงึ การนำขอ มลู มาวเิ คราะหส ภาพปจ จบุ ัน ปญหา สาเหตขุ อง ปญ หาและความตอ งการมากำหนดกิจกรรมและแนวทางการปฏิบัตงิ านนิเทศ ซ่งึ การ วางแผนน้ันตอง ใหสอดคลองกับนโยบายของหนวยงานเหนือทุกระดับดวยและควรจะมีขั้นตอนตาง ๆ ดังภาพที่ 2 และรายละเอียด ดังนี้

28 ขัน้ เตรียมการ ขัน้ ลงมอื ข้ันประสานการ ขน้ั เตรียมแผน วางแผน ปฏิบตั ิการ วางแผน ไปปฏบิ ัติ วางแผน ภาพท่ี 2 แสดงข้นั ตอนการวางแผนการนิเทศการศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาประถมศึกษาแหง ชาติ ท่ีมา : ศภุ ชยั บุญสทิ ธิ์. 2548 : 34 ข้ันเตรียมการวางแผนควรดำเนนิ การโดยทำความเขาใจขอบขายงานอำนาจหนาท่ีบทบาท ของผูนิเทศแลวจึงเริ่มจัดทำแผนและโครงการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน โดยนำผลจาก การศกึ ษาขอมลู เกย่ี วกบั สภาพปจจุบัน ปญหาและความตอ งการของโรงเรยี นมา จดั ลำดบั ความสำคัญ รวมทง้ั ศึกษานโยบาย วตั ถุประสงคแ ละแนวปฏิบตั ิของหนว ยเหนอื เพือ่ จดั ทำแผนใหสนองตอบในสวน ทเี่ กยี่ วขอ งกบั การนเิ ทศภายในโรงเรยี น ขน้ั ลงมอื ปฏบิ ตั กิ ารวางแผน ในขัน้ นผี้ บู ริหารควรจะไดมกี ารจัดประชุมโดยนำประเด็นปญ หา และความตอ งการท่ีสำคัญ ซึ่งไดจากการศึกษาสภาพปจจบุ นั ปญหาและความตองการรวมทัง้ นโยบาย ของหนวยเหนือมาพิจารณา เพื่อสรุปวาในแตละปโ รงเรียนสามารถจัดการปญหาหรือปรับปรุงพัฒนา งานใดไดม ากนอยเพยี งใด ข้ันประสานการวางแผนตองมกี ารทบทวนเปา หมาย วตั ถปุ ระสงค แนวปฏบิ ตั ิและเวลาท่ี กำหนดแลวจึงดำเนินการประสานคนและประสานงานเพื่อใหฝายตาง ๆ สามารถดำเนินงานไดดวยดี ขัน้ เตรยี มนำแผนไปปฏิบตั ใิ นขั้นนโี้ รงเรียนควรจัดทำคูมือการปฏบิ ัตหิ รือทำแผนปฏิบตั ิงานออกมาเปน รูปเลม และจัดทำปฏิทินปฏิบัติงานเปนหลักฐานเพื่อสะดวก การปฏิบัติงานของทุกฝายและเพื่อ สะดวกตอการติดตามผลงานภายหลัง ซึ่งในแผนปฏิบัติงานนิเทศภายในโรงเรียนจะตองประกอบดวย โครงการซง่ึ ควรมสี าระสำคญั ดังน้ี 1. หลักการและเหตุผล 2. วตั ถปุ ระสงค 3. เปาหมาย 4. กิจกรรมสำคัญ 5. ปฏิทินปฏบิ ัติงาน

29 6. ทรพั ยากรที่ตอ งการ 7. การประเมนิ ผล 8. ผลท่คี าดวาจะไดร บั จากการปฏิบตั ิการนเิ ทศ ขน้ั ตอนที่ 3 การสรางส่ือและเครือ่ งมอื สอ่ื และเครอื่ งมอื ในการนิเทศการศกึ ษาจำแนกตามลกั ษณะใชง านได 2 ชนดิ คอื สื่อ สำหรับใชในการตรวจสอบคุณภาพ ซึ่งไดแก แบบสอบถาม แบบสำรวจ แบบประเมิน แบบสังเกต ตลอดจนแฟมทะเบียนนักเรียน และสื่อสำหรับสงเสริมคุณภาพการศึกษา ไดแก กรณีตัวอยาง การแสดงบทบาทสมมุติ คูมือครู ชุดการเรียน หนังสืออานประกอบวารสารการนิเทศ ศูนยวิชาการ ชดุ ฝก อบรม นิทรรศการและเคร่ืองโสตทัศนูปกรณ เปนตน ขนั้ ตอนที่ 4 การปฏบิ ัติการนิเทศ การปฏิบตั กิ ารนเิ ทศ หมายถงึ การปฏบิ ัติตามกจิ กรรมทกี่ ำหนดในโครงการนิเทศ ภายใน โรงเรียน ซึ่งผูบริหารจะตองนำหลักการนิเทศ เทคนิค ทักษะ สื่อ และเครื่องมือนิเทศไปใชเหมาะสม กับสถานการณและบุคลากรผูรับการนิเทศ เพื่อใหการปฏิบัติการนิเทศเปนไปดวยความเรียบรอย ผูบริหารโรงเรียนควรดำเนินการ ดังนี้เตรียมความพรอมกอนการนิเทศ ควรจัดใหมีการประชุมคณะ ปฏิบัติงาน เพื่อซักซอมความเขาใจเกี่ยวกับวิธีการ กิจกรรม สื่อ เครื่องมือ การบันทึกผลการ ประเมินผล การสรปุ ผลการนเิ ทศการปฏบิ ตั ิการนิเทศ ดำเนนิ งานตามกิจกรรมทก่ี ำหนดไวในโครงการ นิเทศภายในโรงเรียน ผูบริหาร ไมควรละเลยเกี่ยวกับการสงเสริมแรงใจ ใหกำลังใจ รับทราบปญหา ความตอ งการของครูและนำเอาปญหาความตองการน้ันมาพิจารณาทางชว ยเหลือสนับสนุน ซึ่งในการ ปฏิบัติการนิเทศนี้ผูบริหารจะใหการนิเทศทางตรง คือ ผูนิเทศปฏบิ ตั ิการนเิ ทศดว ยตนเอง โดยปฏิบัติ ตามโครงการแผนงานและการใชสื่อการนิเทศตาง ๆ รวมทั้งวิธีการนิเทศที่เตรียมไวหรือใชการนิเทศ ทางออม ซงึ่ เปนวธิ กี ารนิเทศโดยใชส่ือการนิเทศแทนผูนิเทศ ไดแ ก การใชค ูมอื ครู การแนะนำ แนะนำ จลุ สาร เทป สไลดว ิดีโอเปนตน รวมทง้ั การใชว ทิ ยากรท่มี คี วามเชย่ี วชาญสาขาตาง ๆ ชวยแนะนำก็ได ในการปฏิบตั ิการนเิ ทศในโรงเรียนใหไดผลดนี นั้ ศุภชยั บุญสทิ ธิ์ (2548 : 37) ไดน ำเสนอ ขน้ั ตอนไว 5 ข้ันตอน ดงั นี้ 1. ประชมุ ผูเ กี่ยวขอ ง 2. ปฏิบัตกิ ารนเิ ทศตามแผน/โครงการ 3. ประชุมทบทวนการปฏิบตั ิงาน 4. ประชุมสรุปผลการนเิ ทศ 5. นำขอมูลไปใชดำเนนิ การตอไป

30 ข้ันตอนท่ี 5 การประเมนิ ผลและรายงานผล การประเมินผลการนิเทศ หมายถึง การตรวจสอบความสำเรจ็ ของโครงการกับวัตถปุ ระสงค และเปา หมายทกี่ ำหนดไว ซ่งึ ผนู ิเทศควรประเมินผลต้งั แตก ารเตรยี มงานกอนนิเทศเม่ือเร่ิมปฏิบตั ิ ระหวา งปฏิบัติ สดุ โครงการและเมอ่ื ส้นิ ขนั้ ตอนการประเมินควรประกอบดว ย -ขนั้ เตรียมงาน ควรตรวจสอบความสมบรู ณข องแผนงาน/โครงการ -ขน้ั เตรียมปฏิบตั งิ าน ควรตรวจสอบปจ จัยบคุ ลากรสรางความเขาใจกับผปู ฏิบตั ิ -ข้ันระหวางปฏิบตั งิ าน ตรวจสอบเพ่ือทราบปญหาและอุปสรรคขณะปฏิบตั ิงาน -ขนั้ สิ้นสดุ โครงการ ตรวจสอบผลรวมการปฏิบัตงิ านเปรียบเทียบกับวตั ถุประสงค และเปา หมาย ซ่งึ ในการประเมินโครงการนัน้ ควรประเมินทั้งผลสัมฤทธ์ิผลของการปฏิบตั ิงานตาม โครงการและ ปญ หาอุปสรรคในการปฏิบตั ติ ามโครงการดวย ขน้ั สรปุ และรายงานผล ควรดำเนนิ การหลงั จากประเมนิ ผลเสรจ็ เรียบรอ ยแลว ตามหัวขอ ดงั น้ี 1. ชื่อโครงการ 2. วตั ถปุ ระสงค 3. เปา หมาย 4. ปญ หาและอุปสรรค 5. ผลสมั ฤทธ์ขิ องโครงการ 6. ขอเสนอแนะ 7. ผรู ับผิดชอบโครงการ 8. ผูรายงาน แฮรร ิส (Harris. 1985 : 28) ไดเสนอขน้ั ตอนการนเิ ทศเปน 6 ขนั้ ตอนคอื 1. ประเมนิ สภาพการทำงานเปนกระบวนการศึกษาถึงสภาพตาง ๆ รวมทงั้ ขอมลู ทจ่ี ำเปน ที่จะนำมาเปนตัวกำหนดถึงความตองการจำเปนเพื่อกอใหเกิดการเปลี่ยนซึง่ ประกอบดวยงานตอ ไปน้ี คือ 1.1 วิเคราะหข อมูลโดยการศกึ ษาหรือพิจารณาธรรมชาตแิ ละความสัมพนั ธข องสง่ิ ตา ง ๆ 1.2 สังเกตส่งิ ตา ง ๆ ดวยความรอบคอบถ่ีถวน 1.3 ทบทวนและตรวจสอบส่งิ ตาง ๆ ดวยความระมัดระวงั 1.4 วดั พฤติกรรมการทำงาน 1.5 เปรียบเทียบพฤตกิ รรมการทำงาน 2. จดั ลำดับความสำคญั ของงานเปนกระบวนการกำหนดเปาหมาย จดุ ประสงคและกจิ กรรม ตา ง ๆ ตามลำดบั ความสำคัญ ประกอบดวย 2.1 กำหนดเปาหมาย

31 2.2 ระบจุ ดุ ประสงคใ นการทำงาน 2.3 กำหนดทางเลือก 2.4 จัดลำดบั ความสำคัญ 3. ออกแบบวิธีการทำงานเปน กระบวนการวางแผนหรือกำหนดโครงการตา ง ๆ เพ่อื กอใหเ กิด การเปลย่ี นแปลง ประกอบดว ย 3.1 จัดสายงานใหส ว นประกอบตา ง ๆ มีความสัมพันธก ัน 3.2 หาทฤษฎีหรือแนวคิดไปสูการปฏิบัติ 3.3 เตรียมการตาง ๆ ใหพรอมที่จะทำงาน 3.4 จัดระบบการทำงาน 3.5 กำหนดแผนในการทำงาน 4. จดั สรรทรพั ยากร เปนกระบวนการกำหนดทรัพยากรตา ง ๆ ใหเ กดิ ประโยชนส ูงสดุ ในการ ทำงาน ประกอบดวย 4.1 กำหนดทรัพยากรที่ตอ งใชตามความตองการของบุคคลหรอื โครงการตา ง ๆ 4.2 จัดสรรทรัพยากรไปใหหนวยงานตาง ๆ 4.3 กำหนดทรพั ยากรที่จำเปนตอ งใชส ำหรับจุดมุงหมายบางประการ 4.4 ออกแบบทรัพยากร 4.5 มอบหมายบุคลากรใหทำงานในแตล ะโครงการหรือแตละเปาหมาย 5. ประสานงาน เปน กระบวนการทเี่ กยี่ วของกบั คน เวลา วัสดุ อุปกรณแ ละ ส่งิ อำนวยความ สะดวกทกุ ๆ อยา งเพื่อจะทำใหก ารเปลย่ี นแปลงบรรลผุ ลสำเร็จ ไดแ ก 5.1 ประสานการปฏบิ ัติงานในฝา ยตาง ๆ ใหดำเนินการไปดวยความราบรื่น 5.2 สรา งความกลมกลืนและความพรอมเพรียงกนั 5.3 ปรบั การทำงานในสวนตาง ๆ ใหม ีประสิทธภิ าพใหมากที่สดุ 5.4 กำหนดเวลาในการทำงานในแตล ะชวง 5.5 สรา งความสมั พนั ธใ หเ กดิ ข้ึน 6. นำสกู ารปฏิบตั ิเปนกระบวนการทม่ี ีอทิ ธพิ ลตอการปฏิบัติเพื่อใหเ กิดสภาพท่ีเหมาะสม สามารถบรรลุผลแหงการเปลี่ยนแปลงใหม ากท่สี ดุ ไดแก 6.1 การแตง ต้งั บุคลากร 6.2 กำหนดแนวทางหรือกฎเกณฑในการทำงาน 6.3 กำหนดแบบแผนเกีย่ วกับเวลา ปรมิ าณ หรืออตั ราเรว็ ในการทำงาน 6.4 แนะนำการปฏิบตั ิงาน

32 6.5 ชแี้ จงกระบวนการทำงาน 6.6 ตัดสินใจหาทางเลอื กในการปฏิบตั งิ าน ณรงค ไชยชมพู (2550 : 25) ไดเสนอกระบวนการนิเทศภายในไววา การดำเนินการนเิ ทศ ภายในสถานศึกษาควรเปนกระบวนการตอเน่ืองกัน ดังน้ี ขั้นเตรียมการนเิ ทศ เปน ขั้นตอนการสำรวจความตองการจำเปน สำรวจ ปญ หาหรือ ขอบกพรองที่ทำใหงานไมบรรลุผลมาใชประกอบการทำโครงการ โดยสำรวจความตองการของครู จัดลำดับความสำคัญของปญหา วิเคราะหสาเหตุของปญหา จัดลำดับกำหนดทางเลือกการแกปญหา และกำหนดกจิ กรรมใหเ หมาะสมสำหรบั แผนงานโครงการของสถานศึกษาตอ ไป ขั้นวางแผนการนเิ ทศ เปน การดำเนนิ การตอ จากข้ันท่ี 1 โดยนำทางเลือกในการแกปญ หามา กำหนดกิจกรรมโดยเขียนเปนโครงการนิเทศ ซึ่งจะตองระบุรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานและมี ผรู บั ผิดชอบทช่ี ัดเจน ข้ันปฏบิ ัตติ ามแผนการนเิ ทศ เปน การปฏิบตั ิงานโดยการนำโครงการนเิ ทศทไ่ี ดร บั การอนุมัติ จากผูบริหารแลวนำไปสูการปฏิบัติ โดยคำนึงถึงหลักการนิเทศ สื่อ เครื่องมือ การนิเทศการเตรียม ความพรอมสรา งความเขาใจรวมทั้งชว ยเหลือสนับสนนุ จากผูบ ริหาร ขั้นประเมินการนเิ ทศเปน การตรวจสอบผลการดำเนินงานตามโครงการนเิ ทศ โดยการ พจิ ารณาผลสัมฤทธิ์ตามวัตถปุ ระสงค และนำผลการประเมินมาเปน ขอมลู ในการ ปรบั ปรงุ พัฒนาตอไป ขน้ั ปรับปรุงแกไขวิธีการเปนขั้นตอนการนิเทศท่ตี องรบี ดำเนินการทันที หากพบวามีสง่ิ ใด บกพรองหรือไมเปนไปตามเปาหมายก็จะตองปรับปรุงแกไขในแตละขั้นของการดำเนินงานการ ปรับปรงุ แกไขจึงสามารถกระทำไดต ลอดการดำเนินงานจนกระทง่ั เมอ่ื ส้นิ สุดการนเิ ทศก รปู แบบการนิเทศ สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 1 กำหนดใหมกี ารนิเทศ สถานศึกษาในสังกัด โดยศึกษานิเทศกสามารถเลือกใชรูปแบบหรือเทคนิคการนิเทศตามดุลพินิจของ ตนอยา งอิสระ ตามรปู แบบตา ง ๆ ดงั น้ี 1. การนิเทศแบบคลินกิ (Clinical Supervision) ทฤษฎีการนเิ ทศตามรปู แบบของโกลดแฮมเมอร ไดเสนอรูปแบบ (Model) การนิเทศแบบ คลินิกไว 5 ขนั้ ตอน ดงั น้ี ข้นั ท่ี 1 การประชุมปรึกษากอ นการสังเกตการสอน (pre-observation conference) เปน พื้นฐานของความเขาใจและตกลงรวมกันระหวา งครูและผนู ิเทศเก่ียวกับการจดั การเรียนการสอน ข้นั ท่ี 2 การสงั เกต การสอน (observation) ซึง่ ผนู ิเทศจะดำเนินการสังเกตการสอนของครู ขั้นที่ 3 การวิเคราะหข อมูลและกำหนดวธิ ีการประชุมนิเทศ (analysis and strategy) คอื การ

33 รวบรวมขอมูลพฤติกรรมการสอนใหเปนหมวดหมูเปนระบบเพื่อนำมาวิเคราะห ผูนิเทศและครูจะ รว มกนั คิดวางแผนขน้ั ตอนของการประชมุ นเิ ทศดวย ขนั้ ที่ 4 การประชมุ นิเทศ (supervision conference) เปน การใหข อ มูลปอนกลบั เกย่ี วกบั พฤตกิ รรมการสอนของครู ขนั้ ท่ี 5 การประชมุ วเิ คราะหพฤติกรรมการนิเทศ (post-conference analysis)เปน การ เปดโอกาสใหครูและผูนิเทศไดปฏิบัติตั้งแตเริ่มตนในขั้นตอนที่ 1 จนถึงขั้นตอนที่ 4 เพื่อคนหาถึง พฤติกรรมการนิเทศที่ดี และที่บกพรองสมควรปรับปรุงโดยที่ครูมีสวนรับผิดชอบที่จะใหขอมูล ปอนกลับเกีย่ วกบั พฤตกิ รรมการนิเทศ 2. การนิเทศแบบระบบพเ่ี ล้ียง (Mentoring Supervision) Mentoring หมายถึง ผูที่มีความรู ความสามารถเปนที่ยอมรับที่สามารถใหคำปรึกษาและแนะนำ ชว ยเหลอื ครูเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพใหสงู ข้นึ และสามารถจดั กิจกรรมการเรยี นรไู ดอ ยางมีคณุ ภาพ พเ่ี ลยี้ ง หรือ Mentor จะดูแลครู ครูที่ไดรับการดูแลจากพี่เลี้ยง เรียกวา Mentee บางองคกรจะเรียกระบบ พี่เลี้ยง หรือ Mentoring System นี้วา Buddy System ซึ่งเปนระบบที่พี่จะตองดูแลเอาใจใสนอง คอยใหค วามชวยเหลือและใหค ำปรึกษาแนะนำ เมอ่ื Mentee มปี ญ หา คณุ ลกั ษณะของ Mentor 1. มีทักษะในการสรา งปฏสิ มั พันธกบั ผูอ ื่น (Interpersonal Skills) 2. มีทักษะในการจูงใจ (Influence Skills) 3 . ก า ร ย อ ม รั บ ผ ล ส ำ เ ร็ จ ใ น ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ผู อื่ น ( Recognized other’s accomplishment) 4. การมที กั ษะในการนิเทศ (Supervisory Skills) 5. มีเทคนคิ ในสายวชิ าชพี (Technical Knowledge) บทบาทหนา ท่ขี อง mentor 1. Guide Mentor จะเปน ผแู นะแนวแกกลมุ Mentee ในการระมดั ระวังปญ หาและ อุปสรรคตอการทำงาน 2. Ally Mentee เปน พนั ธมติ รทค่ี อยใหขอ มลู แก Mentee 3. Catalyst Mentor เปนผูกระตุน ใหกลุม Mentee มองภาพวิสยั ทศั นและอนาคตของ สถานศกึ ษาวา จะไปในทิศทางใด 4. Savvy Insider Mentor เปน ผูม ีความรู ทักษะ และประสบการณในการจดั การศกึ ษาให มีแนวทางในการจัดการศึกษาใหประสบความสำเร็จและสามารถใหแนวทางแกกลุมMentee ในการ จัดกิจกรรมการเรยี นรูใหบ รรลุตามเปา หมายทีส่ ถานศกึ ษากำหนด 5. Advocate ในขณะท่ีกลุม Mentee เกดิ การเรียนรนู ้ัน สมาชิกจะเริม่ มองเห็นวาตนเอง

34 สามารถผลักดนั ความเจรญิ กา วหนาและแผนพัฒนาความกา วหนา ดวยตนเอง Mentor จะทำหนา ท่ี ชว ยให Mentee ไดม โี อกาสแสดงความสามารถใหเ หน็ เปนทีป่ ระจกั ษ 3. การนิเทศแบบชแี้ นะ (Coaching Supervision) เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching) เปนการชี้แนะครู โดยผูชี้แนะ (Coach) อาจเปน ศึกษานิเทศก ผูบริหารสถานศึกษา ผูนิเทศภายในที่สามารถเปนผูชี้แนะได ผูไดรับการชี้แนะ (Coached) สวนใหญเปนครูในสถานศึกษา การนิเทศแบบชี้แนะจะเนนไปที่การพัฒนาผลการ ปฏบิ ตั งิ าน (Individual performance) และพฒั นาศักยภาพ (Potential) ของครู Coaching เปน การสื่อสารอยางหนึ่งที่เปนทางการและไมเปนทางการ เปนการสื่อสารแบบสองทาง (Two way Communication) ผนู ิเทศและครไู ดร วมกันแกไขปญ หาตา ง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู แนวปฏบิ ตั กิ ารนิเทศแบบช้แี นะ 1. กำหนดเวลาใหเ หมาะสมกบั เน้ือหาท่ตี อ งการช้แี นะ 2. มคี วามพรอมในการชี้แนะ 3. สขุ ภาพรางกายแขง็ แรง 4. วธิ ีการชีแ้ นะมคี วามเหมาะสมกับเน้อื หาสาระและผรู ับการนิเทศ 5. ศกึ ษาขอมลู เก่ียวกับเนื้อหา/ขอบเขตของงานทน่ี เิ ทศโครงสรางสถานศกึ ษา วสิ ัยทศั น นโยบายตา ง ๆ ของสถานศกึ ษา ขอ มูลเก่ยี วกับผูร ับการนเิ ทศ 6. เตรยี มความพรอ มดา นส่อื อุปกรณ เครอ่ื งมอื ที่ใชใ นการนเิ ทศชแ้ี นะ 7. เขา ใจจติ วิทยาการเรียนรูข องครู 4. การนเิ ทศแบบ Coaching & Mentoring Coaching เปนการชี้แนะ/สอนงานใหแ กผูถูกช้แี นะ โดยผูชี้แนะ(Coach) อาจเปน ผูบริหารสถานศึกษา ผูนิเทศภายในหรือศึกษานิเทศกที่สามารถเปนผูชี้แนะ สอนงานได ผูถูกชี้แนะ (Coached) สวนใหญเปนครูที่อยูในสถานศึกษา การนิเทศแบบชี้แนะจะเนนไปที่การพัฒนาผลการ ปฏิบัติงาน (Individual Performance) และพัฒนาศักยภาพ (Potential) ของครู Coaching เปน การสื่อสารอยา งหน่ึงที่เปน ทางการและไมเปนทางการระหวางผูช ี้แนะและผูถ ูกชี้แนะ เปนการส่ือสาร แบบสองทาง (Two way Communication) ทำใหไดรวมกันแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในการจัด กิจกรรมการเรียนรู เชน ปญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผูเรียนต่ำ ผูเรียนออกกลางคัน สื่อที่ใชใน การจัดกจิ กรรมการเรียนรูไมมีคณุ ภาพ ซึ่งการรว มกนั แกไขปญ หาดงั กลาวกอใหเกิดความสัมพันธอันดี ระหวา งผชู แี้ นะ (Coach) และผถู ูกชแี้ นะ (Coached) อยางไรกต็ ามการท่ีจะ Coaching ไดดีนั้น ตอง มคี วามพรอมท้งั ผูช ีแ้ นะและผูถกู ชแ้ี นะ

35 แนวทางการชี้แนะ การชวยเหลือครจู ำเปนตองใชกลุมบุคคล บทบาท และกิจกรรมทห่ี ลากหลายเพือ่ นำพาครู ไปสจู ดุ หมายทพ่ี ึงประสงคก ารนิเทศเปนการดำเนินการโดยผมู ีประสบการณในการใชก ระบวนการวิธีการ ตาง ๆ ในการใหความชวยเหลือ อำนวยการ กำกับ ดูแล เพื่อคุณครูสามารถพัฒนาความรู ความสามารถไดตามเปาหมายขององคกร การเปนพ่เี ลี้ยง เปน วธิ ีการทผี่ ูท มี่ ีประสบการณใ หค วามชวยเหลือผทู ี่มีประสบการณน อยกวา ใหไ ดรับการ พัฒนาทั้งเรื่องวิชาชีพและการดำเนินชีวิตใหพัฒนาไปสูเปาหมายที่ไดวางไวรวมกันการอบรมเปน วิธีการใหความรูความเขาใจในการปฏิบัติงาน โดยมีหลักสูตรและวิธีการใน การดำเนินการเฉพาะให ไดผลตามมาตรฐานท่วี างไว การช้ีแนะ เปนวิธกี ารในการพฒั นาสมรรถภาพการทำงานของคุณครู โดยเนนไปทีก่ ารทำงานใหไ ดต าม เปาหมายของงานนั้น หรือ การชวยใหส ามารถนำความรูความเขาใจที่มอี ยูและ/หรือ ไดรับการอบรม มาไปสูก ารปฏบิ ตั ิได เครื่องมอื การชีแ้ นะ เครอ่ื งมอื สำคญั ของการชแ้ี นะคือ รูปแบบการใชภาษาแบบตาง ๆ ทช่ี ว ยใหค รูเกิดการเรียนรู รูปแบบการใชภาษาของผูชี้แนะเหลานี้ จะเปนแบบอยางใหครูนำไปใชในการชี้แนะตนเองไดใน ภายหลัง การใชภาษาในการชี้แนะ มีคุณภาพและระดับที่แตกตางกันไป ซึ่งผูชี้แนะตองเลือกใชให เหมาะสมกับสถานการณ ในสถานการณที่ครูประสบปญหาในการสอน ผูชี้แนะจำนวนมากมักมี แนวโนมบอกวิธีการแกปญหาหรือใหแนวทางแกครูเปนหลัก แทนที่จะชวยใหครูไดคิดและหาวิธีการ แกปญ หาดว ยตนเอง ซง่ึ ผชู ี้แนะตองตัดสินใจเลอื กโดยการถามตัวเอง จำนวน 3 คำถามคือ 1. เราควรบอกวธิ กี ารแกปญหาไปเลยหรือไม 2. เราควรรวมมือกับคุณครูในการแกปญหา ดวยการใหขอมูลบางอยางและหาทางแกรวมกัน หรือไม 3. เราควรใหค ุณครูไดเรียนรูและแกป ญ หาดว ยตวั เองหรือไม

36 การนเิ ทศแบบ Mentoring Mentoring การเปนพีเ่ ลีย้ ง (Mentor) เปนการใหผ ทู ีม่ คี วามรคู วามสามารถหรือเปนที่ยอมรับ หรือผูบริหารในหนวยงานใหคำปรึกษาและแนะนำชวยเหลือรุนนองหรือผูที่อยูในระดับ ต่ำกวา (Mentee) ในเรื่องที่เปนประโยชนตอการทำงานเพื่อใหมีศักยภาพสูงขึ้น การเปนพี่เลี้ยงอาจ ไม เกี่ยวกับหนาที่ในปจจุบันโดยตรงการ Mentoring นอกจากใชกับพนักงานใหมแลว ยังสามารถนำ วิธีการนี้มาใชกับพนักงานที่ปฏิบัติงานในองคกรมากอน โดยคุณลักษณะของผูที่เขาขายของการเปน Mentee ในองคก รไดน ้ัน ควรมีคุณลกั ษณะท่สี ำคญั ดงั ตอไปนี้ 1. เปน ผทู ม่ี ีประวัตใิ นการทำงานท่ปี ระสบความสำเรจ็ 2. เปนผทู ่ีมคี วามเฉลยี วฉลาดและมคี วามคดิ สรางสรรคใ นการทำงาน 3. เปน ผทู ี่มคี วามผูกพนั กบั บริษทั และผูกพันกบั หนาที่การงานทไ่ี ดรับมอบหมาย 4. เปน ผทู ม่ี ีความใฝฝน และความปรารถนาที่จะทำงานใหบ รรลเุ ปาหมาย 5. เปนผูที่ชอบความทาทายและเตม็ ใจพรอมทีจ่ ะทำงาน 6. เปนผทู มี่ ีความปรารถนาท่ีจะไดร ับความกาวหนาและการเตบิ โตในสายอาชพี 7. เปนผทู ่ีเตม็ ใจรบั ฟงคำชี้แนะและขอ มลู ปอ นกลบั จากหัวหนางานและคนรอบขางเพอื่ การ พฒั นาและปรับปรงุ ตนเองอยูเสมอ บทบาทหนาทข่ี อง Mentor ในองคก รแหง การเรยี นรซู ง่ึ ทุกคนตองเรียนรูไปพรอมกนั เปนทีมนั้น Mentoring แบบกลมุ มี ความเหมาะสม ท่ีจะนำมาใชพฒั นาบุคคลในองคกรไดดี โดย Mentor หรือ Learning Leader จะทำ หนา ท่ี ดังนี้ 1. Guide เปน ผูค อยช้ีชอ งทางแกกลมุ Mentee และคอยเตอื นใหร ะมัดระวังจุดอนั ตราย แตจะไมเ ปน ผตู ัดสินใจเลือกทางให จะชวยใหกลุมมองเหน็ ภาพขององคกรในอนาคต เพื่อกลุมยอนไป ดูวาการท่เี ขากาวหนาในงานข้นึ มาจนอยูในตำแหนง ปจ จุบัน เขาไดใชทักษะ วิธกี ารและพฤติกรรมท่ีดี หรือไมดีอยางไรบาง นอกจากนี้ยังคอยตั้งคำถามที่กระตุนใหกลุมหาคำตอบซึ่งจะทำใหกลุมสามารถ มองเห็นกลยุทธและเทคนิคใหม ๆ ที่จะนำไปใชในสถานการณตาง ๆ ได การเรียนรู Mentee ไมได เรยี นรูจ ากประสบการณข องตนเองเทานนั้ แตจะเรียนรูจ ากประสบการณของ Menteeอน่ื ๆในกลมุ 2. Ally เปน พนั ธมิตรทคี่ อยใหข อมูลแก Mentee แตล ะคนในกลมุ วา บคุ คลนอกกลุม เขา มองจุดออน จุดแข็งของ Mentee แตละคนอยางไร หาก Mentee เลาถึงปญหาของตนก็จะฟงอยาง ต้งั ใจเหน็ อกเหน็ ใจ แลว ใหข อมูลความเห็นท้งั ทางดีและทางไมดอี ยางตรงไปตรงมาและ เปนมิตร 3. Catalyst เปน ผูกระตนุ ใหก ลุม มองภาพวิสัยทศั นขององคกรและอนาคตของตนเอง ชี้ใหเ หน็ วาในอนาคตจะมีอะไรท่ีเปน ไปไดเกิดข้นึ บางแทนการคาดการณ การมองภาพในอนาคตน้ันให มองออกไปนอกแวดวงการทำงานของแตล ะคนดว ย

37 4. Savvy Insider Mentor เปนผซู ่งึ อยใู นหนว ยงานมานาน พอจะรูวา งานตาง ๆ ใน หนวยงานประสบความสำเร็จไดอยางไร รูลูทางวาหาก Mentee ในกลุมแตละคนจะกาวหนา บรรลุ เปาหมายที่กำหนดไวจะตองเดินไปทางไหน จะเปนผูทำหนาที่เชื่อมโยง Mentee กับบุคคลอื่นใน องคกรที่สามารถชวยใหM entee เกดิ การเรยี นรไู ด 5. Advocate ในขณะที่กลุมเกดิ การเรียนรูน้นั สมาชิกจะเรมิ่ มองเห็นวา ตนเองสามารถ ผลักดันความเจริญกาวหนาและพัฒนาแผนความกาวหนาไดดวยตนเอง Mentor จะทำหนาที่ชวย ใหMentee ไดมี โอกาสแสดงความสามารถใหเห็นเปนที่ประจักษแกผูบังคับบัญชา (Visibility) เชน เมื่อ Mentee เสนอโครงการปฏิบัติงานที่เห็นวาดี ก็พยายามผลักดันใหโครงการนั้นไดรับอนุมัติให ดำเนนิ การไดเพือ่ Mentee จะไดม โี อกาสแสดงความรคู วามสามารถ กลา วโดยสรุป Coaching คอื การเปน ผสู อนใหก ับผใู ตบ งั คับบญั ชาในเรือ่ งของงานท่ี รับผิดชอบ โดยผูรับการสอนจะเปนผูที่มีผลงานอยูในระดับมาตรฐาน สวนการ Mentoring นั้นเปน การใหคำปรึกษาและแนะนำชวยเหลือใหกับพนักงานใหมหรือพนักงานที่มีอยูเดิมที่มีผลงานอยูใน ระดับสูงกวามาตรฐาน ในเรื่องที่เกี่ยวของกับงานและอื่น ๆ ที่จะทำใหศักยภาพของพนักงานสูงข้ึน อันจะสงผลตอการพัฒนาองคกรตอไปในอนาคต อยา งไรก็ตามท้ัง Coaching และ Mentoring ตางก็ เปน เทคนิคในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ที่จะทำใหทั้งผูบังคบั บัญชา ผูใตบ งั คับบญั ชาทำงานไดอยาง เต็มศักยภาพ และองคกรมีความพรอมในการรับการเปลี่ยนแปลง มีผลการปฏิบัติงานเปนไปตาม เปาหมายทวี่ างไวอ ยางมีประสิทธิภาพ ดงั นนั้ Mentor(พีเ่ ลี้ยง) คอื ผทู มี่ ปี ระสบการณส ูงและเช่ียวชาญ เฉพาะทางปฏิบัติงานรวมกับผูมีประสบการณนอยกวาสัมพันธภาพของพี่เลี้ยงและผูรวมงานจะเปน สัมพันธภาพเชงิ บวก มกี ารแลกเปลย่ี นความคิดเห็น การปฏบิ ตั ิตนเปนตนแบบและเคารพความคิดเห็น ซึ่งกันและกัน นอกจากเปนแมแบบแลวผูที่เปน Mentor ยังตองมีบทบาทของการเปนผูสอนงานหรือ ผูชี้แนะ (Coach) ดวย ทั้งนี้การเปนพี่เลี้ยงและการเปนผูฝกสอนมุงเปาหมายที่การเปลี่ยนแปลง พฤตกิ รรมของผูรว มงานใหมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธผิ ล 5. การนิเทศแบบสอนและสะทอ นคดิ (Reflective Coaching Supervision) การนิเทศแบบสะทอนคดิ (Reflective Coaching Supervision) เปน การนิเทศแบบช้แี นะ (Coaching Supervision) รูปแบบหนึ่งที่มุงใหความสำคัญกับการสะทอนกลับผลการสังเกตการณ ปฏิบัตงิ านของผูร บั การนเิ ทศและใหความสำคัญในเร่ืองความรว มมือในการทำงานระหวา งผูนิเทศและ ผรู ับการนิเทศในฐานะทเ่ี ปน partner ในการทำงานรว มกนั หลกั การสำคญั 1. ผูนเิ ทศตองมีบทบาทเปน ผูสนบั สนุนไมใชผ ปู ระเมนิ 2. เปนการนเิ ทศที่ชวยผรู บั การนเิ ทศจดั การปญหาในการทำงานโดยมุงความสนใจไปทนี่ ักเรียนให มสี วนรวมในกจิ กรรมท่คี าดหวงั และอธบิ ายในเชงิ พฤติกรรมของผเู รียน

38 3. การสะทอนกลับจะทำใหผ ูรับการนิเทศไดค นพบศักยภาพที่ดีในการทำงาน กระบวนการ Reflective Coaching กิจกรรมในหองเรียน (Lesson day) กำหนดประเดน็ ท่ตี องสงั เกตและวธิ กี ารบนั ทึกขอมูล การสะทอนคดิ (Reflective) จดบนั ทึกยอประเด็นทีส่ ังเกตเลอื กประเดน็ เปา หมายท่ีจะรว มหารือ การอภิปรายรว มกัน (Debriefing) ทั้งสองฝา ยเขยี นบรรยายประเดน็ ท่ีสงั เกตอยางละเอียดมานำเสนอ รวมแลกเปลีย่ นความ คดิ เหน็ 6. การนิเทศรูปแบบประชมุ อบรม สัมมนา การประชมุ อบรม สัมมนา เปนรปู แบบการนิเทศทีม่ ศี กึ ษานิเทศกพบปะครูหรอื ผูรบั การ นิเทศ ซึ่งอาจจะจัดเปนกลุมใหญๆ หรือกลุมยอย ๆ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเนื้อหาหรือสื่อที่จะใชในการนิเทศ การประชุม อบรม สัมมนานั้น มีจุดประสงคสวนใหญเพื่อใหผูรับการนิเทศไดพัฒนาความรู แต ประสบการณที่เกิดข้นึ จะอยูในระดบั กลาง (สงดั อุทรานนั ท. 2530 : 107) การประชุม อบรม สัมมนา มลี กั ษณะเปนทีน่ า สงั เกต ดังนี้ 1. การประชมุ ชแี้ จง เปนการนิเทศทีผ่ นู ิเทศใชก บั ผูร ับการนเิ ทศทม่ี ีจำนวนมาก เพือ่ นำเสนอ ขอมูลแจงแนวปฏิบัติ ชี้แจงการปฏิบัติงาน เปนตน สามารถดำเนินการเปนกลุมใหญ หรือกลุมเล็กก็ ได ผรู บั การนเิ ทศจะไดร ับความรูหรือรับรูเพื่อนำไปปฏบิ ัติ ผูนิเทศเปน ผูดำเนินการอาจมีการอภิปราย ซกั ถามระหวา งผนู ิเทศกบั ผูรบั การนเิ ทศ 2. การประชุม อบรม สมั มนา เปนการนเิ ทศที่ผูนิเทศใชก บั ผรู บั การนเิ ทศท่ีมีจำนวนมาก เพอื่ ใหค วามรู สามารถดำเนินการเปน กลุมใหญ หรือกลมุ เล็กกไ็ ด ผนู เิ ทศเปนผใู หความรู สวนผรู บั การ นิเทศจะไดรับความรูไ ดวุฒิมากขน้ึ 3. การประชุมปฏิบัติการ (Work Shop) เปน การนิเทศทผี่ ูนิเทศใชกับผูรบั การนเิ ทศทม่ี ี

39 จำนวนมาก เพอื่ ใหผ ูร ับการนเิ ทศไดรับความรูและลงมือฝกปฏิบตั จิ ริงหรือปฏิบัตงิ านแกปญหาดวยกัน เปน กลุมสามารถดำเนินการเปน กลมุ ใหญห รือกลุมเล็กกไ็ ด ผูร ับการนเิ ทศจะไดรับความรแู ละทักษะไป พรอ ม ๆ กัน ผูนเิ ทศเปน ผูด ำเนนิ การ อาจมีการอภปิ รายซักถามระหวางผูนิเทศกับผรู บั การนเิ ทศ การ ประชมุ ปฏบิ ัตกิ ารนผ้ี ูนิเทศจะมปี ฏิสัมพันธกบั ผูรับการนิเทศมาก จากการศกึ ษา สรุปไดว า รปู แบบการนเิ ทศแบบการประชุม อบรม สัมมนาน้ี เปนรปู แบบท่ี ผูรับการนิเทศไดรับประสบการณตรงและหลากหลายการเรียนรู ทำใหไดรับความรูความสามารถ นำไปพฒั นางานโดยเฉพาะการจัดการเรียนรูไดเปนอยางดีย่งิ 7. การนิเทศทางไกล การนิเทศทางไกล หมายถงึ การถา ยโยงองคความรโู ดยใชส ่อื ส่ิงพมิ พท ่ีผูนเิ ทศการศึกษาใช ปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน ตลอดจนงานอื่น ๆ ที่มีตอการเรียนการสอนเพื่อใหเกิด ประโยชนสูงสุดแกผูเรียนและสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2534 : 4) ใหความหมายการนิเทศทางไกล หมายถึง การนิเทศการศึกษาที่ผูนิเทศและผูรับการนิเทศไมมี ปฏิสมั พันธกันโดยตรงตอ งอาศยั สื่อตา ง ๆ ถา ยทอดสาระในการนิเทศ 1. เน้ือหาเกยี่ วกบั นโยบายการศึกษาของหนวยงานระดบั สูงเนนนโยบายรัฐบาลสมยั ปจจบุ นั นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อดำเนินการ ดานการจัดการศกึ ษาใหสอดคลองกบั นโยบายดงั กลา ว 2. เนื้อหาที่เก่ียวขอ งกับนวัตกรรมทางการศึกษา ไดแก วธิ ีการ สื่อ อปุ กรณเ ทคโนโลยใี หม ๆ ท่มี ปี ระโยชนต อ การพฒั นาคุณภาพการศึกษา 3. เนื้อหาเกยี่ วกับโครงการกิจกรรมตา ง ๆ ของโรงเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน เชน ผูบริหารโรงเรยี นดีเดน ครูดีเดน กิจกรรมสหกรณ ดเี ดน กจิ กรรมประชาธปิ ไตยดีเดน เปน ตน 4. ผลการศึกษาคนควา ทดลอง วเิ คราะห วจิ ัย ทเ่ี ปน ประโยชนต อการเรียนการสอน เชน การทดลองโดยใชสอื่ ประเภทตาง ๆ ไดแ ก เกม เพลง นิทาน บทบาทสมมตุ ิ ชดุ การสอน รูปภาพ สไลด ฯลฯ การบริหาร เชน การสำรวจ ปญหาการบริหารโรงเรียนประถมศึกษา ขวัญกำลังใจ การ ปฏิบัตงิ านของผบู รหิ าร เปนตน 5. การนเิ ทศการศึกษา เชน การประยกุ ตใ ชวธิ กี ารนิเทศแบบคลนิ ิกในโรงเรยี นประถมศึกษา สภาพการนิเทศภายในของโรงเรียนประถมศึกษา เปนตน เพื่อนำมาเปนขอมูลในการปรับปรุงและ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาสำหรับการนิเทศทางไกลในยุคการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 นี้ มสี ่ือเทคโนโลยี ที่นำมาใชเ ปนเครื่องมือในการสื่อสารการนิเทศมากมาย เชน การนิเทศผานกลุมไลน เฟสบุค เว็บไซต โทรศัพทห ลักในการนเิ ทศทางไกล

40 5.1 การนเิ ทศทางไกลเปน การนิเทศโดยผา นสือ่ 5.2 การนเิ ทศทางไกลเปน การส่อื สารทางเดียว ผูน ิเทศจะไมไ ดร บั ขอ มลู ยอ นกลับทันที 5.3 การนิเทศทางไกลตองดำเนินการอยางตอเนื่องและสม่ำเสมอ 5.4 สอื่ ทใ่ี ชในการนเิ ทศทางไกลตอ งสง ถึงบุคคลกลมุ เปาหมายอยางครบถวนเพ่ือปรบั ปรงุ และเพิ่มประสทิ ธิภาพการปฏิบตั งิ าน 5.5 สือ่ ท่ใี ชในการนิเทศ เนนความถูกตอง ชดั เจน เบ็ดเสร็จในตัวเอง เหมาะสมกบั สภาพ ปญ หาความตอ งการและสอดคลอ งกบั ทองถิ่น ประโยชนข องการนิเทศทางไกล สำนกั งานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหงชาติ (2532 : 39) กลาววา “หนังสือเปนสิ่งที่ สง สารไปถงึ ผรู บั เปน ลายลักษณอ ักษร และภาพประกอบ สารทีส่ งดว ยหนงั สอื และส่งิ พิมพก ็ดี ผูรับไม จำเปนตองมีกำหนดเวลารับสาร เชน ฟงวิทยุ การดูโทรทัศน หรือภาพยนตร ซึ่งมีกำหนดเวลาสงสาร นอกจากน้นั ยงั สามารถอานใหมคี วามเขา ใจดขี น้ึ ไดหลาย ๆ คร้งั หรอื อาจตัดเก็บสำเนาไวเ ปนหลกั ฐาน เม่ือมคี วามจำเปน 8. การนเิ ทศแบบกลั ยาณมติ ร กรอบความคิดพนื้ ฐานของกัลยาณมิตรนเิ ทศ คอื หลักธรรมความเปนกลั ยาณมิตร ของ พระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมไทย ไดแ ก ความมีนำ้ ใจ การรวมทุกขร วมสขุ การชวยเหลอื เกื้อกูลและ แนวทางที่ถูกตองดวยการยอมรับนับถือและใหเกียรติซึ่งกันและกัน เปนการนิเทศที่มุงพัฒนาคน มากกวาการพัฒนาเอกสารและผลงาน โดยกลั ยาณมิตร 7 ประการ ไดแก 1. ปโย หมายถงึ นารัก สบายใจ สนิทสนม ชวนใหอยากปรกึ ษา 2. ครุ หมายถึง นาเคารพ ประพฤตสิ มควรแกฐ านะ รสู กึ อบอนุ เปน ท่พี ง่ึ ไดและปลอดภยั 3. ภาวนโี ย หมายถึง นา เจรญิ ใจหรอื นา ยกยอ ง ทรงคณุ ความรู และภมู ิปญญาแทจ ริง ทงั้ เปน ผฝู ก อบรมและปรับปรุงตนอยูเ สมอ ควรเอาอยา ง ทำใหระลกึ และเอยอา งดวยความซาบซึ้งภมู ใิ จ 4. อตตฺ า จ หมายถงึ รูจกั พดู ใหไ ดผล รูจกั ชี้แจงใหเ ขาใจ รวู า เมอื่ ไรควรพูดอะไรอยางไร คอย ใหค ำแนะนำ วา กลา วตักเตือน เปนท่ปี รึกษาท่ีดี 5. วจนกขฺ โมหมายถงึ อดทนตอถอ ยคำ พรอมทจี่ ะรบั ฟงคำปรึกษา ซกั ถาม คำเสนอแนะ วพิ ากษวิจารณ อดทนฟง ไดไมเ บื่อไมฉ ุนเฉียว 6. คมภฺ ีรจฺ กถํ กตฺตา หมายถึง แถลงเรอ่ื งล าลกึ ได สามารถอธิบายเร่ืองยงุ ยากซับซอ น ให เขา ใจและใหเ รยี นรูเร่อื งราวทล่ี ึกซงึ้ ย่ิงข้นึ ไปได 7. โน จฎฐาเน นโิ ยชเน หมายถึง ไมแ นะนำในเรื่องเหลวไหล หรือชกั จูงไปในทางเสือ่ มเสยี

41 (พจนานุกรมพุทธศาสตร: 2528)จะเห็นไดวา กัลยาณมิตรธรรม 7 นี้ มุงเนน ความปลอดโปรงใจ ไม บีบคั้น เนนความมีน้ำใจ ชวยเหลือเกื้อกูล สรางความเขาใจ กระจางแจง แนะแนวทางที่ถูกตองดวย การยอมรับนับถอื ซ่ึงกนั และกัน สรุปไดว า กระบวนการกัลยาณมิตร คอื กระบวนการประสานสมั พันธระหวา งบคุ คล เพือ่ จุดหมาย 2 ประการ คือ 1) ชี้ทางบรรเทาทุกข 2) ชี้สุขเกษมศานต โดยทุกคนตางมีเมตตาธรรม พรอมจะ ชีแ้ นะและชว ยเหลอื ซง่ึ กันและกัน กระบวนการกลั ยาณมติ ร ชว ยใหบุคคลสามารถแกปญหาไดโ ดยการ จัดขน้ั ตอนตามหลักอรยิ สจั 4 ดงั นี้ 8.การปฏบิ ัตเิ พื่อแกป ญหา มรรค ตามแนวทางที่ถกตอง 7. การจดั ลำดบั จุดหมาย ของภาวะพนปญหา 6. การรวมกันคิดวเิ คราะห ความเปนไปไดของการแกปญหา 5. การกำหนดจดุ หมายหรือสภาวะพน ปญหา นโิ รธ 4. การจัดลำดบั ความเขมระดับของปญหา 3. การรว มกันคดิ วิเคราะหเหตุผลของปญหา ทุกข 2. การกำหนดและจัดประเด็นปญ หา ทุกข 1. การสรางความไววางใจ ตามหลกั กัลยาณมิตรธรรม 7 แผนภูมขิ ั้นตอนการสอนตามกระบวนการกัลยาณมิตร

42 หากพจิ ารณาแผนภูมขิ างตน กระบวนการนเิ ทศโดยชี้ทางบรรเทาทกุ ข มีข้ันตอนคอื 1) การสรางความไววางใจ 2) การกำหนดปญหาและแนวทางแกป ญ หา 3) การศึกษา คนควา คิดวเิ คราะหรวมกันถงึ เหตุปจ จยั แหงปญหา 4) การจัดลำดบั ความเขม หรอื ระดบั ความซบั ซอ นของปญหา 5) การกำหนดจดุ หมายของการแกป ญ หา หรือวตั ถุประสงคของภารกจิ 6) การวเิ คราะหความเปนไปไดห รอื ทางเลอื ก 7) การจดั ลำดบั วัตถปุ ระสงคและวิธีการ 8) การกำหนดวธิ ีการทถ่ี กู ตองเหมาะสมหลาย ๆ วธิ ี แผนภูมขิ ้นั ตอนชีท้ างบรรเทาทกุ ข และชี้ สุขเกษมศานตนี้ นักการศึกษาสวนใหญมุงนำไปใชในกิจกรรมการแนะแนวและการใหคำปรึกษา (Guidance and Counseling) แกนักเรียนและนิสิต นักศึกษา อยางไรก็ตามหากจะนำขั้นตอน ดังกลาวมาใชในการแกปญหาทางการพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนและการ พฒั นาครูกย็ อมจะประยกุ ตใชไ ด ปจ จัยท่ีเกอ้ื หนุนกระบวนการกลั ยาณมิตร การนำกระบวนการกลั ยาณมติ รมาใชใ นการพัฒนาครูและการปฏริ ูปการศึกษามีปจ จัยหลัก 4 ประการที่เกื้อหนุนใหทุกขั้นตอนดำเนินไปดวยดี ไดแก 1) องคความรู 2) แรงหนุนจากตนสังกัด 3) ผบู ริหารทกุ ระดับ 4) บคุ ลากรทั้งโรงเรียน 1. องคค วามรูก ารชแ้ี นะและชว ยเหลอื กนั ในกลุมหรอื หมูคณะ ยอ มตองอาศยั อุดมการณ เปาหมายรวมกัน และมีหลักการความรูที่ไดพิสูจนเห็นจริงแลวเปนพื้นฐาน ตัวอยาง เชนการปฏิรูป กระบวนการเรียนรูข องสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ (2540) ผเู ชี่ยวชาญถงึ 5 คณะ ได พัฒนาหลักการและความรูเกี่ยวกับการสอนที่นักเรียนมีความสุข การเรียนรูแบบมีสวนรวม การสอน และการฝกกระบวนการคิด การพัฒนาสุขภาวะ สุนทรียภาพทางศิลปะ ดนตรี กีฬา และหลักการ ฝกหัดอบรมกาย วาจา ใจ คณะผูเชี่ยวชาญไดนำเสนอหลักทฤษฎีและวิธีการ เพื่อเปนพื้นฐานความรู สำหรับผูบริหารและครูที่ตองการพัฒนาการสอน ซึ่งเนนผูเรียนเปนสำคัญการจัดการความรูใหเปน ฐานสูการปฏิบัติ จึงเปนปจจัยที่จำเปนและกอใหเกิดการเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติ (interactive learning through action, ประเวศ วะสี. 2545 : 57) ทง้ั นี้เพราะผนู ิเทศและบุคลากรในโรงเรียนจะ พัฒนาตนไดก ็ตอเม่อื มีหลักการความรูเปน พ้ืนฐาน และสรา งแนวทางสูจดุ หมายรว มกันเกดิ วัฒนธรรม ความรูขั้นอีกระดับหนึ่ง นอกเหนือจากการใชสามัญสำนึกและประสบการณเดิมกระบวนการ กลั ยาณมิตรท่มี ฐี านความรจู ะเกิดการวิจยั การพฒั นาและวจิ ัยตอเนอื่ งกนั ไป สรา งวฒั นธรรมความรูให เกิดขึ้นในโรงเรียน ดังที่ศาสตราจารยนายแพทยประเวศ วะสีไดอธิบายไวในหนังสือ “เครือขายแหง ปญ ญา” วา วัฒนธรรมความรมู ีองคประกอบ 5 ประการ คือ

43 1. การมฉี ันทะในความรู 2. มีความสามารถในการสรา งความรู 3. ใชความรูใ นการดำรงชีวิตและการทำงาน 4. ไดประโยชนจ ากการใชความรู 5. มีความสุขจากกระบวนการความรทู ้งั หมด วฒั นธรรมความรู (ประเวศ วะสี : 2545) การนิเทศและพฒั นาครูจงึ ตอ งเร่ิมท่กี ารสรางความรู ความเขา ใจทีต่ รงกันในประเดน็ หลกั ทฤษฎี เชน การยดึ ผเู รยี นเปนศนู ยกลาง หรือผเู รยี นสำคญั ที่สุด ทีห่ ลักการอยา งไร ทฤษฎี สรางสรรค ความรู หลักบูรณาการ การพัฒนาพหุปญญา กิจกรรมพัฒนานักเรียน หลักสูตรสถานศึกษาการ ประเมินผลตามการปฏิบัติจริง คืออะไร ถาตางฝายไมมีหลักความรู ก็ยอมตีความกนั ไปคนละทางเกดิ การโตแ ยง โดยไมจ ำเปน ดงั นนั้ จงึ ตอ งมเี อกภาพในหลักการ และมีความหลากหลายในวธิ กี าร 2. แรงหนนุ จากตนสังกัด ปจ จุบันนม้ี ีการตน่ื ตัวอยา งมากในทกุ องคก รทมี่ งุ พัฒนาบุคลากร ใหมีคุณภาพ ทั้งนี้เพราะในสังคมไทยมีการประเมิน การตรวจสอบ และการประกันคุณภาพของ สถานศึกษา การดำเนินงานของโครงการหลายโครงการที่ประสบความสำเร็จเปนเพราะหนวยงานตน สังกดั ไดใหค วามรว มมอื และมีสวนรวมในการวางแผน การปฏบิ ตั ิงาน ตลอดจนการประเมินผล

44 3. ผูบรหิ ารทุกระดบั รายงานผลการดำเนนิ งานปฏิรูปกระบวนการเรยี นรหู ลายโครงการได แสดงใหเ ห็นวา ความสำเร็จของการพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษาขนึ้ อยูกบั ความรูความสามารถและ เจตคติของผูบริหารนับตั้งแตระดับนโยบายจนถึงระดับปฏิบัติในสถานศึกษาการพัฒนาบุคลากรท้ัง โรงเรียนอยางมีประสิทธิภาพนั้น ผูบริหารมีความสำคัญมากดังที่สำนักนโยบายและแผนการศึกษา ไดใหความหมายของผูบริหารสถานศึกษาตนแบบวา “...หมายถึง ผูบริหารสถานศึกษาที่มีผลการ ปฏิบัติงานดีเดนดานการบริหารที่สงเสริมการปฏิรูปการเรียนรู ตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษา แหง ชาติ พ.ศ. 2542 แกไ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 เปนผูนำทางวิชาการ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และความรู ความสามารถ เปนที่ยอมรับของคณะครูนักเรียน ผูบังคับบัญชา กรรมการสถานศึกษา พอแม ผปู กครอง ชุมชนและสังคม...” 4. บุคลากรทั้งโรงเรยี น โครงการสนับสนนุ การฝกอบรมครู โดยใชโ รงเรียนเปนฐานท่ี สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2546) ไดดำเนินการตอจากโครงการนำรองระยะที่ 1 (พ.ศ. 2545) นั้น เกิดขึ้นจากความเชื่อที่วาการพัฒนาครูที่โรงเรียนทั้งโรงเรียน โดยโรงเรียนรวมมือจาก หนวยงานภายนอก ชวยใหมีการปฏิบัติจริง พัฒนาการสอนในสถานการณจริงที่โรงเรียน เกิดการ นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลภายในโรงเรียนอยางตอ เนื่อง ประหยัดคาใชจ า ย และเวลาและสงผลตอการ พัฒนาคุณภาพของผเู รียน ดังทมี่ คี ำกลา วหยอกเยาวา School-Based Training นา จะมปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากกวา Hotel-Based Trainingจุดแข็งของการจัดกิจกรรมปฏิรูปทั้งโรงเรียนท่ี คนพบคือ ครูเกงตองลดดีกรีความเกงลงมาเทียบเคียง แลวเดินไปพรอม ๆ กัน คนใดยังทำไมได ครู เกงตองเขา ไปชว ยเหลือใหเ ขาทำตามแบบกอน แลวถงึ ปลอ ยใหท ำตามแบบของตนเอง การนิเทศแบบกัลยาณมิตรน้ี มูลนิธยิ ุวสถิรคุณ ไดใชเปน หลกั ในการนเิ ทศอาสาของศนู ย โรงเรียนคุณธรรม ซึ่งการนิเทศแบบกัลยาณมิตรจะชวยใหกระบวนการนิเทศประสบความสำเร็จ ผูนิเทศที่มีความเปนกัลยาณมิตร คือ มีความเปนมิตร ชวนใหเขาไปหารือไตถาม ขอคำปรึกษา นาเคารพทำใหผูรับการนิเทศเกิดความรูสึกอบอุน เปนท่ีพ่ึงได นา ยกยองในฐานะเปนผูทรงคุณวุฒิที่มี ความรูและภูมปิ ญญาแทจริง รูจักพูดใหไดผล รูจักชี้แจงใหเขาใจงาย อดทนตอถอยคำ พรอมที่จะรับ ฟงคำปรึกษา คำแนะนำและคำวิพากษวิจารณ สามารถอธิบายเรื่องที่ยุงยากและซับซอนใหเขาใจได และใหเรียนรูเรื่องราวที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นไปได จึงเปนการชี้แนะและใหความชวยเหลือที่ดีและมี ประสทิ ธิภาพ(ศนู ยโ รงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยวุ สถิรคุณ. 2560 : 15) 9. การนเิ ทศการศกึ ษาเชงิ ระบบ การนเิ ทศการศกึ ษาที่ประสบความสำเรจ็ ควรมกี ระบวนการทตี่ อ เนอื่ ง มกี ารเคล่อื นไหวท่ี เปนพลวัตร (Dynamic) นั่นก็คือการนำวงจรคุณภาพ (Quality Loop) หรือวิธีระบบ (System Approach) มาใชใ นการดำเนนิ งาน

45 1. การวิเคราะห ขน้ั การวเิ คราะห เปนข้นั ตอนการทำงานขัน้ แรกที่ผูน เิ ทศควรให ความสำคัญ เพราะการนิเทศจะประสบความสำเร็จ มีประสิทธิภาพสูง ควรตองมีผลการวิเคราะหใน หวั ขอทีส่ ำคัญๆ ดังน้ี 1.1 การวเิ คราะหค วามตองการ ความจำเปน การวิเคราะหค วามตองการ ความจำเปน ควรใชเทคนิคและวิธีการหลายอยางเพื่อใหไดขอมูลที่ครอบคลุม เชน การนิเทศและตรวจเยี่ยม การ สัมภาษณผูบริหารและครูผูสอน การสงแบบสำรวจความตองการ แลวนำขอมูลเหลานั้นมาวิเคราะห ผล จะทำใหไดร ับขอมูลเก่ียวกับความตองการจำเปน ในการพัฒนาการเรยี นการสอนทหี่ ลากหลายและ ครอบคลุม เปนประโยชนตอการออกแบบ กิจกรรมการนิเทศที่ตรงกับความตองการของโรงเรียน กลุมเปา หมาย 1.2 การวิเคราะหเนือ้ หาและภารกจิ เมือ่ ไดข อมลู เกย่ี วกบั ความตองการ ความจำเปน แลว ผูนิเทศจะดำเนินการกำหนดหลักสูตร กิจกรรม ตามลำดับความตองการ แลวกำหนดเนื้อหาใน การนิเทศการศึกษา การจัดโครงสรางและลำดับการนำเสนอ ใหงายตอการสรางความรูความเขาใจ ผรู บั การนเิ ทศไดรบั ความสะดวก มีความรูความเขา ใจ และทักษะในการปฏบิ ัติงาน มคี วามพึงพอใจใน การนเิ ทศ สามารถชักจูงใหเ กดิ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางท่ีดขี ึ้นได 1.3 การวเิ คราะหผรู ับการนิเทศ ผูนิเทศควรทำความรูจกั กบั ผรู บั การนิเทศในทุกมติ ิ เชน เพศ วัย วุฒิการศึกษา ประวัติการรับราชการ นิสัยใจคอ ความสนใจ ความถนัด เปนตน ทั้งนี้เพื่อให สามารถวางแผนการนิเทศ การเลือกวิธีการ สื่อ รวมท้ัง เทคนิคการนิเทศที่เหมาะสมได ซึ่งก็คือ หลกั การนิเทศ ทีย่ ึดผรู บั การนเิ ทศเปนศนู ยกลางในการนิเทศ น่นั เอง 1.4 การวิเคราะหสภาพการณและนโยบาย การนเิ ทศการศกึ ษา ไมเพยี งสนองความ ตองการจำเปนของโรงเรียน ผูบริหาร และครู เทานั้น แตในบางกรณี ก็เปนการนิเทศตามนโยบาย เชน การเปลย่ี นแปลงเกย่ี วกับหลักสูตรวิธีการจดั การเรยี นรู การบริหารจดั การทีส่ นอง กล ยุทธของฝายนโยบาย เปนตน ดังนั้นการวิเคราะหสภาพการณและนโยบาย จึงเปนภาระงาน ท่ีจำเปน ไมย่งิ หยอนไปกวา กนั 2. การออกแบบและพัฒนา เมื่อมีการวเิ คราะหค วามตอ งการ ความจำเปน วิเคราะหผรู ับการ นเิ ทศ เนือ้ หา ภารกิจ และสภาพการณตา ง ๆ อยา งครอบคลุมแลว จะเปนขอ มลู พ้ืนฐาน ที่ สำคญั ในการออกแบบและพฒั นาในหัวขอ ตา ง ๆ ดงั น้ี 2.1 การออกแบบวตั ถุประสงคของการนิเทศ การกำหนดวตั ถุประสงค เปนเสมอื นเข็มทิศ ในการนเิ ทศการศึกษา ผูนิเทศควรใหความสำคัญ อยเู สมอ โดยกำหนดจดุ วัตถปุ ระสงค ทั้งในลักษณะ กวางๆ (Goals) และวัตถุประสงค ที่มีลักษณะเฉพาะ หรือเชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) มีความครอบคลุมทั้งดานพุทธิพิสัย จิตพิสัยและทักษะพิสัย ทำใหการนิเทศการศึกษามีความชัดเจน และครอบคลุม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook