Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2318010TM-ñ╙╣╟│(CS)-┴3

2318010TM-ñ╙╣╟│(CS)-┴3

Published by K. Kosin, 2021-07-05 06:00:09

Description: 2318010TM-ñ╙╣╟│(CS)-┴3

Search

Read the Text Version

ค่มู อื ครู Teacher Script เทคโนโลยี ม.3 (วทิ ยาการคาํ นวณ) ชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 3 กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ผเู รยี บเรียงหนังสอื เรียน ผตู รวจหนังสอื เรียน บรรณาธกิ ารหนังสือเรียน นายชนินทร เฉลิมสขุ นางสาวอารียา ศรปี ระเสริฐ ดร.ฉัททวฒุ ิ พชี ผล นายอภชิ าติ คาํ ปลิว นายเอญิ สรุ ยิ ะฉาย นางสาวสปุ ราณี วงษแ สงจันทร ผูเรยี บเรียงคมู ือครู นายเบนยามนิ วงษป ระเสรฐิ นางสาววรรณกาญจน บุญยก บรรณาธิการคมู อื ครู นางสาวศศธิ ร คงอยู พพิมมิ พพคค รร้งั้งั ทท่ี่ี 21 สสงงววนนลลขขิิ สสทิิทธธต์ิ์ติ าามมพพรระะรราาชชบบััญญญญตัตั ิิ รหัสสินคา 223480324

คําแนะนําการใช้ คูมือครูรายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ม.3 จัดทําข้ึนเพื่อใหครูผูสอนใชเปนแนวทางวางแผนการจัดการเรียน การสอน เพอื่ พฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นและประกนั คณุ ภาพผเู รยี น ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน (สพฐ.) Chapter Overview นาํ นํา สอน โซน 1สรปุ ประเมนิ โครงสรางแผนและแนวทางการประเมินผูเ รียน ขนั้ นาํ 4 แอปพลเิ คชันหนว ยการเรยี นรทู ่ี ประจาํ หนวยการเรียนรู 1. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน หนวยการ Chapter Concept Overview เรียนรทู ี่ 4 เรือ่ ง แอปพลิเคชนั เพอื่ วดั ความรู เดิมของนักเรียนกอนเขาสูกิจกรรมการเรียน สรุปสาระสําคญั ประจาํ หนว ยการเรยี นรู การสอน 2. ครถู ามคาํ ถามกระตนุ ความสนใจของนกั เรยี น วา นักเรียนรจู ักเทคโนโลยี IoT หรือไม (แนวตอบ คําตอบขึ้นอยูกับประสบการณของ นักเรียน ภายใตดุลยพนิ จิ ของครผู สู อน) 3. ครูอธิบายใหนักเรียนฟงวา ในปจจุบัน แอปพลิเคชันไดเขามามีบทบาทกับคนใน สงั คมเปนอยา งมากทั้งในดา นการศกึ ษา ดา น สาธารณสุข หรือดานความบันเทิง ซ่ึงในการ พัฒนาแอปพลิเคชันนั้นจะตองมีการออกแบบ กอ น เพอื่ ใหไ ดแ อปพลเิ คชนั ทตี่ รงตามตอ งการ ของผูใชงานมากท่สี ดุ ปจจุบันแอปพลิเคชันไดเขามามีบทบาทกับคนในสังคม เปน อยางมาก ทั้งทางดา นการศกึ ษา การสาธารณสขุ หรือความบันเทิง ซึ่งในการพัฒนาแอปพลิเคชันนั้น จะตองมีการออกแบบแอปพลิเคชันกอน เพื่อใหได แอปพลิเคชันที่ตรงตามความตอ งการของผูใชง าน ตัวชีว้ ัด ว 4.2 ม.3/1 พฒั นำแอปพลเิ คชนั ที่มกี ำรบรู ณำกำรกับวชิ ำอื่นอย่ำงสรำ้ งสรรค์ โซน 1 ช่วยครจู ดั เกร็ดแนะครู โซน 3 การเรียนการสอน เน้ือหาในหนวยการเรียนรูนี้ จะพูดถึงเทคโนโลยีท่ีเก่ียวของกับ IoT แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหแกผูสอน (Internet of Things) และการเขียนแอปพลิเคชันดวยโปรแกรมภาษาไพทอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรมอยางละเอียด ซึง่ จะมคี วามแตกตา งจากการเขียนโปรแกรมดว ยภาษาไพทอนทวั่ ไป คือ มีการ เพ่อื ใหนกั เรยี นบรรลุผลสัมฤทธต์ิ ามตวั ช้วี ัด เรยี กใชโมดลู Tkinter ทพ่ี ฒั นามาจาก Tk GUI Toolkit ซง่ึ ทํางานอยูบ นระบบ ปฏิบัติการยูนิกซมากอน โดยท่ีผูพัฒนาภาษาไพทอนไดเลือกโมดูลน้ีในการ นาํ สอน สรปุ ประเมนิ พฒั นากราฟก บนภาษาไพทอนเปน หลัก โซน 2 T84 โซน 2 ชว่ ยครเู ตรียมสอน ความรูเสริม (วทิ ยาการคํานวณ) ประกอบดวยองคประกอบตาง ๆ ท่ีเปนประโยชนเพ่ือ อธิบายความรูเสรมิ ทม่ี ีในบทเรยี นเพิ่มเตมิ ชวยลดภาระในการสอนของครูผูสอน สื่อ Digital เกร็ดแนะครู การแนะนาํ แหลง คน ควา จากส่อื Digital ตา ง ๆ ความรเู สรมิ สาํ หรบั ครู ขอ เสนอแนะ ขอ สงั เกต แนวทางการจดั กิจกรรม เพ่ือประโยชนในการจดั การเรียนการสอน นักเรยี นควรรู ความรเู พม่ิ เตมิ จากเนอื้ หา เพอื่ ใหค รนู าํ ไปใชอ ธบิ ายใหน กั เรยี น



















































































นาํ สอน สรปุ ประเมนิ ขน้ั สอน ประเภทท่ี 3 Meta Search Engine Meta Search Engine คือ โปรแกรมค้นหาท่ีใช้หลักการสืบค้นข้อมูลด้วย Meta Tag ซ่ึงเป็นกลุ่ม 15. ครูอธิบายใหนักเรียนฟงเกี่ยวกับเคร่ืองมือ ค�าส่ังในภาษา HTML ประเภท HyperText Markup Language ซ่ึงเป็นโปรแกรมภาษาส�าหรับใช้ สาํ หรบั สบื คน ขอ มลู ผา นอนิ เทอรเ นต็ ประเภท ในการสร้างเวบ็ ไซต ์ กลุ่มค�าสั่ง Meta Tag นจี้ ะมกี ารกา� หนดรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ของเวบ็ ไซต์ เช่น ชอื่ เวบ็ ไซต์ ท่ี 3 Meta Search Engine ซึง่ เปน โปรแกรม ชื่อผู้แต่ง ค�าส�าคัญของเว็บไซต์ รายละเอียดอย่างย่อของเว็บไซต์ โดยผลลัพธ์การสืบค้นข้อมูลด้วย คนหาขอมูลที่ใชหลักการสืบคนขอมูลดวย โปรแกรมค้นหาประเภทนี้จะมีความแม่นย�าน้อยกว่าโปรแกรมค้นหาประเภทอื่น เนื่องจากผู้พัฒนาเว็บไซต์ Meta Tag โดยการคน หาขอ มลู ดว ยโปรแกรม อาจกา� หนดขอ้ มูลใน Meta Tag ไมค่ รบถ้วน ไม่ถกู ต้อง หรอื ไม่ตรงกบั เนื้อหาในเวบ็ ไซต์นนั่ เอง เว็บไซต์ คนหาประเภทน้ีจะมีความแมนยํานอยกวา ท่ีให้บริการ Meta Search Engine เช่น http://askjeeves.com, http://www.debriefing.com, โปรแกรมคน หาประเภทอืน่ http://ixquick.com 16. นักเรียนศึกษาความรูเสริมจากเน้ือหา หรือ Com Sci Focus เรื่อง ความสําคัญของ Meta Search Engine เพอ่ื ขยายความรขู อง นักเรียน ในหนังสอื เรยี น หนา 32 Com Sci ¤ÇÒÁÊÒ¤Ñޢͧ Meta Search Engine Focus Meta Search Engine ส่วนใหญเ่ หมาะสา� หรบั การดา� เนินการสบื คน้ ข้อมลู แบบงา่ ย ซงึ่ การ สบื คน้ ขอ้ มลู ดว้ ยคา� คน้ ทเี่ ปน็ คา� หรอื วลที ม่ี ลี กั ษณะเฉพาะ หรอื การสบื คน้ ทตี่ อ้ งการทดสอบ คา� คน้ เพยี ง 1-2 ค�าคน้ วา่ จะใหผ้ ลการสบื ค้นเปน็ อย่างไร Meta Search Engine ถอื วา่ เปน็ เคร่ืองมือท่ีมีประโยชน์ส�าหรับการสืบค้นข้อมูลในกรณีท่ีรีบเร่งในการค้นหาค�าค้น และ ตอ้ งการดผู ลลพั ธโ์ ดยภาพรวมอยา่ งรวดเรว็ ในหวั ขอ้ เรอื่ งหรอื คา� คน้ ทม่ี คี วามเฉพาะเจาะจง 32 เกร็ดแนะครู กจิ กรรม ทาทาย หลังจากนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับประเภทของเครื่องมือสําหรับสืบคนขอมูล ครจู ดั เตรยี มชอื่ โปรแกรมคน หาประเภทตา งๆ ไวใ หก บั นกั เรยี น ผานอินเทอรเน็ตทั้ง 3 ประเภท เสร็จเรียบรอ ยแลว ครูอาจชวนนกั เรยี นพดู คยุ ประมาณ 5-6 โปรแกรม จากน้ันใหนักเรียนในชั้นเรียนใช เก่ียวกับความแตกตางของเครื่องมือสําหรับสืบคนขอมูลผานอินเทอรเน็ตท้ัง 3 อนิ เทอรเ น็ตในการคน หาขอ มลู วา โปรแกรมคนหาแตล ะประเภท ประเภท พรอมท้ังใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางโปรแกรมคนหาแตละประเภท ท่ีครูกําหนดใหเปนเคร่ืองมือสําหรับสืบคนขอมูลผานอินเทอรเน็ต ทเี่ คยพบเจอ หรอื ครอู าจเปด ตวั อยา งโปรแกรมคน หาแตล ะประเภทใหน กั เรยี นดู ประเภทใด พรอมทั้งใหเหตผุ ลประกอบ T36










Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook