Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 5 การแทนค่าข้อมูลชนิดของข้อมูลและสัญญาณสื่อสารข้อมูล

บทที่ 5 การแทนค่าข้อมูลชนิดของข้อมูลและสัญญาณสื่อสารข้อมูล

Published by zerowaffle, 2018-09-07 13:09:12

Description: บทที่ 5

Search

Read the Text Version

บทท่ี 5การแทนคา่ ขอ้ มูลชนดิ ของข้อมลู และสญั ญาณ การสื่อสารขอ้ มูล

การแทนทขี่ ้อมลู ในคอมพิวเตอร์คอมพวิ เตอรม์ ีการทางาน 3 ขนั้ ตอน ได้แก่ การนาเข้าขอ้ มูลการประมวลผล และการแสดงผลข้อมลู ซ่ึงกระบวนการดงั กลา่ วเปน็ กระบวนการนาเสนอสารสนเทศให้มนษุ ย์เขา้ ใจ แต่ความจริงแล้วทุกสิ่งทกุ อย่างทน่ี าเสนอ ไมว่ ่าจะเปน็ ตวั เลข ตวั อกั ษร ขอ้ ความ การเว้นวรรค ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว หรอื คาสัง่ ต่างๆ นัน้ เคร่อื งคอมพวิ เตอร์จะใช้ เกบ็ ประมวลผลในรูปแบบตวั เลขเท่าน้นั และการแสดงผลต่าง ๆ ท่เี ปน็ ภาพ ขอ้ ความ หรือเสยี ง เปน็ เพียงหนึ่งในวิธกี ารนาเสนอ โดยใช้กลุ่มข้อมลู ตวั เลขมาแปลหรอื แสดงผลให้มนุษยเ์ ขา้ ใจ 1. การแทนที่ข้อมูลดว้ ยตัวเลข (Representint Data as Number) เลขฐานสิบ (Decimal) เป็นตัวเลขทมี่ นุษยป์ ัจจบุ ันใชใ้ นชีวิตประจาวนั ซง่ึตวั เลขประกอบดว้ ยเลข 0, 1, 2, 3,…. จนถึงเลข 9 แต่การใช้ตัวเลขดังกล่าวไม่สามารถใชแ้ ทนค่าในคอมพิวเตอร์ได้ เนอื่ งจากคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ อปุ กรณด์ ิจิทัลจึงใช้เลขเพยี ง 2 ค่า ไดแ้ ก่ เลข 0 และเลข 1 เท่านน้ั ซง่ึ ระบบเลขนี้ เรยี กว่า เลขฐานสอง (Binary Digit หรอื bit) 1.1. บิต (bit) จะเปน็ ส่วนทเ่ี ลก็ ทีส่ ดุ และคอมพิวเตอร์รู้จกั หากเปรียบเทียบบติ กับสวติ ซ์ไฟฟา้ 1 อัน ก็จะมไี ด้เพยี ง 2 สถานะ ได้แก่ การปิดและการเปิดเทา่ น้นั ซ่ึงกค็ ือ การแทนค่า 0 หรือ 1เรียกวา่ 1 บิต หากเราต้องการค่าทม่ี ากข้นึ ก็จะใชห้ ลายบิตมาเรียงต่อกัน เชน่ 1001กรณีนี้เราเรยี กกนั วา่ 4 บิต ซ่งึ เครื่องคอมพิวเตอร์จะนากลุม่ ของบติ เหลา่ นีม้ าแสดงในรูปแบบของข้อมูลท่ีมีความหมาย

1.2. ไบต์ (byte) กล่มุ บิตทเ่ี รยี งต่อกนั จานวน 8 บิต เรยี กวา่ไบต์ (byte) ซง่ึ กลุ่มบิตท่ีเรยี งกนั จานวน 8 บติ สามารถสร้างค่าที่แตกต่างกันได้ถึง 256 คา่ โดยแต่ละบิตจะมีเพยี ง 2 สถานะเทา่ น้ัน ดงั นน้ั ค่า 00000000 เท่ากบั คา่ 0 ในระบบเลขฐานสิบ และคา่11111111 เทา่ กบั 256 ในระบบเลขฐานสบิ ระบบจานวน (Number System) เป็นระบบเลขฐานสองซึง่ คอมพิวเตอร์เขา้ ใจ แต่เปน็ ระบบทม่ี นษุ ยไ์ มค่ นุ้ เคย จึงเกิดความยุง่ ยากในการใช้งาน อีกทั้งเลขฐานสองมีจานวนทจ่ี ากดั เพียง 2 คา่ 14 ในระบบเลขฐานสิบ จะกาหนดเป็นเลขฐานสอง คือ 1110 ดว้ ยเหตนุ ผี้ เู้ ขียนโปรแกรมจึงนิยมเปลยี่ นเลขฐานสองเปน็เลขฐานสิบหกแทน (Hexadecimal : hex) ซง่ึ เลขฐานสิบหกนี้มคี ่าท่ใี ช้ 16 ค่า โดยมีเลข 0 จนถึง เลข 9 ซ่ึงเปน็ เลขทค่ี ้นเคยและใช้ตวั อักษร A ถึง F เพิม่ เติม ทาให้เลขฐานสบิ หกสามารถสือ่ สารกบั ผู้เขยี นโปรแกรมได้ง่ายกว่าเลขฐานสอง อย่างน้อย 10ค่าแรกของเลขฐานสบิ หกก็ใชต้ ัวเลขฐานสิบเช่น 010010110 ในเลขฐานสองจะแทนคา่ดว้ ยเลขฐานสบิ หก คอื 4B

2. การแทนที่ข้อมลู ดว้ ยรหัสอักขระ (Representing Characters:Character Code) รหสั อกั ขระ (Character Code) เปน็ รหสั ท่ใี ช้กาหนดว่าตัวอักขระ (ตวั อักษรตัวเลข และสัญลกั ษณ)์ แต่ละตวั จะแทนด้วยบติ ทเ่ี รียงกนั โดยจะแปลงอักขระท่ใี ช้กันอยู่ใหเ้ ป็นตวั เลขทางคอมพิวเตอร์ (เลขฐานสอง) ซ่ึงได้มีการกาหนดมาตรฐานสาหรับรหสั อกั ขระไวด้ ังนี้ 2.1. รหัสเอบซดี ิก เปน็ รหัสที่พัฒนาโดยบรษิ ัทไอบเี อม็ เพื่อใชก้ ับระบบปฏิบตั ิการขนาดใหญ่ เชน่ OS-390 สาหรับเคร่ืองแมข่ า่ ย S/390 ของไอบเี อม็ ถูกนามาใช้เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ของไอบีเอ็มทผ่ี ลิตเองทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นเคร่ืองเมนเฟรม (mainframe) และเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ระดบั กลาง (Minicomputer) แต่บรษิ ัทผู้ผลติ คอมพวิ เตอร์สว่ นใหญ่จะนยิ มใช้รหัสแอสดมี ากกวา่ รหัสเอบซีดิกเป็นรหสั 8บติ เหมอื นกบั รหัสแอสกที ุกประการ จงึ แทนรหัสอักขระได้ 256 ตัว ปัจจบุ ันรหัสแอบซีดิกไม่เป็นทนี่ ิยมและกาลังเลิกใช้

2.2. รหสั แอสกี เป็นรหัสมาตรฐานท่ีกาหนดโดยสถาบนั มาตรฐานแห่งชาตอิ เมรกิ า (American National Standard Institute : ANSI/) เปน็ รหสั ทใี่ ช้กนัมากทสี่ ุดบนเครื่องมนิ คิ อมพิวเตอร์ ไมโคร-คอมพิวเตอร์ และเครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ่ใี ช้งานบนเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต โดยเรมิ่ ต้นใชค้ รง้ั แรกใน ค.ศ. 1967 รหสั แอสกแี ต่เดิมประกับดว้ ยรหัส 7 บติ เพื่อแทนอักขระทั้งหมด 128 ตัว โดยมี 33 ตัว ท่ไี ม่แสดงผล แตใ่ ช้ควบคมุ การทางานของคอมพวิ เตอร์ เช่น การขึ้นยอ่ หน้าใหม่ การส้นิ สดุ การประมวลผล ใน ค.ศ. 1986 รหัสแอสกไี ด้ปรบั ปรุงใหม่เป็นรหสั 8 บติ โดยเพมิ่ เข้ามา อกี 1บติ เพือ่ ให้ใช้ในการตรวจสอบความถกู ต้อง เรยี กบติ สูดทา้ ยน้วี า่ พารติ บี ติ ซ่ึงสามรถใช้แทนอกั ขระทเี่ ปน็ สัญลักษณ์ได้ 256 ตวั ซึ่งเพยี งพอสาหรับแทนอักษรเพ่มิ เตมิ ในภาษาของแตล่ ะทอ้ งถิ่นที่ใช้ เชน่ อักษรในภาษาไทย ภาษาสเปน โดยจะมผี ังอักขระทแ่ี ตกต่างกันไปเพ่ือรองรับอักขระในแต่ละภาษาเรียกว่า โคด้ เพจ (Codepage) อักขระทง้ั 128ตัวแรกส่วนใหญจ่ ะยังคงเหมือนกนั แทบทุกโค้ดเพจแตบ่ างอกั ขระเท่านัน้ ทมี่ ีการเปลยี่ นแปลง โดยอักขระทอ้ งถน่ิ จะเริ่มใชโ้ ค้ดตงั้ แต่ 129 จนถึง 256

รหัสอักขระ (Character Code) แม้จะสามารถใช้ในการแทนขอ้ มลู ตัวอักษรและตัวเลขจานวนเต็มต้ังแต่ 0 ถึง 9 ในระบบตัวเลขฐานสบิ ทมี่ นษุ ยใ์ ช้ในปจั จุบนั กต็ ามแต่ในความเป็นจรงิ มนุษยย์ ังใชต้ วั เลขทีมีขนาดใหญม่ ากหรอื เล็กมาก ๆ การใช้ตัวเลขในทางวิทยาศาสตร์ การคานวณทางสถิตทิ ี่มจี ุดทศนยิ มหลาย ๆ หลัก หรอื การใช้ขอ้ มลู ที่มขี นาดใหญ่ การใชต้ ัวเลขทเ่ี ปน็ เลขยกกาลงั เหลา่ นเี้ ปน็ ข้อจากัดของรหสั อกั ขระที่ไม่สามารถใชก้ บั ตัวเลขท่ีเป็นทศนิยมหรือเลขยกกาลังมาก ๆ ได้ ดังน้ัน เพือ่ ใหค้ อมพวิ เตอร์สามารถแทนขอ้ มูลทศนยิ มหรอื เลขทมี ีจานวนมากได้ ในคอมพวิ เตอร์ รนุ่ แรก ๆ จะใช้ Floating Unit (FPU) ท่ีมีวงจรการประมวลเฉพาะในสว่ นทเี่ ป็นทศนยิ มเรยี กวา่ Pointing Unit ซึง่ จะอยใู่ นส่วนที่เรยี กว่า ตวั ประมวลผลรว่ มทางคณิตศาสตร์ (Math coprocessor) เป็นแผน่ วงจรพเิ ศษ (Chip) ทีพ่ ฒั นาขนึ้ เพื่อประมวลผลเฉพาะทางคณิตศาสตรด์ ังกล่าว แต่ปัจจบุ นั วงจรนี้จะรวมอยใู่ นหน่วยประมวลผลกลาง (Microprocessor หรอื CPU) ดังนั้น คอมพวิ เตอรใ์ นปจั จบุ นั จึงคานวณขอ้ มูลทมี่ ีขนาดเล็กมาก ๆ เช่น เลขทศนิยมที่ละเอียดมาก หรอื ขอ้ มูลขนาดใหญ่มาก ๆ (เลขยกกาลงั สูง ๆ ) ได้โดยไมต่ อ้ งเพิ่มตัวประมวลผลรว่ มทางคณติ ศาสตรอ์ ีกต่อไป 2.3. รหสั ยูนิโคด้ เป็นรหัสมาตรฐานท่ีมกี ารพฒั นาขึ้นใน พ.ศ. 2534 และพฒั นามาอย่างต่อเนอื่ งรหสั ยนู ิโค้ดช่วยให้คอมพิวเตอร์แสดงผล และจัดการขอ้ ความตวั อกั ษรที่ใช้ระบบการเขียนของภาษาส่วนใหญ่ทว่ั โลก โดยรหัสที่ใชเ้ ปน็ เลขฐานสองต้ังแต่ 1 ถึง 4 ไบต์ จงึ จะสามารถรองรับอักขระไดถ้ ึง 100,000 ตัว และรองรบั ภาษาต่างๆ เชน่ ภาษาจนี เป็นสัญลักษณท์ ม่ี ีตัวอักษรมากกวา่ 30,000 ตวั ได้อย่างเพยี งพอ

ใบความรู้ เร่อื ง ชนิดของขอ้ มูล (Data type) ภาษาซีเป็นอีกภาษาหนึ่งทม่ี ชี นิดของข้อมลู ใหใ้ ช้งานหลายอย่างด้วยกนั ซงึ่ ชนิดของข้อมลู แต่ละอยา่ งมีขนาดเน้อื ที่ท่ใี ช้ในหนว่ ยความจาที่แตกต่างกนั และเน่ืองจากการทีม่ ขี นาดทแี่ ตกต่างกนั นั้นเอง ทาใหม้ ีความสามารถในการจดั เกบ็ ข้อมูลแตล่ ะประเภทแตกตา่ งกนั ไป ดังน้ันในการเลอื กงานประเภทข้อมลู ก็ควรจะคานึงถึงความจาเป็นในการใชง้ านด้วย สาหรับประเภทของข้อมลู มีดังนคี้ อื1. ขอ้ มลู ชนดิ ตัวอกั ษร (Character) คอื ขอ้ มูลท่เี ป็นรหสั แทนตัวอักษรหรือค่าจานวนเตม็ ไดแ้ ก่ ตวั อักษร ตัวเลขและกลมุ่ ตวั อักขระพเิ ศษใช้พน้ื ท่ใี นการเกบ็ ขอ้ มลู 1 ไบต ์2. ขอ้ มูลชนดิ จานวนเตม็ (Integer) คือ ข้อมูลทีเ่ ป็นเลขจานวนเต็ม ไดแ้ ก่ จานวนเตม็บวก จานวนเต็มลบ และศูนย์ ข้อมลู ชนิดจานวนเต็มใช้พื้นทใ่ี นการเกบ็ ขอ้ มลู ขนาด 2 ไบต์3. ข้อมลู ชนิดจานวนเต็มทมี่ ขี นาด 2 เทา่ (Long Integer) คอื ข้อมลู ท่ีเป็นเลขจานวนเต็ม ใชพ้ ืน้ ที่ในการเก็บเป็น 2 เท่าของ Integer คือมีขนาด 4 ไบต์4. ข้อมูลชนดิ เลขทศนิยม (Float) คอื ขอ้ มูลที่เปน็ เลขทศนิยม ขนาด 4 ไบต์5. ขอ้ มลู ชนดิ เลขทศนิยมอยา่ งละเอียด (Double) คอื ขอ้ มูลทเ่ี ป็นเลขทศนยิ ม ใช้พื้นท่ีในการเกบ็ ข้อมูลเปน็ 2 เท่าของ float คอื มขี นาด 8 ไบต์ ชนิด ขนาด ชว่ งของคา่ การใช้งาน ความ กว้างChar 8 บิต ASCII character เก็บขอ้ มูลชนิดอกั ขระ (-128 ถึง 127)Unsignedchar 8 บิต 0-255 เก็บข้อมลู อกั ขระแบบไมค่ ิด เคร่ืองหมายInt 16 บติ -32768 ถงึ 32767 เกบ็ ข้อมูลชนิดจานวนเตม็long 32 บิต -2147483648 ถึง เก็บข้อมูลชนดิ จานวนเตม็ 2147483649 แบบยาวFloat 32 บติ 3.4E-38 ถงึ 3.4E+38 หรือ เกบ็ ขอ้ มลู ชนิดเลขทศนยิ ม ทศนยิ ม 6

Double 64 บิต 1.7E-308 ถงึ 1.7E+308 เก็บขอ้ มลู ชนดิ เลขทศนยิ มUnsigned int หรอื ทศนยิ ม 12 เกบ็ ขอ้ มลู ชนิดจานวนเตม็ 16 บติ 0 ถงึ 65535 ไมค่ ิดเครอื่ งหมาย เก็บข้อมูลชนดิ จานวนเตม็Unsigned long int 32 บติ 0 ถงึ 4294967296 แบบยาว ไม่คดิ เครื่องหมายสาหรับรปู แบบของรหสั ควบคมุ นั้น จะเริ่มตน้ ดว้ ยตวั อกั ษร back slash(\) จากน้นั ก็ตามด้วยตวั อักษรพิเศษรหัสควบคมุ ท่นี ิยมใชก้ ันทัว่ ไปมีดงั น้คี ือ ค่าคงท่ตี วั อกั ษร รหัสควบคุม ความหมาย Bell(Alert) \a ส่งเสียง Beep Backspace \b ย้อนกลับไป 1 ตัวอกั ษรHorizontal tab \t แทบ็ ในแนวนอนNewline(Line Feed) \n ข้ึนบรรทัดใหม่ Vertical tab \v แทบ็ ในแนวตั้ง Form feed \f ขึน้ หนา้ ใหม่Carriage return \r รหสั ReturnQuotation mark(“) \” แทนตวั อักษร Double Quote(’’) Apostrophe(‘) \’ แทนตัวอักษร Single Quote(’) Null \ 0 ไม่มคี า่

สัญญาณแอนะล็อก (Analog Signal) เป็นสัญญาณแบบต่อเนอ่ื ง มลี กั ษณะเปน็ คล่นื ไซน์ (sine wave) โดยท่แี ตล่ ะคล่นืจะมคี วามถี่และความเข้มของสัญญาณที่ต่างกนั เมอ่ื นาสญั ญาณข้อมูลเหลา่ นีผ้ ่านอุปกรณร์ บั สญั ญาณและแปลงสญั ญาณก็จะได้ข้อมูลท่ตี ้องการ ตัวอยา่ งของการส่งข้อมูลท่ีมสี ญั ญาณแบบแอนะล็อก คือ การส่งผา่ นระบบโทรศัพท์ สญั ญาณแอนะลอ็ กเป็นสัญญาณท่มี กั เกิดขน้ึ ในธรรมชาติเปน็ สัญญาณทีม่ คี วามต่อเนอื่ ง ไมไ่ ด้มีการเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเรว็ สัญญาณแบบนี้ เชน่ เสยี งพูด เสยี งดนตรีเป็นต้นสญั ญาณดจิ ิทลั (Digital signal) เป็นสัญญาณทางกายภาพท่ีเป็นตัวแทนดบั ของค่าที่แยกจากกนั (สัญญาณที่มีปริมาณไม่ต่อเนื่องในแกนเวลา) เชน่ กระแสบิตทไี่ ม่มหี ลักเกณฑ์หรือสญั ญาณแอนะล็อกท่ีถูกทาเป็นบิตสตรมี (digitized) (ถูกส่มุ เลอื กและแปลงจากแอนะลอ็ กใหเ้ ปน็ ดิจิทัล )สัญญาณดิจทิ ัลสามารถอา้ งถึงอยา่ งใดอย่างหน่ึงตอ่ ไปนี้ รูปคลืน่ สญั ญาณตามแกนเวลาทีต่ ่อเน่อื งใด ๆ ท่ีใช้ในการสื่อสารแบบดิจิทลั โดยเปน็ ตัวแทนของกระแสบติ หรือลาดับอน่ื ๆ ของคา่ ไมต่ ่อเน่ืองขบวนสัญญาณกระตุกที่สลับไปมาระหว่างจานวนไม่ตอ่ เนื่องของระดบั แรงดนั ไฟฟา้ หรือ ระดบั ของความเข้มของแสง ทรี่ ู้กันว่าเปน็ สัญญาณทเ่ี ขา้ รหสั (line coded signal) หรือการส่งสัญญาณเบสแบนด์ ตวั อยา่ งเชน่ สญั ญาณทีพ่ บในอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกสด์ ิจิทลั หรือในการส่อื สารแบบอนุกรม หรอื pulse code modulation (PCM) ทเี่ ปน็ ตัวแทนของสัญญาณแอนะล็อกทถ่ี ูก digitized

ความสญู เสยี ของสัญญาณจากการสง่ ผ่านข้อมลู1. Attenuation คอื การอ่อนกาลงั ของสัญญาณ เกดิ จากความเขม้ ของสัญญาณได้เบาบางลง เม่อื ไดเ้ ดนิ ทางบนระยะทางไกล ๆ2. Distortion คอื สัญญาณประเภท Composite Signal เคล่อื นท่ดี ้วยความเร็วตา่ งกันทาให้เกิดการรวมกันของสญั ญาณขึน้ ส่งผลให้สัญญาณบดิ เบยี้ วเพ้ียนไปจากเดมิ3. สัญญาณรบกวน (Noise)- Thermal Noise เป็นสัญญาณรบกวนท่ีเกดิ จากความรอ้ น เน่อื งจากสัญญาณที่ว่ิงผา่ นสอื่ กลางจะมีความต้านทานในตวั เอง ทาใหอ้ ุณหภมู ิสงู ข้นึ- Impulse Noise เป็นสญั ญาณรบกวนท่เี กิดขึ้นแบบทนั ทีทันใด ซ่ึงอาจเกิดจากฟ้าแลบฟา้ ผ่า สญั ญาณรบกวนชนิดนี้สามารถลบลา้ งสัญญาณตน้ ฉบบั ทาใหไ้ ม่สามารถแยกแยะเพือ่ การกู้คืนได้- Crosstalk เป็นสัญญาณรบกวนที่เกดิ จากการเหนี่ยวนาของสนามแม่เหลก็ ไฟฟา้โดยเฉพาะสายสญั ญาณท่มี ีการนามามัดรวมกนั ซึ่งหากไม่มีฉนวนป้องกัน จะทาใหเ้ กดิการรบกวนซ่งึ กนั และกนั ได้- Echo เป็นสัญญาณสะทอ้ นกลบั ทาใหโ้ หนดใกล้เคยี งไดย้ นิ และพลนั นกึ ว่าสายส่งขอ้ มูลในขณะนนั้ ไมว่ ่าง แทนท่จี ะสามารถส่งข้อมูลได้ ก็นกึ ว่ามีโหนดอืน่ ใชง้ านอยู่- Jitter สง่ ผลใหค้ วามถี่ของสญั ญาณมีการเปลีย่ นแปลงอยา่ งต่อเนอื่ ง สญั ญาณถกู เลือ่ นเฟสไปเปน็ ค่าอน่ื ๆ

การป้องกันสญั ญาณรบกวน สัญญาณรบกวน เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้ฝ่ายรับได้รับสัญญาณข้อมูลท่ีผิดเพี้ยนไปจากเดิม ไม่เหมือนกับข้อมูลท่ีส่งมาจากผู้ส่ง ดังน้ันในการส่งผ่านข้อมูลทุกระบบจาเป็นตอ้ งมีการป้องกันสญั ญาณรบกวนโดยเทคนิคดังต่อไปนี้จะชว่ ยลดสัญญาณรบกวนได้ 1. ใชส้ ายเคเบิลชนิดท่ีมีฉนวนป้องกันสัญญาณรบกวน ซงึ่ เปน็ เทคนคิ หนึ่งทช่ี ว่ ยลดการแทรกแซงคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้าและครอสทอลก์ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 2. สายโทรศัพท์ควรอยู่ในสภาวะที่เหมาะสม เช่น มอี ุปกรณก์ รองสญั ญาณทีช่ ว่ ยลดสญั ญาณทไี่ ม่สมา่ เสมอ ซ่ึงบรษิ ัททรี่ ับผิดชอบโครงข่ายโทรศัพท์สามารถจดั หาใหไ้ ด้หรือใช้สายเช่าความเรว็ สงู (LeaseLine) ทีจ่ ะช่วยลดข้อผิดพลาดจากการส่งผา่ นขอ้ มลูระยะไกลได้ 3. ใชอ้ ุปกรณใ์ หมท่ มี่ ีประสิทธภิ าพและทันสมัยกว่า เพือ่ ทดแทนอปุ กรณเ์ ดมิ ท่ีหมดอายุการใชง้ านประสทิ ธิภาพตา่ ถึงอุปกรณ์จะมีราคาแพง แต่ก็ได้ผลของการส่งผา่ นข้อมูลท่ดี ีขึ้น 4. เม่อื ต้องการเพม่ิ ระยะทางในการส่งขอ้ มลู ดจิ ิตอล ให้ใช้รีพีตเตอร์ หรอื ใชแ้ อมพลไิ ฟเออร์ หากส่งข้อมลู แอนะลอ็ ก ซึ่งอุปกรณ์ดงั กล่าวจะชว่ ยเพ่มิ ระยะทาง และมสี ่วนช่วยลดข้อผิดพลาดของสญั ญาณลงได้ 5. พจิ ารณาข้อกาหนดและข้อจากัดของสายสัญญาณแตล่ ะชนดิ เชน่ UTPสามารถเชอ่ื มโยงได้ไมเ่ กิน 100 เมตร และสง่ ข้อมูลดว้ ยอัตราความเร็วสูงสุดท่ี 100Mbps

จดั ทำโดยนำยสำละวนิ บรรจงธุระกำร