Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 9การคำนวณหาเวลางานของเครื่องมือกล

9การคำนวณหาเวลางานของเครื่องมือกล

Published by kroojira, 2020-05-12 05:28:47

Description: 9การคำนวณหาเวลางานของเครื่องมือกล

Search

Read the Text Version

9 การคำนวณหาเวลางาน ในงานเคร่อื งมือกล จิรยุทธ์ โชติกุล ชา่ งกลโรงงาน วทิ ยาลัยเทคนิคศรสี ะเกษ

หน่วยการเรยี นที่ 9 การคำนวณหาเวลางานในงานเคร่ืองมอื กล สาระสำคญั ในการปฏิบตั งิ านไมว่ า่ จะเป็นงานประเภทใดก็ตามโดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในงาน อุตสาหกรรมสิ่งสำคัญ ที่บริษัทผู้ผลิตจะต้องคำนึงถงึ และต้องให้ความสำคญั นั่นก็คือเรื่องของเวลาในการผลิตสินค้า เพื่อสร้างความ มั่นใจ และความพึงพอใจให้กับลูกค้าซึ่งต้องส่งมอบให้ทันต่อความต้องการของลูกค้าหรือผู้บริโภค ดังนั้นผู้ที่ เกย่ี วขอ้ งกบั ระบบการผลติ หรอื การบริการต้องสามารถกำหนดหรอื คำนวณระยะเวลาในการปฏิบัติงานได้เช่น งานกลึง งานกัด งานตัด งานไส หรืองานเจียระไน สามารถคำนวณหาเวลาของการทำงานเพื่อนำมาวาง แผนการผลติ หรือคำนวณหาราคางานได้

หนว่ ยการเรียนที่ 9 การคำนวณหาเวลางานในงานเครือ่ งมือกล 1. การคำนวณเวลางาน 1.1 เวลางานรวม (T) หมายถึง เวลาที่ผู้ทำงานใช้ในการทำงานตามสัญญาทั้งหมดแยกเปน็ 2 ส่วน คอื เวลาเตรียมงาน และเวลาดำเนินการ 1.2 เวลาในการดำเนินงาน (t) หมายถงึ เวลาทใ่ี ชใ้ นการทำงานจรงิ ๆสำหรับจำนวน m หน่วยโดยที่ ta = m. te 1.3 เวลาเตรยี มงาน (t) หมายถึง เวลาทใ่ี ช้ในการเตรียมสถานที่ทำงาน เตรียมเครอ่ื งมือเคร่ืองจักร เพอ่ื ที่จะทำงานจรงิ และหลังจากเสรจ็ งานแลว้ ถอดหรอื ทำเครอื่ งมือเครอ่ื งจกั รให้เข้าสู่สภาพเดิม เวลาเตรียม งานไมข่ ึน้ อยู่กับจำนวนช้ินงานท่ที ำโดยจะทำครงั้ เดียวตอ่ รอบการทำงาน แบง่ ออกเป็น 3 พวก คือ - เวลาเตรียมงานหลัก trg - เวลาพกั งาน ter - เวลาเตรียมพเิ ศษ trv 1.4 งานหลัก (tg) หมายถึง เวลาทใี่ ชโ้ ดยปกติในการเตรียมงานและทำงานหลกั แยกเปน็ การทำงาน จริงและเวลารอทำงาน มีขัน้ ตอนดงั นี้ - เวลาเตรียมงานหลกั เช่นอ่านสัญญาวา่ จา้ ง อา่ นแบบ เขยี นใบงานเปน็ ตน้ - เวลาพัก ( ter) หมายถึงเวลาทพ่ี กั ระหว่างการทำงาน - เวลาพกั ในขณะเตรยี มงาน ( trer) หมายถึง การพกั สายตาหลงั จากตรวจสอบชิน้ งานจำนวน มาก 1.5 เวลาเผ่อื เวลาพิเศษ เวลาเผอื่ การเตรียมงาน ( trv) หมายถึง เวลาเผ่อื นอกเหนือจากปกติ โดยทัว่ ไปจะคดิ เปน็ เปอร์เซ็นตข์ องเวลางานหลกั คอื เวลาทีใ่ ช้เปน็ พเิ ศษ เชน่ การหล่อลื่นเครื่องจกั ร การ จดั เตรียมตอนเร่ิมกะงาน 1.6 เวลาทำงานจรงิ ( tt ) หมายถึง เวลาทำงานหลกั ซ่ึงเป็นเวลาทีจ่ ะต้องคาดการณล์ ว่ งหนา้ ไว้กอ่ น เวลาหลักส่วนหนึ่งข้ึนอยูก่ บั คนงาน เชน่ การใชอ้ ัตราปอ้ นให้ถูกตอ้ ง งานประกอบทีต่ ้องใช้ฝมี ือ ตัวอย่างท่ี 9.1 ในการกลงึ เหลก็ เพลากลมจำนวน 3 ทอ่ น โดยมีข้อมูลดงั น้ี เวลาเตรียมงาน - ศึกษาแบบงาน 5.30 นาที - เตรยี มเครือ่ งจักร 10 นาที - เตรยี มเคร่อื งมือ 12.50 นาที เพราะฉะนัน้ เวลาในการเตรยี มงานหลัก trg = 4.50 +10 + 12.50 = 27.00 นาที เวลาพัก = 4 % ของ trg = 1.08 นาที เวลาเตรียมงานพเิ ศษ = 14% ของ trg = 3.78 นาที เวลาเตรยี มงาน tr = trg + trer + trv เพราะฉะนนั้ = 27 + 1.08 + 3.78 = 31.86 นาที เวลาดำเนนิ งาน เวลาทำงานจริง = 14.7 นาที

เวลารองาน = 3.8 นาที tt + tw เวลารองาน tg = 14.7 + 3.8 = เพราะฉะนั้น = 0 นาที 18.5 นาที 1.48 นาที เวลาพักใหใ้ ช้ tw แทน = 8 % ของเวลา tg= 19.98 นาที tg + ter + tv เวลาเผ่อื tv = 18.5 + 0 +1.48 = เวลาทำงานต่อหน่วย te = m.te 3 x 19.98 = 59.94 นาที จะได้วา่ เวลาดำเนินงาน ta = = = สรปุ ได้วา่ เวลางานรวม = เวลาเตรียมงาน + เวลาดำเนนิ งาน 31.86 + 59.94 = 91.80 92 นาที = = 2. การคำนวณเวลางานกลงึ 2.1 การหาความเร็วตัด มีดกลึงกับความเรว็ ตัดมีความสัมพนั ธก์ นั ซ่ึงหมายความว่า ความเรว็ ทเ่ี กิดขน้ึ บริเวณคมตัดของมีด กลึงไม่วา่ จะเปน็ การกลงึ หรืองานปาดผิวโลหะออก เมอ่ื ชิน้ งานหมนุ ไปหนง่ึ รอบคมมดี กลึงกจ็ ะตดั ผวิ โลหะ ออกเปน็ แนวยาวและความยาวดังกล่าวนี้ จะนำมาใชเ้ ปน็ ความยาวทเ่ี กิดรอบๆ ผิวงาน หรอื เรยี กว่าความยาว เสน้ รอบวง ถ้ามกี ารทำงานกับเครอื่ งกลึงและเป็นชิ้นงานกลม เราสามารถทำการคำนวณหาความยาวเส้นรอบวง ชิ้นงานจากการหมนุ ไปหนึง่ รอบของงานกลมน้ีจะมคี ่า **สตู ร** ความยาวเส้นรอบวงกลม = ������x D( ������ = 22/7 ; D = ความโตชนิ้ งาน ) เช่น ชิ้นงานมีขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลาง 85 มิลลิเมตร จะได้เส้นรอบวงของช้ินงานเท่ากบั ������ x 85 = 267 มลิ ลิเมตร หรอื 0.267 เมตร และถา้ หากชิ้นงานหมุนดว้ ยความเรว็ รอบนาทลี ะ 100 รอบกจ็ ะได้ความเรว็ ตัดเท่ากบั 0.267 x 100 เท่ากับ 26.7 เมตรตอ่ นาที ความเร็วตัดมีหนว่ ยเปน็ เมตรตอ่ นาที ( m/min )และเขยี นแทนดว้ ยสญั ลักษณ์ V เม่อื กำหนดให้ d = เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของช้นิ งาน (มม.) n = ความเร็วรอบของชนิ้ งาน (รอบ/นาท)ี ดงั น้ันจะไดว้ า่ V = πdn (เมตร/นาที) 1000

ตัวอย่างที่ 9.2 ชิน้ งานมขี นาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 50 มิลลิเมตร และใช้ความเรว็ รอบ 160 รอบ/นาที จงคำนวณหาคา่ ความเรว็ ตดั วธิ ที ำ จากสตู ร V = πdn เมตร/นาที 1000 3.14 × 50 ×160 แทนค่า = 1000 = 25,120 1000 = 25.12 เมตร/นาที ตวั อยา่ งท่ี 9.3 ต้องการกลึงเพลากลมทมี่ ีขนาดความโต 25 มลิ ลิเมตร และเม่ือชิ้นงานหมุน ด้วยความเร็วรอบ 80 รอบตอ่ นาที ให้คำนวณหาค่าความเรว็ ตัด วิธีทำ ความยาวเส้นรอบวง = ������x D แทนคา่ ในสูตร = 3.14 x 25 มม. = 78.5 มม. สูตรความเรว็ ตดั V = πdn 1000 78.5x80 แทนค่าในสูตร = 1000 = 6.28 เมตร / นาที ตวั อยา่ งท่ี 9.4 ชน้ิ งานกลงึ กลมเปน็ เหลก็ เหนยี วทมี่ คี วามโต 87 มม. และใช้ความเร็วรอบ ในการกลึง 115 รอบ / นาที จงคำนวณหาคา่ ความเรว็ ตดั ทใ่ี ชใ้ นการกลึง คร้งั น้ี วิธที ำ จากสูตร ความเรว็ ตัด V = πdn 1000 3.14x87x11 5 แทนคา่ ในสูตร = 1000 = 31.42 เมตร / นาที

ตวั อยา่ งท่ี 9.5 จงคำนวณหาความเร็วรอบของช้ินงาน เม่อื กำหนดให้ d = 130 มลิ ลเิ มตร และความเรว็ ตดั 20 เมตรต่อนาที วิธที ำ จากสูตร ความเร็วตัด V = πdn 1000 V × 1000 แต่ n= πd = 20 × 1000 3.14x130 = 48.99 รอบ / นาที ในการเลือกความเร็วตดั ของช้นิ งานมีหลักเกณฑ์ควรพจิ ารณาดังต่อไปนี้ 1. วสั ดุชนิ้ งาน ถา้ วัสดชุ นิ้ งานแข็งเมื่อทำการกลงึ จะทำใหเ้ กิดความรอ้ นมากกวา่ วัสดทุ ่อี อ่ นกว่า น่ัน คือ วัสดุงานท่แี ข็งจึงมคี วามจำเปน็ ต้องกลงึ ด้วยความเร็วตดั ท่ตี ำ่ 2. วสั ดุมดี กลึง มีดกลึงทที่ ำดว้ ยโลหะแขง็ เช่น มีดกลึง Carbide จะสามารถกลงึ ชน้ิ งานและทนความ รอ้ นไดด้ กี วา่ มดี กลงึ ท่ีทำดว้ ยเหลก็ รอบสงู HSS. 3. ขนาดหน้าตดั ของเศษโลหะในงานกลึงละเอยี ดจะต้องกลงึ ดว้ ยค่าความเร็วตัดท่สี งู กวา่ งานกลงึ ปอก เพราะวา่ ในงานกลึงปอกเศษโลหะออกคร้งั ละนานๆซงึ่ จะทำใหเ้ กิดความร้อนมากกวา่ 4. การหล่อเยน็ ในงานกลงึ ใดๆท่มี ีการหล่อเย็นจะช่วยให้สามารถกลึงไดท้ ี่ความเร็วตัดสูงกวา่ เม่ือทำ การกลงึ โดยไม่ใช้การหล่อเยน็ ทง้ั นี้จะตอ้ งข้นึ อยกู่ ับชนิดของวสั ดทุ กี่ ลงึ ด้วย 5. ชนิดหรือประเภทของเคร่ืองกลงึ เคร่อื งกลงึ ขนาดใหญจ่ ะสามารถกลงึ งานได้ ณ ความเรว็ ท่ีสงู กวา่ การกลึงงานด้วยเครอื่ งกลงึ ขนาดเล็ก วิธีกำหนดความเร็วรอบ ตวั อย่างเชน่ ในการกลงึ ปอกเพลากลมเปน็ St50 ด้วยมดี เหลก็ รอบสงู ใช้ชว่ งป้อนกลงึ 0.2 มม./รอบ จากตารางที่ 9.1 จะพบวา่ ใหเ้ ลอื กใช้ความเรว็ ตัดที่ 44 เมตรต่อนาที แตใ่ นงานกลงึ จะต้องต้ังเปน็ ความเรว็ รอบ ของชน้ิ งาน ดงั นัน้ วิธกี ารกำหนดคา่ ความเร็วรอบจะได้จากการคำนวณ

ตารางท่ี 9.1 แสดงความเร็วตดั ช่วงป้อนกลงึ ด้วยมดี เหลก็ รอบสูงและมีดโลหะแขง็ วสั ดุ ความ วสั ดุมดี มุมมดี ช่วงป้อนกลึง S มม./รอบ แข็งแรง มมุ มุม 0. 0. 0. 0. 1. 1. 2 ฟรี คาย 1 2 4 8 6 19 kp/mm ความเร็วตัด V ม./นาที 56 14 2 42 10 เหล็กเหนยี ว ไมเ่ กิน เหล็กรอบสูง 8 14 28 60 45 34 25 27 St34,St37,St42 50 โลหะแขง็ 5 10 0 23 20 17 27 11 S1 6 0 0 20 St50,St36 50-70 เหล็กรอบสงู 8 14 24 44 32 24 18 13 St70 โลหะแขง็ 5 10 0 20 17 14 50 S1 5 5 5 8 เหล็กเหนียวหล่อ 70-85 เหลก็ รอบสูง 8 14 20 32 24 18 13 เหล็กแมงกานีส โลหะแขง็ S1 5 10 0 17 13 10 34 เหลก็ โครมนิเกลิ 0 2 6 เหล็กโครมโม ลบิ ดินมั 50-70 เหล็กรอบสงู 8 10 11 34 25 19 14 เหล็กประสมอ่ืนๆ โลหะแขง็ S1 5 6 8 10 85 71 24 0 100-140 เหล็กรอบสูง 8 6 95 16 11 8 5.6 โลหะแข็ง S1 5 6 75 60 50 16 140-180 เหล็กรอบสูง 8 6 60 9.5 6 32 10 โลหะแขง็ S1 5 6 48 38 วิธีการวัดความเรว็ ตดั ในงานกลงึ รูปท่ี 9.1 การวัดความเรว็ ตัดในงานกลึง

2.2 เวลางานกลึงปอก กำหนดให้ L = ความยาวช้ินงานกลึง ( มม. ) S = อัตราป้อนมีด ( มม. ) n = ความเรว็ รอบงานกลงึ ( รอบ/นาที ) i = จำนวนครงั้ ทีท่ ำการกลงึ ( คร้งั ) Th = เวลาที่ใชใ้ นการกลงึ งาน ( นาที ) สูตรในการคำนวณ = ความยาวงานกลึง × จานวนครงั้ ในการกลึงปอก เวลาในการกลงึ ปอก หรือ = L × iอตั ราป้ อนตอ่ รอบ × ความเร็วรอบ S×n รูปที่ 9.2 แสดงลกั ษณะการกลึงปอก ตัวอย่างที่ 9.6 เพลากลมแท่งหนงึ่ มีความยาว 480 มม. เมอ่ื ทำการกลงึ ปอกผิวงานดว้ ย ความเรว็ รอบทจ่ี ะต้องใช้ 240 รอบ / นาที โดยมกี ารปอ้ นมีดกลึงครง้ั ละ 0.22 มม. จำนวน 3 ครั้ง คำนวณหาเวลาที่ใช้ในการกลงึ งานชิน้ นี้ วิธที ำ จากสูตรหาเวลางานกลึง Th = L×i S×n 480 x 3 แทนคา่ ในสูตร Th = 0.22 × 240 = 1,140 52.8 = 27.27 นาที

2.3 การคำนวณเวลางานกลึงปาดหนา้ เวลาที่ใช้ในการกลึงปาดหน้าเรามหี ลักการที่ใช้ในการคำนวณเชน่ เดยี วกันกบั การคำนวณเวลาในการ กลึงปอกมีข้อแตกต่างอยทู่ ี่ค่าความยาวมาเปน็ ค่าของพนื้ ทหี่ น้าตัดแทนใหพ้ ิจารณาจากรูปที่ 9.3ประกอบ รปู ที่ 9.3 แสดงลักษณะงานกลงึ ปาดหนา้ เตม็ และวงแหวน ตัวอยา่ ง 9.7 ต้องการกลงึ ปาดหน้าช้นิ งาน 2 คร้ัง ทมี่ ีขนาดความโต 150 มิลลเิ มตร โดย ใช้อตั ราในการป้อนมีด 0.30 มลิ ลิเมตร และใชค้ ่าความเร็วในการตดั 24 เมตรตอ่ นาที ความเร็วรอบทใี่ ช้ในการกลงึ 50 รอบตอ่ นาที ให้ทำการ คำนวณหาเวลาทีใ่ ชใ้ นการกลึงครง้ั นี้ วธิ ที ำ สตู ร Th = L×i S×n d L = 2 = 150 2 = 75 แทนค่า = 75 × 2 0.30 × 50 = 10 นาที ตวั อย่างท่ี 9.8 ต้องการกลงึ เหลก็ หน้าแปลนทมี่ ีความโต 240 มม. ทีม่ รี อู ยู่กลางโต 60 มม. โดยทำการปาดหน้าแปลน 2 ครง้ั ให้ได้ความเรียบตามท่ตี ้องการดว้ ย ความเรว็ รอบทใ่ี ช้ 500 รอบ/นาที และใช้อัตราในการป้อนกลงึ ครัง้ นี้ 0.40 มม. ใหค้ ำนวณหาเวลาในการกลงึ เหล็กหน้าแปลนคร้ังนี้ วิธีทำ สูตร L = d - d1 2 240 - 60 แทนคา่ = 2

= 90 มม. สตู ร Th = L×i S×n 90 × 2 แทนค่า = 0.40 × 500 = 0.9 นาที ตวั อย่าง 9.9 ตอ้ งการกลึงปาดหนา้ ชิ้นงานโตเท่ากับ 150 มม.โดยใชอ้ ัตราปอ้ น 0.30 มม./รอบ และความเร็วตดั ที่ใช้ 24 เมตร/นาทีจำนวน1 ครงั้ กลึงด้วยความเรว็ รอบ 50 รอบ/นาที จงคำนวณหาเวลาทใี่ ช้ในการกลงึ วิธที ำ สตู ร L = d 2 150 แทนคา่ = 2 = 75 มม. สตู ร Th = L×i S×n 75 × 1 แทนคา่ = 0.30 × 50 = 5 นาที 3. ความเร็วรอบของงานกดั ความเร็วรอบขนึ้ อยู่กับความเร็วตดั ของงานกดั และขนาดของงานกัด ความเรว็ ตดั ของมีดกดั คอื อัตรา แล่นของคมตัด วดั เปน็ เมตรตอ่ นาที ค่าความเรว็ ตัดของงานกดั ดไู ด้จากตารางท่ี 9.2 ถา้ ใช้ความเร็วตดั เรว็ เกนิ ไป ฟันกัดกจ็ ะสึกเรว็ กวา่ กำหนด และหากใชค้ วามเรว็ ตัดช้าเกนิ ไปแรงกดั จะ น้อยลงมามากตามไปดว้ ย กำหนดให้ V = ความเร็วตดั (เมตร/นาที) d = ขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางมดี (มม.) n = ความเร็วรอบมีดกัด (รอบ/นาที) นัน้ คอื V = πdn (เมตร/นาที) 1000

ตารางที่ 9.2 ค่าความเร็วตดั V ; และความเร็วปอ้ นกัด S/ มีดกัดนอน b =100 mm มีดกดั ชน b = 70 mm จานมีดกดั b = 20 mm ความกวา้ งรอยกัด b งานกดั งานกดั งานกดั งานกัด งานกัด งานกดั ความลึกรอยกดั a หยาบ ละเอยี ด หยาบ ละเอยี ด หยาบ ละเอยี ด a = 5 mm a =0.5mm a = 5 mm a =0.5mm เหลก็ กล้าไม่เจอื V S/ V S/ V S/ V S/ a =10 mm ความเคน้ สงู สดุ 65 กกร./มม2 17 100 22 60 17 100 22 70 V S/ V S/ เหล็กเจืออบเหนียว 18 100 22 40 ความเค้นสูงสุด 75 กกร./มม2 14 80 18 50 14 90 18 55 เหล็กเจืออบเหนียว 14 80 18 30 ความเค้นสูงสดุ 100 กกร./มม2 10 50 14 36 10 55 14 42 เหลก็ หล่อความแข็งสงู สุด 180 บริ 12 50 14 25 เนล 12 120 18 60 12 140 18 70 14 120 18 40 ทองเหลือง Ms 58 35 70 35 50 36 190 55 150 36 150 55 75 โลหะเบา 200 200 250 100 200 250 250 110 200 200 250 100 ใบเลอื่ ยตัดb ความกวา้ งรอยกดั b มดี กดั นอน b = 100 mm มีดกดั ชน b = 70 mm =2.5mm ความลกึ รอยกดั a งานกัดหยาบ งานกัดละเอียด งานกดั หยาบ งานกดั ละเอยี ด a = 5 mm a = 0.5 mm a = 5 mm a = 0.5 mm V S/ เหล็กกลา้ ไม่เจอื V S/ V S/ V S/ V S/ ความเค้นสูงสุด 65 กกร./มม2 เหล็กเจอื อบเหนยี ว 17 50 22 120 20 20 30 50 45 50 ความเค้นสูงสุด 75 กกร./มม2 เหลก็ เจอื อบเหนยี ว 15 40 19 100 16 65 23 40 35 40 ความเคน้ สงู สดุ 100 กกร./มม2 เหลก็ หล่อความแข็งสงู สุด 180 13 20 17 65 14 36 18 30 25 30 บรเิ นล 15 80 19 120 16 100 24 90 35 50 ทองเหลือง Ms 58 35 80 55 120 50 200 60 120 350 200 โลหะเบา 160 90 180 120 250 250 300 90 320 180

ตัวอย่างท่ี 9.10 ในงานกัดหยาบแผ่นเหล็ก วัสดเุ หล็กกล้าไม่เจือ ความเค้นสงู สุด 65 กกร./มม2 โดย ใช้มดี กัดนอนขนาดความโต 75 มลิ ลิเมตร จงคำนวณหาค่าความเรว็ รอบ วิธีทำ จากตารางท่ี 9.2 วัสดุเหล็กกล้าไมเ่ จือ ความเคน้ สูงสดุ 65 กกร./มม2 มีดกดั นอนใช้ ความเร็วในการตัด 17 เมตรต่อนาที สตู ร n = V × 1000 รอบ/นาที πd 17 × 1,000 แทนค่า = 3.14 x 75 = 72.18 รอบ/นาที 3.1 การตั้งคา่ ความเรว็ ป้อนตดั รปู ที่ 9.4 ลักษณะของงานกัด ความเร็วป้อนกดั วดั เป็นมิลลเิ มตรต่อ นาทีซ่งึ หมายถึง ระยะทีโ่ ตะ๊ งานต้อง เล่ือนเพ่ือนำช้นิ งานเขา้ หามดี กัดในนาที หนงึ่ ๆ ความเรว็ ป้อนกัด จะต้องปอ้ นให้ เหมาะสมกบั ขนาดของมดี กดั วัสดงุ าน ความลึกรอยกดั ตลอดจนลกั ษณะของผิว ที่ตอ้ งการ ความเรว็ ป้อนกดั น้มี ีความสำคญั อยา่ งมาก เพราะถ้าหากปอ้ นกัดนนั้ จะต้องเร็วทีส่ ุดจะทำให้ทำงานได้ ดี ใหเ้ กิดเศษกดั จำนวนมากท่ีสุดในนาทหี นง่ึ ๆ เรานิยมวดั เศษกัดเป็นลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตรต่อนาทีตอ่ กโิ ลวตั ต์ V = จำนวนเศษกัดมากทส่ี ุดทก่ี ดั ไดใ้ น หนึง่ หน่วยเวลา กำหนดให้ ; V = อตั รากดั งาน ; cm3 kW - min P = ขนาดกำลงั ขับของเคร่อื งกัด ; kW ดงั นั้นจะไดว้ ่า จำนวนเศษกัดทีก่ ดั ได้มากท่ีสุดในนาทหี น่งึ ๆ = อตั รากัดงานคณู ดว้ ยขนาดกำลงั ขบั เครอ่ื งกดั นน่ั คือ V = Vx P ; cm 3 min และจากรูปจำนวนเศษกัด (V) คำนวณไดจ้ ากความลกึ (a) ความกวา้ ง (b) ของรอยกดั และความเร็ว ปอ้ นกดั (S) จะไดว้ า่ a1.b0.0S0′; cm 3 min จำนวนเศษกดั V= ความเรว็ ป้อนกดั S = V.1000 ; mm a.b min

ตัวอยา่ งท่ี 9.11 ตอ้ งการกดั แผ่นเหลก็ วสั ดุ St.50 ด้วยมดี กดั นอนใหไ้ ด้รอยลึก 4 มม. กวา้ ง 80 มม. ด้วยกำลงั ของเคร่อื งกัดขนาด 3 กโิ ลวัตต์ จงคำนวณหาคา่ S หา จำนวนเศษกดั ใน นาทีหนงึ่ วิธีทำ สตู ร V = Vx P เมอ่ื V = 12 cm3 / kW - min V = 12 x 3 V = 36 cm3 / min หาความเรว็ ปอ้ นกดั S = V x 1000 ; mm a x b min 36x1,000 แทนค่า = 4 x 80 = 112.5 mm / min เพราะน้นั ความเร็วที่ใชใ้ นการปอ้ นกัดคือคา่ S ประมาณ 113 มิลลิเมตรตอ่ นาที 3.2 วธิ ีคำนวณเวลางานกัด = เวลาท่ีกดั งาน (นาท)ี กำหนดให้ = ความโตของมดี กดั (มม.) Th = ความเร็วตัด (เมตร/นาที) d = ความเรว็ รอบมีดกดั (รอบ/นาที) V n d a s a s la lu l la lu l L L รปู ท่ี 9.5 การคำนวณหาเวลากดั L = ความยาวกัดท้ังหมด (มม.) l = ความยาวงานกดั (มม.) la = ระยะกอ่ นมดี กัด (มม.) lu = ระยะกดั เลยออกไป (มม.)

i = จำนวนชนั้ ทกี่ ดั (ชน้ั ) S = อตั ราป้อนกัด (มม./รอบ) = Sz x Z Sz = อัตราป้อนกดั ตอ่ ฟัน (มม./ฟนั ) Z = จำนวนฟันของมีดกัด (ฟนั ) a = ความลึกรอยกัด (มม.) ดงั น้นั จะได้ว่า Th = L×i Sxn ตารางที่ 9.3 ตารางค่า la + lu สำหรับงานกดั ชนิดมดี กัด กัดหยาบ กดั ละเอียด มีดกดั ต้งั la + lu = 0.5 d la + lu = d หรือ (d +4 ) มีดกดั จาน la + lu = 0.5 d la + lu = 0.8 d มดี กัดนอน la + lu = 0.3 d หมายเหตุ : d หมายถงึ ขนานเส้นผ่านศูนยก์ ลางของมดี กดั (ทม่ี า : กรมวิชาการ,กระทรวงศกึ ษาธิการ.2541:134) ในกรณจี ะคำนวณหาจำนวนชั้นท่ีกัด (i) = ความลกึ งานทกี่ ดั + 0.3 ชว่ งลกึ ที่กดั ออกแตล่ ะคร้งั t + 0.3 = a ตัวอย่างท่ี 9.12 ในงานกดั หยาบงานช้ินหนึ่งทำจากวสั ดุ St 42 ยาว 250 มิลลิเมตร กัดด้วย มีดกัดนอนขนาดความโต 100 มม. มดี กดั มีจำนวนฟนั 4 ฟัน อตั ราป้อนกดั 0.2 มม./ฟัน กดั ช้ันเดียวความเรว็ รอบ 110 รอบต่อนาที จงคำนวณหาเวลาท่ี ใ ช้ ในงานกัด วิธที ำ L = l + (la + lu) ,ค่า (la + lu)จากตารางท่ี 9.3 แทนคา่ L = 250 + 0.3d = 250 + (0.3x100) = 280 มลิ ลเิ มตร หาคา่ S = Sz x Z แทนค่า = 0.2x4 สตู ร Th = 0.8 มม./รอบ = = L×i 280 ×1 Sxn 0.8 x110 = 3.18 นาที

4. ความเรว็ ตดั ในงานไส ความเร็วไส(VA ) ไดแ้ กอ่ ตั ราเร็วทม่ี ีดไสเดนิ ในจงั หวะไสวัดเป็น เมตรต่อนาที ; m/min และความเร็ว ที่ชกั กลับ เรียกวา่ “ความเรว็ ชักกลบั (VR ) ” เครอ่ื งไสชนดิ ขับเคลอ่ื นดว้ ยจุดขอ้ เหว่ียง ความเรว็ ตดั จะไม่เปน็ ค่าคงทกี่ ล่าวคอื เมื่อเริ่มเดนิ ไส ความเรว็ ตดั แรกจะเท่ากบั ศนู ย์ และจะมคี วามเร็วทีส่ ุดด้วยค่า VA ณ จุดกง่ึ กลางชว่ งชักไสความเรว็ ตัดจะเท่ากบั ศนู ยอ์ ีกครั้งและเชน่ เดียวกันในจงั หวะชกั กลับความเรว็ ชักกลับก็จะเริ่มจากศนู ยแ์ ละจบลงด้วยศนู ย์ท่ีตรง กง่ึ กลางของช่วงชักพอดีความเรว็ ชักกลับจะมากที่สุดและมากกวา่ ความเรว็ ไส โดยกำหนด VA = ความเรว็ ในการเดินไส ( เมตร/นาที ) VR = ความเร็วในการเดินกลับ ( เมตร/นาที ) V = ความเรว็ งานไส ( เมตร/นาที ) เครื่องไสที่ทำการขับเคลื่อนด้วยขอ้ เหวี่ยง ค่าความเร็วตัดจะไม่คงที่เมื่อมองในสภาพจริงเพราะมีคา่ ความคลาดเคลื่อนอยู่บ้าง เมื่อเริ่มทำการเดินไสค่าความเร็วจะมีค่าเท่ากับศูนย์แล้วจึงเพิ่มค่าความเร็วข้ึน กลายเป็นความเรว็ เดินไส ณ จดุ ก่งึ กลางช่วงชกั จากน้นั ก็จะค่อยๆ ลดลงจนมคี ่าเท่ากบั ศนู ย์ดังเดิมจะเปน็ เช่นน้ี ตลอดจนสิ้นสดุ งานไส ความยาวช่วงไสและความเร็วในการตัดเมื่อจุด ขอ้ เหวี่ยงหมุนครบหนึ่งรอบเครื่องไสก็จะหมุนได้ จังหวะคือเดนิ หนา้ และถอยหลงั แต่ถา้ ความ ยาวไสเปลี่ยนไปค่าความเร็วไสก็จะต้องเปลี่ยน ตามไปด้วยความยาวช่วงไสกับความเรว็ ตัด เม่ือ จดุ ข้อเหวีย่ งหมนุ ครบหนง่ึ รอบเคร่อื งไสจะ เคล่อื นครบสองจังหวะพอดี รูปท่ี 9.6 จงั หวะชกั ของงานไส

ตัวอยา่ งท่ี 9.13 กำหนดใหช้ ว่ งไสยาว 360 มิลลเิ มตร เวลาที่ใชใ้ นจังหวะไสงาน 0.30 นาทแี ละเวลา ในจังหวะชักกลบั เป็น 0.15 นาที จงคำนวณหาความเร็วไสและความเรว็ ชกั กลบั วิธที ำ ทำการแปลงหน่วยความยาวชว่ งไส 360 มม. ให้เป็น เมตรก่อน 360 มิลลิเมตร มีค่าเท่ากับ 0.36 เมตร จากความเรว็ V = ระยะทาง เวลา ชว่ งไส หาความเรว็ ไสVA = เวลาเดนิ ไส เมตร/นาที แทนค่า VA = 0.36 0.30 = 1.2 เมตร/นาที หาความเรว็ ชกั กลบั VR ชว่ งไส เวลาชกั กลบั จาก VR = เมตร/นาที แทนคา่ VR = 0.36 0.15 VR = 2.4 เมตร/นาที โดยปกติภายในโรงงานเรานิยมพูดถึงความเร็วเดินหน้าและความเรว็ ในการชักกลับเป็นความเร็วเฉลี่ย ดังนั้นในการคำนวณหาค่าเวลางานไสกอ็ าจมกี ารคำนวณอีกลักษณะหน่ึงโดยบอกค่าของความเรว็ เป็นค่าโดย เฉลีย่ คา่ ความเรว็ เฉลย่ี = 2 ความเร็วเดินหน้า x ความเรว็ ชักกลับ Vm = ความเร็วเดนิ หนา้ + ความเร็วชกั กลับ 2 VA x VR VA + VR

วธิ ีกำหนดจำนวนคจู่ ังหวะไสตอ่ นาทดี ้วยตารางท่มี ีอยู่บนเครอ่ื งไส ตารางท่ี 9.4 ค่าความเรว็ งานไส (ม./นาท)ี วสั ดุมีด เหล็ก , ค่าความเคน้ ดึง (กกร./มม2) เหล็กหล่อ บรอนซห์ ลอ่ 40 60 80 ทองเหลือง เหลก็ เครอ่ื งมอื 16 m/min 12 m/min 8 m/min 12 m/min เหลก็ รอบสงู 22 m/min 16 m/min 12 m/min 14 m/min 20 m/min 30 m/min ตารางท่ี 9.5 การกำหนดความเร็วคู่จังหวะไส จำนวนคู่จังหวะ ชว่ งชกั มดี ( มิลลิเมตร mm ) ไสต่อนาที 100 200 300 400 28 52 Vm ( m / min ) 18.2 80 33.6 5.3 10.2 14.2 52 9.8 19 26.2 15.2 29 41 ตัวอย่างที่ 9.14 ต้องการไสหยาบผิวงานเหลก็ หลอ่ ดว้ ยมีดไสเหลก็ รอบสูงระยะช่วงชกั มดี 300 มม. จะตอ้ งใชค้ วามเร็วค่ไู สจำนวนเท่าใดโดยการเปิดหาจากตาราง วธิ ีทำ จากตารางที่ 9.4 วัสดุเป็นเหล็กหล่อ ไสดว้ ยมีดเหล็กรอบสงู เลือกใช้ค่าความเรว็ ตัด งานไสที่ 14 เมตร/นาที จากตารางท่ี 9.5 ช่วงชกั มีด 300 มม. ค่าความเร็วตดั ทไี่ ดจ้ ากตารางท่ี 9.4 มคี ่าเท่ากับ 14 เมตร/นาที เลอื กใชค้ า่ จำนวนคู่จงั หวะไส 28 ค/ู่ นาที lu l la L รูปท่ี 9.7 การกำหนดความยาวช่วงไส

วธิ ีคำนวณจำนวนคูจ่ งั หวะชักไสต่อนาทีสามารถคำนวณไดด้ ังนี้ จำนวนคู่จังหวะไส n = ควาคมVว2ยาLmามวชเรว่็;วงเนชฉากัลทม่ยี ี ีด (เมตร/นาที) หรือ n = (เมตร) ตัวอยา่ งที่ 9.15 กำหนดใหค้ วามยาว L = 350 มม. ; Vm = 15 ม/นาที จงคำนวณหาค่จู งั หวะชักต่อนาที วิธีทำ = V2Lm สตู ร n แทนคา่ = 15 2 x 0.35 = 21.4 คู่จงั หวะชกั ตอ่ นาที 4.1 วธิ ีการตั้งช่วงชกั มีด ระยะชว่ งชกั มีดจะเทา่ กบั ผลบวกของความยาวงานไส L ชว่ งหน้ามีด la และชว่ งหลังมดี lu รวมกัน เพอื่ มิให้มรี ะยะปลดงานแฝงอย่มู ากเกนิ ไป ทง้ั คา่ la และ lu จะตอ้ งเปน็ ระยะท่แี คบท่ีสุดท่ีจะทำงานไดโ้ ดย ปกตมิ ักจะใช้ la = 20 mm. และ lu = 10 mm. 4.2 วิธคี ำนวณเวลางานไส รูปที่ 9.8 แสดงสัญลกั ษณ์งานไส จาก Th = L + L × ( bx i ) VA VR S เมอื่ กำหนด Th = เวลางานไส (นาที) L = ความยาวชว่ งไส (มม.) l = l + la + lu la = ความยาวงานทจี่ ะไส = ช่วงหนา้ มีด (มม.)

lu = ช่วงหลังมีด (มม.) b = ความกวา้ งช้ินงาน (มม.) S = ชว่ งป้อนไสในหนง่ึ คู่จงั หวะไส (มม.) i = จำนวนชั้นไส (ช้นั ) n = จำนวนคูจ่ ังหวะไส (คูจ่ ังหวะชัก/นาท)ี VA = ความเร็วไส (เมตร/นาที) VR = ความเรว็ ชกั กลบั (เมตร/นาที) ตวั อย่างที่ 9.16 ตอ้ งการไสผิวงานหยาบแทน่ ระดับ วสั ดุเหล็กหล่อขนาดความยาว 260 มิลลิเมตร ความกวา้ งชนิ้ งาน 90 มลิ ลิเมตร ช่วงหน้ามดี 30 มลิ ลเิ มตร และชว่ งหลงั มดี 10 มลิ ลเิ มตร กำหนดให้คา่ VA = 10 เมตร/นาที และ VR = 20 เมตร/นาที ช่วงปอ้ นไส 1 มิลลเิ มตรต่อคจู่ ังหวะไส ไสงานจำนวน 1 ชนั้ จงคำนวณหาเวลาในงานไส วิธีทำ เมื่อ L = l + la + lu = 260 + 30 + 10 = 300 มม. = 0.30 ม. L + L × bxi Th = V0A.30 +V0R.30 S = x 90x1 10 20 1 = 4.05 นาที 5. ความเร็วตัดและความเร็วรอบของหนิ เจยี ระไน ความเร็วตดั ของงานเจียระไนดไู ดจ้ ากตาราง และความเร็วรอบของหนิ เจยี ระไนกส็ ามารถได้จาก ตารางเชน่ กัน ตารางท่ี 9.6 แสดงค่าความเรว็ ตดั ในการลับคมมีดและลบคมด้วยมีด ชนิดของงาน วสั ดงุ าน ตัวประสาน ความเร็วตัด (m/min ) ลบั คมมดี เหลก็ เคร่ืองมอื สารเซรามิก 15-25 เหลก็ รอบสงู สารเชิงพืช 15-25 เหลก็ โลหะแข็ง 45 โลหะเบา 15 ลบคมด้วยมีด เหลก็ หลอ่ บรอนซ์ สารเซรามิก 25 เหลก็ กล้า เหลก็ เหนียวหล่อ 30

5.1 วิธีคำนวณความเร็วรอบของล้อหนิ เจยี ระไน จากความเรว็ ตดั V = πdn เมตร/นาที 1000 ความเรว็ รอบของล้อหนิ n = V ×1000 รอบ/นาที πd ตัวอยา่ งท่ี 9.17 ลอ้ หินเจียระไนทมี่ ขี นาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง 150 มลิ ลิเมตร ในขณะทีป่ ฏิบัตงิ านอยู่ หมนุ ดว้ ยความเรว็ ตัด 20 เมตรตอ่ นาที จงคำนวณหาคา่ ความเรว็ รอบท่ีใช้ในการ ทำงานครัง้ นี้ วิธที ำ สูตร การหาความเรว็ ของลอ้ หนิ n = V × 1000 รอบ/นาที πd 20 × 1000 แทนค่า = 3.14 x150 = 42.46 รอบ/นาที ความเร็วตัดและความเร็วรอบของลอ้ หนิ ถา้ ความเร็วตดั ย่งิ สงู กจ็ ะยิ่งเจียระไนไดเ้ รว็ ขอ้ ควรระวังก็คือ อย่าใช้ค่าความเร็วตัดเกินกว่าที่กำหนด แต่ก็ไม่ควรให้เร็วเกินไป เพราะถ้ายิ่งหมุนเร็วหนิ ก็จะล่ืนไถลไปกับผิว งาน ผิวงานจะถกู ถูจนร้อนรอยเจยี ระไนจะไมเ่ รียบร้อย ไมส่ ะอาด และทีส่ ำคัญกค็ ือการเกิดอันตรายได้หลาย รปู แบบ 5.2 ความเร็วขอบและความเร็วรอบของงาน ในงานเจียระไนกลมความเร็วค่าความเรว็ ขอบวัดเปน็ เมตร/วินาที ความเร็วขอบมบี ทบาทคือ ควบคมุ คุณภาพของรอยเจยี ระไนบนผิวของงาน ถา้ ค่าความเร็วขอบตำ่ รอยการเจยี ระไนจะเล็ก แตถ่ า้ ความเรว็ ขอบมากรอยเจยี ระไนจะหยาบ ตารางที่ 9.7 ความเร็วขอบ m/s ชนิดงาน วสั ดุงาน เหลก็ กลา้ เหล็กหลอ่ เหล็กโลหะแข็ง สงั กะสเี จือโลหะเบา เจยี ระไนนอก 30 m/s 25 m/s 8 m/s 35 m/s เจยี ระไนรูใน 25 m/s 25 m/s 8 m/s 20 m/s เจียระไนผิว 25 m/s 20 m/s 8 m/s 25 m/s

ตารางที่ 9.8 คา่ ความเรว็ ตดั ของช้ินงาน m/min ชนดิ งาน วสั ดงุ าน งานเจยี ระไนนอก เจยี ระไนหยาบ เหล็กออ่ น เหล็กชบุ แข็ง เหล็กหล่อ โลหะเบา เจียระไนละเอยี ด 12-18 14-18 12-15 25-40 งานเจยี ระไนรู m/min m/min 10-15 m/min m/min 20-30 งานเจียระไนผิว m/min m/min 10-12 10-12 18-20 28-32 m/min m/min m/min m/min 20-24 20-24 m/min m/min 8-14 m/min ตารางท่ี 9.9 ความกว้างของรอยป้อนเจยี ระไน ขณะเจยี ระไนตามยาว (เมือ่ b = ความกวา้ งของหนา้ หนิ ) ลักษณะงาน งานเจยี ระไนกลม งานเจยี ระไนควา้ นรู เหลก็ เหนียว เหล็กหลอ่ เหลก็ เหนยี ว เหลก็ หลอ่ เจียระไนหยาบ 2/3b – 3/4b 3/4b - 5/6b 1/2b - 3/4b 2/3b – 4/5b เจียระไนละเอียด 1/4b – 1/3b 1/3b – 1/2b 1/5b – 1/4b 1/4b - 1/3b วิธคี ำนวณความเรว็ รอบ การกำหนดให้ Vw = ความเรว็ ขอบของงาน เมตร / นาที มิลลิเมตร d = ขนาดความโตของงาน รอบ / นาที nw = ความเรว็ รอบของงาน จากความเรว็ ขอบของงาน Vw = π x d x nw เมตร / นาที 1000 ดังนั้นความเรว็ รอบของงานจะเท่ากบั nw = Vw × 1000 รอบ / นาที πd

ตวั อยา่ งท่ี 9.18 ต้องการเจียระไนเหลก็ เพลากลมเป็นเหล็ก St.50 มีขนาดความโตนอกเท่ากับ 20 มม. กำหนดให้ความเร็วตัดเป็น 15 ม./นาที จงทำการคำนวณหาคา่ ความเรว็ รอบ nw วิธที ำ สตู ร Vw = π x d x nw เมตร / นาที 1000 Vw × 1000 nw = πd รอบ / นาที แทนค่า nw = 15 x1000 3.14 x 20 = 238.85 รอบ/นาที ช่วงลึกของงานเจยี ระไนต่อคร้งั - ในงานเจียระไนราบ 0.0100 – 0.030 มิลลิเมตร - ในงานเจยี ระไนกลม 0.0025 – 0.005 มิลลิเมตร อัตราปอ้ น S ต่อรอบชน้ิ งาน S เท่ากบั 1/3 ถงึ 3/4 ของความกว้างหนิ เจยี ระไน หรือ S y 0.5b – 0.75b (มม.) เมื่อ b = ความกวา้ งของล้อหนิ เจยี ระไน รปู ท่ี 9.9 แสดงการป้อนเจียระไนในแนวดา้ นขา้ ง

วธิ ีคำนวณเวลางานเจยี ระไนกลม nw S L1=L d1 รูปท่ี 9.10 ลกั ษณะงานเจียระไนกลม กำหนดให้ Ll = ความยาวชน้ิ งาน มลิ ลิเมตร L= ความยาวในการเจียระไน มิลลิเมตร dl = ความโตของชิ้นงานกอ่ นเจยี ระไน มลิ ลเิ มตร d= ความโตของชนิ้ งานหลงั เจียระไน มลิ ลิเมตร S= อัตราป้อนตอ่ รอบ มม./รอบ a= ชว่ งลกึ ในการเจยี ระไนตอ่ คร้งั ครงั้ nw = ความเร็วรอบของช้ินงาน รอบตอ่ นาที i= จำนวนครัง้ ทีท่ ำการเจียระไน ครง้ั t= ความลึกที่ตอ้ งทำการเจยี ระไน มิลลเิ มตร เวลางานเจยี ระไน = ความยาวงานเจียระไน x จำนวนคร้ังท่ีเจียระไน ความเรว็ รอบชิน้ งาน x อตั ราปอ้ นต่อรอบการหมุนชิ้นงาน น้ันคือในกรณหี นง่ึ คูจ่ งั หวะชัก มีจังหวะงานทงั้ สองจงั หวะ (คือป้อนกนิ ลึกทง้ั ไปและกลบั ) Lxi Th = Sxn นาที ในกรณีหนง่ึ คู่จงั หวะชัก มีจงั หวะงานจงั หวะเดยี ว คา่ ความยาวจะเปน็ สองเทา่ 2L x i Th = Sxn นาที

ตวั อยา่ งที่ 9.19 ต้องการเจียระไนเพลากลมวัสดุ St.42ใหไ้ ด้ขนาดความโต 30 มม.และยาว 400 เมตร จากขนาดงานโต 30.3 มม. กำหนดใหล้ ้อหินเจียระไนกวา้ ง 40 มม. ชว่ งเจียระไนลกึ 0.01 มม.ถา้ คจู่ งั หวะชักเปน็ จงั หวะงานจงั หวะเดียว และใช้ความเรว็ ตดั 12 ม./นาที จงคำนวณหา เวลาในการทำงาน วธิ ีทำ หาความเร็วรอบของชน้ิ งาน สูตร nw = Vw × 1000 πd 12 x1000 แทนคา่ = 3.14 x 30 = 127.39 รอบ/นาที หาอัตราปอ้ น จากคา่ อัตราป้อนตอ่ รอบช้นิ งานเท่ากับ 0.5b สตู ร S = 0.5 x b = 0.5 x 40 = 20 มม./รอบ หาความลึกทีต่ ้องการเจียระไน t = d1 -d 2 30.3 - 30 แทนคา่ t = 2 = 0.15 มม. หาจำนวนคร้งั ในการเจยี ระไน i = t a 0.15 = 0.01 = 15 ครง้ั หาเวลาที่ใช้ในการเจียระไนเมอ่ื คจู่ งั หวะชักเปน็ จงั หวะงานจังหวะเดียว Th = 2L x i = 2 x 400 x15 Sxn 20 x127.39 = 4.71 นาที

5.3 วธิ คี ำนวณเวลางานเจยี ระไนราบ รูปท่ี 9.11 ลักษณะงานเจียระไนราบ กำหนดให้ L = ความยาวรวมทัง้ หมดของการเจียระไน (มม.) l = ความยาวชิ้นงาน (มม.) la , lu = ระยะเผ่ือหน้าและหลงั ลอ้ หนิ เจียระไน (มม.) VT = ความเรว็ โต๊ะเจียระไน (ม./นาที) S = อัตราปอ้ นเจยี ระไนทางดา้ นข้าง (มม./คูช่ กั ) b = ความกวา้ งชนิ้ งาน (มม.) bs = ความกว้างของล้อหนิ เจยี ระไน (มม.) a = อตั ราการปอ้ นลึกต่อครง้ั (มม./ครง้ั ) n = จำนวนค่ชู กั (คชู่ กั /นาที) i = จำนวนครัง้ ในการเจียระไน (ครงั้ ) t = ความลกึ ทัง้ หมดทีต่ ้องการเจยี ระไน(มม.) จะไดว้ ่า เวลางานเจยี ระไนราบ = ความยาวทั้งหมด x ความกว้างช้นิ งาน x จำนวนครงั้ ที่เจยี ระไน ความเร็วโตะ๊ เลอ่ื น x อตั ราปอ้ น Th = L(b + bs)i VT x S ค่า S โดยทัว่ ไป ประมาณเท่ากับ 0.6 x bs ถงึ 0.8 x bs หรือ Th = (b + bs)i นาที Sx n

ตวั อยา่ ง 9.20 ต้องการเจียระไนชิน้ งานขนาดความยาว 240 มม. และความกว้าง 220 มม.โดยการ เจยี ระไนราบ ความลกึ ในการเจยี ระไนเท่ากับ 0.3 มม. และทำการเจียระไนแต่ละครง้ั 0.02 มม.ลอ้ หนิ เจยี ระไนกว้าง 40 มม.ความเรว็ โต๊ะ 12 เมตร/นาที และอตั ราป้อน ต ่ อ ห น ึ ่ ง คู่ จังหวะชกั 0.6bs จงคำนวณหาเวลาทใี่ ช้ในการทำงานโดยให้ la+lu=20 มม. วธิ ีทำ หาจำนวนครัง้ ในการเจยี ระไน สตู ร i = t a 0.30 แทนคา่ = 0.02 = 15 ครงั้ หาความยาวการเจียระไน 1 ค่จู งั หวะชัก สูตร L = 2 ( l + la + lu ) แทนค่า = 2 ( 240 + 20 ) = 2( 260) = 520 มม. หาความเร็วปอ้ น สตู ร S = 0.6 x bs แทนคา่ = 0.6 x 40 = 24 มม. หาเวลาในการทำงาน สตู ร Th = L(b + bs)i VT x S 520(220 + 40) x15 แทนค่า = 12 x1,000 x 24 = 2,028,000 288,000 = 7.042 นาที

6. การคำนวณหาเวลางานเจาะ 6.1 การคำนวณหาเวลางาน เป็นการเจาะชิ้นงาน ให้เกิดรูด้วยสว่านที่ทำการหมุนรอบตัวเอง แล้วมีแรงตกลงในแนวด่ิง ความเรว็ ขอบของคมตัดจะทำหน้าท่ี ขดุ ชนิ้ งานให้เป็นรู ตามขนาดความโตของดอกสวา่ น ความเร็วรอบของ ดอกสว่านคิดไดจ้ ากความเรว็ ตัดหรือดูจากตารางท่ี 9.10 ประกอบก็ได้ ซึ่งมีท้ังขนาดรูเจาะ และค่าความเร็ว ตัด โดยใหก้ ารคำนวณที่จดุ นอกสุด ของคมตดั สวา่ นซ่งึ มหี นว่ ยเปน็ เมตรตอ่ นาที la l รปู ท่ี 9.12 แสดงลกั ษณะงานเจาะ วธิ คี ำนวณเวลางานเจาะ กำหนดให้ ; L = ระยะเจาะ ( l + la ) (มม.) l = ความลกึ รเู จาะ (มม.) la = ชว่ งนำเจาะ (มม.) n = ความเรว็ รอบ (มม.) S = อัตราป้อน (มม.) d = ดอกสวา่ นโต (มม.) Th = เวลางานเจาะ (นาที) i= จำนวนรเู จาะ เวลางานหลัก Th = ระยะเจาะ x จำนวนรูท่ที ำการเจาะ ความเรว็ รอบ x อัตราป้อนเจาะ Th = Lxi Sxn ค่า La ของดอกสวา่ นทีใ่ ช้ในการเจาะโลหะแตล่ ะชนดิ เหล็กเหนียว La = 0.3 x d โลหะเบา La = 0.2 x d พลาสติก La = 0.6 x d

ตวั อยา่ งท่ี 9.21 ตอ้ งการเจาะเหล็กเหนยี วทมี่ ีความหนา 30 มม.ด้วยดอกสว่านทม่ี ีความโต 18 มม. ซ่ึงรทู ี่ตอ้ งการเจาะท้งั สิ้น 3 รู อัตราป้อนที่ใช้เจาะ 0.2 มม./รอบ สำหรบั ความเรว็ รอบ ที่ กำหนดให้คือ 350 รอบ/นาที ใหค้ ำนวณหาเวลาทใ่ี ช้ในการเจาะรูทั้งสามน้ี วธิ ีทำ ก่อนอื่นตอ้ งทำการคำนวณหาคา่ ความยาวรวมของงานท่ีตอ้ งการเจาะ L = l + la = 30 + ( 0.3 x 18 ) = 30 + 5.4 = 35.4 มม. สตู ร Th = Lxi Sxn 35.4 x 3 = 0.2 x 350 = 1.52 นาที ตวั อย่างท่ี 9.22 ต้องการเจาะรูเหล็กแผน่ St.37โดยมีขนาดของรูดังรูปท่ี 9.13 อัตราป้อนเจาะ0.25มม./รอบ และความเรว็ ที่กำหนดให้ 250 รอบ/นาทใี ห้ทำการคำนวณหาเวลาท่ี ใชใ้ นงานเจาะ รูปท่ี 9.13 แสดงขนาดชิ้นงานเจาะ วธิ ีทำ ความลกึ (รู Ø15) L1 = l + la = 25 + ( 0.3 x 15 ) = 29.5 มม. ความลกึ (รู Ø22) L2 = l + la = 25 + ( 0.3 x 22 ) = 31.6 มม. สตู ร Th1 = Lxi Sxn 29.5 x1 = 0.25 x 250 = 0.472 นาที

สูตร Th2 = Lxi Sxn 31.6 x 2 = 0.25 x 250 = 1.011 นาที ดังนั้นเวลาท่ใี ช้ทัง้ หมด Th = Th1+ Th2 = 0.472 + 1.011 = 1.483 นาที ตัวอย่างที่ 9.23 กำหนดให้งานเจาะเหล็กเหนียว l = 30 มม. ขนาด d = 18 มม. จำนวนรู้เจาะ i = 1 รู อัตราปอ้ น S = 0.2 มม./รอบ ความเรว็ รอบ 300 รอบ/นาที จงคำนวณหาเวลาในงานเจาะ วิธที ำ หา L = l + la เมื่อ la = 0.3 x d = 0.3 x 18 = 5.4 มม. แทน่ คา่ L = l + la = 30 + 5.4 = 35.4 มม. จากสูตร Th = Lxi Sxn 35.4 x1 = 0.2 x 300 = 0.59 นาที

6.2 ความเร็วรอบและการปอ้ นเจาะ ความเรว็ รอบของดอกสวา่ นคดิ ไดจ้ ากความเร็วตัด ดงั ตารางที่ 9.10 และขนาดของรเู จาะ คา่ ความเรว็ ตดั ให้คำนวณ ณ จุดนอกสดุ ของคมตัด มีหนว่ ยเปน็ เมตรตอ่ นาที ตารางที่ 9.10 ความเร็วตัด / การป้อนเจาะ / สารหลอ่ เยน็ วัสดุงาน การป้อนเจาะ S ขนาดรูเจาะ การหล่อ ความเรว็ ตัด V 5 10 15 20 25 30 เยน็ เหลก็ กล้า S 0.1 0.18 0.25 0.28 0.31 0.34 E,S St 40 V 15 18 22 26 29 32 เหลก็ กล้า S 0.1 0.18 0.25 0.28 0.31 0.34 E,S St 60 V 13 16 20 23 26 28 เหลก็ กลา้ S 0.09 0.13 0.16 0.19 0.21 0.23 St 80 V 12 14 16 18 21 23 tr เหลก็ กลา้ S 0.07 0.13 0.16 0.19 0.21 0.23 St 100 V 8 10 13 15 17 18 เหล็กหล่อ S 0.15 0.24 0.3 0.32 0.35 0.38 E GG - 18 V 24 28 32 34 37 39 ทองเหลอื ง S 0.1 0.15 0.22 0.27 0.30 0.32 E,S 40 kp/mm2 V 60 - 70 m/min บรอนซ์ S 0.1 0.15 0.22 0.27 0.30 0.32 tr 70 kp/mm2 V 30 - 40 m/sec อะลมู ิเนียมบรสิ ุทธิ์ S 0.05 0.12 0.2 0.3 0.35 0.4 E,S V 80 - 120 m/min อลมู ิเนียมเจอื S 0.12 0.2 0.3 0.4 0.46 0.5 tr V 100 - 150 m/min แมกนีเซียมเจือ S 0.15 0.2 0.3 0.38 0.4 0.45 tr V 200 - 250 m/sec E = นำ้ มันสบู่ , S = น้ำมนั ตัดหรือนำ้ มนั สบู่ , tr = ใช้ลม

ตวั อยา่ งที่ 9.24 เมือ่ ต้องการเจาะเหลก็ St 40 ด้วยดอกสว่านโต 14 มม. ให้คำนวณหา ความเรว็ รอบ ของดอกสว่านโดยกำหนดข้นั ความเรว็ ของเคร่ืองเจาะไว้ 48 ,75,118, 300,475,750 และ 1,180 รอบตอ่ นาที เม่ือทำการเจาะรทู ่ตี ้องการควรเลือกความเรว็ รอบของเครือ่ ง เจาะทีข่ ้นั ความเรว็ เทา่ ใด วธิ ที ำ จากตารางที่ 9.10 เลอื กใชค้ วามเร็วตดั ที่ 22 เมตร/นาที เมือ่ ชิ้นงานเป็นเหลก็ St 40 ขนาดดอกสวา่ นทีใ่ ชโ้ ต 14 มม. จากสตู ร V= πdn 1000 V × 1000 n = πd รอบ/นาที แทนคา่ = 22 × 1,000 รอบ/นาที 3.14 × 14 22,000 = 43,988 = 500.45 รอบ/นาที เลอื กคา่ ความเร็วที่ใกล้เคยี งมากท่ีสดุ คอื 475 รอบตอ่ นาที การป้อนเจาะ วัดเป็นจำนวนมิลลิเมตร ที่เจาะลึกลงไปในเนื้องานเมือดอกสว่านหมุนรอบหนึ่ง เช่น อัตราปอ้ นเจาะ 0.25 มลิ ลิเมตรตอ่ รอบ ลักษณะการป้อนเจาะถ้าเป็นการป้อนที่มากไปเศษเจาะจะหนาแรงกดเจาะต้องมากตามไปด้วย ถ้า เปน็ เชน่ นีแ้ ล้วผิวรูเจาะกจ็ ะหยาบ ในการปอ้ นเจาะเทา่ ไรนนั้ เราต้องพิจารณาขนาดของรเู จาะและวสั ดงุ านเป็น เกณฑ์ ในการป้อนเจาะรูเลก็ ๆสว่ นมากเราจะทำการป้อนเจาะด้วยมือโดยการโยกแขนใหก้ ดดอก สว่านลงเจาะ วธิ ปี ้อนเจาะเช่นน้ี ตอ้ งคอยระวงั แรงที่กด ถา้ ทำออกแรงกดมากเกนิ ไปหรอื ไมเ่ หมาะสมดอก สว่านอาจหกั ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook