Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 8เรียว

8เรียว

Published by kroojira, 2020-05-12 05:26:40

Description: 8เรียว

Search

Read the Text Version

8 เรยี ว จริ ยทุ ธ์ โชติกุล ชา่ งกลโรงงาน วทิ ยาลยั เทคนคิ ศรีสะเกษ

หน่วยการเรยี นที่ 7 เกลียว สาระสำคญั งานเรยี วเปน็ งานที่ใชก้ นั มากชนิดหน่ึง ส่วนมากพบกับชน้ิ สว่ นเครื่องจกั รกล การสร้างหรือการผลิต เรียวสามารถทำได้หลายวธิ ี เช่น การเจาะด้วยสว่าน การคว้านรูด้วยรีมเมอร์ รวมถึงการกลึงเรียว เรียวคอื งานที่มีความยาวของเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางเลก็ ลงอยา่ งสม่ำเสมอ หรือใหญ่ขึน้ อยา่ งสมำ่ เสมอ เรียวมีทง้ั เรียวนอก และเรียวใน เช่น เรยี วทศี่ ูนย์ทา้ ยแทน่ เครอื่ งกลงึ เรียวของก้านดอกสวา่ น

หนว่ ยการเรียนที่ 7 เกลียว เรียว (Taper) หมายถึง ขนาดความโตที่ลากเส้นลงมาหาขนาดส่วนที่เล็ก โดยมีความยาวช่วง ระยะเวลาหน่งึ 1. ชนดิ และมาตรฐานของเรยี ว 1. Morse Standard Tapers เป็นเรียวมาตรฐานที่ใช้กับเครื่องกลึง เครื่องเจาะ เช่น รูใน Spindle ของเครอื่ งเจาะ ทีศ่ ูนย์ท้ายแท่นของเครื่องกลงึ กา้ นเรยี วของดอกสวา่ น ทกี่ า้ นเรียวของหัวจบั ดอก สวา่ น ซึ่งมีคา่ เรียว 0.625 น้วิ / ฟุต มอี ยู่ 8 ขนาด ต้งั แต่ No 0-7 เริม่ จากเล็กไปหาใหญ่ 2. Brown and Sharpe Tapers สว่ นใหญ่ใช้กบั เครื่องกดั มอี ยู่ 18 ขนาด ตั้งแต่ No 1-18 เรียง จากเล็กไปหาใหญ่ มีอัตราเรียว 0.500 นิ้ว / ฟุต ยกเว้น No 10 ซึ่งมีอัตราเรียวประมาณ 0.5161 นิ้ว / ฟุต 3. Jarno Taper ใชก้ บั เครอื่ งกลึง เครื่องเจาะบางอยา่ ง มอี ัตราเรยี ว 0.600 นว้ิ / ฟตุ มีอยู่ 20 ขนาด ต้งั แต่ No 1-20 เรียงจากเล็กไปหาใหญ่ 4. Jacobs Taper ใช้ในการประกอบหัวจับดอกสว่านเข้ากับก้านเรียว อัตราเรียวจะเปลี่ยนไป แล้วแต่ No เรยี วชนิดนี้มีทงั้ หมด 10 ขนาด คอื No 0,1,2,2 short,3,4,5,6,33 และ E ขนาดความโตจะ สลบั ไปมา ซึง่ เรียงจากใหญไ่ ปหาเล็ก คอื No 5,4,3,E,6,33,2,2short,1 และ 0 5. Standard Taper Pins ใช้กบั สลักเพลาท่ีมอี ตั ราเรียว 0.250 น้วิ / ฟุต มีตงั้ แต่ No 8/0,No 14 ดงั ต่อไปน้ี 8/0,7/0,6/0,5/0,4/0,2/0,0,1,2,3,4,5,6,7,8,9,10,11,12,13,14 มขี นาดตั้งแต่เลก็ ไปหาใหญ่ 2. สญั ลกั ษณ์ทใ่ี ช้ในงานเรียวพิจารณาไดด้ ังนี้ รูปท่ี 8.1 พิจารณาสญั ลกั ษณเ์ รียว จากรปู จะได้ ØD = ขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางของเรียวข้างโต(มม.) Ød = ขนาดเส้นผ่านศูนยก์ ลางของเรยี วขา้ งเล็ก (มม.) l= ความยาวเรียว (มม.) L= ความยาวชน้ิ งาน (มม.) = มมุ เรียว

α2 = ครึ่งของมุมเรียว มุมทีต่ ้ังกลึงเรยี วดว้ ย Compound rest 1 : X หรือ 1 : K = อัตราเรยี ว 3. การหาอัตราเรียว อตั ราเรยี ว หมายถึง อัตราส่วนของความแตกต่าง ระหวา่ งความโตเรยี วสองขา้ งตอ่ ความยาวเรยี ว คำนวณไดจ้ าก = ขนาด Ø เรียวข้างโต- ขนาดØเรียวข้างเลก็ นนั่ คอื 1 : X หรือ 1 : K = D − d ความยาวเรียว l ตวั อยา่ งท่ี 8.1 จากรปู จงคำนวณหาค่าอตั ราเรียว รปู ท่ี 8.2 การหาอัตราเรียว วธิ ที ำ สตู ร 1:X หรอื 1 = D-d X l = 80 - 60 100 1 = 0.2 มม. X หาอตั ราเรยี วเท่ากับ 1 = 5 มม. 0.2 ดังน้ัน อตั ราเรียว มคี า่ เทา่ กบั เรียว 1 : 5

4. อัตราลาดของหนา้ เรียว อตั ราลาดของหน้าเรียวเปน็ คา่ ทบ่ี วกความลาดของผวิ โดยเฉพาะ ซึง่ ความลาดของผิววัดค่าออกมาเปน็ tangent ของมุมที่ลาด หรือ α2 กำหนดโดยการเขียนรูปสามเหลี่ยมมมุ ฉากขนึ้ มาตามความลาดของหนา้ เรียว และใหด้ า้ นตัง้ ฉากของ สามเหล่ยี มมมุ ฉากอยตู่ รงขา้ มกับมมุ เรียว คือ α2 พิจารณาดังรูป รูปท่ี 8.3 สัญลักษณอ์ ตั ราลาดเรียว α ด้านตรงขา้ มมุม α 2 ดา้ นประชิดมมุ จากรปู จะไดว้ ่า tan = = 2 α 2 D- d = 2 l  tan α = D-d 2 2l และจาก 1 = D-d X l เพราะฉะน้นั tan α = 1 2 2X สรุปได้ว่า อัตราลาดของหนา้ เรียว 1 = D- d = tan α 2X 2l 2

ตัวอย่างท่ี 8.2 จากรปู ท่ี 8.2 จงคำนวณหาค่าอัตราลาดเรียว วธิ ีทำ สูตร tan α = D-d 2 l = 80 - 60 2 x100 = 0.1 = 5.71 องศา 5. งานกลงึ เรียว ในงานกลึงเรียวสามารถกระทำได้ 3 วธิ ีคอื 5.1 งานกลึงเรียวด้วย Compound Rest จะเป็นการกลึงโดยการปรบั มุมป้อมมีด (Tool Post) ให้เอยี งไปตามองศาท่ตี ้องการ โดยตง้ั องศาเท่ากบั ครงึ่ หน่ึงของมมุ เรียว = α2 ดงั รูป รปู ท่ี 8.4 งานกลงึ เรยี วด้วย Compound Rest ข้อดีและขอ้ เสียของการกลงึ ด้วยวธิ ีนี้ - ข้อดี คอื สามารถกลงึ เรยี วท่มี ีองศามากๆ ได้ - ขอ้ เสยี คอื กลงึ ไดร้ ะยะสั้นๆ และไมส่ ามารถกลึงอตั โนมัติได้ ตวั อย่างที่ 8.3 จากรปู ต้องการกลงึ เรียว จงคำนวณหาค่ามุมเรยี ว รปู ท่ี 8.5 แสดงขนาดกำหนดของช้นิ งาน

วธิ ีทำ สูตร tan α = D-d 2 2xl = 60 - 20 = 2 x 40 = 0.5 26.57 องศา 5.2 งานกลงึ เรียวด้วยการปรบั ศูนย์ทา้ ยแทน่ (Offsetting The Tail Stock) เปน็ วิธีท่ีเหมาะกับ งานกลึงเรยี วท่มี ขี นาดยาว ๆ แตม่ ีอตั ราเรยี วน้อย ๆ ดงั รูป รปู ท่ี 8.6 การกลึงเรียวแบบเย้อื งศูนยท์ ้ายแทน่ VR รูปที่ 8.7 พิจารณาสัญลักษณ์ VR = D-d 2 เม่ือกำหนด VR = ระยะเยื้องศูนยท์ า้ ยแท่น D = ขนาด Ø ของเรียวข้างโตสดุ d = ขนาด Ø ของเรียวข้างเล็กสุด เปรียบเทยี บข้อดขี อ้ เสยี ของการกลึงเรยี วด้วยวิธเี ลื่อนศูนยท์ ้ายแทน่ - ขอ้ ดี คือ สามารถกลึงอัตโนมตั ิได้เหมอื การกลึงปอก

- ข้อเสีย คอื ระยะเยอ้ื งศนู ย์ทา้ ยแท่นจะตอ้ งไมเ่ กิน 1/50 เท่าของความยาว ทัง้ หมด ถา้ ระยะศูนยเ์ กนิ ทกี่ ำหนด ชิ้นงานอาจหลุดจากยันศูนยท์ ้ายแทน่ ได้ ตวั อย่างที่ 8.4 ตอ้ งการกลงึ งานท่ีมขี นาดความยาว 150 มม. ขนาด Ø เรยี วโตสุด 22 มม. ขนาด Ø เรยี วเล็กสดุ 20 มม. จงคำนวณหาระยะเยื้อง ศูนย์ทา้ ยแทน่ วธิ ีทำ สูตร VR = D-d 2 = 22 - 20 2 = 1 มม. ตรวจสอบระยะศนู ยท์ ้ายแท่น VR = 1 x L 50 = 1 x 150 50 =3 ดงั นั้น เรียวน้สี ามารถกลึงโดยวิธีน้ไี ด้ เพราะมีระยะเยอื้ งศนู ย์ 1 มม. น้อยกว่า 4 มม. 5.3 งานกลงึ เรยี วด้วยชุดเคร่ืองมือพเิ ศษ (Attachment) เป็นวิธีการทำงานได้กวา้ งกว่าการกลึงท้ัง 2 วธิ ี แต่มีขอบเขตของการทำงานเช่นกัน ดงั รูป รูปที่ 8.8 การกลงึ เรยี วด้วยชดุ เคร่ืองมือพิเศษ สรุปสูตรทใ่ี ช้ในการคำนวณการกลึงเรยี วด้วย Attachment ไดด้ งั นี้ - อัตราเรยี ว ; = 1 = D-d X l - อตั ราลาดของหนา้ เรยี ว ; = 1 = D-d 2X 2l

หรือเลือ่ นออกเทา่ กบั D - d ตอ่ ความยาวหนา้ ลาด 1 มม. แตร่ ะยะหา่ งจากศูนย์หนา้ ถงึ 2L ศนู ยห์ ลัง ยาว L มม.ดังนั้นจะได้วา่ จะต้องเลอ่ื นชดุ ทา้ ยแท่น (Vr) = D - d x L มม. 2l หรือ Vr = 1 x L มม. 2X นน่ั คอื ระยะทศ่ี ูนยช์ ุดท้ายแทน่ = ความลาดหน้าเรียว × ระยะห่างศนู ยห์ นา้ ถงึ ศูนย์หลัง ข้อควรทราบ (ใช้เฉพาะกลงึ เรยี วดว้ ยการเลือ่ นศูนย์ท้ายแทน่ ) - อตั ราเรยี ว = 1 = D-d X L - อัตราลาดของหนา้ เรียว = 1 = D-d 2X 2L สรุป เรยี ว คือ (Taper) ขนาดความโตท่ลี ากเสน้ ลงมาหาขนาดส่วนทเ่ี ล็ก โดยมคี วามยาวชว่ งระยะหนง่ึ อัตราเรยี ว คอื อตั ราส่วนของความแตกตา่ งระหว่างความโตเรยี วสองขา้ ง ต่อความยาวเรยี ว สามารถคำนวณได้จาก Øเรียวขา้ งโต - Ø เรยี วข้างเลก็ ความยาวเรยี ว นนั่ คือ 1 = D- d X L อตั ราลาดหนา้ เรียว l = D- d = tan α 2X l 2 งานกลงึ เรยี ว ในงานกลึงเรยี วสามารถทำได้ 3 วธิ ี คอื 1. งานกลงึ เรียวดว้ ย Compound Rest หรอื การต้งั ป้อมมดี ให้เป็นมุม จะต้องต้ังป้อมมีดให้เป็น มุม α2 (กงึ่ มุมเรียวของงานจรงิ ) กับเพลางาน 2. งานกลึงเรียวด้วยการเล่ือนศนู ย์ท้ายแท่น (Offsetting The Tail Stock) จะต้องปรับศนู ย์ หลัง เพื่อให้ผิวหน้าของเรียวขนานกับแนวทางเดินของคมมีดกลึง วิธีการปรับศูนย์จะต้องปรับให้ถูกตาม อตั ราสว่ นระหว่างความยาวตัวเรยี วและความยาวตามผวิ หน้าของเรียว 3. วิธีกลึงเรียวโดยใช้ชุดเครื่องมือพิเศษ (Attachment) โดยการเลื่อนชุดป้อนตัดขวาง (Cross Slide) และเครอื่ งมือตดั (Cutting Tool) ไปทางเอียง ขณะทีช่ ดุ แครเ่ ล่ือน (Carriage) เลื่อนไปตามยาว ระยะ ทางการเคลอ่ื นท่เี อยี งจะถกู จำกัดอยใู่ นช่วงหน่ึง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook