Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบงาน15 ebook

ใบงาน15 ebook

Published by tiger2002channel, 2022-08-24 08:02:26

Description: ใบงาน15 ebook

Search

Read the Text Version

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบื้องต้น เทคโนโลยี 5G เทคโนโลยี 5G (เครือข่ายโทรศพั ทม์ ือถือรุ่นหรือระบบไร้สายรุ่นที่ 5) เป็นเครือข่ายไร้สายท่ีถูก พฒั นาและเริ่มใชใ้ นปี พ.ศ. 2561 เป็นตน้ มา เทคโนโลยพี ้นื ฐานไดแ้ ก่คล่ืนความถี่ (Millimeter wave bands 26, 28, 38, และ 60 GHz) มีประสิทธิภาพสูงสุดถึง 20 จิกะบิตต่อวนิ าที MIMO (Multiple Input Multiple Output - 64-256 antennas) ประสิทธิภาพสูงซ่ึงเร็วกวา่ 4G ถึง 10 เท่า 5G ยา่ นความถี่ต่าและกลางใชค้ วามถี่ระหวา่ ง 600 MHz ถึง 6 GHz โดยเฉพาะระหวา่ ง 3.5-4.2 GHz ในปี พ.ศ. 2560 หลายบริษทั ต่างพฒั นาเทคโนโลยี 5G เช่น Samsung, Intel, Qualcomm, Nokia, Huawei, Ericsson, ZTE และอื่นๆ แมว้ า่ 5G จะครอบคุลมทวั่ โลกภายในปี 2563 เกาหลีใตไ้ ดเ้ ริ่ม ใหบ้ ริการเทคโนโลยนี ้ีท่ีโอลิมปิ กฤดูหนาว 2018 ในปี พ.ศ. 2561 Verizon วางแผนจะใหบ้ ริการ 5G FWA ใน 4 เมืองในสหรัฐ แซคราเมนโต แอลเอ อินเดียแนโพลิส และฮิวสตนั ความเป็นมาของ 5G การสือสารไร้สายรุ่นใหม่ๆมกั ปรากฏทุกๆ 10 ปี นบั จากคร้ังแรกท่ีระบบเครือข่าย 1G โดย Nordic Mobile Telephone ไดเ้ ป็นที่รู้จกั กนั ในปี 1981 ต่อมาระบบเครือข่าย 2G กไ็ ดเ้ ร่ิมถูกใช้ งานในปี 1992 ส่วนระบบเครือข่าย 3G ไดป้ รากฏเป็นคร้ังแรกเม่ือปี 2001 และระบบเครือข่าย 4G ท่ีทางานสอดคลอ้ งกบั ระบบ IMT Advancedกไ็ ดร้ ับมาตรฐานในปี 2012 เช่นกนั การพฒั นาของมาตรฐาน 2G (GSM) และ 3G (IMT-2000 และ UMTS) ท่ีใชเ้ วลาประมาณ 10 ปี จากจุดเริ่มตน้ อยา่ งเป็นทางการของโครงการ R & D และการพฒั นาระบบเครือข่าย 4G เร่ิมตน้ หน้า 1 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบื้องต้น ในปี 2001 หรือ 2002 เทคโนโลยรี ุ่นก่อนท่ีเกิดข้ึนในตลาดไม่กี่ปี ก่อนรุ่นมือถือใหม่เช่นระบบ Pre-3G CDMAOne / IS95 ในสหรัฐอเมริกา ในปี 1995 และระบบ Pre-4G Mobile WiMAX ใน ภาคใต้ ของเกาหลี ปี 2006 และเป็นคร้ังแรกท่ีปล่อยสญั ญาณ LTE ในสแกนดิเนเวยี เม่ือปี 2009 5G เหนือกว่า 4G อย่างไร? ตอบสนองไวข้ึน สามารถสั่งงาน และควบคุมส่ิงต่างๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว หรือเรียกวา่ แทบ จะทนั ที เนื่องจากมีความหน่วงท่ีต่า ตอบสนองไดไ้ วถึง 1 ส่วนพนั วนิ าที รองรับการ รับ-ส่ง ขอ้ มูลไดม้ ากกวา่ ถา้ เป็น 4G จะสามารถ รับ-ส่ง ขอ้ มูลไดร้ าว 7.2 Exabytes ต่อเดือน แต่สาหรับ 5G จะเพ่มิ ข้ึนราว 7 เท่า หรือ 50 Exabytes ต่อเดือน เร็วแรงกวา่ เดิม 5G มีความเร็วมากกวา่ 4G ถึง 20 เท่า ซ่ึงเร็วมากพอท่ีจะดูวดิ ีโอ 8K ออนไลนแ์ บบ 3 มิติ หรือดาวนโ์ หลดภาพยนตร์ 3 มิติ ไดใ้ นภาย 6 วนิ าที ความถ่ีใหเ้ ลือกใชม้ ากกวา่ 5G จะสามารถใชง้ านคล่ืนความถี่ไดจ้ นถึง 30GHz ซ่ึงเป็น ความถี่ยา่ นใหม่ท่ีไม่เคยมีการใชง้ านมาก่อน รองรับการใชง้ านที่มากกวา่ รองรับจานวนผใู้ ชง้ านเพมิ่ ข้ึน 10 เท่า จากท่ีสามารถรับคน ไดร้ าว 1 แสนคนต่อพ้นื ที่ 1 ตร.กม. กลายเป็น 1 ลา้ นคนต่อพ้ืนที่ 1 ตร.กม. หน้า 2 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบื้องต้น 5G (เครือข่ายโทรศพั ทม์ ือถือรุ่นหรือระบบไร้สายรุ่นที่ 5) เป็นเครือข่ายไร้สายท่ีถูกพฒั นา และเริ่มใชใ้ นปี พ.ศ. 2561 เป็นตน้ มา[1] เทคโนโลยพี ้ืนฐานไดแ้ ก่คล่ืนความถ่ี (Millimeter wave bands 26, 28, 38, และ 60 GHz) มีประสิทธิภาพสูงสุดถึง 20 จิกะบิตต่อวนิ าที [2] MIMO(Multiple Input Multiple Output - 64-256 antennas)ประสิทธิภาพสูงซ่ึงเร็วกวา่ 4G ถึง 10 เท่า[3][4][5] 5G ยา่ นความถี่ต่าและกลางใชค้ วามถี่ระหวา่ ง 600 MHz ถึง 6 GHz โดยเฉพาะ ระหวา่ ง 3.5-4.2 GHz[6][7] ในปี พ.ศ. 2560 หลายบริษทั ต่างพฒั นาเทคโนโลยี 5G เช่น Samsung, Intel, Qualcomm, Nokia, Huawei, Ericsson, ZTE และอื่น ๆ[8] แมว้ า่ 5G จะ ครอบคุลมทวั่ โลกภายในปี 2563 เกาหลีใตไ้ ดเ้ ร่ิมใหบ้ ริการเทคโนโลยนี ้ีท่ีโอลิมปิ กฤดูหนาว 2018[9][10] ในปี พ.ศ. 2561 Verizon วางแผนจะใหบ้ ริการ 5G FWA ใน 4 เมืองใน สหรัฐ แซคราเมนโต แอลเอ อินเดียแนโพลิส และฮิวสตนั ในประเทศไทย ปี พ.ศ.2564 ถึงปี พ.ศ.2565 ไดม้ ีการพฒั นาโครงเครือข่าย5G โทรคมนาคม โดย กสทช.(ประเทศไทย) ไดม้ ีการอนุมตั ิการวางโครงเครือข่าย5Gหลงั จากการ ประมูลคล่ืนความถ่ีสาเร็จ และเริ่มเปิ ดทดสอบในปี พ.ศ. 2564 โดยบริษทั AWN หรือเครือข่าย AIS ไดม้ ีการประกาศใหผ้ ใู้ ชง้ านในประเทศไทยสามารถใชง้ านบริการ 5G ไดแ้ ลว้ ( AIS 5G ) หลงั จากน้นั บริษทั TRUE กไ็ ดเ้ ริ่มใหใ้ ชบ้ ริการ 5G ( TRUE 5G ) ต่อมาทางบริษทั DTAC กไ็ ด้ เปิ ดการใชง้ าน 5G เช่นกนั ( DTAC 5G ) ความเป็ นมาของ 5G[แก้] การสือสารไร้สายรุ่นใหม่ ๆ มกั ปรากฏทุก ๆ 10 ปี นบั จากคร้ังแรกท่ีระบบ เครือข่าย 1G โดย Nordic Mobile Telephone ไดเ้ ป็นที่รู้จกั กนั ในปี 1981 ต่อมาระบบเครือข่าย 2G กไ็ ดเ้ ร่ิมถูกใชง้ านในปี 1992 ส่วนระบบเครือข่าย 3G ไดป้ รากฏเป็นคร้ังแรกเม่ือปี 2001 และ ระบบเครือข่าย 4G ท่ีทางานสอดคลอ้ งกบั ระบบ IMT Advancedกไ็ ดร้ ับมาตรฐานในปี 2012 เช่นกนั หน้า 3 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น การพฒั นาของมาตรฐาน 2G (GSM) และ 3G (IMT-2000 และ UMTS) ที่ใชเ้ วลาประมาณ 10 ปี จากจุดเริ่มตน้ อยา่ งเป็นทางการของโครงการ R & D และการพฒั นาระบบ เครือข่าย 4G เริ่มตน้ ในปี 2001 หรือ 2002 เทคโนโลยรี ุ่นก่อนท่ีเกิดข้ึนในตลาดไม่ก่ีปี ก่อนรุ่น นาโนเทคโนโลยี นาโนเทคโนโลยี นาโนเทคโนโลยี เป็นเทคโนโลยขี องวทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์ ท่ีเอาไปใช้ ประโยชนใ์ นการออกแบบเพอ่ื ประดิษฐว์ สั ดุหรือผลิตภณั ฑใ์ หม่ๆ การสังเคราะห์วสั ดุท่ีมีขอ้ ดอ้ ย ลดลง การตรวจวเิ คราะห์และวนิ ิจฉยั ท่ีมีความละเอียดแม่นยายงิ่ ข้ึนสาหรับวสั ดุหรือส่ิงของท่ีเลก็ มากอยใู่ นระดบั นาโนเมตร ซ่ึงนาโนเทคโนโลยจี ะใหค้ วามสาคญั แก่กระบวนการเตรียมหรือการ ใชเ้ ทคโนโลยใี นช่วงแรก โดยเริ่มจากการควบคุมแต่ละโมเลกุล หรือ อะตอม ที่ส่งผลต่อการ ประกอบหรือการรวมตวั กนั ทาใหเ้ กิดเป็นสารท่ีมีขนาดใหญ่ ทาใหน้ าโนเทคโนโลยมี ีความ พิเศษ คือ มีความเฉพาะเจาะจง สามารถควบคุมการทางานของสารท่ีสร้างข้ึนไดท้ ้งั ในดา้ นเคมี และฟิ สิกส์อยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยหน่วยนาโนเมตร (nanometer) ที่ใชส้ ัญลกั ษณ์ตวั ยอ่ nm เป็นหน่วยของระบบ SI ซ่ึงท่ีคุน้ เคยกนั ดีคือ ระดบั เซนติเมตรและเมตร ซ่ึง 1 นาโนเมตร คือความยาว 1 ในสิบลา้ นของ เซนติเมตร (10-7 cm) หรือ ในพนั ลา้ นของเมตร (10-9 m) เมื่อเปรียบเทียบกบั ส่วนประกอบในร่างกายที่มีขนาดเลก็ เช่น โมเลกุลของดีเอน็ เอ มีความกวา้ ง 2.5 นาโนเมตร ซ่ึงขนาด 1 นาโนเมตร คอื ขนาดของอะตอมที่มีความเลก็ กวา่ เส้นผา่ ศูนยก์ ลางของเสน้ ผม มนุษยถ์ ึงแปดหมื่นเท่า โดยส่ิงที่มีขนาดในช่วง 1-100nmจดั วา่ เป็นนาโนเทคโนโลยเี กือบ ท้งั สิ้น หน้า 4 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบื้องต้น ริชาร์ด ไฟน์แมน (Richard Phillips Feynman) เป็นผทู้ ่ีไดร้ ับการยอมรับวา่ เป็นคน แรกท่ีแสดงความเห็นถึงความเป็นไปได้ และแนวโนม้ ของนาโนเทคโนโลยี ในการบรรยายเรื่อง “There’s plenty of room at the bottom” ที่สถาบนั เทคโนโลยแี คลิฟอร์เนีย เม่ือปี ค.ศ. 1959 (พ.ศ. 2502) โดยการแสดงความเห็นถึงความเป็นไปได้ และโอกาสของประโยชนท์ ี่จะได้ จากการจดั การในระดบั อะตอม ปี ค.ศ. 1974 (พ.ศ. 2517) ศาสตราจารยโ์ นริโอะ ทานิงูจิ (Norio Taniguchi) แห่ง มหาวทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตร์โตเกียวเป็นคนแรกที่เริ่มใชค้ าวา่ “Nanotechnology” [1] ประโยชน์ของนาโนเทคโนโลยี[แก]้ ประโยชน์ของนาโนเทคโนโลยเี ป็นความหวงั ท่ีจะฝ่ าวกิ ฤติปัจจุบนั ของมนุษยชาติไดห้ ลากหลาย อยา่ งดงั น้ี 1. พบทางออกที่จะไดใ้ ชพ้ ลงั งานราคาถูกและสะอาดเป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม 2. มีน้าท่ีสะอาดเพยี งพอสาหรับทุกคนในโลก 3. ทาใหม้ นุษยส์ ุขภาพแขง็ แรงและอายยุ นื กวา่ เดิม (มนุษยอ์ าจมีอายเุ ฉล่ียถึง 200 ปี ) 4. สามารถเพ่มิ ผลผลิตทางการเกษตรไดอ้ ยา่ งพอเพยี งกบั ประชากรโลก 5. เพ่ิมศกั ยภาพในการติดตอ่ สื่อสารของผคู้ นท้งั โลกอยา่ งทว่ั ถึง ทดั เทียม 6. สร้างหุ่นยนตน์ าโนท่ีสามารถซ่อมแซมความบกพร่องของเซลลเ์ มด็ เลือดแดง คอยทาลายเซลล์ แปลกปลอมตา่ ง ๆ 7. มีความสามารถในการประกอบตวั เอง และทาสาเนาตวั เอง 8. การใชเ้ ทคโนโลยใี นเทคโนโลยเี พื่อสุขภาพ 9. การใชน้ าโนเทคโนโลยใี นการผลิตภณั ฑ์อาหารเสริมเพอ่ื สุขภาพและทางการแพทย์ 10. ในอนาคตเราอาจใชน้ าโนเทคโนโลยสี ร้างอวยั วะเทียม หน้า 5 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น สาขาย่อยของนาโนเทคโนโลย[ี แก]้ คาร์บอนนาโนทูบ ในโครงสร้างสามมิติ 1. นาโนอิเลก็ ทรอนิกส์ (Nanoelectronics) 2. นาโนเทคโนโลยชี ีวภาพ (Bionanotechnology) 3. นาโนเซนเซอร์ (Nanosensor) 4. การแพทยน์ าโน (Nanomedicine) 5. ทอ่ นาโน (Nanotube) 6. นาโนมอเตอร์ (Nanomotor) 7. โรงงานนาโน (Nanofactory) แมแ่ บบ:งานดา้ นนาโนเทคโนโลยี งานดา้ นวสั ดุนาโนเฉพาะทางและนาโนเทคโนโลยขี ้นั สูง การพฒั นาวสั ดุนาโนเฉพาะทางเพื่อใหม้ ีคุณสมบตั ิพิเศษเฉพาะดา้ น ที่มุง่ เนน้ การประยกุ ตใ์ ชง้ านดา้ น ผลิตภณั ฑส์ ิ่งทอ ผลิตภณั ฑใ์ นครัวเรือน รวมถึงการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติ เพือ่ เพ่มิ คุณภาพ ชีวติ ที่ดี งานดา้ นการเกษตรนาโนและสิ่งแวดลอ้ ม การวจิ ยั และพฒั นานาโนเทคโนโลยดี า้ นนวตั กรรมอาหาร เกษตรและส่ิงแวดลอ้ ม โดยการ ประยกุ ตใ์ ชน้ าโนเทคโนโลยกี ารดดั แปลงโครงสร้างและพ้นื ผวิ รวมท้งั การเตรียมนาโนคอมพอสิตี เพื่อ เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ดา้ นเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ร่วมกบั การจดั การส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งยงั่ ยนื หน้า 6 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น งานดา้ นนาโนเพ่ือชีวติ และสุขภาพการวจิ ยั และพฒั นานาโนเทคโนโลยดี า้ นการตรวจวินิจฉยั โดยการ ใชโ้ มเลกลุ เป้าหมาย การพฒั นาเทคโนโลยรี ะบบนาส่งยาชนิดใหม่และเวชสาอางจากการใชป้ ระโยชน์ ดว้ ย สารจากธรรมชาติและสมุนไพรไทย เพ่อื การประยกุ ตท์ างดา้ นการแพทย์ สาธารณสุขและเวชสาอาง งานดา้ นมาตรวทิ ยานาโนวิเคราะห์และวศิ วกรรม การวจิ ยั และพฒั นาทางดา้ นมาตรวทิ ยาและความปลอดภยั ทางดา้ นนาโนเทคโนโลยี การใหบ้ ริการ วเิ คราะห์ทดสอบระดบั นาโน การพฒั นาตน้ แบบงานวจิ ยั เชิงวศิ วกรรม เพ่ือเป็นรากฐานในการสร้างความ เชื่อมนั่ ใหก้ บั ภาคการผลิตสินคา้ และบริการในดา้ น คุณภาพและมาตรฐานตา่ งๆในระดบั สากล Bluetooth Bluetooth จะใชส้ ญั ญาณวทิ ยคุ วามถี่สูง 2.4 GHz. (กิ๊กกะเฮิร์ซ) แต่จะแยกยอ่ ยออกไป ตามแต่ละ ประเทศ อยา่ งในแถบยโุ รปและอเมริกา จะใชช้ ่วง 2.400 ถึง 2.4835 GHz. แบ่งออกเป็ น 79 ช่องสัญญาณ และจะใชช้ ่องสญั ญาณท่ีแบ่งน้ี เพ่อื ส่งขอ้ มูลสลบั ช่องไปมา 1,600 คร้ังต่อ 1 วนิ าที ส่วนที่ ญ่ีป่ ุนจะใชค้ วามถ่ี 2.402 ถึง 2.480 GHz. แบ่งออกเป็น 23 ช่อง ระยะทาการของ Bluetooth จะอยทู่ ี่ 5-10 เมตร โดยมีระบบป้องกนั โดยใชก้ ารป้อนรหสั ก่อนการเชื่อมต่อ และ ป้องกนั การดกั สญั ญาณ ระหวา่ งสื่อสาร โดยระบบจะสลบั ช่องสญั ญาณไปมา จะมีความสามารถในการเลือกเปล่ียนความถี่ท่ีใชใ้ น การติดตอ่ เองอตั โนมตั ิ โดยที่ไมจ่ าเป็นตอ้ งเรียงตามหมายเลขช่อง ทาใหก้ ารดกั ฟังหรือลกั ลอบขโมยขอ้ มูล ทาไดย้ ากข้ึน โดยหลกั ของบลูทูธจะถูกออกแบบมาเพอื่ ใชก้ บั อุปกรณ์ท่ีมีขนาดเล็ก เน่ืองจากใชก้ ารขนส่งขอ้ มูลในจานวน ที่ไม่มาก อยา่ งเช่น ไฟลภ์ าพ, เสียง, แอพพลิเคชนั่ ต่างๆ และสามารถเคล่ือนยา้ ยไดง้ ่าย ขอใหอ้ ยใู่ นระยะที่ กาหนดไวเ้ ทา่ น้นั (ประมาณ 5-10 เมตร) นอกจากน้ียงั ใชพ้ ลงั งานต่า กินไฟนอ้ ย และสามารถใชง้ านได้ นาน โดยไม่ตอ้ งนาไปชาร์จไฟบอ่ ยๆ ดว้ ย หน้า 7 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบื้องต้น บลทู ธู (Bluetooth) เป็ นขอ้ กาหนดสาหรับอุตสาหกรรมเครือขา่ ยส่วนบุคคล (Personal Area Networks - PAN) แบบไร้สาย บลูทูธช่วยใหอ้ ุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์สามารถเชื่อมต่อกนั ได้ เช่น โทรศพั ทม์ ือถือ พดี ีเอ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยผา่ นทางคล่ืนวทิ ยุ ที่มาของชื่อบลูทูธน้นั นามาจากพระนามพระเจา้ ฮารัลดบ์ ลูทูทของประเทศเดนมาร์ก[1] เพอื่ เป็ นการ ราลึกถึงกษตั ริยบ์ ลูทูทผปู้ กครองประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวยี ซ่ึงในปัจจุบนั เป็นกลุ่มผนู้ าในดา้ นการผลิต โทรศพั ทม์ ือถือป้อนสู่ตลาดโลก และระบบบลูทูธน้ี ก็ถูกสร้างข้ึนมาเพ่ือใชก้ บั โทรศพั ทม์ ือถือ และเร่ิมตน้ จากประเทศในแถบน้ีดว้ ยเช่นกนั รายละเอยี ดทางเทคนิค[แก]้ บลูทูธจะใชส้ ัญญาณวทิ ยคุ วามถ่ีสูง 2.4 GHz. (จิกะเฮิร์ซ) แต่จะแยกยอ่ ยออกไป ตามแต่ละ ประเทศ อยา่ งในแถบยโุ รปและอเมริกา จะใชช้ ่วง 2.400 ถึง 2.4835 GHz. แบง่ ออกเป็ น 79 ช่องสญั ญาณ และจะใชช้ ่องสญั ญาณท่ีแบ่งน้ี เพือ่ ส่งขอ้ มูลสลบั ช่องไปมา 1,600 คร้ังต่อ 1 วนิ าที ส่วน ที่ญ่ีป่ ุนจะใชค้ วามถี่ 2.402 ถึง 2.480 GHz. แบ่งออกเป็ น 23 ช่อง ระยะทาการของบลูทูธจะอยทู่ ี่ 5-100 เมตร โดยมีระบบป้องกนั โดยใชก้ ารป้อนรหสั ก่อนการเชื่อมต่อ และ ป้องกนั การดกั สญั ญาณ ระหวา่ งสื่อสาร โดยระบบจะสลบั ช่องสญั ญาณไปมา จะมีความสามารถในการเลือกเปล่ียนความถ่ีท่ีใชใ้ น การติดต่อเองอตั โนมตั ิ โดยที่ไม่จาเป็นตอ้ งเรียงตามหมายเลขช่อง ทาใหก้ ารดกั ฟังหรือลกั ลอบขโมยขอ้ มูล ทาไดย้ ากข้ึน โดยหลกั ของบลูทูธจะถูกออกแบบมาเพ่ือใชก้ บั อุปกรณ์ที่มีขนาดเลก็ เน่ืองจากใชก้ ารขนส่ง ขอ้ มูลในจานวนท่ีไม่มาก อยา่ งเช่น ไฟลภ์ าพ, เสียง, แอปพลิเคชนั ต่างๆ และสามารถเคลื่อนยา้ ยไดง้ ่าย ขอใหอ้ ยใู่ นระยะที่กาหนดไวเ้ ท่าน้นั (ประมาณ 5-100 เมตร) นอกจากน้ียงั ใชพ้ ลงั งานต่า กินไฟนอ้ ย และ สามารถใชง้ านไดน้ าน โดยไม่ตอ้ งนาไปชาร์จไฟบอ่ ยๆ ดว้ ย ระยะทาการ ความสามารถในการส่งขอ้ มูลของบลูทูธน้นั ข้ึนกบั แต่ละ class ท่ีใช้ ซ่ึงมี 4 class ดงั น้ี Class 1 กาลงั ส่ง 100 มิลลิวตั ต์ ระยะประมาณ 100 เมตร Class 2 กาลงั ส่ง 2.5 มิลลิวตั ต์ ระยะประมาณ 10 เมตร Class 3 กาลงั ส่ง 1 มิลลิวตั ต์ ระยะประมาณ 1 เมตร Class 4 กาลงั ส่ง 0.5 มิลลิวตั ต์ ระยะประมาณ 0.5 เมตร หน้า 8 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น ขอ้ กาหนด และคุณสมบตั ิของ Bluetooth แบง่ เป็นรุ่นต่างๆ ดงั น้ี โปรไฟล์[แก้] HFP AVRCP ยอ่ มาจาก Audio/Video Remote Control Profile EDR[แก]้ EDR (Enhanced Data Rate) คือ ระบบอิเลก็ ทรอนิกส์หรือคอมพวิ เตอร์ท่ีไดร้ ับการ ปรับปรุงใหส้ ามารถสื่อสารขอ้ มูลผา่ นเครือข่ายไดเ้ ร็วข้ึน ท้งั น้ีพฒั นาจากรุ่น 1.1 ที่ส่งขอ้ มูลดว้ ยอตั รา ความเร็ว 1 เมกะบิตตอ่ วินาที จนถึงรุ่น 1.2 ท่ีปรับปรุงสญั ญาณและคลื่นความถ่ี บลูทูท 2.0+ EDR ส่งขอ้ มูลดว้ ยอตั ราความเร็ว 3 เมกะบิตต่อวนิ าที บลูทูธ (Bluetooth) เป็ นขอ้ กาหนดสาหรับอุตสาหกรรมเครือขา่ ยส่วนบุคคล (Personal Area Networks - PAN) แบบไร้สาย บลูทูธช่วยใหอ้ ุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถเช่ือมต่อกนั ได้ เช่น โทรศพั ทม์ ือถือ พดี ีเอ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยผา่ นทางคลื่นวทิ ยุ ท่ีมาของชื่อบลูทูธน้นั นามาจากพระนามพระเจา้ ฮารัลดบ์ ลูทูทของประเทศเดนมาร์ก[1] เพ่ือเป็ นการ ราลึกถึงกษตั ริยบ์ ลูทูทผปู้ กครองประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวีย ซ่ึงในปัจจุบนั เป็นกลุ่มผนู้ าในดา้ นการผลิต โทรศพั ทม์ ือถือป้อนสู่ตลาดโลก และ ระบบบลู ทูธน้ี กถ็ ูกสร้างข้ึนมาเพื่อใชก้ บั โทรศพั ทม์ ือถือ และเริ่มตน้ จาก ประเทศใน แถบน้ีดว้ ยเช่นกนั หน้า 9 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบื้องต้น เทคโนโลยี ipv6 IPv6 คืออะไร Internet Protocol Version 6 address หรือ IPv6 คืออะไร ? IPv6 คือตวั เลขท่ีกาหนดที่อยแู่ ละระบุตวั ตนภายใน network เช่นเดียวกนั กบั IP address ท่ี เรารู็จกั กนั ซ่ึงจะมีค่าไม่ซ้ากนั ของแต่ละ network interface ภายใน host หรือ อุปกรณ์ที่ เชื่อมต่ออยู่ โดย IPv6 กาลงั จะเขา้ มาแทนที่ IPv4 ท่ีกาลงั ใชง้ านกนั อยใู่ นปัจจุบนั อนั เน่ืองมากขอ้ จากดั ของ IPv4 ท่ีมี address ไดเ้ พียงแค่ 32-bit แตส่ าหรับ IPv6 แลว้ มี address ไดถ้ ึง 128-bit สาหรับผทู้ ี่ไมไ่ ดเ้ ชี่ยวชาญทางดา้ น IT อาจจะสงสัยวา่ ขนาดมนั ต่างกนั เทา่ เรา ใหเ้ ราลองคิด เป็นตวั เลข address เทียบกนั คือ 232 กบั 2128 ถา้ ลองคิดตามจะเห็นจานวนที่ต่างกนั มหาศาล \\ IPv6 Format IPv6 address ประกอบดว้ ยตวั เลข 128 bit ซ่ึงจะมีการแบง่ bit group ออกมาเช่นเดียวกบั IPv4 รวมถึงมีการจดั กลุ่ม address เฉพาะ และวธิ ีการทา routing โดยค่าของ bit group ก็ จะข้ึนอยกู่ บั คุณสมบตั ิของ address พิเศษท่ีใชง้ าน 1. Unicast และ anycast address format bits 48 (or 16 (or 64 more) fewer) field routing subnet id interface identifier prefix Unicast และ Anycast address ปกติจะประกอบไปดว้ ย 2 ส่วนคือ หน้า 10 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น Network prefix จานวน 64-bit สาหรับทา routing (routing prefix และ subnet id) Interface identifier จานวน 64-bit ใชใ้ นการระบ host network interface ส่วนของ network prefix (routing prefix และ subnet id) มีท้งั หมด 64 bit ซ่ึง routing prefix อาจะมีขนาดไม่แน่นอน ถา้ มี routing prefix ขนาดใหญห่ มายความวา่ เรากจ็ ะ มี subnet id ท่ีเล็ก โดย bit ของ subnet id ข้ึนอยกู่ บั ทางผดู้ ูแลจะกาหนด ส่วน interface identifier จานวน 64 bit จะถูก generate จาก Mac address ของ interface card หรืออาจจะไดก้ ารกาหนดโดย DHCPv6 นอกจากน้ียงั มีส่วนของ link-local address ท่ีใชง้ านภายใน กม็ ีส่วนของ interface identifier เหมือนกนั ต่างกนั เพยี งส่วนของ network prefix format bits 10 54 64 field prefix zeroes interface identifier ส่วนของ prefix จะประกอบดว้ ยค่า binary 1111111010 และตามดว้ ยส่วนของ 54 zero เพื่อบ่งบอกวา่ network prefix ท้งั หมดเหมือนกนั สาหรับ link-local addresses (fe80::/64 link-local address prefix) บ่งบอกวา่ ไม่มี routable หน้า 11 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น ชนิดของ IPv6 Address หลกั จากทราบกนั แลว้ วา่ IPv6 คืออะไร กนั ไปแลว้ มาดูชนิดของ IPv6 address วา่ ถูกแบ่งออก ตามการทา routing ใน network ออกเป็ น 3 ชนิดคือ 1. Unicast Address เป็นการกาหนดท่ีตวั network interface โดย IP จะระบุจะส่ง packet ไปยงั unicast address เดียว หลกั การทางานเหมือนกบั IPv4 unicast address ใชใ้ นการรับส่งขอ้ มูล แบบ one-to-one จากเครื่องหน่ึงไปยงั อีกเครื่องหน่ึง 2. Anycast Address กาหนดใหก้ บั กลุ่มของ interface และมกั จะใชก้ บั node ท่ีอยตู่ ่างกนั โดย packet ท่ีส่งไปยงั unicast address จะถูกส่งไปยงั สมาชิกใน network interface ซ่ึงมกั จะเป็น host ที่ ใกลท้ ่ีสุด อาศยั ขอ้ มูล routing เป็นตวั บอกระยะห่าง anycast address ไมส่ ามารถระบุไดช้ ดั เน่ืองจากมี format แบบเดียวกบั unicast address ซ่ึงจะแตกตา่ งกนั ตรงใน network จะ เห็นวา่ มีการส่งไปหลายๆจุด 3. Multicast Address ใชก้ บั host หลายๆตวั ซ่ึงจะเป็นตอ้ งส่ือสารกบั host เหล่าน้นั โดย packet ท่ีส่งไปหา multicast address จะถูกส่งไปทุก interface ที่อยภู่ ายใต้ multicast group หน้า 12 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น 4. Loopback address ใช้หมายเลข ::1/128 โดยมีหลกั การทางานเหมือนกบั loopback address บน IPv4 ทกุ ประการ (127.0.0.1) เทคโนโลยี WI-FI ไวไฟ หรือ เทคโนโลยเี ครือข่ายแบบไร้สาย มาตรฐาน IEEE 802.11 ถือ กาเนิดข้ึนในปี ค.ศ. 1997 จดั ต้งั โดยองคก์ ารไอทริปเปิ้ ลอี (สถาบนั วศิ วกรรม ทางดา้ นไฟฟ้าและอิเลก็ โทรนิคส์) มีความเร็ว 1 Mbps ในยคุ เร่ิมแรกน้นั ให้ ประสิทธิภาพการทางานท่ีคอ่ นขา้ งต่า ท้งั ไม่มีการรับรองคุณภาพของการใหบ้ ริการที่ เรียกวา่ QoS (Quality of Service) และมาตรฐานความปลอดภยั ต่า จากน้นั ทาง IEEE จึงจดั ต้งั คณะทางานข้ึนมาปรับปรุงหลายกลุ่มดว้ ยกนั โดยที่กลุ่ม ท่ีมีผลงานเป็นท่ีน่าพอใจและไดร้ ับการยอมรับอยา่ งเป็นทางการวา่ ไดม้ าตรฐานไดแ้ ก่ กลุ่ม 802.11a, 802.11b และ 802.11g เทคโนโลยี 802.11 มีตน้ กาเนิดในปี ค.ศ. 1985 กาหนดข้ึนโดย คณะกรรมการการสื่อสารแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (U.S. Federal Communications Commission) หรือ FCC ท่ีประกาศช่วง ความถ่ีสาหรับกิจการดา้ นอุตสาหกรรม วทิ ยาศาสตร์และการแพทย์ (ISM) สาหรับ การใชง้ านที่ไม่ตอ้ งมีใบอนุญาต หน้า 13 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น ในปี ค.ศ. 1991 บริษทั เอน็ ซีอาร์/เอทีแอนดท์ ี (ตอนน้ีเป็น Alcatel- Lucent และ LSI คอร์ปอเรชน่ั ) ไดส้ ร้างชุดต้งั ตน้ ของ 802.11 ในเมือง Nieuwegein, เนเธอร์แลนด์ ตอนแรกนกั ประดิษฐต์ ้งั ใจจะใชเ้ ทคโนโลยนี ้ี สาหรับระบบเกบ็ เงิน ผลิตภณั ฑไ์ ร้สายตวั แรกท่ีนาออกสู่ตลาดอยภู่ ายใตช้ ื่อ WaveLAN ท่ีมีอตั ราขอ้ มูลดิบของ 1 Mbit/s และ 2 Mbit/s วิก เฮส์ผเู้ ป็นประธานของ IEEE 802.11 เป็นเวลา 10 ปี และเรียกวา่ \"บิดาแห่ง Wi-Fi\" ไดม้ ีส่วนร่วมในการออกแบบ 802.11b และ 802.11a มาตรฐานเร่ิมตน้ ภายใน IEEE. นกั วทิ ย-ุ ดาราศาสตร์ชาวออสเตรเลียช่ือ จอห์น โอ ซลั ลิแวนไดพ้ ฒั นาสิทธิบตั รท่ี สาคญั ที่ใชใ้ น Wi-Fi ที่เป็นผลพลอยไดใ้ นโครงการวิจยั CSIRO \"การทดลองที่ ลม้ เหลวในการตรวจสอบหาการระเบิดหลุมดาขนาดเลก็ ที่มีขนาดเท่าหน่ึงอนุภาค อะตอม\"[11] ในปี ค.ศ. 1992 และ ปี ค.ศ. 1996 องคก์ รของออสเตรเลียช่ือ CSIRO (the Australian Commonwealth Scientific and Industrial Research Organisation) ไดร้ ับสิทธิบตั ร [12]สาหรับวิธีการที่ในภายหลงั ใชใ้ น Wi-Fi ในการ \"กาจดั รอยเป้ื อน\"ของสญั ญาณ. [13] ในปี ค.ศ. 1999 Wi-Fi Alliance จดั ต้งั ข้ึนเป็นสมาคมการคา้ เจา้ ของ เคร่ืองหมายการคา้ Wi-Fi ซ่ึงผลิตภณั ฑส์ ่วนใหญ่ที่ใช้ Wi-Fi จะมีเคร่ืองหมายน้ี ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2009 14 บริษทั เทคโนโลยตี กลงท่ีจะจ่าย 250 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ ใหก้ บั CSIRO สาหรับการละเมิดสิทธิบตั รของ CSIRO[14] ส่ิงน้ีทาให้ Wi-Fi กลายเป็นสิ่งประดิษฐ์ ของออสเตรเลีย[15] แมว้ า่ จะเป็นเรื่องของการโตเ้ ถียงกนั อย[ู่ 16][17] ในปี ค.ศ. 2012 CSIRO ยงั ชนะคดี และจะไดร้ ับเงินชดเชยเพิ่มเติม 220 ลา้ น$ สาหรับการละเมิดสิทธิบตั ร Wi-Fi หน้า 14 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น กบั บริษทั ระดบั โลกในประเทศสหรัฐอเมริกา ซ่ึงจะตอ้ งจ่ายค่าลิขสิทธ์ิแก่ CSIRO ท่ีคาดวา่ จะมีมูลคา่ เพ่ิมอีก $ 1 พนั ลา้ นดอลลาร์ ไวไฟ ไดก้ าหนดลกั ษณะการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ภายในเครือข่ายแลน ไว้ 2 ลกั ษณะ คือโหมด Infrastructure และโหมด Ad-Hoc หรือ Peer-to- Peer[21] โหมด Infrastructure[แก]้ โดยทวั่ ไปแลว้ อุปกรณ์ในเครือขา่ ยไวไฟ จะเช่ือมต่อกนั ในลกั ษณะของโหมด Infrastructure ซ่ึงเป็นโหมดที่อนุญาตใหอ้ ุปกรณ์ภายใน LAN สามารถ เช่ือมต่อกบั เครือข่ายอ่ืนได้ ในโหมด Infrastructure น้ีจะประกอบไปดว้ ย อุปกรณ์ 2 ประเภทไดแ้ ก่ สถานีผใู้ ช้ (Client Station) ซ่ึงกค็ ืออุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ (Desktop, แลป็ ทอ็ ป, หรือ PDA ต่าง ๆ ) ที่มีอุปกรณ์ Client Adapter เพื่อใชร้ ับส่งขอ้ มูลผา่ นไวไฟใหบ้ ริการ แก่สถานีผใู้ ชน้ ้นั อยู่ เท่าน้นั ส่วนสถานีแม่ข่ายจะทาหนา้ ที่ส่งตอ่ (forward) ขอ้ มลู ท่ีไดร้ ับจากสถานี ผใู้ ชไ้ ปยงั จุดหมายปลายทางหรือส่งต่อขอ้ มูลท่ีได้ รับจากเครือขา่ ยอ่ืนมายงั สถานีผใู้ ช้ โหมด Ad-Hoc หรือ Peer-to-Peer[แก]้ เครือขา่ ยไวไฟ.ในโหมด Ad-Hoc หรือ Peer-to-Peer เป็นเครือขา่ ยที่ ปิ ดคือไม่มีสถานีแม่ขา่ ยและไม่มีการเช่ือมต่อกบั เครือข่ายอ่ืน บริเวณของเครือขา่ ย ไวไฟในโหมด Ad-Hoc จะเรียกวา่ Independent Basic Service Set (IBSS) ซ่ึงสถานีผใู้ ชห้ น่ึงสามารถติดต่อสื่อสารขอ้ มูลกบั สถานีผใู้ ชอ้ ่ืน ๆ ใน เขต IBSS เดียวกนั ไดโ้ ดยตรงโดยไม่ตอ้ งผา่ นสถานีแม่ขา่ ย แต่สถานีผใู้ ชจ้ ะไม่ สามารถรับส่งขอ้ มูลกบั เครือขา่ ยอื่น ๆ ได้ หน้า 15 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบื้องต้น ลกั ษณะการเชื่อมต่อของอุปกรณ์[แก]้ ภาพของอุปกรณ์ส่งขอ้ มูลแบบไร้สายไปยงั อุปกรณ์อื่นท้งั ที่เชื่อมต่อกบั แลนไร้สายและ เครือขา่ ยทอ้ งถ่ินใชส้ ายในการพิมพเ์ อกสาร ไวไฟ ไดก้ าหนดลกั ษณะการเช่ือมต่อของอุปกรณ์ภายในเครือข่ายแลน ไว้ 2 ลกั ษณะคือโหมด Infrastructure และโหมด Ad-Hoc หรือ Peer-to- Peer[21] โหมด Infrastructure[แก้] โดยทว่ั ไปแลว้ อุปกรณ์ในเครือข่ายไวไฟ จะเช่ือมต่อกนั ในลกั ษณะของโหมด Infrastructure ซ่ึงเป็นโหมดท่ีอนุญาตใหอ้ ุปกรณ์ภายใน LAN สามารถ เช่ือมต่อกบั เครือขา่ ยอื่นได้ ในโหมด Infrastructure น้ีจะประกอบไปดว้ ย อุปกรณ์ 2 ประเภทไดแ้ ก่ สถานีผใู้ ช้ (Client Station) ซ่ึงกค็ ืออุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ (Desktop, แลป็ ทอ็ ป, หรือ PDA ต่าง ๆ ) ท่ีมีอุปกรณ์ Client Adapter เพื่อใชร้ ับส่งขอ้ มูลผา่ นไวไฟใหบ้ ริการ แก่สถานีผใู้ ชน้ ้นั อยู่ เท่าน้นั ส่วนสถานีแม่ขา่ ยจะทาหนา้ ที่ส่งตอ่ (forward) ขอ้ มูลที่ไดร้ ับจากสถานี ผใู้ ชไ้ ปยงั จุดหมายปลายทางหรือส่งต่อขอ้ มูลท่ีได้ รับจากเครือขา่ ยอ่ืนมายงั สถานีผใู้ ช้ โหมด Ad-Hoc หรือ Peer-to-Peer[แก้] หน้า 16 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น เครือข่ายไวไฟ.ในโหมด Ad-Hoc หรือ Peer-to-Peer เป็นเครือขา่ ยที่ ปิ ดคือไม่มีสถานีแม่ขา่ ยและไม่มีการเช่ือมต่อกบั เครือขา่ ยอื่น บริเวณของเครือข่าย ไวไฟในโหมด Ad-Hoc จะเรียกวา่ Independent Basic Service Set (IBSS) ซ่ึงสถานีผใู้ ชห้ น่ึงสามารถติดต่อส่ือสารขอ้ มูลกบั สถานีผใู้ ชอ้ ่ืน ๆ ใน เขต IBSS เดียวกนั ไดโ้ ดยตรงโดยไม่ตอ้ งผา่ นสถานีแม่ข่าย แต่สถานีผใู้ ชจ้ ะไม่ สามารถรับส่งขอ้ มูลกบั เครือข่ายอื่น ๆ ได้ กลไกรักษาความปลอดภยั [แก]้ ไวไฟไดก้ าหนดใหม้ ีทางเลือกสาหรับสร้างความปลอดภยั ใหก้ บั เครือข่ายแลน แบบไร้สาย ดว้ ยกลไกซ่ึงมีช่ือเรียกวา่ WEP (Wired Equivalent Privacy) ซ่ึงออกแบบมาเพื่อเพ่ิมความปลอดภยั กบั เครือขา่ ย LAN แบบไร้สายใหใ้ กลเ้ คียงกบั ความปลอดภยั ของเครือขา่ ยแบบที่ใชส้ ายนา สญั ญาณ (IEEE 802.3 Ethernet) บทบาทของ WEP แบ่งเป็น 2 ส่วนหลกั ๆ คือ การเขา้ รหสั ขอ้ มูล (Encryption) และ การ ตรวจสอบผใู้ ช้ (Authentication) การเข้าและถอดรหัสข้อมูล[แก้] การเขา้ และถอดรหสั ขอ้ มูล (WEP Encryption/Decryption) ใช้ หลกั การในการเขา้ และถอดรหสั ขอ้ มูลที่เป็นแบบ symmetrical (นนั่ คือรหสั ท่ี ใชใ้ นการเขา้ รหสั ขอ้ มูลจะเป็นตวั เดียวกนั กบั รหสั ที่ใช้ สาหรับการถอดรหสั ขอ้ มูล) การทางานของการเข้ารหสั ข้อมูลในกลไก WEP Encryption o 1. Key ขนาด 64 หรือ 128 บิต สร้างข้นึ โดยการนาเอารหสั ลบั ซ่ึงมี ความยาว 40 หรือ 104 บิต มาต่อรวมกบั ขอ้ ความเร่ิมตน้ IV (Initialization Vector) ขนาด 24 บิตท่ีกาหนดแบบสุ่มข้ึนมา หน้า 17 เทคโนโลยี WI-FI

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์เบื้องต้น o 2. Integrity Check Value (ICV) ขนาด 32 บิต สร้างข้ึน โดยการคานวณคา่ 32-bit Cyclic Redundant Check จากขอ้ มูลดิบที่จะส่งออกไป (ICV) ซ่ึงจะนาไปต่อรวมกบั ขอ้ มูลดิบ มีไว้ สาหรับตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มูลหลงั จากการถอดรหสั แลว้ ) o 3. ขอ้ ความที่มีความสุ่ม (Key Stream) ขนาดเท่ากบั ความยาวของ ขอ้ มูลดิบที่จะส่งกบั อีก 32 บิต (ซ่ึงเป็นความยาวของ ICV) สร้างข้ึน โดยหน่วยสร้างขอ้ ความที่มีความสุ่มหรือ PRNG (Pseudo- Random Number Generator) ท่ีมีช่ือเรียกวา่ RC4 ซ่ึง จะใช้ Key ท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ เป็น Input (หรือ Seed) หมายเหตุ PRNG จะสร้างขอ้ ความสุ่มที่แตกต่างกนั สาหรับ Seed แต่ละค่าท่ี ใช้ o 4. ขอ้ ความท่ีไดร้ ับการเขา้ รหสั (Ciphertext) สร้างข้ึนโดยการนาเอา ICV ต่อกบั ขอ้ มูลดิบแลว้ ทาการ XOR แบบบิตต่อบิตกบั ขอ้ ความสุ่ม (Key Stream) ซ่ึง PRNG ไดส้ ร้างข้ึน o 5. สญั ญาณท่ีจะส่งออกไปคือ ICV และขอ้ ความที่ไดร้ ับการเขา้ รหสั (Ciphertext) หน้า 18 เทคโนโลยี WI-FI


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook