Somdech Phra Debaratana Medical Center Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital NUTTAPIMON BHIROMMUANG Smart Nurses…Smart Care
Nurses' role in nutritional assessment and screening And Work shop of Nutrition screening พว.ณัฐพิมณฑ์ ภิรมย์เมือง พยาบาลโภชนาการ ประจ าศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ Smart Nurses…Smart Care
Outline Nutrition Nutrition Screening Case Study status &Nutrition Assessment Smart Nurses…Smart Care
ภาวะโภชนาการ (Nutrition status) สุขภาพของบุคคลอัน เป็นผลมาจากอาหารที่ร่างกาย ได้รับจากอาหารที่บริโภคและการใช้ประโยชน์ของ สารอาหารในร่างกาย ร่างกายสามารถใช้ประโยชน์จาก สารอาหารได้มีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท Smart Nurses…Smart Care
ภาวะโภชนาการที่ดี ผลจากที่ ร่างกายได้รับสารอาหารที่บริโภคเหมาะสม ทั้งชนิดและปริมาณ และสมดุล และร่างกายยังใช้ประโยชน์จากสารอาหาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เห็นได้จากการเจริญเติบโต การต้านทานเชื้อโรค การซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ คู่มือการประเมิน ภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ โดย สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข พิมพ์ครั้งที่ 1 มีนาคม 2547 โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย Smart Nurses…Smart Care
ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะความเสื่อมของสุขภาพอันเป็นผลจากร่างกาย ได้รับสารอาหารจากอาหารที่บริโภคไม่สมดุลกับความ ต้องการของร่างกาย อาจมากหรือน้อยเกินไปและ หรือร่างกายใช้ประโยชน์ของสารอาหารบกพร่อง Smart Nurses…Smart Care
ภาวะทุพโภชนาการ ดังนั้นภาวะทุพโภชนาการจึงรวมทั้ง ภาวะโภชนาการที่ขาด (Under nutrition) และภาวะโภชนาการที่เกิน (over nutrition) Smart Nurses…Smart Care
Definition • จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 2542 ทุ เป็นค ามาจากภาษาบาลี และ สันสกฤต หมายถึง ยาก ล าบาก เลว ส่วนโภชน แปลว่า อาหาร มาจากบาลี และ สันสกฤตเช่นกัน ดังนั้น ทุพโภชนา หรือ ทุโภชนา จึงหมายถึง ภาวะที่ร่างกายขาดอาหาร หรือขาด สาร อาหาร นั่นเอง • ทางการแพทย์ ภาวะทุพโภชนา/ทุพโภชนาการ หรือ ทุโภชนา/ทุโภชนาการ คือภาวะ ที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย โดยมีสาเหตุ หลัก คือ จากบริโภคไม่เพียงพอ อาจจากมีโรคเรื้อรังต่างๆ โดยเฉพาะโรคเรื้อรังของอวัยวะใน ระบบทางเดินอาหาร (เช่น ล าไส้อักเสบเรื้อรัง) ปัญหาทางเศรษฐกิจ อุปนิสัยในการบริโภค ความเชื่อ ติดสารเสพติด ปัญหาด้านอารมณ์/จิตใจ หรือ เป็นผลข้างเคียงจากยาบางชนิด ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์ วว.รังสีรักษา และเวชศาสตร์นิวเคลียร์ Smart Nurses…Smart Care
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง Smart Nurses…Smart Care
https://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&cad=rja&uact=8&ved =&url=http%3A%2F%2Fwww.fightmalnutrition.eu%2Fmalnutrition%2Fgeneral- Smart Nurses…Smart Care information%2F&bvm=bv.124272578,d.c2I&psig=AFQjCNEigIYrDK9vlikheLMmBHQ6ENE4- w&ust=1465796643600230
Cost of malnutrition of inpatients Malnutrition increases patient cost by 25-300% (Correia et al, Clin Nutr ’03; Ockenga et al, Clin Nut ’05; Kruizenga et al, Am J Clin Nutr ’05) Correct treatment save hospital costs by up to 50% (Galban et al Crit Care Med ’00; Braga et al, JPEN ’05; Gianotti et al, Shock ’00) Smart Nurses…Smart Care
Australian and international studies reporting rates of approximately 40%. Malnutrition is associated with many adverse outcomes including depression of the immune system, impaired wound healing, muscle wasting, longer lengths of hospital stay, higher treatment costs and increased mortality Nutrition screening be widely adopted in line with published best-practice guidelines to effectively target and reduce the incidence of hospital malnutrition. Smart Nurses…Smart Care
• Malnutrition was evident in up to one third of the inpatients and led to poor hospitalization outcomes and survival as well as increased costs of care, even after matching for DRG. • Strategies to prevent and treat malnutrition in the hospital and post-discharge are needed. Smart Nurses…Smart Care
Nutrition Assessment Nutrition Screening Smart Nurses…Smart Care
การคัดกรองและ การประเมิน ภาวะโภชนาการ Smart Nurses…Smart Care
วัตถุประสงค์ของการประเมินภาวะโภชนาการ การตรวจร่างกาย และตัวชี้วัดที่เป็น subjective ที่จะช่วยบ่งชี้ว่าผู้ป่วยรายใดมี ความเสี่ยงทางโภชนาการหรือเกิดทุโภชนาการแล้ว การประเมินทางโภชนาการ เป็นหนึ่งในกระบวนการดูแลโภชนาการ (Nutrition care process) การประเมินทางโภชนาการเป็นกระบวนการที่เป็นระบบ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะใช้ใน การตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาทุโภชนาการทั้งในการด าเนินโรคและสาเหตุ วิธีการ ประเมินภาวะโภชนาการแบ่งเป็น 2 ขั้นตอนได้แก่การคัดกรองทางโภชนาการ (Nutrition screening) และการประเมินโภชนาการ (Nutrition Assessment) Smart Nurses…Smart Care
• Nutritional screening เป็นกระบวนการแรกใน Nutrition care process ที่ช่วยในการค้นหาผู้ที่มีความเสี่ยงสูงทางโภชนาการ และผู้ที่ ต้องการการประเมินในขั้นละเอียดถัดไป เครื่องมือที่ใช้คัดกรองจะต้องง่าย มี ประสิทธิภาพ และใช้งานได้จริง การคัดกรองทางโภชนาการควรท าภายใน 24 ชม.หลังรับผู้ป่วย หรือท าตั้งแต่ก่อนรับเข้ารักษาในโรงพยาบาล ข ้อมูลที่ใช้ คัดกรองมักประกอบด้วย – น ้าหนักตัวเทียบกับมาตรฐานหรือดัชนีมวลกาย – การเปลี่ยนแปลงของน ้าหนักตัว – ประวัติอาหารที่กิน ทั้งปริมาณและคุณภาพ ว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร – โรคที่เป็น มีผลต่อความต้องการสารอาหารหรือเมแทบอลิซึม รศ.พญ.ประณิธิ หงสประภาส Smart Nurses…Smart Care
หลักของ การคัดกรองภาวะโภชนาการ การประเมิน น ้าหนักลด โดยไม่ตั้งใจ ความรุนแรง ของความ เจ็บป่วย การรับประทาน อาหารลดลง Smart Nurses…Smart Care
ประเมินในผู้ป่ วยที่มีความเสี่ยงทางโภชนาการที่จะเกิดทุโภชนาการ (ค้นพบจากการคัดกรองภาวะ โภชนาการ) ปัจจัยที่บ่งชี้ถึงทุโภชาการได้แก่ ประวัติน ้าหนักตัวลด ร้อยละ 10 ใน 6 เดือน หรือ ร้อยละ 5 ในเวลา 1 เดือนหรือน ้าหนัก น้อยหรือมากกว่าร้อยละ 20 ของน ้าหนักตัวมาตรฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่ วยที่มีโรคเรื้อรัง หรือมีภาวะที่ เพิ่มเมแทบอลิซึม หรือรับประทานอาหารได้ไม่พอ หรือย่อยหรือดูดซึมอาหารผิดปกติ โดยประกอบไปด้วย รศ.พญ.ประณิธิ หงสประภาส 1. การซักประวัติ 2. การตรวจร่างกาย 3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 4. การประเมินภาวะโภชนาการทางคลินิคโดยรวม Smart Nurses…Smart Care
แบ่ง ออกเป็น 1 การประเมินภาวะโภชนาการทางชีวเคมี 2 การประเมินภาวะโภชนาการทางคลินิก (biochemical assessment) : (clinical assessment): เป็นการ ผลการทดสอบจากห้องปฏิบัติการ ประเมินโดยการตรวจร่างกาย โดยใช้ แม่นย าและสามารถบอกถึง ภาวะทุพ ความรู้ประสบการณ์เช่น ผมที่ขาด หลุด โภชนาการในระยะแรกได้ ร่วง ,เล็บ ลิ้น ไขมันใต้ชั้นผิวหนัง... 3 การประเมินภาวะโภชนาการโดยการ 4 การประเมินภาวะโภชนาการจาก วัดสัดส่วนร่างกาย อาหารที่บริโภค (anthropometric assessment) (dietary assessment) Smart Nurses…Smart Care
บทบาทของพยาบาล กับ การดูแลผู้ป่วยด้านโภชนาการในโรงพยาบาล
พยาบาลเป็น Health care team ดูแลติดตามผลการ ประสานงานกับแผนกโภชนาการ รับประทานอาหารของผู้ป่วย เพื่อจัดอาหารให้ถูกต้องตาม แผนการรักษาของแพทย์ และบันทึกในเอกสารผู้ป่วย เป็นที่ปรึกษาแก่นักก าหนด แนะน าและให้ความรู้แก่ อาหารถึงปัญหาของ ผู้ป่วย และ ญาติ ผู้ป่วยแต่ละคน Smart Nurses…Smart Care
โครงการ “การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยด้านโภชนาการที่เข้ารับ การรักษาในศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์” มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างระบบการดูแล ผู้ป่วยด้านโภชนาการที่เข้ารับการรักษา ในศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ โดยทีมสหสาขาด้านโภชนบ าบัด ประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล นัก ก าหนดอาหารและเภสัชกร น าไปสู่การ เพิ่มคุณภาพการดูแลผู้ป่วยและ ลด ภาวะแทรกซ้อนจากการนอน โรงพยาบาล Smart Nurses…Smart Care
ที่มาและความส าคัญ การขาดสารอาหารของผู้ป่วยในโรงพยาบาลเพิ่มภาวะแทรกซ้อน เพิ่ม ระยะเวลาการนอนโรงพยาบาล อัตราการตาย และค่าใช้จ่ายในการรักษา ขณะอยู่ โรงพยาบาลยังพบปัญหาทุพโภชนาการมากกว่าเดิมอีกร้อยละ 10-70 การให้โภชนบ าบัดที่เหมาะสมตั้งแต่ต้นในผู้ป่วยโรคเฉียบพลัน หรือเรื้อรังเป็นความจ าเป็นพื้นฐานในการดูแลผู้ป่วยร่วมไปกับการ รักษา ซึ่งต้องอาศัยหลากหลายกลยุทธ์ทางด้านโภชนาการ แพทย์และบุคลากร โดยการท างานร่วมกันของสหสาขา ทางการแพทย์ไม่ให้ วิชาชีพอย่างต่อเนื่องของนักก าหนดอาหาร พยาบาล และ ความส าคัญต่อภาวะ แพทย์ในการดูแลให้ผู้ป่วยได้รับโภชนาการที่ดีเยี่ยมทั้ง ทุพโภชนาการ ขณะอยู่โรงพยาบาลและหลังจากกลับบ้าน เพื่อลด ของผู้ป่วย หากแต ่ ปัญหาข้างต้นและการกลับมารักษาซ ้า มุ่งเน้นที่จะให้การ รักษามากกว่า Smart Nurses…Smart Care
Nutrition Support Team • Reduce inappropriate PN prescription¹¯² • Reduce catheter sepsis³¯⁴ • Reduce metabolic complications⁵ 1 Sriram K,Nutrition 2010;26:735 2 Mo YH, Yakugaku Zasshi. 2011;131:1827 3 Sutton CD,Clin Nutr 2005;24:220 4 Kennedy JF, Nutrition 2005 ;21:1127 5 Lopez-Martin C,Nutr Hosp 2012;27:871 Smart Nurses…Smart Care
Nutrition Support Team Smart Nurses…Smart Care
Flow For Nutrition Care of Adult In-Patient in SDMC Smart Nurses…Smart Care
หน้าที่ความรับผิดชอบ Smart Nurses…Smart Care
หน้าที่ความรับผิดชอบ 1.จัดท าระบบการคัดกรองและประเมินภาวะโภชนาการผู้ป่วย 2.จัดท าแนวทางการให้โภชนบ าบัด 3.ประเมินความเหมาะสมของการให้อาหารที่แตกต่างกันและ ให้ค าแนะน าเกี่ยวกับตัวเลือกการรักษาทางเลือก 4.พัฒนาแนวปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยโดยใช้ข้อมูลจากงานวิจัย ที่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ Smart Nurses…Smart Care
หน้าที่ความรับผิดชอบ 5.ส่งเสริมและพัฒนาให้การศึกษาการฝึกอบรมและการวิจัย 6.พัฒนาและตรวจสอบมาตรฐานการปฏิบัติในการดูแลและจัดวิธีการ ตรวจคัดกรองทางโภชนาการ, การประเมินผลการตรวจสอบและการให้ โภชนบ าบัด 7.เป็นสื่อกลางในการประสานงานกับคณะกรรมการโภชนาการของ โรงพยาบาล 8.ท าให้เกิดการประสานงานในสหสาขาทั้งทางการแพทย์, ยา, การพยาบาล ในการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม 9.สนับสนุน พัฒนามาตรฐานและ การเชื่อมโยงไปยังผู้เชี่ยวชาญส าหรับการ ใส่สายสวนทางหลอดเลือดด าและการใส่สายอาหารทางหน้าท้อง Smart Nurses…Smart Care
Nutrition screening VS Nursing Smart Nurses…Smart Care
เมื่อพยาบาลคัดกรองทางโภชนาการสามารถน าไปสู่การให้ โภชนบ าบัดที่เหมาะสมจากผู้เชี่ยวชาญส าหรับผู้ป่วยในศูนย์ไตเทียม Smart Nurses…Smart Care
พยาบาลมีบทบาทส าคัญที่จะช่วยในการลดความชุกของ การขาดสารอาหารในโรงพยาบาล แต่การประสบความส าเร็จได้ นั้นต้องได้รับการสนับสนุนจากทีมสหสาขาวิชาชีพ Smart Nurses…Smart Care
การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าการคัดกรองภาวะโภชนาการจะไม่ เกิดขึ้นจนกว่าจะมีการพิจารณาให้กระบวนการนี้เป็นส่วนหนึ่งของ การประเมินทางการพยาบาลที่ถูกต้องตามนโยบายอย่าง เหมาะสม. Smart Nurses…Smart Care
จัดระบบการคัดกรองภาวะโภชนาการใน ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ ตั้งแต่ปี 2558 Training for Nutrition Screening Smart Nurses…Smart Care
ขั้นตอนการด าเนินงาน ศึกษาและเลือกเครื่องมือส าหรับการคัดกรองภาวะโภชนาการ สร้างความตระหนักเพื่อให้พยาบาลเห็นความส าคัญในการคัดกรองภาวะโภชนาการ จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้ในการคัดกรองภาวะโภชนาการแก่พยาบาล ก าหนดวันใช้แบบคัดกรอง ติดตามและประเมินหลังการปฏิบัติ ก าหนดการบันทึกผลการคัดกรองและส่งปรึกษาทีมการดูแลผู้ป่ วยด้านโภชนาการ สรุปผลการคัดกรองภาวะโภชนากร Smart Nurses…Smart Care
รูปแบบการสอน การบันทึกลง Nutrition screening :NAF score = A Nurse's note จัดท าคู่มือในการคัดกรอง และการใช้แอพพริเคชั่น จัดตั้ง Nutrition Working Group of SDMC Smart Nurses…Smart Care
Application:NAF Smart Nurses…Smart Care
จัดท าวีดีโอ สอนการคัดกรองภาวะโภชนาการ Smart Nurses…Smart Care
Nutrition Alert Form(NAF) แบบคัดกรองภาวะโภชนาการอย่างง่ายส าหรับพยาบาล พัฒนาโดย: ศ.นพ.สุรัตน์ โคมินทร์
เป็นเครื่องมือที่ พัฒนาจาก SGA (Subjective Global Assessment) โดยใส่ lab ALB,TLC ซึ่งเป็น key word ที่บอกถึง Nutrition status แทนน ้าหนัก ผ่านการตรวจสอบความตรงของเครื่องมือวิจัยโดยพยาบาล และนักก าหนดอาหาร พยาบาลสามารถใช้เครื่องมือเพื่อคัดกรองได้อย่างถูกต้องในระยะเวลาเพียง 5 นาที Smart Nurses…Smart Care
Nutrition Alert Form (NAF)
Nutrition Alert Form (NAF)
ขั้นตอนการคัดกรองภาวะโภชนาการ โดยใช้ Nutrition Alert Form กรอกข้อมูลเบื้องต้นของผู้ป่วยและข้อมูลที่ได้จากแฟ้มประวัติของผู้ป่วย 1 วัดส่วนสูง/ความยาวตัว/ความยาวช่วงแขนจากปลายนิ้วกลางทั้ง2 ข ้าง (Arm span) : ถ้าวัดความยาวหรือส่วนสูงไม่ได้ไม่ได้ : วัดความยาวตัวจากกลางศีรษะ ถึงปลายเท้าโดยผู้ป่วยนอนราบ ไม ่ หนุนหมอน : วัดความยาวช่วงแขน จากปลายนิ้วกลางข้างหนึ่งไปอีกข้างหนึ่งขณะ กางแขนตั้งฉากกับล าตัว Smart Nurses…Smart Care
Smart Nurses…Smart Care
2 น ้าหนัก หรือ ดัชนีมวลกาย กรณีที่ทราบน ้าหนัก กรณีที่ไม่ทราบน ้าหนัก : ใช้ผล Albumin หรือ TLC Total Lymphocyte Count = (Total WBC × Lymphocyte)÷100) Smart Nurses…Smart Care
กรณีที่ไม่สามารถชั่งน ้าหนัก หรือ วัดส่วนสูง ให้ใช้ ค่า lab Albumin หรือ TLC (total lymphocyte count) ซึ่งเจาะภายใน 7 วัน TLC = (%Lymphocyte * WBC)/100 Smart Nurses…Smart Care
3รูปร่างของผู้ป่วย : ใช้ความรู้สึกของผู้ท าการ คัดกรองเมื่อเห็นผู้ป่วย 4 น ้าหนักเปลี่ยนใน 4 สัปดาห์ : ให้ถามผู้ป่วยหรือ ญาติใกล้เคียงว่า เพิ่มขึ้น หรือลดลง ความสามารถใน การเคลื่อนไหว 6 อาการต่อเนื่อง > 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา ลงข้อมูลได้มากกว่า 1 ข้อ โดยการซักถามจากผู้ป่วย / ญาติ หรือแฟ้มประวัติ 7 ความสามารถในการเข้าถึงอาหาร : เพื่อดูความสามารถในการ จัดหาอาหารรับประทาน Smart Nurses…Smart Care
Search