Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคโนโลยีการวัดและตรวจสอบ

เทคโนโลยีการวัดและตรวจสอบ

Published by imchaypt57, 2020-04-07 03:04:52

Description: แผนจัดการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

แผนการเรียนรู้มงุ่ เน้นสมรรถนะอาชพี และบูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รหสั 30111-2003 วชิ า เทคโนโลยีการวัดและตรวจสอบ หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสูง พทุ ธศักราช 2563 จดั ทำโดย นายอนุชา เพชรทอง แผนกวชิ าเทคนคิ อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

คำนำ แผนการสอนฉบับน้ีจัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีการวัดและตรวจสอบ โดยมี เนื้อหาเก่ียวกับหลักการของงานวัดละเอียด ชนิด หน้าที่ การใช้งาน การบำรุงรักษา เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ไมโครมิเตอร์ นาฬิกาวัด ใบวัดมุม เคร่ืองมือวัดละเอียดแบบถ่ายขนาดวงเวียนเหล็ก เกจ เครอ่ื งมือวัดเชิงมิติ เครื่องมือวัดมุม มาตรวัดความดัน มาตรอัตราการไหล การหาค่าความไม่แน่นอน การใช้สถิติแบละการ ประยกุ ตเ์ คร่ืองมือวัดเพือ่ การตรวจสอบขนาดงานผลิต เพื่อให้มีความก้าวหน้าทางการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนมีการพัฒนา มีความรู้ ความเข้าใจในเร่ือง เทคโนโลยีการวัดและตรวจสอบ สามารถนำไปประยุกต์ใชต้ ามแนวทางของหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใน การศกึ ษาต่อและประกอบอาชพี ได้ นายอนุชา เพชรทอง

สารบัญ หนา้ เรอื่ ง หนา้ ก เร่ือง ข คำนำ ค สารบญั ง จดุ ประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา คำอธิบายรายวิชา จ หนว่ ยการสอน ต ตารางวิเคราะหห์ ลกั สูตร บ ชอ่ื เรอ่ื งและงาน สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ของแผนการจัดการเรยี นรู้ ฟ ตารางวเิ คราะห์หน่วยสมรรถนะ 1 ตารางวเิ คราะห์ จุดประสงคร์ ายวชิ า หนว่ ยการจดั การเรยี นรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ 5 แผนการจัดการเรียนรูห้ นว่ ยท่ี 1 9 แผนการจดั การเรยี นร้หู นว่ ยที่ 2 13 แผนการจัดการเรียนรู้หนว่ ยท่ี 3 18 แผนการจัดการเรียนรหู้ น่วยที่ 4 22 แผนการจัดการเรียนรหู้ น่วยที่ 5 26 แผนการจดั การเรียนรู้หนว่ ยที่ 6 30 แผนการจัดการเรียนรู้หนว่ ยท่ี 7 34 แผนการจัดการเรยี นรู้หน่วยที่ 8 แผนการจดั การเรียนรหู้ น่วยที่ 9

แผนการจัดการเรยี นรู้ ม่งุ เนน้ สมรรถนะอาชพี และบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ชอ่ื วชิ าเทคโนโลยกี ารวัดและตรวจสอบ รหัส 301111-2003 (3 หน่วยกิต) จำนวน 4 คาบ/สัปดาห์ จำนวนทั้งสน้ิ 18 สัปดาห์ 1. จุดประสงคร์ ายวิชา 1.มีความรู้ควาหมลเขกั ้าสใูตจรเก..ี่ย..ว..ก...บั ..ห...ล..ัก...ก..า..ร..ว..ัด..ด...้ว..ย..เ.ค...ร.อ่ื...ง..ม..อื..ว..ัด...เ.ช..ิง..ม..ิต...ิ ................. 2.นำความปรรไู้ ะปเใภชทใ้ นวชิกาา.ร..ว..ดั ..แ..ล...ะ..ต..ร..ว..จ..ส...อ..บ...ด..้ว..ย..เ..ค..ร..ื่อ..ง.สมาอื ขวาัดวเิชชาิง.ม..ติ..ิ.......................... 3.นำความร้ไู ปใชใ้ นการประยกุ ตใ์ ชเ้ ครื่องมอื วดั และจดั ทำเอกสารควบคุมเพื่อการสอบ ขนาดงานผลิต 4.ปฏบิ ตั ิงานด้วยความรบั ผดิ ชอบ มีกิจนิสัยในการทำงานดว้ ยความประณตี รอบคอบ และ ปลอดภัย มคี วามตระหนักถงึ คุณภาพของงานและมจี ริยธรรมในการสรุปและรายงานผล 2. สมรรถนะรายวิชา 1.แสดงความรู้หลักการวัดดว้ ยเคร่ืองมอื วัดเชิงมติ ิ ตามหลักวิชาการ 2.วัดและตรวจสอบดว้ ยเคร่ืองมอื วัดเชิงมติ ติ ามค่าพิกัดความเผ่อื ทก่ี ำหนด 3.ประยกุ ต์ใชเ้ ครือ่ งมือวัดเพ่ือการสอบขนาดงานผลิตตามขอ้ กำหนด 4.จดั ทำสถิตใิ นการวัดตรวจสอบ เพ่อื ควบคุมกระบวนการผลิตตามขอ้ กำหนด 3. คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับหลักการของงานวัดละเอียด ชนิด หน้าท่ี การใช้งาน การ บำรุงรักษา เวอร์เนยี รค์ าลปิ เปอร์ ไมโครมิเตอร์ นาฬิกาวัด ใบวัดมุม เคร่ืองมือวดั ละเอียดแบบถา่ ย ขนาดวงเวียนเหลก็ เกจสปริง เกจสอบเกลียว การใช้และบำรงุ รกั ษาเคร่ืองมือวัดเชงิ มติ ิ เช่น แท่น ระดับ เวอร์เนยี ร์ ไมโครมิเตอร์ เกจหนา้ ปัด เกจบล็อก เครื่องมอื วัดมุม เครอื่ งมือวดั คา่ ความหยาบ ละเอียดผิวงาน มาตรความดนั มาตรอัตราการไหล เป็นต้น ค่าความผิดพลาดในการวัด การหาค่า ความไม่แน่นอน (uncertainty) การใช้สถิติ X-bar R-chart ในการวัดและตรวจสอบเพื่อควบคุม กระบวนการผลิต การวัดและตรวจสอบความเที่ยงขนาดด้านรูปทรงและตำแหน่ง (GD&T) การ ประยุกตเ์ คร่ืองมอื วดั เพื่อการสอบขนาดงานผลิต

ตารางวเิ คราะห์คำอธบิ ายรายวิชา คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับหลักการของงานวัดละเอียด ชนิด หน้าท่ี การใช้งาน การ บำรงุ รักษา เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ไมโครมเิ ตอร์ นาฬกิ าวดั ใบวัดมุม เครอื่ งมอื วัดละเอยี ดแบบถา่ ยขนาด วงเวียนเหลก็ เกจสปริง เกจสอบเกลียว การใชแ้ ละบำรุงรกั ษาเคร่ืองมอื วดั เชิงมิติ เช่น แทน่ ระดับ เวอร์ เนียร์ ไมโครมิเตอร์ เกจหน้าปัด เกจบล็อก เครื่องมือวัดมุม เครื่องมือวัดค่าความหยาบละเอียดผิวงาน มาตรความดัน มาตรอัตราการไหล เป็นต้น ค่าความผิดพลาดในการวัด การหาค่าความไม่แน่นอน (uncertainty) การใช้สถิติ X-bar R-chart ในการวัดและตรวจสอบเพื่อควบคุมกระบวนการผลิต การ วัดและตรวจสอบความเที่ยงขนาดด้านรูปทรงและตำแหน่ง (GD&T) การประยุกต์เครือ่ งมือวัดเพ่ือการ สอบขนาดงานผลิต หนว่ ยการเรียนรู้ หัวขอ้ เรือ่ ง เวลาสอน และ หัวขอ้ เรื่องย่อย (ชม.) 1 หลักการพ้นื ฐานของงานวดั ละเอียด 4 2 16 3 เวอรเ์ นียร์คาลิปเปอร์ 8 4 8 5 ไมโครมเิ ตอร์ 12 6 4 7 เครอื่ งมือวัดละเอียดแบบถา่ ยขนาด 8 8 เครื่องมอื ตรวจสอบแบบมคี า่ คงท่ี 4 9 การหาค่าความไมแ่ นน่ อน (uncertainty) 4 การใชส้ ถิติ X-bar R-chart การวดั และตรวจสอบความเทย่ี งขนาดดา้ นรปู ทรงและตำแหนง่ (GD&T) การรายงาน สรปุ ผลและกจิ นสิ ยั ท่ดี ีในงานวดั ละเอียด

การวเิ คราะห์ จุดประสงคร์ ายวิชา มาตรฐานรายวชิ า เพ่ือจัดทำจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ของแต่ละหนว่ ยการเรยี นรู้ หวั ขอ้ เรอ่ื ง และหัวข้อเร่ืองย่อย จดุ ประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวิชา 1.มีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับหลักการวดั 1.แสดงความรหู้ ลกั การวัดด้วยเครือ่ งมอื วัด ด้วยเครื่องมอื วดั เชงิ มิติ เชงิ มติ ิ ตามหลกั วชิ าการ 2.นำความรไู้ ปใช้ในการวัดและตรวจสอบ 2.วดั และตรวจสอบด้วยเครอื่ งมือวัดเชงิ มิติ ด้วยเคร่ืองมือวัดเชงิ มิติ ตามค่าพิกัดความเผอ่ื ทีก่ ำหนด 3.นำความรไู้ ปใช้ในการประยุกต์ใชเ้ ครอ่ื งมือ 3.ประยุกตใ์ ชเ้ คร่ืองมอื วัดเพอื่ การสอบขนาด วัดและจัดทำเอกสารควบคมุ เพื่อการสอบ งานผลติ ตามข้อกำหนด ขนาดงานผลิต 4.จัดทำสถิติในการวดั ตรวจสอบ เพื่อ 4.ปฏิบตั ิงานดว้ ยความรับผดิ ชอบ มีกิจนิสัย ควบคุมกระบวนการผลิตตามข้อกำหนด ในการทำงานด้วยความประณตี รอบคอบ และปลอดภยั มีความตระหนักถึงคุณภาพ ของงานและมีจริยธรรมในการสรุปและ รายงานผล หนว่ ยการเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ หวั ขอ้ เรือ่ งและหวั ข้อเรอื่ งย่อย 1 มคี วามรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับหลักการพ้ืนฐานของ หลกั การพืน้ ฐานของงานวัดละเอยี ด งานวดั ละเอียด 2 อธิบายหลักการอา่ นและแสดงวิธีการใช้เวอร์เนยี ร์ คาลปิ เปอร์สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่าง เวอร์เนยี ร์คาลิปเปอร์ ถกู ต้อง 3 อธบิ ายหลักการอา่ นและแสดงวธิ กี ารใช้ ไมโครมิเตอร์สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ไดอ้ ยา่ ง ไมโครมิเตอร์ ถกู ต้อง 4 อธบิ ายและแสดงวิธกี ารใชง้ านเครอื่ งมือวดั ละเอียด เคร่อื งมอื วัดละเอยี ดแบบถ่ายขนาด แบบถ่ายขนาดได้อย่างถกู ตอ้ ง

5 อธบิ ายและแสดงวิธีการใชง้ านเครอ่ื งมือตรวจสอบ เคร่ืองมอื วัดเชิงมิติ แบบมีคา่ คงที่ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 6 แสดงวธิ กี ารหาค่าความไม่แน่นอน การหาคา่ ความไมแ่ นน่ อน (uncertainty)ได้อยา่ งถูกต้อง (uncertainty) 7 แสดงวิธกี ารใช้สถิติ X-bar R-chart ได้อย่างถูกต้อง การใช้สถิติ X-bar R-chart 8 แสดงวิธกี ารวัดและตรวจสอบความเทย่ี งขนาดด้าน การวัดและตรวจสอบความเท่ียงขนาด รูปทรงและตำแหนง่ (GD&T)ไดอ้ ย่างถกู ต้อง ด้านรปู ทรงและตำแหนง่ (GD&T) 9 ปฏิบัตงิ านดว้ ยความรบั ผิดชอบ มีกิจนิสยั ในการ การรายงาน สรุปผลและกจิ นสิ ัยที่ดีใน ทำงานดว้ ยความประณีต รอบคอบ และปลอดภัย งานวดั ละเอียด

ตารางวเิ คราะหห์ น่วยสมรรถนะ รหัส 30111-2003 วิชาเทคโนโลยีการวัดและตรวจสอบ จำนวน 3 หน่วยกิต 4 ชั่วโมง/ สปั ดาห์ หนว่ ย ช่อื หนว่ ย/หัวขอ้ ยอ่ ย สัปดาห์ที่ เวลา ช่อื หน่วยสมรรถนะ ที่ (ช.ม.) 1 หลกั การพนื้ ฐานของงานวัด 1 4 1.แสดงความรหู้ ลกั การวดั ดว้ ย ละเอยี ด เครือ่ งมือวัดเชิงมิติ ตามหลักวิชาการ 2 เวอร์เนยี รค์ าลปิ เปอร์ 2-5 16 2.วัดและตรวจสอบด้วยเคร่อื งมอื วดั เชงิ มติ ิตามค่าพิกดั ความเผือ่ ทีก่ ำหนด 3 ไมโครมิเตอร์ 6-7 8 3.ประยกุ ต์ใช้เครื่องมือวดั เพื่อการสอบ ขนาดงานผลติ ตามข้อกำหนด 4 เครอ่ื งมอื วดั ละเอียดแบบถ่ายขนาด 8-9 8 3.ประยกุ ต์ใช้เครอ่ื งมือวดั เพ่ือการสอบ ขนาดงานผลิตตามข้อกำหนด 5 เครือ่ งมอื ตรวจสอบแบบมีค่าคงที่ 10-12 12 3.ประยกุ ตใ์ ช้เครอ่ื งมือวดั เพอื่ การสอบ ขนาดงานผลติ ตามข้อกำหนด 6 การหาค่าความไม่แน่นอน 13 4 3.ประยกุ ตใ์ ช้เครอื่ งมอื วัดเพื่อการสอบ (uncertainty) ขนาดงานผลิตตามข้อกำหนด 7 การใช้สถิติ X-bar R-chart 14-15 8 4.จัดทำสถติ ิในการวัดตรวจสอบ เพือ่ ควบคมุ กระบวนการผลติ ตาม ข้อกำหนด 8 การวัดและตรวจสอบความเที่ยง 16 4 4.จดั ทำสถิติในการวดั ตรวจสอบ เพื่อ ขนาดดา้ นรปู ทรงและตำแหน่ง ควบคมุ กระบวนการผลติ ตาม (GD&T) ขอ้ กำหนด 9 การรายงาน สรปุ ผลและกิจนิสัยที่ดี 17 4 4.จดั ทำสถิติในการวัดตรวจสอบ เพอ่ื ในงานวัดละเอียด ควบคุมกระบวนการผลิตตาม ข้อกำหนด สอบปลายภาค 18 4 รวม 72

วิเคราะหจ์ ุดประสงค์รายวิชา หนว่ ยการเรยี นรู้ และกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ วชิ าเทคโนโลยกี ารวดั และตรวจสอบ รหัสวิชา 30111-2003 จดุ ประสงค์รายวชิ า หนว่ ยการเรยี นรู้ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 1.มีความรู้ความเข้าใจ 1.หลกั การและความรพู้ ้นื ฐานการวัด 1.กจิ กรรมผ้สู อนกอ่ นสอน เกยี่ วกับหลักการวัดดว้ ย ละเอยี ด 1.1ผสู้ อนเตรียมอุปกรณต์ ่างๆที่ใช้ เคร่อื งมือวดั เชิงมิติ 1.1ความหมายของงานวดั ละเอยี ด ในการสอน 1.2จำแนกประเภทเคร่อื งมอื วดั 1.2ผู้สอนจดั หอ้ งเรียนให้เรียบรอ้ ย 2.นำความรูไ้ ปใชใ้ นการวัด ละเอยี ดได้ 1.3ผสู้ อนปฐมนเิ ทศ บอกกฎเกณฑ์ และตรวจสอบด้วย 1.3ระบบหน่วยงานวัดในระบบ การวัดและประเมินผล เครื่องมอื วัดเชิงมติ ิ อังกฤษและระบบเมตรกิ 2.กจิ กรรมผสู้ อน-ผูเ้ รียน ระหวา่ ง 3.นำความรไู้ ปใช้ในการ 2.เวอรเ์ นียรค์ าลิปเปอร์ การเรยี นการสอน ประยุกตใ์ ชเ้ ครือ่ งมือวัด 2.1หลกั การอา่ นและวธิ ีการใช้เวอร์ 2.1ขั้นการนำเขา้ สบู่ ทเรียน และจัดทำเอกสารควบคุม เนยี รค์ าลปิ เปอร์ 2.2ขน้ั การเรียนรู้ เพอื่ การสอบ 2.3ขั้นสรุป ขนาดงานผลติ 3.ไมโครมเิ ตอร์ 2.4ขัน้ ประเมนิ ผล 3.1หลกั การอา่ นและวิธกี ารใช้ 4.ปฏิบัตงิ านดว้ ยความ ไมโครมเิ ตอร์ รับผดิ ชอบ มกี ิจนสิ ยั ในการ ทำงานด้วยความประณตี 4.เครื่องมอื วดั ละเอยี ดแบบถ่าย รอบคอบ และปลอดภัย มี ขนาด ความตระหนกั ถึงคุณภาพ 4.1วิธกี ารใช้งานของคาลิปเปอรว์ ดั ของงานและมีจรยิ ธรรมใน นอก และคาลิปเปอรว์ ดั ใน การสรปุ และรายงานผล 4.2วธิ กี ารถา่ ยขนาดช้นิ งาน 4.3การใช้เคร่ืองมอื ถ่ายขนาด 5.เครือ่ งมอื ตรวจสอบแบบมีค่าคงท่ี 5.1วิธกี ารใชง้ านหวีวดั เกลยี ว 5.2วธิ ีการใช้งานเกจกา้ มปู 5.3วิธีการตรวจสอบรัศมโี คง้ และ รศั มเี วา้ 6.การหาคา่ ความไม่แนน่ อน (uncertainty)

6.1วธิ ีการหาค่าความไมแ่ น่นอน (uncertainty) 7.การใชส้ ถิติ X-bar R-chart 7.1วิธกี ารการใชส้ ถติ ิ X-bar R- chartและการประยุกต์ใช้ 8.การวดั และตรวจสอบความเที่ยง ขนาดดา้ นรูปทรงและตำแหนง่ (GD&T) 8.1วิธีการการวดั และตรวจสอบ ความเทีย่ งขนาดด้านรูปทรงและ ตำแหน่ง (GD&T) 9.การรายงาน สรปุ ผลและกจิ นิสยั ท่ี ดีในงานวดั ละเอยี ด 9.1การทำงาน รายงานและสรุปผล ในงานวดั ละเอยี ด 9.2การประยกุ ตเ์ ครอ่ื งมือวัดเพ่ือการ สอบขนาดงานผลิต 9.3กิจนิสยั ที่ดใี นงานวดั ละเอียด

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 1 หน่วยกิต 3 จำนวน 4 ชัว่ โมง รหัส 30111-2003 วิชาเทคโนโลยีการวดั และตรวจสอบ ช่อื หนว่ ย หลักการและความรู้พืน้ ฐานการวัดละเอียด 1. สาระสำคัญ การศึกษาทางดา้ นการวดั ละเอียดจำเปน็ อย่างยิง่ ท่ีจะต้องมีพืน้ ฐานของความรู้ ท่ัวไปเกย่ี วกบั ชนิด หน้าที่ การจำแนกประเภทเครื่องมอื วัดละเอยี ด ระบบหนว่ ยที่ใช้ในงานวัด รวมถงึ ความคลาดเคลื่อนท่ีเกิดจากการวัด 2. สมรรถนะประจำหน่วยการเรยี นรู้ 2.1มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั หลักการพ้ืนฐานของงานวดั ละเอียด 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ทัว่ ไป 3.1.1 รู้ความหมายของงานวดั ละเอยี ด 3.1.2 จำแนกประเภทเครอ่ื งมอื วัดละเอยี ด 3.1.3 เขา้ ใจระบบหน่วยงานวัดในระบบอังกฤษและเมตริก 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 3.2.1 บอกความหมายของงานวดั ละเอยี ดได้ 3.2.2 สามารถจำแนกประเภทเครื่องมือละเอียดได้

3.3.3 สามารถอธิบายหนว่ ยงานวดั ในระบบอังกฤษและระบบเมตริกไดอ้ ยา่ ง ถูกตอ้ ง 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความหมายของงานวัดละเอยี ด 4.2 จำแนกประเภทเครื่องมือวัดละเอียด 4.3 ระบบหน่วยงานวัดในระบบองั กฤษและระบบเมตริก 5. กิจกรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมนักเรยี น ผูเ้ รยี นจดบันทึก กิจกรรมครู บอกวัตถุประสงค์ของการเรยี นการสอนรายวชิ า ผเู้ รียนตอบ-ถาม เกณฑก์ ารให้คะแนน การปฏิบตั ิกจิ กรรมการ เรียน และข้อควรปฏบิ ตั ิขณะเรียน ผเู้ รยี นร่วมกนั ทำความเข้าใจ ซักถามพื้นความรเู้ ดมิ ของผูเ้ รยี นว่ามีความรู้ด้าน ผูเ้ รยี นจดบนั ทึก สอบถาม เครือ่ งมอื วดั พนื้ ฐานในงานช่างหรือไม่ เช่น อ่าน ผูเ้ รยี นจดบนั ทึก สอบถาม บรรทดั เหล็กไดห้ รอื ไม่ ร้จู ักเครอ่ื งมือวดั ของงาน ผู้เรยี นจดบันทึก สอบถาม ช่างบา้ งหรือไม่วา่ มีอะไรบ้าง สรปุ ในสงิ่ ทผ่ี ู้เรียนได้เสนอมา ผูเ้ รียนตอบ-ถาม อธิบายความหมายและความจำเป็นของการวัด ละเอียด อธบิ ายการจำแนกประเภทเครอื่ งมอื วัดละเอียด อธิบายพืน้ ฐานระบบหน่วยงานวัด ซักถามผู้เรียนในเร่ืองทไ่ี ดอ้ ธบิ ายไป เพื่อนำมา สรุปใหผ้ เู้ รียนมีความรคู้ วามเข้าใจในเนอื้ หาวิชา อกี ครง้ั หนึง่

มอบหมายใหผ้ ูเ้ รยี นทำแบบฝึกหัด ผเู้ รยี นทำ-สง่ แบบฝึกหดั 6.สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้ 1)สือ่ ส่ิงพมิ พ์ เอกสารประกอบการสอนวชิ าเทคโนโลยีการวัดและตรวจสอบ 2)สื่อโสตทัศน์ Power point 7. หลักฐานการเรยี นรทู้ ต่ี อ้ งการ 1) หลักฐานความรูท้ ี่ตอ้ งการ รอ่ งรอยการบันทกึ องคค์ วามร้ใู นสมุด ร่องรอยการศึกษาการปฏิบัตติ ามใบกิจกรรม 2) หลกั ฐานการปฏิบตั งิ านทีต่ ้องการ ใบกจิ กรรมเรอ่ื ง หลักการและความรู้พืน้ ฐานการวดั ละเอยี ด

8. การวัดและประเมินผล 1) วธิ ีการประเมนิ 1.ประเมนิ โดยสงั เกตขณะเรียน 2.ประเมินองคค์ วามรูห้ ลังเรยี นใบประเมนิ คณุ ธรรมแบบสังเกตพฤติกรรม 3.ประเมินตามใบกิจกรรม 2) เคร่อื งมือประเมิน 1.แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรยี น 2.ใบกจิ กรรมเรื่อง หลักการและความรพู้ น้ื ฐานการวดั ละเอียด 3.ใบประเมินคณุ ธรรมจริยธรรม 3) เกณฑ์การประเมนิ 1.แบบประเมนิ ผลก่อนเรยี น – หลังเรียน แบบประเมินผลตามใบกิจกรรม ผู้เรยี นต้องผา่ น 60 % ของกิจกรรมนัน้ ๆ และนำไปหาคา่ เฉลย่ี เพ่ือใหไ้ ด้คะแนนในแต่ละกจิ กรรมกจิ กรรมละ 10 คะแนน แลว้ นำเป็นคะแนนระหว่างเรียนด้วย 9. บันทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู้ 1) ขอ้ สรปุ หลงั การจดั การเรยี นรู้ สอนครั้งท่ี1 สัปดาห์ท่ี1 เรือ่ งหลกั การและความรู้พืน้ ฐานการวดั ละเอยี ด 2) ปัญหาทีพ่ บ ผ้เู รยี นยังไมม่ พี ้นื ฐานด้านงานวัดละเอยี ดมากนัก ทำให้ต้องใชเ้ วลาในการอธบิ าย 3) แนวทางแก้ปญั หา ให้ผ้เู รียนไปศึกษาค้นคว้าเพม่ิ เตมิ

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 2 หน่วยกิต 3 จำนวน 16 ช่ัวโมง รหสั 30111-2003 วชิ าเทคโนโลยกี ารวัดและตรวจสอบ ชอ่ื หน่วย เวอรเ์ นยี ร์คาลปิ เปอร์ 1. สาระสำคญั เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ เป็นเครอ่ื งมอื วัดแบบมีขีดมาตราท่สี ำคัญมากชนิดหนึง่ สามารถวัดไดล้ ะเอยี ดกวา่ บรรทัดเหล็ก วัดค่าได้ท้ังระบบเมตรกิ คือมิลลิเมตร และระบบองั กฤษ คอื นวิ้ 2. สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้ 2.1อธบิ ายหลักการอา่ นและแสดงวิธกี ารใช้เวอรเ์ นียรค์ าลปิ เปอร์สามารถนำไปประยุกตใ์ ชไ้ ดอ้ ยา่ ง ถูกต้อง 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 จุดประสงคท์ ั่วไป 3.1.1 รชู้ นิดและสว่ นประกอบของเวอรเ์ นียรค์ าลิปเปอร์ 3.1.2 เข้าใจข้นั ตอนการใชเ้ วอรเ์ นยี ร์คาลปิ เปอร์ 3.1.3 เขา้ ใจการอา่ นค่าเวอร์เนยี รค์ าลิปเปอร์ 3.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 3.2.1 บอกชนดิ และสว่ นประกอบของเวอร์เนยี ร์คาลปิ เปอร์ได้ 3.2.2 อธิบายขั้นตอนการใช้เวอร์เนยี ร์คาลปิ เปอรไ์ ดอ้ ยา่ งถูกต้อง 3.3.3 สามารถอา่ นค่าเวอรเ์ นียร์คาลปิ เปอรแ์ ละประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้อย่างถกู ตอ้ ง 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ชนิดและสว่ นประกอบของเวอร์เนียร์คาลปิ เปอร์ 4.2 ขั้นตอนการใช้เวอรเ์ นยี รค์ าลปิ เปอร์ 4.3 การอ่านค่าเวอร์เนยี รค์ าลิปเปอร์ในระบบอังกฤษและระบบเมตร

5. กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมครู กิจกรรมนกั เรยี น 1.ซกั ถามพ้นื ความรเู้ ดมิ ของผ้เู รียนว่ามีความรู้ 1.ผูเ้ รยี นตอบ-ถาม เกีย่ วกบั เร่อื งเวอร์เนยี คาลปิ เปอรม์ ากน้อย เพียงใด 2.ฟงั จดบนั ทึก ถามในเนอ้ื หาสาระการเรียนท่ี 2.เร่มิ สอนในเนื้อหาสาระการเรียนรู้ โดยใช้ ไมเ่ ข้าใจ เนอื้ หาที่สำคัญ วิธกี ารสอนแบบบรรยาย อธิบาย ถาม-ตอบ และแสดงให้ดเู ป็นตัวอย่าง โดยใชส้ ื่อ Power 3.ผู้เรยี นถาม Point ใบกิจกรรม พรอ้ มสรุปเนอื้ หาการเรยี นรู้ 4.ผเู้ รียนทำแบบทดสอบหลังการเรยี นรู้ 3.สรุปในส่งิ ที่สอน 5.ทำกจิ กรรมตามครูผู้สอนมอบให้ โดยใช้ 4.ครผู สู้ อนทดสอบหลังการเรยี นรู้ เวอร์เนียร์คาลปิ เปอร์ 5.ครูผู้สอนมอบกิจกรรมใหผ้ ูเ้ รียนทดลองแสดง วิธกี ารใช้ การอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ท้ัง 6.สง่ กจิ กรรมให้ผ้สู อนตรวจสอบความถกู ต้อง ระบบเมตริกและองั กฤษ และใหค้ ะแนน เน้นคณุ ธรรม (การตรงต่อ 6.ตรวจสอบความถกู ต้องของกจิ กรรมทีผ่ ู้เรียน เวลา การแบง่ ปนั ความซ่อื สตั ย์) ได้ส่งพร้อมกับใหค้ ะแนน

6.สื่อและแหลง่ การเรียนรู้ 1)สื่อสิ่งพมิ พ์ เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยกี ารวัดและตรวจสอบ 2)ส่ือโสตทศั น์ Power point 3)สอื่ ของจริง เวอรเ์ นยี รค์ าลปิ เปอร์ 7. หลักฐานการเรยี นรูท้ ี่ตอ้ งการ 1) หลักฐานความร้ทู ีต่ อ้ งการ ร่องรอยการบันทึกองค์ความรใู้ นสมุด ร่องรอยการศกึ ษาการปฏบิ ัตติ ามใบกิจกรรม 2) หลกั ฐานการปฏิบตั ิงานทตี่ อ้ งการ ใบกิจกรรมเรอื่ ง เวอร์เนียร์คาลปิ เปอร์ 8. การวัดและประเมินผล 1) วิธีการประเมนิ 1.ประเมนิ โดยสังเกตขณะเรียน 2.ประเมินองคค์ วามรู้หลังเรียนใบประเมินคุณธรรมแบบสงั เกตพฤตกิ รรม 3.ประเมนิ ตามใบกจิ กรรม 2) เคร่ืองมือประเมิน 1.แบบทดสอบกอ่ นเรยี น – หลังเรยี น

2.ใบกิจกรรมเร่ือง เวอร์เนียรค์ าลิปเปอร์ 3.ใบประเมนิ คณุ ธรรมจริยธรรม 3) เกณฑก์ ารประเมิน 1.แบบประเมินผลกอ่ นเรียน – หลงั เรยี น แบบประเมินผลตามใบกิจกรรม ผ้เู รยี นตอ้ งผ่าน 60 % ของกิจกรรมนน้ั ๆ และนำไปหาคา่ เฉลยี่ เพ่ือให้ได้คะแนนในแต่ละกจิ กรรมกจิ กรรมละ 10 คะแนน แลว้ นำเป็นคะแนนระหว่างเรยี นด้วย 9. บันทกึ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 1) ข้อสรุปหลงั การจัดการเรยี นรู้ สอนคร้งั ที่ 2-5 เร่ืองเวอรเ์ นยี ร์คาลปิ เปอร์ 2) ปญั หาทพ่ี บ ผ้เู รียนบางคนไม่เขา้ ใจในเร่ืองของหน่วย ระบบเมตริกและองั กฤษ 3) แนวทางแกป้ ญั หา ให้ผเู้ รยี นไปศกึ ษาค้นคว้าเพิม่ เตมิ ผู้สอนสอนเสริมให้เป็นรายบุคคล

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยท่ี 3 หน่วยกิต 3 จำนวน 8 ชวั่ โมง รหสั 30111-2003 วิชาเทคโนโลยกี ารวัดและตรวจสอบ ชื่อหนว่ ย ไมโครมเิ ตอร์ 1. สาระสำคญั ไมโครมิเตอร์ เป็นเครอ่ื งมอื วัดละเอยี ดทสี่ ำคญั มากชนิดหนงึ่ ในงานอุตสาหกรรม สามารถวัดค่าได้ละเอียดกวา่ เวอร์เนยี รค์ าลิปเปอร์ สามารถอา่ นค่าไดท้ ้ังระบบเมตริกและระบบ องั กฤษ ไมโครมิเตอร์มีหลายชนิด เชน่ ไมโครมเิ ตอร์วดั นอก ไมโครมเิ ตอร์วัดใน ไมโครมิเตอรว์ ดั ลกึ เป็นตน้ 2. สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรยี นรู้ 2.1อธบิ ายหลักการอ่านและแสดงวิธกี ารใช้ไมโครมิเตอรส์ ามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 จดุ ประสงคท์ ัว่ ไป 3.1.1 รชู้ นดิ และส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์ 3.1.2 เขา้ ใจขนั้ ตอนการใชไ้ มโครมเิ ตอร์ 3.1.3 เข้าใจการอา่ นคา่ ไมโครมิเตอร์ 3.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 3.2.1 บอกชนิดและสว่ นประกอบของไมโครมเิ ตอรไ์ ด้ 3.2.2 อธิบายข้ันตอนการใชไ้ มโครมเิ ตอร์ได้อย่างถูกตอ้ ง 3.3.3 สามารถอ่านค่าไมโครมิเตอร์และประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้อย่างถูกต้อง 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ชนิดและส่วนประกอบของไมโครมเิ ตอร์ 4.2 ขน้ั ตอนการใช้ไมโครมิเตอร์ 4.3 การอา่ นคา่ ไมโครมเิ ตอร์ในระบบอังกฤษและระบบเมตรกิ

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมครู กจิ กรรมนักเรยี น 1.ซกั ถามพืน้ ความรู้เดิมของผูเ้ รียนว่ามีความรู้ 1.ผู้เรยี นตอบ-ถาม เกี่ยวกับเรือ่ งไมโครมิเตอร์มากนอ้ ยเพยี งใด 2.เร่ิมสอนในเนอ้ื หาสาระการเรียนรู้ โดยใช้ 2.ฟงั จดบันทกึ ถามในเนื้อหาสาระการเรียนท่ี วธิ กี ารสอนแบบบรรยาย อธบิ าย ถาม-ตอบ ไม่เข้าใจ เนอื้ หาที่สำคัญ และแสดงให้ดูเปน็ ตวั อย่าง โดยใชส้ อื่ Power Point ใบกิจกรรม พรอ้ มสรปุ เนอ้ื หาการเรยี นรู้ 3.ผเู้ รียนถาม 3.สรุปในส่งิ ที่สอน 4.ผเู้ รยี นทำแบบทดสอบหลงั การเรียนรู้ 4.ครูผ้สู อนทดสอบหลงั การเรียนรู้ 5.ทำกิจกรรมตามครูผู้สอนมอบให้ โดยใช้ 5.ครูผูส้ อนมอบกจิ กรรมใหผ้ ูเ้ รยี นทดลองแสดง ไมโครมิเตอร์ วิธกี ารใช้ การอ่านค่าไมโครมิเตอร์ท้งั ระบบ เมตริกและอังกฤษ 6.สง่ กิจกรรมใหผ้ ู้สอนตรวจสอบความถูกต้อง 6.ตรวจสอบความถกู ต้องของกจิ กรรมท่ีผเู้ รยี น และใหค้ ะแนน เน้นคุณธรรม (การตรงต่อเวลา ได้สง่ พร้อมกบั ใหค้ ะแนน การแบ่งปัน ความซอ่ื สตั ย)์ 6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1)ส่ือสงิ่ พมิ พ์ เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยกี ารวดั และตรวจสอบ 2)สื่อโสตทัศน์ Power point 3)สอ่ื ของจริง ไมโครมิเตอร์ 7. หลกั ฐานการเรยี นร้ทู ีต่ ้องการ 1) หลกั ฐานความรทู้ ่ีตอ้ งการ รอ่ งรอยการบันทึกองคค์ วามรใู้ นสมดุ ร่องรอยการศกึ ษาการปฏิบัตติ ามใบกจิ กรรม

2) หลกั ฐานการปฏิบัติงานที่ต้องการ ใบกจิ กรรมเร่ือง ไมโครมเิ ตอร์ 8. การวัดและประเมนิ ผล 1) วธิ ีการประเมนิ 1.ประเมนิ โดยสังเกตขณะเรยี น 2.ประเมนิ องคค์ วามรู้หลังเรยี นใบประเมนิ คณุ ธรรมแบบสังเกตพฤติกรรม 3.ประเมินตามใบกิจกรรม 2) เครื่องมอื ประเมนิ 1.แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรยี น 2.ใบกจิ กรรมเรอื่ ง ไมโครมเิ ตอร์ 3.ใบประเมนิ คุณธรรมจริยธรรม 3) เกณฑก์ ารประเมิน 1.แบบประเมนิ ผลก่อนเรียน – หลังเรยี น แบบประเมินผลตามใบกิจกรรม ผู้เรียนตอ้ งผา่ น 60 % ของกิจกรรมนัน้ ๆ และนำไปหาคา่ เฉล่ยี เพ่อื ให้ได้คะแนนในแตล่ ะกจิ กรรมกจิ กรรมละ 10 คะแนน แล้วนำเป็นคะแนนระหว่างเรียนดว้ ย 9. บนั ทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1) ขอ้ สรปุ หลังการจัดการเรียนรู้ สอนครั้งที่ 6-7 เรอื่ งไมโครมิเตอร์ 2) ปญั หาทพ่ี บ ผูเ้ รียนบางคนไม่เข้าใจในเรอื่ งของหนว่ ย ระบบเมตรกิ และองั กฤษ 3) แนวทางแกป้ ัญหา ให้ผู้เรียนไปศึกษาค้นคว้าเพมิ่ เติม ผู้สอนสอนเสริมใหเ้ ปน็ รายบุคคล

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 4 หนว่ ยกิต 3 จำนวน 8 ช่ัวโมง รหสั 30111-2003 วชิ าเทคโนโลยีการวดั และตรวจสอบ ชอ่ื หนว่ ย เคร่ืองมอื วัดละเอยี ดแบบถา่ ยขนาด 1. สาระสำคัญ เครือ่ งมอื วดั ละเอียดแบบถา่ ยขนาดเป็นเครอ่ื งมือวดั ทไ่ี ม่มขี ีดสเกล ใช้วัดขนาด จากชิน้ งานแลว้ นำมาถา่ ยขนาดจากเครอ่ื งมือวดั ท่ีมขี ดี สเกล และยังสามารถใช้เปรียบเทียบขนาด ของชิ้นงานได้ ใชใ้ นการถ่ายขนาดจากเครื่องมือวัดที่มีสเกลไปยงั ช้ินงาน เคร่อื งมือวดั ถ่ายขนาดมี หลายประเภท เช่น วงเวยี น คาลปิ เปอร์ ขอชา้ ง เป็นตน้ 2. สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรยี นรู้ 2.1อธบิ ายและแสดงวธิ กี ารใช้งานเครื่องมอื วัดละเอยี ดแบบถ่ายขนาดไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 จุดประสงคท์ ่ัวไป 3.1.1 รชู้ นิดและสว่ นประกอบของวงเวียน คาลปิ เปอร์ ขอชา้ ง 3.1.2 เขา้ ใจข้นั ตอนการใช้วงเวยี น คาลิปเปอร์ ขอชา้ ง 3.1.3 เขา้ ใจการถา่ ยขนาดของวงเวียน คาลิปเปอร์ ขอชา้ ง 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 3.2.1 บอกชนดิ และสว่ นประกอบของวงเวียน คาลปิ เปอร์ ขอช้าง ได้ 3.2.2 อธิบายขัน้ ตอนการใช้วงเวยี น คาลปิ เปอร์ ขอชา้ ง ไดอ้ ย่างถกู ต้อง 3.3.3 สามารถถ่ายขนาดของวงเวียน คาลิปเปอร์ ขอชา้ ง และประยกุ ตใ์ ช้ได้อยา่ ง ถกู ตอ้ ง 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ชนดิ และสว่ นประกอบของวงเวียน คาลิปเปอร์ ขอชา้ ง 4.2 ขั้นตอนการใชว้ งเวียน คาลปิ เปอร์ ขอช้าง 4.3 การถา่ ยขนาดของวงเวยี น คาลปิ เปอร์ ขอช้า

5. กิจกรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมครู กิจกรรมนกั เรยี น 1.ซกั ถามพนื้ ความรเู้ ดิมของผู้เรยี นวา่ มีความรู้ 1.ผู้เรยี นตอบ-ถาม เกย่ี วกบั เรื่องวงเวียน คาลปิ เปอร์ ขอช้าง มาก น้อยเพียงใด 2.ฟัง จดบนั ทึก ถามในเนอ้ื หาสาระการเรยี นท่ี 2.เร่มิ สอนในเนื้อหาสาระการเรยี นรู้ โดยใช้ ไมเ่ ข้าใจ เนอ้ื หาท่สี ำคญั วธิ กี ารสอนแบบบรรยาย อธิบาย ถาม-ตอบ และแสดงให้ดูเปน็ ตวั อยา่ ง โดยใชส้ ือ่ Power 3.ผเู้ รยี นถาม Point ใบกจิ กรรม พรอ้ มสรปุ เน้ือหาการเรียนรู้ 4.ผเู้ รียนทำแบบทดสอบหลงั การเรยี นรู้ 3.สรปุ ในสิ่งที่สอน 5.ทำกิจกรรมตามครูผสู้ อนมอบให้ โดยใช้ 4.ครูผสู้ อนทดสอบหลงั การเรยี นรู้ ไมโครมเิ ตอร์ 5.ครผู ู้สอนมอบกจิ กรรมใหผ้ เู้ รียนทดลองแสดง 6.สง่ กิจกรรมให้ผสู้ อนตรวจสอบความถูกต้อง วธิ ีการใช้ วงเวยี น คาลิปเปอร์ ขอช้าง และให้คะแนน เนน้ คณุ ธรรม (การตรงตอ่ เวลา 6.ตรวจสอบความถูกตอ้ งของกจิ กรรมทผ่ี ้เู รยี น การแบ่งปัน ความซ่อื สัตย)์ ได้ส่งพรอ้ มกับใหค้ ะแนน 6.ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ 1)ส่อื ส่งิ พมิ พ์ เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีการวดั และตรวจสอบ 2)ส่อื โสตทัศน์ Power point 3)สอ่ื ของจริง วงเวยี น คาลปิ เปอร์ ขอชา้ ง 7. หลกั ฐานการเรียนรูท้ ี่ตอ้ งการ 1) หลกั ฐานความรู้ทีต่ อ้ งการ รอ่ งรอยการบันทกึ องค์ความรใู้ นสมุด รอ่ งรอยการศึกษาการปฏิบตั ติ ามใบกิจกรรม

2) หลกั ฐานการปฏบิ ตั ิงานทตี่ ้องการ ใบกิจกรรมเร่ือง วงเวียน คาลิปเปอร์ ขอชา้ ง 8. การวัดและประเมินผล 1) วิธีการประเมนิ 1.ประเมนิ โดยสังเกตขณะเรยี น 2.ประเมินองค์ความรหู้ ลังเรยี นใบประเมินคณุ ธรรมแบบสังเกตพฤตกิ รรม 3.ประเมนิ ตามใบกจิ กรรม 2) เครอ่ื งมือประเมนิ 1.แบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรียน 2.ใบกจิ กรรมเรอ่ื ง วงเวยี น คาลิปเปอร์ ขอช้าง 3.ใบประเมินคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 3) เกณฑ์การประเมิน 1.แบบประเมนิ ผลกอ่ นเรยี น – หลังเรยี น แบบประเมินผลตามใบกิจกรรม ผู้เรยี นต้องผา่ น 60 % ของกิจกรรมนัน้ ๆ และนำไปหาคา่ เฉลย่ี เพือ่ ให้ไดค้ ะแนนในแตล่ ะกิจกรรมกจิ กรรมละ 10 คะแนน แล้วนำเป็นคะแนนระหว่างเรยี นดว้ ย 9. บันทึกผลหลังการจดั การเรียนรู้ 1) ข้อสรุปหลงั การจัดการเรียนรู้ สอนคร้งั ที่ 8-9 เรอ่ื งเคร่อื งมอื วดั ละเอยี ดแบบถ่ายขนาด 2) ปญั หาที่พบ ผู้เรยี นบางคนไม่เขา้ ใจในเรอ่ื งของการถ่ายขนาด 3) แนวทางแก้ปญั หา ใหผ้ ู้เรยี นไปศึกษาค้นคว้าเพ่มิ เติม ผู้สอนสอนเสริมใหเ้ ปน็ รายบุคคล

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 5 หนว่ ยกิต 3 จำนวน 12 ชว่ั โมง รหสั 30111-2003 วชิ าเทคโนโลยีการวดั และตรวจสอบ ช่อื หน่วย เคร่อื งมือตรวจสอบแบบมคี ่าคงท่ี 1. สาระสำคัญ เคร่ืองมอื ตรวจสอบแบบมคี า่ คงที่ หมายถึง เคร่อื งมือที่มีคา่ คงท่ี ไม่สามารถปรบั ค่าได้ เพอื่ นำมาใชใ้ นการตรวจสอบช้นิ งาน เครือ่ งมือตรวจสอบแบบมคี า่ คงทม่ี หี ลายชนดิ ยกตัวอย่างเช่น เกจตรวจสอบเกลียว เกจกา้ มปู เกจตรวจสอบเรยี ว เกจบล็อก เปน็ ต้น 2. สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรยี นรู้ 2.1อธบิ ายและแสดงวธิ กี ารใช้งานเคร่อื งมอื ตรวจสอบแบบมคี า่ คงท่ีได้อย่างถกู ต้อง 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 จุดประสงคท์ ัว่ ไป 3.1.1 รชู้ นิดและสว่ นประกอบของเกจตรวจสอบเกลยี ว เกจก้ามปู เกจบล็อก 3.1.2 เข้าใจขัน้ ตอนการใช้เกจตรวจสอบเกลยี ว เกจก้ามปู เกจบลอ็ ก 3.1.3 เข้าใจการถ่ายขนาดของเกจตรวจสอบเกลยี ว เกจกา้ มปู เกจบลอ็ ก 3.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 3.2.1 บอกชนดิ และส่วนประกอบของเกจตรวจสอบเกลียว เกจกา้ มปู เกจบลอ็ กได้ 3.2.2 อธิบายขน้ั ตอนการใช้เกจตรวจสอบเกลียว เกจกา้ มปู เกจบล็อกได้อยา่ ง ถูกต้อง 3.3.3 สามารถถา่ ยขนาดของเกจตรวจสอบเกลียว เกจก้ามปู เกจบล็อกและ ประยุกตใ์ ช้ได้อย่างถกู ต้อง 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ชนดิ และส่วนประกอบของเกจตรวจสอบเกลียว เกจกา้ มปู เกจบลอ็ ก 4.2 ขน้ั ตอนการใชเ้ กจตรวจสอบเกลยี ว เกจกา้ มปู เกจบล็อก 4.3 การถา่ ยขนาดของเกจตรวจสอบเกลยี ว เกจกา้ มปู เกจบล็อค

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมครู กจิ กรรมนักเรยี น 1.ซกั ถามพน้ื ความรเู้ ดมิ ของผเู้ รียนว่ามี 1.ผ้เู รยี นตอบ-ถาม ความรู้ เกี่ยวกบั เร่อื งเกจตรวจสอบเกลียว เกจกา้ มปู เกจบลอ็ ก มากน้อยเพยี งใด 2.ฟงั จดบนั ทึก ถามในเนอ้ื หาสาระการเรียนท่ี 2.เรม่ิ สอนในเนือ้ หาสาระการเรียนรู้ โดยใช้ ไม่เขา้ ใจ เนือ้ หาทีส่ ำคัญ วธิ ีการสอนแบบบรรยาย อธิบาย ถาม-ตอบ และแสดงให้ดูเปน็ ตวั อยา่ ง โดยใช้ส่อื Power 3.ผู้เรียนถาม Point ใบกิจกรรม พร้อมสรปุ เนอ้ื หาการเรียนรู้ 4.ผู้เรยี นทำแบบทดสอบหลังการเรยี นรู้ 3.สรุปในสิง่ ที่สอน 5.ทำกจิ กรรมตามครูผูส้ อนมอบให้ โดยใช้ 4.ครผู ู้สอนทดสอบหลงั การเรยี นรู้ ไมโครมเิ ตอร์ 5.ครผู ู้สอนมอบกจิ กรรมให้ผ้เู รยี น ทดลองแสดงวิธกี ารใช้ เกจตรวจสอบเกลียว 6.ส่งกิจกรรมใหผ้ ู้สอนตรวจสอบความถูกตอ้ ง เกจกา้ มปู เกจบล็อก และใหค้ ะแนน เน้นคณุ ธรรม (การตรงตอ่ เวลา 6.ตรวจสอบความถกู ต้องของกิจกรรมทผ่ี ้เู รยี น การแบง่ ปัน ความซ่อื สัตย์) ได้ส่งพรอ้ มกบั ให้คะแนน 6.สือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้ 1)ส่ือสิ่งพิมพ์ เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีการวดั และตรวจสอบ 2)สอ่ื โสตทศั น์ Power point 3)สื่อของจรงิ เกจตรวจสอบเกลยี ว เกจก้ามปู เกจบลอ็ ก 7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ทต่ี ้องการ 1) หลกั ฐานความรูท้ ีต่ อ้ งการ รอ่ งรอยการบันทึกองค์ความรใู้ นสมุด

รอ่ งรอยการศึกษาการปฏิบตั ติ ามใบกิจกรรม 2) หลักฐานการปฏิบตั งิ านที่ต้องการ ใบกิจกรรมเร่ือง เครอ่ื งมือตรวจสอบแบบมีค่าคงท่ี 8. การวดั และประเมนิ ผล 1) วิธีการประเมนิ 1.ประเมินโดยสงั เกตขณะเรียน 2.ประเมนิ องค์ความรู้หลังเรยี นใบประเมินคณุ ธรรมแบบสังเกตพฤติกรรม 3.ประเมินตามใบกจิ กรรม 2) เครอ่ื งมอื ประเมนิ 1.แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน 2.ใบกจิ กรรมเรือ่ ง เครื่องมอื ตรวจสอบแบบมีค่าคงที่ 3.ใบประเมนิ คุณธรรมจริยธรรม 3) เกณฑก์ ารประเมิน 1.แบบประเมนิ ผลกอ่ นเรียน – หลังเรียน แบบประเมินผลตามใบกจิ กรรม ผู้เรยี นตอ้ งผา่ น 60 % ของกิจกรรมนน้ั ๆ และนำไปหาค่าเฉลย่ี เพอ่ื ใหไ้ ด้คะแนนในแต่ละกจิ กรรมกจิ กรรมละ 10 คะแนน แลว้ นำเป็นคะแนนระหว่างเรยี นดว้ ย 9. บนั ทึกผลหลงั การจัดการเรียนรู้ 1) ขอ้ สรุปหลังการจัดการเรยี นรู้ สอนครงั้ ที่ 10-12 เรื่องเครอ่ื งมือตรวจสอบแบบมคี ่าคงที่ 2) ปญั หาทีพ่ บ ผเู้ รียนบางคนไม่เข้าใจในเรอื่ งของเครื่องมือตรวจสอบแบบมีคา่ คงที่ 3) แนวทางแก้ปญั หา ใหผ้ เู้ รยี นไปศกึ ษาค้นคว้าเพม่ิ เติม ผู้สอนสอนเสรมิ ใหเ้ ปน็ รายบคุ คล

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 6 หน่วยกิต 3 จำนวน 4 ชวั่ โมง รหัส 30111-2003 วชิ าเทคโนโลยีการวดั และตรวจสอบ ชื่อหน่วย การหาคา่ ความไม่แน่นอน (uncertainty) 1. สาระสำคญั ความไม่แน่นอนของการวัดคือสง่ิ ทีบ่ อกไดถ้ ึงคณุ ภาพของผลการวดั ว่ามีความ นา่ เชอ่ื ถอื เพียงใด เพื่อท่จี ะให้เปรยี บเทียบคา่ ทีไ่ ดจ้ ากการวัดกับลกั ษณะจำเพาะหรือมาตรฐาน หรือเกณฑย์ อมรับไดส้ ำหรบั สิ่งท่ีถูกวัด 2. สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้ 2.1อธบิ ายและแสดงวธิ ีการหาค่าความไม่แนน่ อน (uncertainty) ได้อย่างถูกต้อง 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 จดุ ประสงคท์ ัว่ ไป 3.1.1 รปู้ ระเภทของการคลาดเคลอ่ื น 3.1.2 เขา้ ใจข้ันตอนการหาคา่ ความไมแ่ น่นอน 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 3.2.1 บอกประเภทของการคลาดเคลอื่ นได้ 3.2.2 อธิบายและแสดงวธิ กี ารหาค่าความไม่แน่นอน (uncertainty) ไดอ้ ย่าง ถูกตอ้ ง 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ประเภทของการคลาดเคล่ือน 4.2 วิธีการหาค่าความไมแ่ นน่ อน (uncertainty)

5. กิจกรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมครู กจิ กรรมนกั เรยี น 1.ซกั ถามพืน้ ความรู้เดมิ ของผูเ้ รยี นวา่ มี 1.ผเู้ รยี นตอบ-ถาม ความรู้ เกยี่ วกับเร่ืองวิธีการหาคา่ ความไม่ แนน่ อน (uncertainty)มากน้อยเพยี งใด 2.ฟัง จดบันทกึ ถามในเนื้อหาสาระการเรียนที่ 2.เรม่ิ สอนในเน้ือหาสาระการเรยี นรู้ โดยใช้ ไมเ่ ขา้ ใจ เนอ้ื หาท่สี ำคญั วธิ ีการสอนแบบบรรยาย อธิบาย ถาม-ตอบ และแสดงให้ดเู ปน็ ตัวอย่าง โดยใช้ส่ือ Power 3.ผู้เรียนถาม Point ใบกจิ กรรม พร้อมสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ 4.ผ้เู รียนทำแบบทดสอบหลงั การเรยี นรู้ 3.สรปุ ในส่งิ ท่ีสอน 5.ทำกิจกรรมตามครูผูส้ อนมอบให้ โดยใช้ 4.ครผู ู้สอนทดสอบหลงั การเรยี นรู้ ไมโครมเิ ตอร์ 5.ครูผสู้ อนมอบกิจกรรมให้ผู้เรยี น ทดลองแสดงวิธีการใช้ วิธีการหาคา่ ความไม่ 6.สง่ กิจกรรมให้ผู้สอนตรวจสอบความถูกต้อง แนน่ อน (uncertainty) และให้คะแนน เนน้ คุณธรรม (การตรงตอ่ เวลา 6.ตรวจสอบความถกู ต้องของกิจกรรมท่ผี เู้ รียน การแบง่ ปนั ความซื่อสัตย์) ได้สง่ พร้อมกบั ให้คะแนน 6.ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ 1)ส่ือส่งิ พิมพ์ เอกสารประกอบการสอนวชิ าเทคโนโลยีการวดั และตรวจสอบ 2)ส่ือโสตทัศน์ Power point 3)ส่อื ของจรงิ 7. หลักฐานการเรียนรู้ทตี่ อ้ งการ 1) หลกั ฐานความรู้ท่ตี ้องการ รอ่ งรอยการบนั ทึกองคค์ วามรู้ในสมดุ ร่องรอยการศกึ ษาการปฏิบตั ิตามใบกิจกรรม

2) หลกั ฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ตี ้องการ ใบกิจกรรมเร่ือง การหาค่าความไมแ่ นน่ อน (uncertainty) 8. การวดั และประเมินผล 1) วิธกี ารประเมิน 1.ประเมนิ โดยสงั เกตขณะเรียน 2.ประเมินองค์ความร้หู ลังเรยี นใบประเมินคุณธรรมแบบสังเกตพฤตกิ รรม 3.ประเมนิ ตามใบกจิ กรรม 2) เครอ่ื งมอื ประเมิน 1.แบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลังเรียน 2.ใบกิจกรรมเรื่อง การหาค่าความไม่แน่นอน (uncertainty) 3.ใบประเมินคณุ ธรรมจริยธรรม 3) เกณฑ์การประเมนิ 1.แบบประเมินผลกอ่ นเรยี น – หลังเรียน แบบประเมินผลตามใบกิจกรรม ผู้เรยี นตอ้ งผา่ น 60 % ของกจิ กรรมนั้นๆ และนำไปหาค่าเฉลีย่ เพอ่ื ใหไ้ ดค้ ะแนนในแตล่ ะกจิ กรรมกจิ กรรมละ 10 คะแนน แลว้ นำเป็นคะแนนระหว่างเรียนดว้ ย 9. บนั ทึกผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 1) ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ สอนคร้ังที่ 13 เรอื่ งการหาค่าความไม่แนน่ อน (uncertainty) 2) ปญั หาท่ีพบ ผเู้ รยี นบางคนไมเ่ ขา้ ใจในเรอ่ื งการหาค่าความไม่แน่นอน (uncertainty) 3) แนวทางแกป้ ัญหา ใหผ้ เู้ รยี นไปศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติม ผสู้ อนสอนเสริมใหเ้ ป็นรายบุคคล

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 7 หน่วยกิต 3 จำนวน 8 ชว่ั โมง รหัส 30111-2003 วชิ าเทคโนโลยีการวดั และตรวจสอบ ชื่อหนว่ ย การใช้สถติ ิ X-bar R-chart 1. สาระสำคัญ Control Chart พนื้ ฐานมี 2 รปู แบบ ใช้สำหรบั ค่าท่ีวัดได้ ที่อาจเป็นขนาด เวลา มติ ิ น้ำหนัก อณุ หภมู ิ ความแข็ง ความต้านทาน เปน็ ตน้ ตวั แสดงผลเป็นรุปกราฟ 2 รปู คือ X chart และ R chart 2. สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรียนรู้ 2.1อธบิ ายและแสดงวิธีการใช้สถิติ X-bar R-chart ไดอ้ ย่างถกู ต้อง 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 จดุ ประสงคท์ ั่วไป 3.1.1 เข้าใจขน้ั ตอนการใชส้ ถิติ X-bar R-chart รวู้ ิธีการ 3.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 3.2.1 อธบิ ายและแสดงวิธกี ารใชส้ ถติ ิ X-bar R-chart ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 วิธกี ารหาคา่ X-bar R-chart

5. กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรยี น 1.ซกั ถามพื้นความร้เู ดมิ ของผเู้ รยี นว่ามี 1.ผู้เรียนตอบ-ถาม ความรู้ เกยี่ วกับเรอื่ งวิธีการใชส้ ถิติ X-bar R- chart)มากน้อยเพยี งใด 2.เริ่มสอนในเน้ือหาสาระการเรียนรู้ โดยใช้ 2.ฟัง จดบนั ทึก ถามในเนื้อหาสาระการเรยี นท่ี วธิ ีการสอนแบบบรรยาย อธิบาย ถาม-ตอบ ไมเ่ ขา้ ใจ เน้ือหาทีส่ ำคัญ และแสดงให้ดเู ป็นตวั อยา่ ง โดยใช้สื่อ Power Point ใบกิจกรรม พร้อมสรปุ เนื้อหาการเรยี นรู้ 3.สรุปในสงิ่ ท่ีสอน 3.ผูเ้ รยี นถาม 4.ครผู สู้ อนทดสอบหลงั การเรยี นรู้ 4.ผู้เรยี นทำแบบทดสอบหลังการเรยี นรู้ 5.ครูผูส้ อนมอบกจิ กรรมให้ผเู้ รยี น 5.ทำกจิ กรรมตามครผู ูส้ อนมอบให้ โดยใช้ ทดลองแสดงวิธกี ารใช้ วิธกี ารใชส้ ถิติ X-bar R- ไมโครมเิ ตอร์ chart 6.ตรวจสอบความถูกตอ้ งของกิจกรรมที่ผู้เรยี น 6.สง่ กิจกรรมใหผ้ สู้ อนตรวจสอบความถูกตอ้ ง ได้สง่ พร้อมกบั ให้คะแนน และให้คะแนน เน้นคณุ ธรรม (การตรงต่อเวลา การแบ่งปนั ความซ่ือสตั ย)์ 6.สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้ 1)สอื่ ส่งิ พมิ พ์ เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีการวดั และตรวจสอบ 2)สอื่ โสตทัศน์ Power point 3)ส่ือของจรงิ 7. หลกั ฐานการเรียนรทู้ ่ตี อ้ งการ 1) หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ ร่องรอยการบนั ทึกองคค์ วามรใู้ นสมดุ

ร่องรอยการศกึ ษาการปฏบิ ัตติ ามใบกิจกรรม 2) หลักฐานการปฏบิ ตั ิงานทีต่ อ้ งการ ใบกจิ กรรมเรื่อง การหาค่าสถิติ X-bar R-chart 8. การวัดและประเมนิ ผล 1) วธิ ีการประเมิน 1.ประเมนิ โดยสังเกตขณะเรยี น 2.ประเมนิ องค์ความรู้หลังเรียนใบประเมินคุณธรรมแบบสงั เกตพฤตกิ รรม 3.ประเมินตามใบกิจกรรม 2) เคร่อื งมือประเมนิ 1.แบบทดสอบกอ่ นเรยี น – หลงั เรยี น 2.ใบกิจกรรมเร่อื ง การหาค่าสถติ ิ X-bar R-chart 3.ใบประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม 3) เกณฑ์การประเมนิ 1.แบบประเมนิ ผลกอ่ นเรียน – หลังเรยี น แบบประเมนิ ผลตามใบกิจกรรม ผู้เรยี นตอ้ งผา่ น 60 % ของกิจกรรมน้ันๆ และนำไปหาคา่ เฉลยี่ เพ่ือให้ไดค้ ะแนนในแตล่ ะกิจกรรมกิจกรรมละ 10 คะแนน แลว้ นำเปน็ คะแนนระหว่างเรยี นดว้ ย 9. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้ 1) ขอ้ สรุปหลงั การจดั การเรยี นรู้ สอนคร้งั ท่ี 14-15 เรอื่ งการหาค่าสถติ ิ X-bar R-chart 2) ปญั หาทพ่ี บ ผเู้ รยี นบางคนไม่เข้าใจในเรื่องการหาคา่ สถิติ X-bar R-chart 3) แนวทางแกป้ ัญหา ให้ผ้เู รียนไปศึกษาคน้ คว้าเพ่ิมเตมิ ผ้สู อนสอนเสริมให้เปน็ รายบคุ คล

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 8 จำนวน 4 ชว่ั โมง รหัส 30111-2003 วชิ าเทคโนโลยกี ารวดั และตรวจสอบ หน่วยกิต 3 ช่อื หนว่ ย การวดั และตรวจสอบความเทย่ี งขนาดด้านรปู ทรงและตำแหน่ง (GD&T) 1. สาระสำคัญ Geometric Dimensioning and Tolerance (GD&T) คอื มาตรฐานสากลท่ีใช้ ในการบอกขนาดและความเทยี่ งตรงของช้ินงานลงใน drawing GD&T โดยทว่ั ๆ ไปจะ ประกอบด้วย สัญลักษณ์ รปู แบบทีต่ ้องการกำหนด คำอธบิ ายหรอื ข้อตกลงตา่ งๆGD&T สามารถ ระบุหรือกำหนดความแม่นยำของส่วนต่างๆ ของชน้ิ งานได้หลายวธิ ีตง้ั แต่ ขนาด (size), ตำแหน่ง (location), รูปแบบของชน้ิ ส่วน (form), รวมไปถึงทศิ ทาง (orientation) 2. สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้ 2.1อธบิ ายและแสดงวิธีการวดั และตรวจสอบความเทีย่ งขนาดด้านรปู ทรงและตำแหน่ง (GD&T)ได้ อยา่ งถูกตอ้ ง 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 จุดประสงค์ทว่ั ไป 3.1.1 รคู้ วามหมายของ Geometric Dimensioning and Tolerance (GD&T) 3.1.2 เข้าใจขัน้ ตอนการวดั และตรวจสอบความเที่ยงขนาดด้านรูปทรงและ ตำแหนง่ (GD&T) 3.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 3.2.1 บอกความหมายของ Geometric Dimensioning and Tolerance (GD&T)ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 3.2.2 อธบิ ายและแสดงวธิ ีการวดั และตรวจสอบความเที่ยงขนาดด้านรูปทรงและ ตำแหนง่ (GD&T)ไดอ้ ย่างถกู ต้อง

4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความหมายของ Geometric Dimensioning and Tolerance (GD&T) 4.2 วธิ กี ารวดั และตรวจสอบความเท่ียงขนาดด้านรูปทรงและตำแหนง่ (GD&T) 5. กิจกรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมครู กิจกรรมนกั เรยี น 1.ซกั ถามพื้นความรู้เดมิ ของผู้เรยี นวา่ มี 1.ผูเ้ รียนตอบ-ถาม ความรู้ เกย่ี วกับเรอ่ื งวธิ ีการวดั และตรวจสอบ ความเที่ยงขนาดดา้ นรปู ทรงและตำแหนง่ (GD&T))มากนอ้ ยเพียงใด 2.เรมิ่ สอนในเนื้อหาสาระการเรยี นรู้ โดยใช้ 2.ฟัง จดบนั ทกึ ถามในเนอ้ื หาสาระการเรยี นที่ วธิ ีการสอนแบบบรรยาย อธิบาย ถาม-ตอบ ไมเ่ ข้าใจ เน้อื หาทสี่ ำคัญ และแสดงให้ดเู ปน็ ตัวอยา่ ง โดยใชส้ ื่อ Power Point ใบกจิ กรรม พร้อมสรปุ เนอื้ หาการเรียนรู้ 3.สรปุ ในส่งิ ท่ีสอน 3.ผเู้ รียนถาม 4.ครผู สู้ อนทดสอบหลังการเรียนรู้ 4.ผเู้ รยี นทำแบบทดสอบหลังการเรยี นรู้ 5.ครูผสู้ อนมอบกจิ กรรมให้ผเู้ รยี น 5.ทำกิจกรรมตามครูผู้สอนมอบให้ โดยใช้ ทดลองแสดงวิธกี ารใช้ วิธีการวดั และตรวจสอบ ไมโครมิเตอร์ ความเที่ยงขนาดดา้ นรปู ทรงและตำแหน่ง (GD&T) 6.ตรวจสอบความถกู ต้องของกิจกรรมทีผ่ ้เู รียน 6.ส่งกิจกรรมให้ผสู้ อนตรวจสอบความถกู ต้อง ไดส้ ่งพร้อมกบั ใหค้ ะแนน และให้คะแนน เน้นคุณธรรม (การตรงตอ่ เวลา การแบ่งปนั ความซือ่ สัตย)์ 6.สื่อและแหล่งการเรยี นรู้ 1)สอื่ สิง่ พิมพ์ เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีการวัดและตรวจสอบ 2)สอ่ื โสตทัศน์ Power point 3)ส่ือของจริง

7. หลกั ฐานการเรียนรู้ท่ีต้องการ 1) หลกั ฐานความรูท้ ีต่ อ้ งการ รอ่ งรอยการบนั ทึกองค์ความรใู้ นสมุด ร่องรอยการศึกษาการปฏบิ ัตติ ามใบกจิ กรรม 2) หลกั ฐานการปฏิบตั งิ านท่ตี อ้ งการ ใบกจิ กรรมเรอ่ื ง การวดั และตรวจสอบความเท่ยี งขนาดดา้ นรปู ทรงและตำแหน่ง (GD&T) 8. การวดั และประเมินผล 1) วิธกี ารประเมนิ 1.ประเมินโดยสงั เกตขณะเรยี น 2.ประเมินองค์ความรู้หลังเรียนใบประเมินคุณธรรมแบบสังเกตพฤตกิ รรม 3.ประเมนิ ตามใบกิจกรรม 2) เครอ่ื งมอื ประเมิน 1.แบบทดสอบกอ่ นเรยี น – หลังเรียน 2.ใบกจิ กรรมเรือ่ ง การวัดและตรวจสอบความเทีย่ งขนาดดา้ นรูปทรงและตำแหนง่ (GD&T) 3.ใบประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม 3) เกณฑก์ ารประเมนิ 1.แบบประเมินผลก่อนเรยี น – หลังเรยี น แบบประเมินผลตามใบกิจกรรม ผเู้ รียนตอ้ งผ่าน 60 % ของกจิ กรรมน้นั ๆ และนำไปหาคา่ เฉลย่ี เพือ่ ให้ได้คะแนนในแตล่ ะกิจกรรมกิจกรรมละ 10 คะแนน แล้วนำเปน็ คะแนนระหว่างเรยี นด้วย 9. บันทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้ 1) ขอ้ สรปุ หลังการจัดการเรียนรู้ สอนครัง้ ที่ 16 เร่ืองการวดั และตรวจสอบความเทย่ี งขนาดด้านรูปทรงและตำแหน่ง (GD&T) 2) ปัญหาท่ีพบ ผูเ้ รียนบางคนไม่เข้าใจในเรอื่ งการวัดและตรวจสอบความเที่ยงขนาดดา้ นรปู ทรงและ ตำแหน่ง (GD&T)

3) แนวทางแกป้ ญั หา ให้ผู้เรยี นไปศกึ ษาคน้ คว้าเพ่มิ เติม ผ้สู อนสอนเสรมิ ใหเ้ ป็นรายบคุ คล

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยที่ 9 หนว่ ยกิต 3 จำนวน 4 ช่วั โมง รหัส 30111-2003 วิชาเทคโนโลยีการวดั และตรวจสอบ ชือ่ หน่วย การรายงาน สรปุ ผลและกจิ นสิ ยั ท่ีดีในงานวดั ละเอยี ด 1. สาระสำคญั Geometric Dimensioning and Tolerance (GD&T) คือ มาตรฐานสากลทใ่ี ช้ ในการบอกขนาดและความเทยี่ งตรงของชน้ิ งานลงใน drawing GD&T โดยท่ัวๆ ไปจะ ประกอบดว้ ย สญั ลักษณ์ รูปแบบท่ีตอ้ งการกำหนด คำอธิบายหรือข้อตกลงต่างๆGD&T สามารถ ระบหุ รือกำหนดความแม่นยำของส่วนต่างๆ ของชน้ิ งานได้หลายวธิ ีต้งั แต่ ขนาด (size), ตำแหนง่ (location), รูปแบบของชน้ิ ส่วน (form), รวมไปถงึ ทศิ ทาง (orientation) 2. สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรยี นรู้ 2.1ปฏบิ ัตงิ านด้วยความรบั ผดิ ชอบ มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความประณีต รอบคอบ และ ปลอดภยั 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 จดุ ประสงคท์ ัว่ ไป 3.1.1 เข้าใจการทำงาน รายงานและสรุปผลในงานวัดละเอยี ด 3.1.2 เข้าใจถงึ การประยกุ ตเ์ ครื่องมอื วัดเพือ่ การสอบขนาดงานผลิต 3.1.3 มกี ิจนสิ ยั ที่ดีในงานวัดละเอยี ด ปฏบิ ัติงานดว้ ยความรอบคอบ ปลอดภยั 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 3.2.1 เขา้ ใจการทำงาน รายงานและสรปุ ผลในงานวดั ละเอยี ด 3.2.2 สามารถประยุกต์เครอ่ื งมือวดั เพอ่ื การสอบขนาดงานผลิต 3.2.3 มกี จิ นิสัยทีด่ ีในงานวัดละเอียด ปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบ ปลอดภยั

4. สาระการเรียนรู้ 4.1 การทำงาน รายงานและสรปุ ผลในงานวัดละเอยี ด 4.2 การประยกุ ตเ์ ครื่องมอื วดั เพือ่ การสอบขนาดงานผลิต 4.3 กิจนสิ ัยทดี่ ใี นงานวัดละเอียด 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ กิจกรรมครู กจิ กรรมนกั เรยี น 1.ซกั ถามพืน้ ความร้เู ดิมของผู้เรยี นวา่ มี 1.ผู้เรียนตอบ-ถาม ความรู้ เกีย่ วกับเร่อื งการรายงาน สรุปผลและ กิจนิสัยที่ดใี นงานวัดละเอียดมากน้อยเพียงใด 2.เริ่มสอนในเนอ้ื หาสาระการเรียนรู้ โดยใช้ 2.ฟงั จดบนั ทึก ถามในเนอ้ื หาสาระการเรียนท่ี วิธกี ารสอนแบบบรรยาย อธบิ าย ถาม-ตอบ ไมเ่ ขา้ ใจ เนอื้ หาทสี่ ำคญั และแสดงให้ดเู ป็นตวั อย่าง โดยใช้ส่ือ Power Point ใบกิจกรรม พร้อมสรปุ เนอื้ หาการเรียนรู้ 3.สรปุ ในส่ิงท่ีสอน 3.ผู้เรยี นถาม 4.ครูผสู้ อนทดสอบหลังการเรียนรู้ 4.ผเู้ รยี นทำแบบทดสอบหลงั การเรยี นรู้ 5.ครผู ูส้ อนมอบกิจกรรมให้ผู้เรยี น 5.ทำกิจกรรมตามครูผ้สู อนมอบให้ โดยใช้ ทดลองแสดงการรายงาน สรุปผลและกิจนสิ ัยที่ ไมโครมเิ ตอร์ ดใี นงานวดั ละเอยี ด 6.ตรวจสอบความถกู ต้องของกจิ กรรมทผี่ เู้ รียน 6.ส่งกจิ กรรมให้ผูส้ อนตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ไดส้ ่งพรอ้ มกับให้คะแนน และใหค้ ะแนน เน้นคณุ ธรรม (การตรงต่อเวลา การแบง่ ปัน ความซอื่ สตั ย)์ 6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1)ส่ือสงิ่ พิมพ์ เอกสารประกอบการสอนวิชาเทคโนโลยีการวดั และตรวจสอบ 2)ส่อื โสตทัศน์ Power point

7. หลกั ฐานการเรยี นรู้ทีต่ อ้ งการ 1) หลกั ฐานความรู้ทตี่ ้องการ ร่องรอยการบันทึกองคค์ วามรใู้ นสมดุ รอ่ งรอยการศกึ ษาการปฏบิ ตั ติ ามใบกจิ กรรม 2) หลกั ฐานการปฏิบัติงานท่ตี อ้ งการ ใบกจิ กรรมเร่อื ง การรายงาน สรุปผลและกิจนิสัยที่ดใี นงานวัดละเอยี ด 8. การวัดและประเมนิ ผล 1) วธิ ีการประเมนิ 1.ประเมนิ โดยสังเกตขณะเรยี น 2.ประเมนิ องค์ความรหู้ ลังเรียนใบประเมนิ คุณธรรมแบบสงั เกตพฤตกิ รรม 3.ประเมนิ ตามใบกจิ กรรม 2) เครื่องมือประเมนิ 1.แบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรยี น 2.ใบกจิ กรรมเร่อื ง การรายงาน สรุปผลและกจิ นสิ ัยที่ดีในงานวัดละเอียด 3.ใบประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม 3) เกณฑ์การประเมนิ 1.แบบประเมนิ ผลก่อนเรยี น – หลังเรียน แบบประเมนิ ผลตามใบกจิ กรรม ผ้เู รยี นตอ้ งผา่ น 60 % ของกจิ กรรมน้นั ๆ และนำไปหาค่าเฉลย่ี เพอื่ ใหไ้ ดค้ ะแนนในแตล่ ะกจิ กรรมกิจกรรมละ 10 คะแนน แล้วนำเปน็ คะแนนระหว่างเรยี นด้วย 9. บันทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ขอ้ สรปุ หลงั การจัดการเรียนรู้ สอนคร้งั ท่ี 17 เรอ่ื งการรายงาน สรปุ ผลและกิจนิสยั ทด่ี ใี นงานวัดละเอียด 2) ปัญหาทพ่ี บ

ผูเ้ รยี นบางคนไมเ่ ข้าใจในเร่ืองการรายงาน สรปุ ผลและกิจนสิ ัยทด่ี ใี นงานวัดละเอียด 3) แนวทางแกป้ ญั หา ให้ผเู้ รียนไปศกึ ษาค้นคว้าเพ่มิ เตมิ ผู้สอนสอนเสริมใหเ้ ป็นรายบคุ คล

งานวัดและตรวจสอบ 1.ความหมายของเครอื่ งมือ และการวดั ขนาด 1.1 เครือ่ งมือวัด(Measurement Tools) หมายถึง เครื่องมือทีส่ รา้ งหรืออกแบบมาเพ่ือใชส้ าหรบั วัด และตรวจสอบช้นิ งาน ทงั้ ท่ีอยู่ในระหวา่ งการผลติ หรอื หลังการผลติ เครื่องมือวัดแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ เครือ่ งมอื วัดแบบมีสเกล และเครือ่ งมือวดั แบบไม่มีสเกล 1.2 การวดั ขนาด (Measurement) หมายถงึ วธิ กี ารเปรยี บเทยี บขนาดกับตัววัด หรอื เคร่ืองมือวัดที่ กาหนดไว้เป็นมาตรฐานในการบอกขนาด ทัง้ นเี้ พือ่ ใหท้ ราบว่า ขนาดของช้นิ งานจรงิ น้นั มีขนาดเทา่ ไหร่ 1.3 จุดมงุ่ หมายในการวัดขนาด 1.3.1 เพอ่ื ให้ได้มาซึ่งข้อมูลของขนาด 1.3.2 เพอ่ื การควบคุม หรอื ตรวจสอบขนาดของชิน้ งาน 2.ระบบของหน่วยวัด ในงานการผลิตทุกชนิด เพ่ือที่จะใหไ้ ดผ้ ลิตภัณฑ์มีรปู ร่างตามที่กาหนดหรือต้องการ จะต้องมีการ ควบคมุ ขนาด น่ันคอื ต้องมีการวัดเข้ามาเก่ยี วข้อง ดังนัน้ การใช้เครอื่ งมอื วดั และการอ่านเป็นสง่ิ จาเปน็ อยา่ งย่ิง ท่ตี ้องการเรยี นรใู้ ห้เข้าใจและอา่ นถูกต้อง ซง่ึ ในงานอตุ สาหกรรมส่วนมากแล้วจะเปน็ การวดั ความกว้าง ความ ยาว และความหนาของช้ินงาน เคร่อื งมือชา่ งท่ีใช้สาหรับการวดั ขนาดมีหลายชนดิ แต่ทส่ี าคัญๆ คือ ฉากผสม ฟุตเหลก็ เวอรเ์ นียร์คาลเิ ปอร์ และไมโครมเิ ตอร์ เปน็ ตน้ หนว่ ยวดั ความยาวทใ่ี ชก้ ันอย่ใู นประเทศไทย มีอยู่ 2 ระบบ คอื 2.1 ระบบอังกฤษ ใช้กนั ประเทศสหรฐั อเมริกา มีหน่วยวดั เรยี งจากส้นั สุดไปถึงยาวสดุ ดังน้ี น้วิ ฟตุ หลา ไมล์ มาตราสว่ นของหน่วยวดั ระบบองั กฤษ 12 น้ิว = 1 ฟตุ 3 ฟตุ = 1 หลา 1760 หลา = 1 ไมล์ 2.2 ระบบเมตริก ปัจจุบันเปน็ ระบบวดั สากล นยิ มใชก้ ันมากโดยเฉพาะแถบยุโรป และเอเชยี มหี น่วย วัดเรียงจากสน้ั ไปถึงยาวสุด ดงั นี้ มิลลเิ มตร เซนตเิ มตร เดซิเมตร เมตร เดคาเมตร เฮกโตเมตร และกิโลเมตร Jutasinee PORNPUTTHASRI Industrial Arts, Science and Technology Faculty Nakhon Pathom Rajabhat University

มาตราส่วนของหน่วยวดั ระบบเมตริก 10 มิลลิเมตร = 1 เซนตเิ มตร 10 เซนตเิ มตร = 1 เดซิเมตร 10 เดซิเมตร = 1 เมตร 1 เดคาเมตร 10 เมตร = 1เฮกโตเมตร 10เดคาเมตร = 1 กิโลเมตร 10เฮกโตเมตร = 2.3 แสดงการเปรียบเทยี บความยาวระหว่างระบบเมตรกิ และระบบอังกฤษ เมตรกิ เป็น อังกฤษ องั กฤษ เป็น เมตรกิ 1 มลิ ลเิ มตร = 0.03937 น้ิว 1 นิว้ = 25.4 มิลลเิ มตร 1 เซนตเิ มตร = 0.3937 1 นิ้ว = 2.541 เซนตเิ มตร 1 เมตร = 39.37 นิ้ว 1 นิ้ว = 0.0254 เมตร 1 กิโลเมตร = 0.6214 ไมล์ 1 ไมล์ = 1.608 กโิ ลเมตร 3.การวดั โดยตรงและการวดั เปรียบเทียบ เครอื่ งมอื วดั ความยาวทัง้ หลายจาเปน็ ตอ้ งมสี เกลประกอบอยู่ เครอ่ื งมือวดั ประเภทบรรทัดเหล็กหรอื ตลบั เมตร อาศยั หลักการวัด คือ นาบรรทัดไปทาบกับสว่ นทตี่ อ้ งการ และใชส้ ายตาถ่ายทอดขนาดจากงานจริง ลงบนบรรทัด และอา่ นค่าตามสเกลจากบรรทดั วธิ ีนีเ้ รียกว่า “การวัดโดยใช้สเกลประกอบสายตา” หรือเรียกอกี อยา่ งหนึง่ วา่ “วดั โดยตรง” ดังแสดงในรูปท่ี 1 สวิงไปมาและอ่านระยะมากสุด รปู ที่ 1 แสดงลกั ษณะการวัดโดยตรง Jutasinee PORNPUTTHASRI Industrial Arts, Science and Technology Faculty Nakhon Pathom Rajabhat University

จากรปู ที่ 1 เป็นการวัดโดยตรงซึ่งการวดั ด้วยวธิ ีนี้ จะละเอยี ดถกู ต้องหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กบั ตาแหน่งท่ี มอง โดยเฉพาะการวัดขนาดของชิ้นงานที่ไม่แบนราบโอกาสผดิ พลาดจากการวัดจะยิ่งมีมาก เชน่ การวดั ชนิ้ งานกลม เปน็ ต้น การอ่านขนาดดว้ ยบรรทดั เหลก็ ถ้าตาแหน่งการอ่านอยู่คนละตาแหน่งแล้ว จะอ่านได้ ขนาดไม่เท่ากนั ซึ่งปญั หาที่กล่าวมาจะถกู ลดลงโดยสิน้ เชงิ โดยการวัดด้วยขาวดั สมั ผัสผวิ งาน และจากนน้ั จึง นาไปทาบกบั สเกลของบรรทัดอีกคร้ังหนึ่ง เพ่ืออ่านคา่ ท่ีถูกต้อง การวดั เชน่ นเี้ รยี กวา่ “การวัดเปรียบเทียบ” ซง่ึ เครอ่ื งมือที่ทาหนา้ ที่ถา่ ยขนาดน้นั เรียกว่า “คาลิเปอร์” หรือวงเวียนวัด ดงั แสดงใน รปู ที่ 2 รูปที่ 2 แสดงลักษณะการวัดช้ินงานกลมด้วยคาลเิ ปอร์ แล้วนาไปเปรยี บเทียบกบั บรรทดั เหลก็ เพ่ือความ เทีย่ งตรง Jutasinee PORNPUTTHASRI Industrial Arts, Science and Technology Faculty Nakhon Pathom Rajabhat University

เวอร์เนียคาลปิ เปอร์ (Vernier Calipers) เวอร์เนยี ร์ คาลิปเปอร์ เป็นเคร่อื งวดั ความยาวอยา่ งละเอยี ดท่ีใชห้ ลกั ของเวอร์เนียร์สเกล โดยการแบง่ สเกลตามแนวยาวคล้ายไมบ้ รรทัด แต่มกี ารแบง่ สเกลรองโดยการใชส้ เกลเล่อื นเพื่อให้สามารถวัดได้ละเอยี ด มากข้ึน ซ่ึงเคร่ืองมือวัดน้ีคดิ ขึ้นโดย ปิแอร์ เวอร์เนยี ร์ (Pierre Vernier) ชาวฝรั่งเศส เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2174 หรอื ค.ศ. 1637 ซงึ่ เดิมที่ทาการคิดเก่ียวกับการใชง้ านสเกลเลื่อน 2 ชิ้น มาทาใหเ้ กิดระยะการเลือ่ นขยาย เรียกว่า เวอร์เนียร์สเกล หลักจากน้ัน นายโจเซฟอารบ์ ราวน์ ไดม้ าทาการ ประยุกตเ์ พิม่ ปากวดั งาน (Caliper) เพื่อใหส้ ามารถใชง้ านได้ดีข้นึ จงึ ไดเ้ ปลี่ยนชอ่ื เรียกเป็น เวอรเ์ นยี ร์คาลิป เปอร์ (Vernier Caliper) ตามชือ่ ของนายเวอรเ์ นียร์ และช่ือเรียกปากวัดงาน สาหรับ เวอรเ์ นยี รค์ าลปิ เปอรท์ ่ีมี ใชก้ นั ในปัจจุบันมหี ลายแบบหลายชนดิ ซึ่งก็แลว้ แตผ่ ูผ้ ลิตจะทาออกจาหนา่ ย โดยบางชนดิ อาจใชก้ ับงานวดั เฉพาะด้าน แตใ่ นเบือ้ งตน้ ชนดิ ท่เี ราจะศกึ ษากนั เป็นแบบท่ีใช้งานท่ัวไป (Universal Vernier Caliper) ประเภทของเวอรเ์ นียร์ 1. เวอรเ์ นยี รค์ าลิปเปอร์ (Vernier Calipers) เวอรเ์ นยี ร์คาลิเปอร์ (Vernier caliper) มีลกั ษณะเป็นก้ามปูทีข่ า้ งหนึง่ ติดไม้บรรทดั ยาว อีกข้างตดิ ไม้ บรรทดั อนั เล็กที่เลอื่ นได้ ไมบ้ รรทัดท้งั สองมขี ีดวัดท่ีเยื้องกันตามที่กาหนด การวัดใชว้ ธิ ถี ่างเวอร์เนยี รอ์ อกแล้ว ปรับใหต้ รงกับขนาดสิ่งท่ีต้องการวัด ลงสลักยดึ แล้วจงึ ยกออกมาอา่ นค่า โดยดวู า่ เสน้ บนไม้บรรทัดรองเสน้ ใด ตรงกับเสน้ ที่อยู่บนไม้บรรทดั หลกั ใหถ้ อื เสน้ นัน้ เป็นทศนิยมตวั ทา้ ยสดุ ที่จะนามาต่อกบั ค่าที่วดั ไดจ้ ากไม้บรรทัด หลกั เวอรเ์ นยี ร์ท่มี จี าหนา่ ยตามท้องตลาดมักจะมที ้ังมาตราเมตริกและมาตราอังกฤษไวด้ ว้ ยกันเพอื่ ความ สะดวก ในทางอตุ สาหกรรมเวอรเ์ นียรม์ ักกาหนดความละเอียดไว้ที่ 0.01 mm หรือหนึง่ ในพันน้วิ Jutasinee PORNPUTTHASRI Industrial Arts, Science and Technology Faculty Nakhon Pathom Rajabhat University

2. เวอรเ์ นียรไ์ ฮเกจ (Vernier Height Gauge) เวอร์เนยี ร์วัดความสงู ใช้เม่ือต้องการวัดตรวจสอบความสูงของงานและขดี ขนาดความสูงของงานได้ ขนาดถูกต้องแมน่ ยา ใช้ขีดร่างแบบ (Lay out)ตามขนาดแบบงานเนื่องจากเวอรเ์ นียร์ไฮเกจมีหลกั การแบ่ง สเกลเชน่ เดยี วกับเวอร์เนยี คาลิปเปอร์ขนาดความยาวในระบบเมตรกิ 300, 500, 600 และ 1,000 มม. มคี ่า ความละเอยี ด 0.02 มม.ขนาดความยาวในระบบอังกฤษ12 น้ิว 18 นว้ิ 24 น้วิ และ 40 นวิ้ มคี า่ ความละเอยี ด 0.001 น้ิว 3. เวอรเ์ นียร์วัดลกึ (Venier Depth Gauge) จุดประสงค์ของการใชเ้ วอรเ์ นียรว์ ดั ลึก เพอ่ื ใช้วดั ความลึกของรเู จาะ ความลกึ ของบ่างาน ร่อง ลึกต่าง ระดับ การวดั สามารถอ่านคา่ จากสเกลได้เช่นเดยี วกับการใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ แตกต่างกันที่การวัดสเกล หลกั จะเป็นตัวเคล่ือนท่ี สว่ นสเกลเลือ่ นจะอย่กู ับท่สี ามารถอ่านคา่ ได้อยา่ งถูกต้องแม่นยา Jutasinee PORNPUTTHASRI Industrial Arts, Science and Technology Faculty Nakhon Pathom Rajabhat University

ส่วนประกอบและหน้าท่ี เวอรเ์ นียรค์ าลิเปอร์ (Vernier caliper) เวอรเ์ นยี รค์ าลิปเปอร์ เป็นเครื่องมือทนี่ าเอาหลกั การของคาลิปเปอร์ ซึ่งเปน็ เครื่องมือถ่ายทอดขนาด ผสมกับบรรทดั เหล็ก สิ่งสาคัญกค็ ือเพ่ิมสเกลช่วยใหอ้ า่ นค่าไดล้ ะเอียดย่ิงข้ึนเวอร์เนยี รค์ าลปิ เปอร์ ใช้วดั ความโต นอก – ใน วัดความลกึ และความยาวของชนิ้ งาน อา่ นคา่ ได้โดยสเกล ส่วนประกอบของเวอร์เนยี รค์ าลปิ เปอร์ มี 4 สว่ น 1. ปากสาหรับวดั (JAW) ประกอบด้วย ปากวดั ใน และปากวัดนอก 2. สเกลหลกั (MAINSCALE) เปน็ ตัวบรรทดั ใหญจ่ ะมีขีดแบง่ ไว้เปน็ ระบบอังกฤษและระบบเมตริก 3. สเกลเวอรเ์ นยี (VERNIRE SCALE) จะยึดตดิ กับปากสาหรับวดั ความโตนอก และความโตใน สามารถวดั ความละเอียดไดถ้ ึง 0.001 นิ้ว และ 0.02 มิลลิเมตร 4. กา้ นสาหรบั วัดความลกึ (DEPTH BAR) ลักษณะเปน็ เหล็กเสน้ แบนเลก็ จะอยสู่ ว่ นท้ายของเมนสเกล ตาแหนง่ ของการวัดเวอรเ์ นยี ร์ ชือ่ ส่วนประกอบ หน้าท่ี 1. ปากวดั นอก (Outside Caliper Jaws) วัดขนาดภายนอกของช้ินงาน 2. เขีย้ ววัดใน (Inside Caliper Jaws) วดั ขนาดภายในของช้ินงาน 3. ก้านวดั ลึก (Depth Probe) วัดขนาดความลึกของชนิ้ งาน 4. สเกลหลัก (Main Scale) เป็นคา่ สเกลหยาบท่ีอยบู่ นลาตวั เวอรเ์ นียร์คาลปิ เปอร์ 5. สเกลเลือ่ น (Vernier Scale) เป็นค่าสเกลขยายคา่ ความละเอยี ดอย่บู นปากวัดเล่ือน 6. สกรลู ็อค หรอื ปุ่มล็อค (Locking Screw) ลอ็ คตาแหน่งของปากวดั ให้คงท่ี Jutasinee PORNPUTTHASRI Industrial Arts, Science and Technology Faculty Nakhon Pathom Rajabhat University

วิธอี ่านค่าบนเวอร์เนยี ร์ 1. หาความละเอียดของเวอร์เนียรอ์ ันนน้ั เปน็ อนั ดับแรก (ปกติจะเขยี นติดไวท้ ี่ตวั เวอรเ์ นียร)์ โดยหาว่า แต่ละชอ่ งบนสเกลหลกั ห่างกันเทา่ ใด ในหนว่ ยใด 2. นาเวอร์เนียรไ์ ปวัดวัตถทุ ต่ี ้องการ เล่ือนจนสเกลเวอรเ์ นียรช์ ิดวัตถุ อา่ น ความยาวของวัตถจุ ากสเกล หลกั โดยสงั เกตวา่ ขีดศูนย์ของสเกลเวอร์เนียรเ์ ลยขดี ศูนย์สเกลหลกั มาก่ชี ่อง จากนัน้ หาเศษความยาวท่ีเกินไป อีกเล็กน้อย โดยสังเกตวา่ ขีดเท่าไรของสเกลเวอรเ์ นียร์ตรงกบั ขีดบน สเกลหลัก นาจานวนขดี คณู กบั กบั ความ ละเอยี ดของเวอร์เนียร์ที่หามาแล้วตามข้อ 1 นาความยาวท่ี หาท้งั สองคร้งั บวกกนั จะไดเ้ ป็นความยาวของวตั ถุ ตัวอย่าง เมื่อนาเวอร์เนียร์ไปวัดวตั ถชุ ิ้นหนี่ง ได้ดงั รูป เมอ่ื พจิ ารณารูป จะพบว่าเวอร์เนยี ร์อนั นี้ สเกลหลักมหี น่วยเปน็ เซนติเมตรและ มิลลิเมตร แตส่ เกล เวอรเ์ นียร์มหี นว่ ยเป็นมลิ ลิเมตร ดงั นนั้ ความละเอียดของเวอร์เนยี ร์จงึ ต้องใช้ ระยะหา่ งระหว่างขดี ในหน่วย มิลลเิ มตรคานวณ ซง่ึ จะได้วา่ เวอร์เนียรม์ ีความละเอียด 0.02 mm ขณะทีว่ ัดวตั ถุตามรูป นน้ั ขีดศูนย์ของสเกลเวอรเ์ นียร์อย่รู ะหวา่ ง 1.7 ถึง 1.8 ใน หน่วยเซนตเิ มตร หรอื 17 ถึง 18 ในหน่วยมลิ ลเิ มตร คา่ ที่อ่านได้ค่าแรก คือ 1.7 เซนตเิ มตร หรือ 17 มลิ ลเิ มตร ตามลาดบั ตอ่ ไปสังเกตขีดบนสเกลเวอร์เนียร์ จะเห็นว่าขดี ท่ี 19 บนสเกลเวอรเ์ นียร์ ( ตอ้ งนับขดี ทั้งหมด โดยไมต่ ้องสนใจตัวเลขบนสเกลเวอร์เนยี ร์) ตรงพอดีกบั ขีดบนสเกลหลัก ดังนัน้ เศษความ ยาวจะเทา่ กับ 19 x 0.02 = 0.38 mm หรือ 0.038 เซนติเมตร ดงั นัน้ วัตถุชิ้นนยี้ าว 1.7 + 0.038 =1.738 เซนติเมตร หรือยาว 17+0.38 = 17.38 มลิ ลเิ มตร Jutasinee PORNPUTTHASRI Industrial Arts, Science and Technology Faculty Nakhon Pathom Rajabhat University

แบบฝึ กหัดหน่วยท่ี 4 ตอนที่ 1 จงทาเครื่องหมาย X บนคาตอบที่ถูกที่สุดเพยี งคาตอบเดียว 1. ขอ้ ใดคือหนา้ ท่ีของเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ ก. วดั ขนาดความลึกของชิ้นงาน ข. วดั ขนาดภายนอกของชิ้นงาน ค. วดั ขนาดภายในของชิ้นงาน ง. ถูกทุกขอ้ 2. ขีดแต่ละขีดบนสเกลเล่ือนของเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ขนาด 1/20 มิลลิเมตร 1 ขีดมีค่าเท่าไร ก. 0.01 มิลลิเมตร ข. 0.02 มิลลิเมตร ค. 0.03 มิลลิเมตร ง. 0.05 มิลลิเมตร 3. ขอ้ ใด คือความหมายของเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ขนาด 1/20 มิลลิเมตร ก. 1 เซ็นติเมตร แบง่ เป็ น 20 ส่วน ข. 10 เซ็นติเมตร แบง่ เป็น 20 ส่วน ค. 1 มิลลิเมตร แบ่งเป็น 20 ส่วน ง. 1 นิ้ว แบ่งเป็ น 20 ส่วน 4. ขอ้ ใดกล่าว ไม่ถกู ต้อง เกี่ยวการใชเ้ วอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ ก. ทาความสะอาดเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์และชิ้นงานก่อนตรวจวดั ข. ก่อนอ่านค่าใหป้ รับสกรูล็อคเพื่อยดึ สเกลเล่ือน ค. การอา่ นคา่ จะตอ้ งมองต้งั ฉากกบั ตาแหน่งท่ีอ่าน ง. ใชแ้ รงกดเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์มากๆ เพอื่ ใหป้ ากวดั สัมผสั ชิ้นงานไดเ้ ตม็ ที่ 5. เวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ขนาด 1/20 มิลลิเมตร ที่สเกลหลกั 1 ช่องมีค่าเท่าไร ก. 0.10 มิลลิเมตร ข. 1.00 มิลลิเมตร ค. 1.00 เซ็นติเมตร ง. 0.01 มิลลิเมตร 6. จากรูปเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ขนาด 1/20 มิลลิเมตร อา่ นค่าไดเ้ ท่าไร ก. 45.35 มิลลิเมตร ข. 48.35 มิลลิเมตร ค. 46.35 มิลลิเมตร ง. 47.35 มิลลิเมตร 7. จากรูปเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ขนาด 1/20 มิลลิเมตร อา่ นค่าไดเ้ ทา่ ไร

ก. 60.50 มิลลิเมตร ข. 60.55 มิลลิเมตร ค. 61 มิลลิเมตร ง. 61.55 มิลลิเมตร 8. จากรูปเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ขนาด 1/20 มิลลิเมตร อ่านคา่ ไดเ้ ท่าไ ก. 30.80 มิลลิเมตร ข. 31.80 มิลลิเมตร ค. 32.80 มิลลิเมตร ง. 33.00 มิลลิเมตร 9. ขอ้ ใดกล่าว ถกู ต้อง เก่ียวกบั ขอ้ ควรระวงั การใชเ้ วอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ ก. ใชเ้ วอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์วดั ชิ้นงานขณะมีอุณหภูมิสูงจะทาใหไ้ ดค้ า่ ท่ีแมน่ ยา ข. การวดั ในแนวแกนควรใหแ้ นวแกนของเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์และของชิ้นงานทบั กนั ค. ขณะชิ้นงานกาลงั หมุนให้วดั ตรงจุดศูนยก์ ลางชิ้นงาน ง. ขณะวดั ชิ้นงานใหเ้ ลื่อนปากเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ไปมา 10. ขอ้ ใดกล่าว ไม่ถกู ต้อง เก่ียวกบั การบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ ก. เกบ็ และวางเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์รวมกบั เคร่ืองมือชนิดอื่น เพื่อสะดวกในการหยบิ ใช้ งาน ข. ควรเกบ็ เวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ไวใ้ นอุณหภูมิที่เหมาะสม ค. ทาความสะอาดและชโลมน้ามนั ทุกคร้ังหลงั การใชง้ านเพ่อื ป้องกนั การเกิดสนิม ง. ในระหวา่ งปฏิบตั ิงาน เม่ือตอ้ งการวางเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ควรวางไวบ้ นผา้ หรือแผน่ ไม้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook