Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสัมมนา

เอกสารประกอบการสัมมนา

Published by initiativehackathon, 2020-07-16 07:22:12

Description: เอกสารประกอบการสัมมนา โครงการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน

Search

Read the Text Version

-1-

สารบญั หน้า สว่ นที่ ๑ เหตผุ ลความเป็นมา 1 โครงการ ๕ กาหนดการ ๗ ๗ สว่ นที่ ๒ นทิ รรศการ กิจกรรมการบรรยายและการเสวนา ๗ ๒.๑ การเขา้ ชือ่ เสนอกฎหมายตามแนวทางการบริหารงานภาครัฐยุคใหม่ ๑๐ ๒.๑.๑ ยุทธศาสตรช์ าติ ๑๔ ๑) ประเทศไทย ๑๙ (๑) วสิ ัยทัศนป์ ระเทศไทย ๒๑ (๒) ยทุ ธศาสตร์ชาตทิ งั้ ๖ ดา้ น ๒๓ (๓) เปา้ หมายของยุทธศาสตร์ชาตดิ ้าน“การปรบั สมดุล ๒๔ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ” ๒๕ (๔) ประเด็นยทุ ธศาสตรช์ าติด้าน“การปรบั สมดลุ ๒๖ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั ” ๓๒ (๕) การบรรลุเปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ของสานกั งานเลขาธิการ สภาผแู้ ทนราษฎร ๓๗ ๒) ประเทศมาเลเซยี ๓) ประเทศบรูไน ๓๘ ๔) ประเทศสงิ คโปร์ ๒.๑.๒ แผนปฏริ ูปประเทศ ดา้ นกฎหมาย ๒.๑.๓ รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกับการเข้าชอ่ื เสนอกฎหมาย ๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐ ๒) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ๓) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ๒.๑.๔ วิวฒั นาการรูปแบบการเข้าชือ่ เสนอกฎหมาย ๑) พระราชบญั ญัติว่าดว้ ยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ๒๕๔๒ ๒) พระราชบญั ญัติวา่ ดว้ ยการเข้าช่ือเสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๖ ๓) รา่ งพระราชบญั ญตั ิการเข้าช่อื เสนอกฎหมาย พ.ศ. .... ๒.๑.๕ การเขา้ ชื่อเสนอกฎหมายด้วยระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ ๑) การเขา้ ชื่อเสนอกฎหมายด้วยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกสข์ องต่างประเทศ ๒) การเข้าช่ือเสนอกฎหมายด้วยระบบอิเล็กทรอนิกสข์ องไทย

๒.๒ สภาพปญั หาและอุปสรรคในกระบวนการเข้าชอื่ เสนอกฎหมาย หนา้ ของประชาชนและความคาดหวังในอนาคต ๒.๒.๑ ความยุ่งยากในการจดั ให้การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ๔๐ และรวบรวมเอกสาร ๔๐ ๒.๒.๒ ความย่งุ ยากในการตรวจสอบเอกสารการเข้าช่ือเสนอกฎหมาย ๔๑ และการประกาศรายชอ่ื ๔๑ ๒.๒.๓ ความคาดหวงั การเข้าช่ือเสนอกฎหมายในอนาคต

-๑- ส่วนที่ ๑ เหตผุ ลความเปน็ มา โครงการการเสรมิ สร้างความรคู้ วามเข้าใจในการเขา้ ช่อื เสนอกฎหมายของประชาชน ………………… ๑. หลักการและเหตุผล ตามท่ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้วางมาตรการรองรับการ สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในทางการเมืองการปกครองในหลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะการมีส่วนร่วม ทางการเมืองการปกครอง ในการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๓๓ บัญญัติให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกต้ังจานวนไม่น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อ ประธานสภาผู้แทนราษฎรเพ่ือให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติท่ีกาหนดไว้ในหมวด ๓ สิทธิและ เสรีภาพของปวงชนชาวไทย หรือหมวด ๕ หน้าท่ีของรัฐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และ รัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๕๖ ยังบัญญัติให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกต้ังจานวนไม่น้อยกว่า ๕๐,๐๐๐ คน ร่วมกัน เข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ นั้น จากผลการดาเนินงานของสานักงานเลขาธิการสภา ผู้แทนราษฎรเก่ียวกับร่างพระราชบัญญัติท่ีประชาชนผู้มีสิทธิเลือกต้ังเข้าช่ือเสนอตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ประกอบพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าช่ือเสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๖ ปรากฏว่ามีภาคประชาชนให้ความสนใจในเรื่องการเข้าช่อื เสนอกฎหมายเป็นอยา่ งมาก แต่อย่างไรก็ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าช่ือเสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๖ ซึ่งเป็น กฎหมายที่กาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการในการเข้าช่ือเสนอกฎหมายไว้นั้น เป็นกฎหมายท่ีออกตามความ ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และนามาบังคับใช้เกี่ยวกับการเข้าช่ือเสนอ กฎหมายของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยอนุโลมใชเ้ ทา่ ทไี่ ม่ขัด หรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ ในการนี้ รฐั สภาจะต้องตรากฎหมายว่าด้วยการเข้าช่ือเสนอกฎหมายข้ึนใหม่เพื่ออนุ วัติการให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ภายใน ๑ - ๒ ปีนับแต่วันท่ีรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยประกาศใช้บังคับ ตามแนวทางการจัดทากฎหมายและการดาเนินการโดยวิธีการอ่ืน นอกเหนือจากการจัดทากฎหมายเพ่ือให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญฉบับใหม่) มาตรา ๑๓๓ (๓) และมาตรา ๒๕๖ รวมท้ังหมวดปฏิรูปประเทศ มาตรา ๒๕๘ ค. (๔) กาหนดให้มีกลไกช่วยเหลือประชาชนในการจัดทา และเสนอร่างกฎหมาย อีกทั้งแผนปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย กาหนดให้ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการ เข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. .... เป็นกฎหมายเพ่ือการปฏิรูปประเทศตามมาตรา ๒๗๐ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยอีกด้วย (ประเด็นปฏิรูปที่ ๖ : มีกลไกให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดทาและเสนอร่าง กฎหมายที่มคี วามสาคญั และจัดใหม้ ีกลไกช่วยเหลือประชาชนในการจัดทาและเสนอร่างกฎหมาย รวมทง้ั การ ให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน ข้อ ๔ จัดให้มีกลไกช่วยเหลือประชาชนในการจัดทาและเสนอ รา่ งกฎหมาย) ประกอบกับประธานรัฐสภาได้ยืนยนั ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าช่ือเสนอกฎหมาย พ.ศ. .... ไปยังคณะรัฐมนตรีแล้ว ซึ่งคาดว่าจะมีผลบังคับใช้เป็นกฎหมายภายในปี ๒๕๖๓ ซ่ึงหากร่าง พระราชบัญญัติฉบับนี้มีผลใช้บังคับเป็นกฎหมายจะส่งผลให้หลักเกณฑ์ วิธีการ และกระบวนการในการ เข้าช่ือเสนอกฎหมายของประชาชนแตกต่างไปจากหลักเกณฑ์และวิธีการเดิมตามที่พระราชบัญ ญัติว่าด้วย การเข้าช่อื เสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๖ บัญญัติไว้

-๒- โดยสาระสาคญั ของร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชอื่ เสนอกฎหมาย พ.ศ. .... กาหนดให้ สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎรมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีสามารถยืนยันตัวบุคคลและตรวจสอบ ความเป็นผู้มสี ิทธิเลือกต้ังได้ การเขา้ ช่ือเสนอรา่ งพระราชบญั ญัติผา่ นทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศดังกลา่ ว ให้กระทาได้โดยไม่ต้องลงลายมือช่ือ ดังน้ัน ในการจัดทาการเข้าช่ือเสนอกฎหมายทางอิเล็กทรอนิกส์ของ สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จึงควรให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในการ ออกแบบ Platform การเข้าชื่อเสนอกฎหมายทางอิเลก็ ทรอนิกส์ เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการพฒั นาและบรู ณา การการเข้าชือ่ เสนอกฎหมายทางอเิ ลก็ ทรอนิกสท์ เ่ี กิดจากประชาชนอย่างแท้จรงิ ดังนั้น สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ในฐานะผู้รับผิดชอบในเรื่องการเข้าชื่อเสนอ กฎหมายของประชาชน จึงเห็นความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องประชาสัมพันธ์เผยแพร่และจัดกิจกรรมเพื่อ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับหลักเกณฑ์ และวิธีการในการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย รวมถึงกลไก ช่วยเหลือประชาชนในการจัดทาและเสนอร่างกฎหมาย ตามร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอ กฎหมาย พ.ศ. .... เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองหลักเกณฑ์ วิธีการ ตลอดถึงขั้นตอนการ ดาเนินการเข้าช่ือเสนอกฎหมายท่ีจะมีข้ึนตามร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว และเพ่ือให้ประชาชนได้รับความรู้ ความเขา้ ใจถึงสทิ ธิของตนเองในการเข้าชอ่ื เสนอกฎหมายตามทรี่ ัฐธรรมนญู บัญญตั ิรับรองไว้ อกี ท้ังยงั เปน็ การ สะท้อนปัญหาและอุปสรรคในการเข้าช่ือเสนอกฎหมายตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ๒๕๕๐ และ ๒๕๖๐ โดยผู้แทนการเสนอกฎหมายทเี่ คยเข้าช่อื เสนอกฎหมาย ตลอดจนยังเป็นการให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นเพื่อออกแบบ Platform การเข้าช่ือเสนอกฎหมายทาง อิเล็กทรอนิกส์ ๒. วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่ือเผยแพร่และเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเร่ืองการมีส่วนร่วมทางการเมืองการ ปกครองของประชาชน และเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเร่ืองการเขา้ ชื่อเสนอกฎหมาย พร้อมทั้งให้ประชาชน ทราบว่ากฎหมายว่าด้วยการเข้าช่ือเสนอกฎหมายมีหลักเกณฑ์วิธีการ และกลไกช่วยเหลือประชาชนในการ จดั ทาและเสนอรา่ งกฎหมายอย่างไร ๒. เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้แสดงความคิดเห็น และสะท้อนปัญหาและ อุปสรรคในการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย เพ่ือนาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ได้จากการรับฟังความคิดเห็นมา พฒั นาการปฏบิ ัติงานตามกระบวนการเข้าช่ือเสนอกฎหมายของประชาชนใหม้ ีประสิทธภิ าพมากยิง่ ขน้ึ ๓. เพ่ือเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบ Platform การเข้าชื่อ เสนอกฎหมายทางอิเล็กทรอนกิ ส์ ๓. ระยะเวลาดาเนินการ คร้ังที่ ๑ วันเสาร์ที่ ๑๘ ถึงวันอาทิตย์ที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ณ โรงแรมลีการ์เดนท์ อาเภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา

-๓- ครั้งที่ ๒ วันเสาร์ท่ี ๑ สิงหาคม ถึงวันอาทิตย์ที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๓ ณ โรงแรมฟูรามา เชยี งใหม่ คร้ังท่ี ๓ วันเสาร์ ๒๒ สิงหาคม ถึงวันอาทิตย์ท่ี ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๓ ณ โรงแรมอวานี ขอนแกน่ โฮเทล แอนด์ คอนเวนชัน่ เซน็ เตอร์ ครั้งท่ี ๔ วันอังคารที่ ๘ กันยายน ถึงวันพุธท่ี ๙ กันยายน ๒๕๖๓ ณ โรงแรมรอยัล ริเวอร์ ๔. กลมุ่ เป้าหมายของโครงการ ผู้ริเร่ิมเสนอกฎหมาย ผู้แทนการเสนอกฎหมาย นักศึกษา ประชาชนท่ัวไป และกลุ่มนักศึกษา ในระดับอุดมศึกษาผเู้ ข้ารว่ มแข่งขนั รวมท้ังส้นิ ครง้ั ละ ๑๐๐ คน รวม ๔๐๐ คน ๕. งบประมาณดาเนินการ งบประมาณโครงการการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการเข้าช่ือเสนอกฎหมายของ ประชาชนของสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ๖. รูปแบบของกิจกรรม ๑. กิจกรรมบรรยายในหวั ข้อ “การเขา้ ชื่อเสนอกฎหมายตามแนวทางการบรหิ ารงานภาครัฐ ยุคใหม”่ ๒. กิจกรรมเสวนาในหัวข้อ “สภาพปัญหาและอุปสรรคในกระบวนการเข้าชื่อเสนอ กฎหมายของประชาชนและความคาดหวงั ในอนาคต” ๓. กิจกรรมการแข่งขันออกแบบแพลตฟอร์มการเข้าช่ือเสนอกฎหมายทางอิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้หัวข้อ “Change role, Change form, Make it easy with e-Initiative ปรับบทบาท เปลี่ยน รปู แบบ ทาเรอื่ งยากใหเ้ ปน็ เรอ่ื งงา่ ยดว้ ย e-Initiative” ๔. กิจกรรมนิทรรศการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจในการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ ประชาชนโดยการเขา้ ชื่อเสนอกฎหมายตามแนวทางการบรหิ ารงานภาครัฐยุคใหม่ ๗. ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั ๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเร่ืองการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง และ หลักเกณ ฑ์ วิธีการ ให้ มีความพร้อมในการดาเนินการเกี่ยวกับการเข้าช่ือเสนอกฎหมาย ตาม รา่ งพระราชบัญญตั ิว่าด้วยการเข้าช่ือเสนอกฎหมาย พ.ศ. .... ไดอ้ ย่างถกู ต้อง ๒. ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็น และสะท้อนปัญหาและอุปสรรคในการ เข้าชอ่ื เสนอกฎหมาย ๓. สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้แนวคิดในการออกแบบ Platform การเข้าช่ือ เสนอกฎหมายทางอิเล็กทรอนิกส์

-๔- ๘. ตัวชว้ี ดั โครงการ เชงิ ปริมาณ - กล่มุ เปา้ หมายไดเ้ ขา้ มามสี ่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ - มีรายงานสรปุ ผลโครงการ จานวน ๑ เลม่ เชิงคุณภาพ - กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการในการเข้าช่ือเสนอ กฎหมายตามร่างพระราชบญั ญัตวิ ่าด้วยการเข้าช่ือเสนอกฎหมาย พ.ศ. .... มากยิง่ ขึ้น และได้มีสว่ นร่วมแสดง ความคิดเหน็ ในกิจกรรมทีจ่ ัดขน้ึ ซึ่งจะสง่ ผลดีต่อการพฒั นาการมีสว่ นรว่ มของประชาชน - สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้ Platform ที่เป็นแนวคิดและนาไปใช้เป็น แนวทางปฏิบัติในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายทางอิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือให้เป็นไปตามแผนการปฏิรูปประเทศด้าน กฎหมาย ๙. การติดตามและประเมนิ ผล แบบสอบถามก่อน/หลังร่วมกิจกรรม ๑๐. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ สานกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร สานกั การประชุม กลมุ่ งานเขา้ ชือ่ เสนอกฎหมาย

-๕- กาหนดการ วนั แรก กจิ กรรมการบรรยายและเสวนา กลุ่มเป้าหมาย ๑. ผ้เู ข้าฟงั การบรรยายและเสวนา ๒. ผเู้ ขา้ แข่งขัน ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบยี น ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. การบรรยาย ในหัวข้อ “การเข้าชอื่ เสนอกฎหมายตามแนวทางการบริหารงาน ภาครัฐยุคใหม่” ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวนั ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. การเสวนาในหวั ข้อ “สภาพปัญหาและอุปสรรคในกระบวนการเขา้ ช่ือเสนอ กฎหมายของประชาชนและความคาดหวังในอนาคต” ๑๖.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. เลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร กล่าวขอบคณุ ผู้เขา้ รบั ฟัง กิจกรรมการแข่งขนั e-Initiative Hackathon กลุ่มเป้าหมาย ผู้เข้าแข่งขัน จานวน ๑๐ ทีม ๑๘.๐๐ - ๑๙.๐๐ รับประทานอาหารเยน็ ๑๙.๐๐ - ๒๑.๐๐ ชแี้ จงรายละเอยี ด กตกิ า โจทย์ แนะนาโค๊ช (Conceptual Design และ Demo/Prototype) 1st Sprint (ช่วงท่ี ๑): Hacking (Hacker แตล่ ะทีมเริม่ ทางาน) : Coach แตล่ ะทีมประจาท่ี ให้คาปรกึ ษาเกย่ี วกับโจทยท์ ี่ได้รับ ๒๑.๐๐ เป็นตน้ ไป Hacker เขา้ พักตามห้องท่จี ดั ไวใ้ ห้ วนั ทีส่ อง รบั ประทานอาหารเช้า ๐๗.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. ลงทะเบยี น ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. 2st Sprint (ช่วงท่ี ๒) : Hacking (Hacker แต่ละทีมเรม่ิ ทางาน) ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. : Coach แตล่ ะทีมประจาที่ ให้คาปรึกษาเก่ียวกบั โจทยท์ ่ีได้รบั ๑๒.๐๐ น. ทัง้ นี้ ช่วงเวลาดงั กล่าวผ้เู ขา้ แข่งขันแตล่ ะทีมจะต้องเตรยี มนาเสนอผลงาน ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. ปิดการ hacking (Deadline) สง่ ไฟลผ์ ลงานให้คณะกรรมการ ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวนั ๑๖.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. นาเสนอผลงานในรูปแบบ Demo/Prototype) ตอ่ คณะกรรมการ ทมี ละ ๑๐ นาที ประชมุ คณะกรรมการเพื่อตัดสนิ การแข่งขนั Hackathon และประกาศผลการ แข่งขนั พร้อมมอบรางวลั

-๖- หมายเหตุ: รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๓๐ และ ๑๔.๓๐ น. กาหนดการอาจมีการเปล่ยี นแปลงไดต้ ามความเหมาะสม

-๗- ส่วนที่ ๒ นิทรรศการ กจิ กรรมการบรรยายและการเสวนา ๒.๑ การเข้าชอ่ื เสนอกฎหมายตามแนวทางการบริหารงานภาครฐั ยคุ ใหม่ บ ท บั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ย ก า ร เข้ า ช่ื อ เส น อ ก ฎ ห ม าย ใน ป ร ะ เท ศ ไท ย มี ม า ต้ั งแ ต่ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และการเข้าชื่อเสนอกฎหมายเร่ิมมีข้ึนอย่างจริงจัง เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๔๒ จนถึงบัดนี้เป็นระยะเวลากว่า ๒๐ ปี แต่การเข้าชื่อเสนอกฎหมายท่ีผ่านมายังเป็นการปฏิบัติงานตามรูปแบบการทางานของราชการแบบเก่าแต่ ณ เวลานี้ด้วยความเปล่ียนแปลงไปของโลกที่เปลี่ยนไปท้ังด้านรูปแบบการใช้ชีวิต การสื่อสาร สุขภาวะ การ ให้บริการของสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในเรื่องการเข้าชื่อเสนอกฎหมายจึงต้องเปลี่ยนแปลงไป ใหเ้ ข้ากับโลกยคุ ใหม่ ๒.๑.๑ ยทุ ธศาสตรช์ าติ ยทุ ธศาสตร์ชาตเิ ป็นแมบ่ ทหลกั ที่จะเปน็ กรอบช้นี าการกาหนดนโยบายและแผนตา่ ง ๆ สาหรบั การพฒั นา ประเทศ กาหนดทศิ ทาง เปา้ หมาย หรือแนวทางการพฒั นาประเทศ การบริหารราชการแผน่ ดินและเป็นแนวทางสาหรบั การพัฒนาของ ภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน ซงึ่ มกี ารจัดทายทุ ธศาสตร์ ชาตกิ นั หลายประเทศและรวมถึงประเทศไทย ๑) ประเทศไทย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย มาตรา ๖๕ กาหนดให้รัฐพึงจัดให้มียทุ ธศาสตร์ชาติเปน็ เป้าหมาย การพฒั นาประเทศอยา่ งยัง่ ยืน ตามหลักธรรมาภิบาลเพ่ือใช้เป็น กรอบในการจดั ทาแผน ตา่ ง ๆ ใหส้ อดคลอ้ งและบูรณาการกนั เพือ่ ให้เกิดเปน็ พลังผลกั ดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดงั กลา่ ว1 เมอ่ื วันที่ ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๖๑ ได้มี ประกาศยทุ ธศาสตรช์ าติในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอนที่ ๘๒ ก ประเทศไทยจึงมยี ทุ ธศาสตรช์ าตเิ ปน็ ฉบับแรก ท่ีเป็นเป้าหมายการ พฒั นาประเทศอย่างยั่งยนื ตามหลกั ธรรมาภบิ าลเพื่อใชเ้ ป็นกรอบ การดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐเพ่ือมุง่ สู่เป้าหมายร่วมกันใน การพฒั นาประเทศใหบ้ รรลุวสิ ยั ทัศน์ “ประเทศไทยมคี วามมั่นคง มัง่ ค่ัง ย่งั ยนื เป็นประเทศพฒั นาแลว้ ดว้ ยการพัฒนาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ได้ตามที่ 1 รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย

-๘- กาหนดไว้อย่างเป็นรูปธรรม โดยมีเป้าหมายของการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ของชาติ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรมฐาน ทรพั ยากรธรรมชาติยั่งยนื ”2 และต่อมาได้มีการตราพระราชบัญญัติการจัดทายุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2560 โดยกาหนดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ เพ่ือรับผิดชอบในการจัดทาร่างยุทธศาสตร์ชาติ กาหนดวิธีการการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทาร่างยุทธศาสตร์ชาติ ในการติดตาม การตรวจสอบ และการประเมินผล รวมทั้งกาหนดมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนทุกภาคส่วนดาเนินการให้ สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาติการจัดทาและการกาหนดเป้าหมาย ระยะเวลาที่จะบรรลุเป้าหมาย และสาระที่ พงึ มีในยุทธศาสตร์ให้เป็นไปตามพระราชบัญญตั กิ ารจดั ทายทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๐ (๑) วสิ ยั ทศั นป์ ระเทศไทย “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า “ม่ันคง มั่งค่ัง ย่ังยืน” เพ่ือสนองตอบต่อผลประโยชน์แห่งชาติ อันได้แก่ การมีเอกราช อธปิ ไตย การดารงอยู่อย่างม่ันคง และย่ังยืน ของสถาบันหลักของชาติและประชาชนจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ การอยู่ร่วมกันในชาติอย่างสันติสุขเป็น ปึกแผ่น มีความม่ันคงทางสังคมท่ามกลางพหุสังคมและการมีเกียรติและศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ ความ เจริญ เติบโตของชาติ ความเป็นธรรมและความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ความยั่ง ยืนของฐาน ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ความมั่นคงทางพลังงานและอาหาร ความสามารถในการรักษาผลประโยชน์ ของชาติภายใต้การเปล่ียนแปลงของสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติประสาน สอดคล้องกนั ดา้ นความมั่นคงในประชาคมอาเซยี นและประชาคมโลกอย่างมีเกียรติและศักด์ิศรี ความม่นั คง (1) มีความม่ันคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในประเทศและ ภายนอกประเทศในทกุ ระดับ และมคี วามม่นั คงในทกุ มติ ิ ทงั้ มิตเิ ศรษฐกจิ สงั คม ส่งิ แวดลอ้ ม และการเมือง (2) ประเทศมีความมน่ั คงในเอกราชและอธิปไตย (3) สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี ประชาชนมีความม่ันคงในชีวติ มีงาน และรายได้ท่มี น่ั คง มีทอ่ี ยู่อาศยั และความปลอดภยั ในชวี ติ ทรัพยส์ นิ (4) มคี วามมั่นคงของอาหาร พลงั งาน และน้า ความม่งั คงั่ (1) ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง ยกระดับเข้าสู่กลุ่ม ประเทศรายได้สูง ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรไดร้ ับผลประโยชน์จากการพัฒนาอยา่ งเท่า เทียมกัน 2 รายงานสรุปผลการดาเนนิ การตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจาปี ๒๕๖๒,สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาต,ิ หนา้ ๑๖

-๙- (2) เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง สร้างเศรษฐกิจ และสังคมแห่ง อนาคต และเป็นจุดสาคัญของการเชอ่ื มโยงในภูมภิ าคทงั้ การคมนาคมขนส่ง การผลติ การคา้ การลงทุน (3) มีความสมบูรณ์ในทุนท่ีจะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่อง ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทนุ ทางปัญญา ทนุ ทางการเงนิ และทุนอนื่ ๆ ความยงั่ ยนื (1) การพัฒนาท่ีสามารถสร้างความเจริญด้านรายได้ และคุณภาพชีวิตของ ประชาชนอย่างต่อเนอ่ื ง โดยไม่ใชท้ รัพยากรธรรมชาติจนเกนิ พอดี ไม่สรา้ งมลภาวะต่อสงิ่ แวดลอ้ ม (2) มีการผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับ กฎระเบียบของประชาคมโลก (3) คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างย่ังยืน ทุกภาคส่วน ในสงั คมยึดถอื และปฏบิ ตั ติ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สงั คมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาตยิ ั่งยนื ” โดยยกระดบั ศักยภาพของ ประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของ ประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย 1. ความอย่ดู มี สี ุขของคนไทยและสังคมไทย 2. ขดี ความสามารถในการแข่งขนั การพัฒนาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้ 3. การพฒั นาทรัพยากรมนุษยข์ องประเทศ 4. ความเทา่ เทยี มและความเสมอภาคของสังคม 5. ความหลากหลายทางชวี ภาพ คุณภาพส่งิ แวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ 6. ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การและการเข้าถึงการให้บริการของภาครฐั

- ๑๐ - (๒) ยุทธศาสตรช์ าติ ๖ ดา้ น เพื่อให้ประเทศไทยสามารถยกระดับการพัฒนาให้ บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” และเป้าหมายการพัฒนาประเทศข้างต้น จงึ จาเป็นต้องกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศระยะยาวท่ี จะทาให้ประเทศไทยมีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตย มี ภูมิคุ้มกันต่อการเปล่ียนแปลงจากปัจจัยภายในและภายนอก ประเทศในทุกมิติทุกรูปแบบและทุกระดับ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของประเทศได้รับการพัฒนา ยกระดับไปสู่การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสร้าง มูลค่าเพิ่ม และพัฒนากลไกท่ีสาคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ใหม่ที่จะสร้างและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ เพ่ือ ยกระดับฐานรายได้ของประชาชนในภาพรวมและกระจาย ผลประโยชน์ไปสู่ภาคส่วนต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม คนไทย ได้รับการพัฒนาให้เป็นคนดี เก่ง มีวินัย คานึงถึงผลประโยชน์ ส่วนรวม และมีศักยภาพในการคิดวิเคราะห์ สามารถ “รู้ รับ ปรับใช้” เทคโนโลยีใหม่ได้อย่างต่อเน่ือง สามารถเข้าถึงบริการ พื้นฐาน ระบบสวัสดิการ และกระบวนการยุติธรรมได้อย่างเท่า เทียมกัน โดยไม่มีใครถูกทิ้งไว้ข้างหลัง การพัฒนาประเทศ ในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุล ระหว่างการพัฒ นาความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และ ส่ิงแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในรูปแบบ “ประชารัฐ” จึงได้กาหนดยุทธศาสตร์ชาติ ๖ ด้าน ได้แก่ ๑ ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านความมน่ั คง ๒ ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ๓. ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ๔. ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๕. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ท่เี ปน็ มิตรต่อส่งิ แวดลอ้ ม ๖. ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ3 3 รายงานสรุปผลการดาเนินการตามยทุ ธศาสตร์ชาติ ประจาปี ๒๕๖๒,สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาต,ิ หนา้ ๑๖ - ๑๗

- ๑๑ - 1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมน่ั คง มเี ป้าหมายการพัฒนาท่ีสาคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบรหิ าร จดั การสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มคี วามมั่นคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบรอ้ ยใน ทุกระดับ ต้ังแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เคร่ืองมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูล ขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความม่ันคงที่มีอยู่ในปัจจุบัน และท่ีอาจจะเกิดข้ึนในอนาคต ใช้ กลไกการแก้ไขปัญหาด้านความม่ันคงท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน และที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไข ปัญหาแบบบูรณาการท้ังกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรท่ีไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศ เพ่ือนบ้านและมิตรประเทศท่ัวโลกบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล โดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านความ มั่นคง ประกอบดว้ ย 5 ประเด็น คือ (1) การรกั ษาความสงบภายในประเทศ (2) การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมน่ั คง (3) การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามท่ีกระทบต่อความม่ันคง ของชาติ (4)การบูรณาการความร่วมมือด้านความม่ันคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมถึงองค์กร ภาครัฐและทม่ี ใิ ชภ่ าครฐั (5) การพฒั นากลไกการบริหารจัดการความมน่ั คงแบบองค์รวม 2. ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั มีเป้าหมายการพัฒนาที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ (1) “ต่อยอดอดีต” (2) “ปรับปัจจุบัน” และ (3) “สร้างคุณค่าใหม่ใน อนาคต” พร้อมท้ังการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้าง งานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับการยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพ่ิมข้ึนของคนชัน้ กลาง และลดความเหลอ่ื มล้าของคนในประเทศได้ในคราวเดียวกัน โดยประเด็น ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ประกอบด้วย 5 ประเด็น คือ (1) การเกษตรสรา้ งมูลคา่ (2) อตุ สาหกรรมและบริการแห่งอนาคต (3) สรา้ งความหลากหลายดา้ นการท่องเท่ียว (4) โครงสร้างพื้นฐาน เชอ่ื มไทย เชอื่ มโลก (5) พฒั นาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผปู้ ระกอบการยุคใหม่

- ๑๒ - 3. ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพฒั นาที่สาคญั เพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวยั ให้เปน็ คนดี เก่ง และ มีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุก ช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอ่ สังคมและผอู้ ื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มีวนิ ยั รักษาศลี ธรรม และ เป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ และภาษาที่สามและอนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอ่ืน ๆ โดยมีสัมมาชีพ ตามความถนัดของตนเอง โดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนษุ ย์ ประกอบด้วย 7 ประเดน็ คอื (1) การปรบั เปลีย่ นคา่ นิยมและวัฒนธรรม (2) การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวติ (3) ปฏริ ปู กระบวนการเรียนรูท้ ีต่ อบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 (4) การตระหนกั ถึงพหปุ ญั ญาของมนุษยท์ ี่หลากหลาย (5) การเสริมสร้างใหค้ นไทยมสี ุขภาวะทด่ี ี (6) การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้อื ต่อการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ (7) การเสริมสร้างศกั ยภาพการกฬี าในการสร้างคุณคา่ ทางสงั คมและพฒั นาประเทศ 4. ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม มีเป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญที่ให้ความสาคัญกับการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้ง ภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่น มาร่วมขบั เคลอ่ื น โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการ รว่ มคิดรว่ มทาเพือ่ ส่วนรวม การกระจายอานาจและความรับผดิ ชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผน่ ดินในระดับ ท้องถนิ่ การเสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากร ไทยทั้งในมิตสิ ุขภาพ เศรษฐกจิ สังคม และสภาพแวดลอ้ มให้เปน็ ประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึง่ ตนเองและ ทาประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและ สวัสดิการที่มีคุณภาพอย่างเป็นธรรมและทั่วถึง โดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความ เสมอภาคทางสงั คม ประกอบดว้ ย 4 ประเด็น คอื (1) การลดความเหลอื่ มล้า สรา้ งความเปน็ ธรรมในทุกมติ ิ (2) การกระจายศนู ย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี (3) การเสรมิ สร้างพลงั ทางสังคม (4) การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา การพึ่งตนเองและการจัดการ ตนเอง

- ๑๓ - 5. ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ทเี่ ปน็ มติ รต่อสงิ่ แวดล้อม มเี ป้าหมายการพัฒนาที่สาคญั เพื่อนาไปสูก่ ารบรรลุเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ่ังยืนในทกุ มิติ ทั้ง มิติด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายใน และภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พ้ืนที่เป็นตัวตั้งในการกาหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุก ฝ่ายท่ีเก่ียวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากท่ีสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยเป็นการดาเนินการบน พ้ืนฐานการเติบโตร่วมกัน ไม่วา่ จะเปน็ ทางเศรษฐกิจ สงิ่ แวดล้อม และคณุ ภาพชวี ิต โดยให้ความสาคัญกบั การ สรา้ งสมดุลท้งั 3 ด้าน อันจะนาไปสคู่ วามยง่ั ยนื เพ่ือคนรนุ่ ต่อไปอยา่ งแทจ้ ริง โดยประเดน็ ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้าน การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเ่ ปน็ มิตรตอ่ สงิ่ แวดล้อม ประกอบด้วย 6 ประเดน็ คอื (1) สรา้ งการเตบิ โตอย่างย่ังยนื บนสงั คมเศรษฐกิจสีเขียว (2) สรา้ งการเตบิ โตอย่างย่ังยนื บนสงั คมเศรษฐกิจภาคทะเล (3) สร้างการเติบโตอย่างยง่ั ยืนบนสงั คมท่ีเป็นมติ รตอ่ สภาพภูมอิ ากาศ (4) พัฒนาพ้ืนที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุ่งเน้นความเป็นเมือง ทีเ่ ติบโตอยา่ งต่อเนอ่ื ง (5) พฒั นาความมั่นคงนา้ พลงั งาน และเกษตรทเี่ ปน็ มติ รตอ่ สิง่ แวดล้อม (6) ยกระดับกระบวนทศั น์เพ่ือกาหนดอนาคตประเทศ 6. ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั มเี ป้าหมายการพัฒนาท่ีสาคัญเพ่ือปรับเปลย่ี นภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพ่ือ ประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของรัฐท่ีทาหน้าที่ในการกากับหรือในการให้บริการ ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการ ทางานให้มุ่งผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย และพร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการ เปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบ การทางานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้งมี ลกั ษณะเปิดกว้าง เช่ือมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพ่ือตอบสนองความต้องการ ของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเรว็ และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมตอ้ งร่วมกนั ปลูกฝังค่านิยมความ ซ่ือสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสานึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างส้ินเชิง นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าท่ีจาเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากล มี ประสทิ ธิภาพ และนาไปสู่การลดความเหลื่อมล้าและเอ้ือต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหาร ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ เปน็ ธรรม ไมเ่ ลอื กปฏบิ ัติ และการอานวยความยตุ ิธรรมตามหลกั นิตธิ รรม

- ๑๔ - (๓) เปา้ หมายของยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการปรับ สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครฐั เป้าหมายของยทุ ธศาสตรช์ าตดิ ้านการปรับสมดุลและ พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ คือ การพัฒนาปรับเปล่ียน ภาครฐั ท่ียึดหลัก “ภาครฐั ของประชาชน เพื่อประชาชนและประโยชน์ ส่วนรวม” ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการ บริหารจัดการภาครัฐมีประเด็นยุทธศาสตร์ที่เน้นการปรับเปลี่ยน ภาครัฐ ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ และ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐท่ีทาหน้าที่ในการกากับหรือในการ ให้บริการในระบบเศรษฐกิจท่ีมีการแข่งขัน มีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลัก ธรรมาภิบาล ปรับวัฒ นธรรมการทางานให้มุ่งผลสัมฤทธ์ิและ ผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย และพร้อมท่ีจะปรบั ตัวให้ทันต่อ การเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการนา นวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ และระบบการทางานที่เป็น ดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับ มาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิด โอกาสให้ทกุ ภาคสว่ นเข้ามามีสว่ นรว่ มเพือ่ ตอบสนองความต้องการของ ประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนใน สังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสรา้ งจิตสานึกในการปฏิเสธไมย่ อมรับ การทุจริตประพฤติมิชอบอย่างสิ้นเชิง นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าท่ีจาเป็น มีความ ทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนาไปสู่การลดความเหลื่อมล้าและเอื้อต่อการพัฒนา โดย กระบวนการยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ การอานวยความยุติธรรม ตามหลกั นิติธรรม รวมท้ังตอ้ งมีการพัฒนาระบบบริหารจัดการบคุ ลากรภาครัฐท่สี ามารถจูงใจและดึงดูดให้คน ดคี นเก่งเข้ามาร่วมพลังการทางานท่ีมีความมงุ่ มั่นและมแี รงบนั ดาลใจในการที่จะรว่ มกันพลิกโฉมประเทศไปสู่ เปา้ หมายทพี่ ึงประสงค4์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐมีเป้าหมายใน การพัฒนา ๔ เป้าหมาย ประกอบดว้ ย ๑. ภาครัฐมีวฒั นธรรมการทางานท่มี ุ่งผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชน์สว่ นรวม ตอบสนองความ ตอ้ งการของประชาชนได้อยา่ งสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส ๒. ภาครัฐมขี นาดท่ีเลก็ ลง พร้อมปรบั ตวั ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง ๓. ภาครัฐมคี วามโปรง่ ใส ปลอดการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ 4 สานักงานสภาพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาต,ิ (2562), “แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ป,ี ” สบื คน้ 2563, มิถุนายน 9, จาก สานกั งานสภาพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ https://www.nscr.nesdb.go.th/ยุทธศาสตร์ชาต.ิ

- ๑๕ - ๔. กระบวนการยุตธิ รรม เป็นไปเพื่อประโยชน์ตอ่ ส่วนร่วมของประเทศ 1. ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทางานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนอง ความตอ้ งการของประชาชนไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ไดก้ าหนดให้ภาครัฐมีวฒั นธรรมการทางานทีม่ ุ่งผลสมั ฤทธิแ์ ละผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส โดยภาครัฐต้องปรับให้มีการทางานท่ีมุ่งผลสัมฤทธิ์และ ผลประโยชน์สว่ นรวม มีลกั ษณะเปิดกว้าง เช่ือมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเขา้ มามสี ่วนร่วม เพ่ือ ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปรง่ ใส ท้ังนี้ การทางานท่ีมุ่งผลสัมฤทธิ์ และผลประโยชน์ส่วนรวมหรือการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management - RBM) เป็นส่วน หน่ึงของการบรหิ ารจดั การภาครัฐแนวใหม่ (New public Management) ซึ่งปรบั เปลี่ยนรปู แบบการบริหาร รฐั กิจในระบบราชการ ซึ่งมีโครงสรา้ งสายการบงั คับบัญชาที่มลี ักษณะแข็งตัว ขาดความยืดหยุ่นและคล่องตัว และไม่สามารถตอบสนองต่อบริบทการเปล่ียนแปลงของสังคมและความต้องการของประชาชนได้อย่าง เพียงพอ เปลี่ยนไปสู่การบริหารราชการภายใต้กระบวนทัศน์แบบใหม่ที่มีความยืดหยุ่นหรืออาจเรียกว่าการ บริหารปกครองแบบผู้ประกอบการ ซึ่งเน้นความประหยัด (Economy) ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) และความมีประสิทธิผล (Effectiveness) โดยมุ่งลดบทบาทอานาจหน้าท่ีของภาครัฐให้น้อยลง และให้ ภาคเอกชนและประชาชนได้มีบทบาทในการพัฒนาร่วมกับภาครัฐมากข้ึน ทาให้ราชการสามารถทางานได้ดี มากข้ึนโดยมีค่าใช้จ่ายท่ีถูกลง และมีความจาเป็นต้องลดการสูญเสียหรือกาจัดภารกิจที่ล้าสมัย ปรับปรงุ และ พัฒนาการให้บรกิ ารของราชการเพือ่ ประชาชน และเสริมสรา้ งให้เกดิ ระบบราชการทเี่ ล็กลงแต่มปี ระสทิ ธภิ าพ มากข้ึน จะเห็นไดว้ ่า การเปลยี่ นแปลงองค์การภาครฐั ดังกล่าวจะมีความเกีย่ วขอ้ งกบั มิติของคน (People) ซึ่ง หมายความรวมไปถึงบุคลากรภาครัฐผู้ให้บริการและประชาชนผู้รับบริการท้ังระบบนั่นเอง ในส่วนของ บุคลากรภาครัฐผู้ให้บริการหากจะก้าวข้ามผ่านให้พ้นระบบราชการเดิม องค์ประกอบท่ีจาเป็นในการนา แผนการเปลี่ยนแปลงไปปฏิบัติให้บังเกิดความสาเร็จ ควรจะประกอบด้วยระบบการให้บริการลูกค้า (ประชาชน) (Client-System) ความพยายามในการเปล่ียนแปลง (Change Effort) แผนการเปล่ียนแปลง (Change Program) ตัวแทนการเปล่ียนแปลง หรือการนาการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) เป็นผู้ช่วยลด แรงต้านในการเปล่ียนแปลง ซึง่ จะสง่ ผลให้การเปล่ียนแปลงเกิดขนึ้ จริงได้ ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงจากสภาวะ เก่าไปสู่สภาวะใหม่ที่ต้องการ ควรต้องลดบทบาทขององค์การภาครัฐ การปฏิบัติงานอย่างมีเหตุผล มีความ รับผิดชอบ มีความโปร่งใส และมีความพร้อมท่ีจะถูกตรวจสอบได้ขององค์การภาครัฐซึ่งเป็นไปตามลักษณะ ของการบริหารกจิ การบ้านเมอื งทด่ี ี (Good Governance)5 ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงองค์กรภาครัฐในต่างประเทศที่ประสบความสาเร็จในด้านการ บริหารงาน เช่น สหราชอาณาจักร สวีเดน สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และญ่ีปุ่น จะพบว่ามี ลักษณะที่คล้ายคลึงกัน ได้แก่ การใช้ประสิทธิภาพจากกาลังบุคลากรของรัฐ โดยมีมาตรการเพิ่มหรือลด ข้าราชการหรือเจ้าหน้าท่ีรัฐให้มีจานวนที่เหมาะสมกับภารกิจ การให้เอกชนนาภารกิจของรัฐไปดาเนินการ 5 ไม่ปรากฏผแู้ ต่ง, “การบริหารการเปลยี่ นแปลงองค์การภาครฐั ”

- ๑๖ - แทน การมีระบบราชการที่กะทัดรัดเพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการดาเนินงาน มีการกระจายอานาจในการ ตัดสินใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน ส่วนราชการต้องมีความรับผิดชอบในภารกิจโดยมีการประเมินผลการปฏิบัติงาน อย่างเคร่งครัดเพื่อให้เกิดความคุ้มค่าในการดาเนินการ มีการนาระบบการบริการท่ีส่งเสริมความเป็นเลิศใน ด้านคุณภาพ และมีการนาเทคโนโลยีมาเป็นตัวช่วยในการบริหารงานภาครัฐ ทั้งนี้ มีการนายุทธศาสตร์ของ หน่วยงานและระบบการบริหารงานมุ่งผลสมั ฤทธเิ์ ป็นเครื่องมือในการสรา้ งการเปลีย่ นแปลงด้วย 2. ภาครัฐมีขนาดเล็กลง พรอ้ มปรับตวั ให้ทนั ตอ่ การเปล่ียนแปลง ในอดีตท่ีผ่านมาหน่วยงานของรัฐมีขนาดใหญ่ขึ้นซง่ึ เป็นไปตามภารกิจและจานวนประชาชน ที่มากขึ้น แต่ขนาดของหน่วยงานรัฐท่ีใหญ่ข้ึนจะต้องมองไปถึง “มิติการสร้างองค์กรให้มีขนาดที่เหมาะสม และการให้เกิดประโยชน์สูงสุด” กับความเหมาะสมกับหน่วยงานรัฐด้วย จาเป็นต้องหาทางลดขนาดองค์กร ภาครัฐลงบ้าง เน่ืองจากใช้บุคลากรภาครัฐไม่ได้เต็มประสิทธิภาพในระยะเวลาท่ีผ่านมา จึงจาเป็นต้องปรับ ภาพลักษณ์ของภารกิจหรืองานของภาครัฐให้เป็นสิ่งท่ีต้องมีคุณภาพท้ังหมดทุกหน่วยงานรัฐ ด้วยเหตุนี้เอง การปรับหรือลดขนาดองค์กร และเพ่ิมคุณภาพ จาเป็นต้องดาเนินการให้ไปสู่ “การสร้างมิติคุณภาพ ลดการ รั่วไหล หย่อนย่อและสร้างพัฒนาการศักยภาพที่ดีข้ึน” ท้ังหมดเพื่อให้ประชาชนได้ประโยชน์สูงสุดนั่นเอง อย่างไรก็ดีเมื่อจะต้องดาเนินการปรับลดขนาดองค์กรภาครัฐ จาเป็นต้องมอง 2 ด้าน คือ (1) หน่วยงานของ รฐั ใดท่ีมีขนาดใหญ่เกินจาเปน็ หรือมีจานวนบุคลากรภาครัฐมากหรือนอ้ ยเกินงานท่ีรับผิดชอบหรือมีค่างานไม่ เหมาะสมกบั คุณสมบัติของบุคลากรของรัฐท่ีนาไปใช้ดาเนินงานน้ัน ๆ กล่าวคือ ใช้คนไม่เหมาะกับงานหรอื ใช้ งานคนมากเกินงาน (งานหนักมากเกินความรบั ผิดชอบ) ย่อมเป็นการสญู เสยี อีกอย่างหน่ึงด้วย ส่ิงเหล่านี้ต้อง ดาเนินการแก้ไขใหม่ให้เหมาะสมซึ่งต้องมีการสารวจและจัดลาดับงานให้เหมาะสมกับหน่วยงาน หากต้องยุบ เลิกหรือต้ังหน่วยงานใหม่ก็พึงกระทาภายใต้การลดขนาดองค์กรไปพร้อม ๆ กันด้วย (2) หน่วยงานของรัฐใด ที่มีขนาดเล็กหรือมีแต่กรอบโครงรอการปรับแก้ไขหรือรอการยุบเลิก หรือมีเนื้องานมากกว่าท่ีควรจะเป็น (บุคลากรของรัฐมีน้อยกว่าปริมาณงาน) ก็จะต้องแก้ไขโดยโอน โยกย้าย ปรับเปล่ียน และต้องมุ่งเน้นการ กาหนดเนื้องานใหเ้ หมาะสมทัง้ น้ี เมื่อจะยบุ เลิกหรือปรับเปลี่ยนองคก์ รภาครฐั ท่ีผ่านมากม็ ักจะถูกกาหนดแนว ทางการบรหิ ารราชการมาจาก “คณะรัฐมนตรี” และการเปล่ยี นแปลงและความไมช่ ดั เจนของคณะรฐั มนตรีท่ี ไม่ต่อเนื่องและแตกต่างกันในนโยบายการบริหารแต่ละชุด จึงทาให้ประเด็นดังกล่าวถูกละเลยตกหล่นไป6 การดาเนินการปรับองค์กร ลดขนาดหรือเพ่ิมคุณภาพจะต้องพิจารณาถึงเนื้องานและความเหมาะสมของ บุคลากรภาครฐั และการนาเทคโนโลยสี มัยใหม่มาประยุกต์ใช้กบั การดาเนนิ ภารกจิ ของหน่วยงานภาครัฐ แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ จึงได้ให้ความสาคัญกับการปรับลดขนาดภาครัฐให้มีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ ตรวจสอบ ความซา้ ซ้อนและปรับภารกจิ และพันธกิจของหนว่ ยงานภาครัฐให้สอดคลอ้ งกบั การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ในเชิงบูรณาการ โดยยุบเลิกภารกิจที่ไม่จาเป็น ถ่ายโอนภารกิจให้ภาคส่วนอ่ืนรับไปดาเนินการ รวมถึงการ จัดระบบองค์กรภาครัฐท่ีแยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐท่ีทาหน้าท่ีกากับและหน่วยงานผู้ให้บริการ เพ่ือ เพม่ิ ประสิทธิภาพการดาเนินงานและมีการแข่งขันท่ีเป็นธรรม มีความทันสมัยและพรอ้ มท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อ 6 สัณฑพงศ์ โสไกร (น.นิรนาม), (2559), “ปรบั องค์กร ลดขนาด เพิ่มคุณภาพ ส่ิงทีต่ ้องทาในราชการไทย,” สืบคน้ 2563, มถิ นุ ายน 9, จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/cleanpolicy/2012/06/29/entry-1.

- ๑๗ - การเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทางานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล โดย ภารกิจท่ีภาครัฐยังจาเป็นจะต้องดาเนินการจะต้องกาหนดให้มีโครงสร้างหน่วยงานท่ีสอดคล้องกับบทบาท ภารกิจที่รับผิดชอบ มีความคุ้มค่า และสามารถขับเคล่ือนการบริหารราชการแผ่นดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสทิ ธผิ ล7 แนวความคิดที่สามารถนามาใช้เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานของภาครัฐได้ ก็คือ แนวคิดของ Lean Government มาประยุกต์ใช้ปรับปรงุ และพัฒนาระบบราชการให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยลดความสูญเสียท้ังในส่วนของภาครัฐและประชาชนเพื่อให้เหลือแต่เน้ือแท้ของการทางาน แนวคิด ดังกล่าวองค์กรภาครัฐหรือหน่วยงานราชการจะเน้นให้ความสาคัญกับระบบงาน (Work system) และ กระบวนการทางาน (Work process) และดาเนนิ การปรับปรุงเปลย่ี นแปลงใหท้ ันยุคสมยั ขจัดความสูญเปล่า ส้ินเปลือง รวมถึงเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ท่ีไม่จาเป็นลง ในสหรัฐอเมริกามีการจัดทาโครงการส่งเสริม ประสิทธิภาพการทางานของหน่วยงานภาครัฐที่เรียกว่า “Lean Government” เพื่อยกระดับปรับปรุง บริการท่ีสนองตอบตอ่ คณุ ค่าท่ีประชาชนพึงได้รบั โดยมุ่งขจัดความสูญเปล่าและความไรป้ ระสิทธิภาพออกไป จากระบบและกระบวนการเดิม และยังได้จัดทาเป็นชุดความรู้หรือแนวทางปฏิบัติที่หน่วยงานราชการตา่ ง ๆ สามารถนาไปศึกษาและปรับใช้ให้สอดรับกับบริบทขององค์กรตัวเองได้ในช่ือ “Lean in Government Starter Kit” เพราะความมุ่งหวังไม่ใช่เพียงแค่ให้รู้เท่าน้ันแต่ต้องนาไปสู่การลงมือปฏิบัติจนเกิดผลของการ เปลี่ยนแปลงดว้ ย โดยลดกรอบ กฎ กตกิ าทีเ่ ปน็ ลายลกั ษณ์อักษรลง แต่กาหนดมาตรฐานและขนั้ ตอนปฏบิ ัติท่ี ชัดเจน โดยกาหนดระยะเวลาที่ใช้ในแต่ละบริการต้องสั้นกระชับและล่ืนไหลแบบไร้รอยต่อ (Seamless) อีก ท้ังขจัดเอกสารเกินจาเป็นและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแทน (Digital Lean) ทาให้กระบวนการต่าง ๆ ไม่มี แม้กระท่ังเอกสารท่ีเป็นกระดาษ แต่อยู่ในรูปแบบไฟล์หรือฐานข้อมูลท่ีสามารถนาไปประมวลผลและใช้ ประโยชน์ทันทีในหลากหลายวัตถุประสงค์โครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการทางานหน่วยงานภาครัฐที่ เรียกว่า Lean in Government มีการจัดทาคู่มือแนวทางปฏิบัติ โดยความร่วมมือจากหน่วยงานด้าน สิ่งแวดล้อมใน 5 รัฐ ได้แก่ Delaware Iowa Michigan Minnesota และ Nebraska สภาด้านส่ิงแวดล้อม ของรัฐ และกรมป้องกันส่ิงแวดลอ้ มของสหรัฐ ทม่ี ุ่งยกระดบั ปรับปรุงบริการท่สี นองตอบต่อคุณคา่ ท่ีประชาชน พึงได้รับ โดยมุ่งขจัดความสูญเปล่าและความไร้ประสิทธิภาพออกไปจากระบบและกระบวนการเดิม จัดทา เป็นชุดความรู้หรือแนวทางปฏิบัติท่ีหน่วยงานราชการต่าง ๆ สามารถนาไปศึกษาและปรับใช้ให้สอดรับกับ บริบทขององค์กรตัวเองได้ในชื่อ Lean in Government Starter Kit โดยปัจจุบัน Lean in Government Starter Kit ได้พัฒนามาจนถึงเวอร์ชน่ั 4.0 (ประกาศใชใ้ นปี 2017) โดยมกี ารปรับปรุงใหท้ นั สมัยขึ้นเรอ่ื ย ๆ นับจากครั้งแรกเมื่อปี 20078 ดังน้ัน หากภาครัฐได้นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับการให้บริการกับ ประชาชนจนกลายเป็นรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่เรามักจะได้ยินกันให้กลายเป็นจริงมาได้ ลองนึกถึงภาพการ เข้าถึงบริการภาครัฐผ่านสมาร์ทโฟน และสามารถทาธุรกรรมหลาย ๆ อย่างได้โดยไม่ต้องเดินทางไปด้วย ตัวเอง นั่นก็ไม่แตกต่างจากบริการทางการเงินและอีกหลาย ๆ บริการของเอกชนในยุคปัจจุบัน ตัวอย่าง 7 อ้างแลว้ 8 จาลกั ษณ์ ขนุ พลแก้ว, (2562), “Digital Lean มิติใหมก่ ารบรกิ ารยุค 4.0,” สืบค้น 2563, มิถนุ ายน 8, จาก สถาบนั เพิ่มผลผลิตแห่งชาติ https://www.ftpi.or.th/2019/30910.

- ๑๘ - หน่วยงานภาครฐั ทน่ี าแนวคดิ ดงั กล่าวมาประยุกตใ์ ช้ เช่น กรณีของโรงพยาบาลศิรริ าช ได้พัฒนาแอปพลิเคชัน ช่ือ “Siriraj Connect” มาใช้ในการบริหารจัดการระบบคิว ระบบนัดหมายผู้ป่วย ระบบเวชระเบียน ระบบ ส่งต่อผู้ป่วย และระบบการชาระเงิน ข้อมูลด้านยา เพ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพการให้บริการ สะดวก รวดเร็ว และ ลดขั้นตอนการทางานไมจ่ าเปน็ ลง 3. ภาครัฐมคี วามโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ภาครัฐท่ีมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีการบริหาร จัดการตามหลักธรรมาภิบาลและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกระดับ มีวัฒนธรรมแยกแยะ ประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวมของบุคลากรภาครัฐให้เกิดขึ้น รวมทั้งสร้างจิตสานึกและค่านิยม ให้ทุกภาคส่วนต่ืนตัว ละอายต่อการทุจริตประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ มีส่วนร่วมต่อต้านการทุจริต ผ่านการ พฒั นาคนและการพัฒนาระบบเพื่อปอ้ งกนั การทุจรติ และประพฤติมชิ อบ โดยให้ความสาคัญกับการปรับและ หล่อหลอมพฤติกรรม “คน” ทุกกลุม่ ในสงั คมใหม้ ีจติ สานึกและพฤติกรรมยึดมัน่ ในความซ่อื สตั ยส์ ุจรติ 9 4. กระบวนการยตุ ิธรรมเพ่ือประโยชนส์ ว่ นรวมของประเทศ กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ มีความชดั เจน กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับมีเท่าท่ีจาเป็น ทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ โดยมุ่งใช้กฎหมายเป็นเคร่ืองมือในการ สนับสนุนการพัฒนา การเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การแก้ไขปัญหาและอุปสรรคท่ี นาไปสู่ความเหล่ือมล้าด้านต่าง ๆ กระบวนการยุติธรรมเคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติต่อประชาชนโดย เสมอภาค มีความเป็นกลาง น่าเช่ือถือ โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระบวนการยุติธรรมมีการบริหารท่ีมี ประสิทธิภาพ เจ้าหน้าท่ีในกระบวนการยุติธรรมมีความกล้าหาญทางจริยธรรม เป็นมืออาชีพ มีความเป็น ธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยสะดวก มุ่งให้เกิดการสร้างมาตรฐาน และเพ่ิมประสิทธิภาพในกระบวนการยุติธรรมเทียบเท่าระดับสากล ตามหลักนิติธรรม โปร่งใส ลดความ เหล่ือมล้าและสร้างโอกาสในการเข้าถึงความยุติธรรม สร้างความสมดุลระหว่างสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชนกับประโยชน์สาธารณะ การอานวยความยุติธรรมมีประสิทธิภาพและเป็นไปอย่างเสมอภาค หนว่ ยงานในกระบวนการยุติธรรมมีความรว่ มมอื ทด่ี ี บรู ณาการและเช่ือมโยงการทางานระหวา่ งกัน10 9 สานักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ (ป.ป.ช.), (2562), “แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (21) ประเด็น: การตอ่ ต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561-2580)” ใน เอกสารประกอบการประชมุ เชิง ปฏิบัติการขบั เคลอื่ นแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประเด็น (21) การต่อตา้ นการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ ณ ห้อง ประชมุ 531 อาคาร 5 สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ (สศช.), วันท่ี 18 ธนั วาคม 2562, (น. 1-3), กรุงเทพมหานคร. 10 อา้ งแล้ว

- ๑๙ - (๔) ประเด็นยทุ ธศาสตรช์ าติด้าน“การปรับสมดลุ และ พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครฐั ” ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ช า ติ ด้ า น ก า รป รั บ ส ม ดุ ล แ ล ะ พั ฒ น า ระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญเพื่อ ปรับเปล่ยี นภาครัฐท่ยี ึดหลัก “ภาครัฐของประชาชน เพื่อประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับ บทบาท ภารกิจ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐท่ีทาหน้าที่ใน การกากบั หรือในการให้บริการ ยึดหลกั ธรรมาภิบาลปรบั วฒั นธรรม การทางานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม มีความ ทันสมัย และพร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลก อยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการนานวัตกรรม เทคโนโลยี ข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทางานที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้ อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมท้ังมี ลกั ษณะเปิดกวา้ ง เช่ือมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้า มามีส่วนร่วมเพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่าง สะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกัน ปลูกฝังค่านยิ มความซอ่ื สัตย์สุจรติ ความมธั ยัสถ์ และสร้างจิตสานึก ในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างส้ินเชิง นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จาเป็น มี ความทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนาไปสู่การลด ความเหล่ือมล้าและเอ้ือต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมี การบรหิ ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เปน็ ธรรม ไม่เลอื กปฏบิ ตั ิ และการอานวยความยตุ ิธรรมตามหลักนติ ธิ รรม ตวั ชี้วดั 1. ระดบั ความพงึ พอใจของประชาชนตอ่ การใหบ้ ริการสาธารณะของภาครัฐ 2. ประสทิ ธิภาพของการบรกิ ารภาครัฐ 3. ระดับความโปร่งใส การทจุ ริต ประพฤติมชิ อบ 4. ความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม เปา้ หมาย ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทางานท่ีมุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองความ ต้องการของประชาชนไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส

- ๒๐ - ปรับเปลี่ยนภาครัฐโดยยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชน และประโยชน์ สว่ นรวม” ประชาชนไดร้ บั บรกิ ารทด่ี ี สะดวก รวดเร็ว เสมอภาค มสี ว่ นร่วมในการพฒั นาประเทศ ภาครฐั เพอ่ื ประชาชน ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชน เพ่ือประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม” เพิ่มขีดสมรรถนะ การทางานของภาครัฐให้มีความทันสมัย นาระบบดิจทิ ัลมาประยุกต์ใช้ มีความยืดหยุ่น ปรับเปลยี่ นองค์กรได้ ตามสถานการณ์ พร้อมทางานแบบบูรณาการ เพ่ือให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก และมีระบบการเงิน การคลัง สนับสนุนการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์ชาติ ภาครฐั ยึดประชาชนเป็นศนู ยก์ ลาง 1. เชอ่ื มโยงการบรกิ ารนา Big Data มาประยุกต์ใช้ 2. บริการสาธารณะไดม้ าตรฐาน ประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง ทุกภาคส่วนต้องร่วมตอบสนองความต้องการของประชาชนไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต และประชาชนสามารถตรวจสอบติดตามการประเมนิ ผลได้ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ด้ า น ก า ร ป รั บ ส ม ดุ ล แ ล ะ พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ภ า ค รั ฐ ประชาชนได้อะไร? ยกเลิกใช้สาเนาบตั รประชาชน และสาเนาทะเบยี นบ้านในการติดต่อราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาค รัฐ ประกอบด้วย 8 ประเด็น คอื (1) ภาครัฐท่ียึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่าง สะดวกรวดเรว็ โปรง่ ใส (2) ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายและเช่ือมโยงการ พัฒนาในทกุ ระดบั ทุกประเด็น ทกุ ภารกิจ และทกุ พน้ื ที่ (3) ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ ส่งเสริมให้ประชาชนและทุกภาคส่วนมีส่วน ร่วมในการพัฒนาประเทศ (4) ภาครัฐมคี วามทนั สมยั (5) บุคลากรภาครัฐเป็นคนดีและเก่ง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึก มี ความสามารถสูง มุ่งม่นั และเปน็ มืออาชพี (6) ภาครฐั มีความโปร่งใส ปลอดการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ (7) กฎหมายมคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ และมีเทา่ ท่ีจาเป็น (8) กระบวนการยุติธรรมเคารพสทิ ธมิ นุษยชนและปฏิบัตติ ่อประชาชนโดยเสมอภาค

- ๒๑ - (๕) การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ของสานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร ตามประเด็นยุทธศาสตรด์ ้านการปรับสมดุลและพัฒนา ระบบการบริหารจัดการภาครัฐ (Good Governance) ภาครัฐของ ประชาชนเพ่อื ประชาชน และประโยชน์สว่ นรวม เฉพาะในส่วนทีเ่ ก่ียวข้อง กับสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร โดยเฉพาะเรื่องการเข้าช่ือเสนอ กฎหมาย มี 2 ประเด็น คอื 1. ภาครัฐท่ียึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความ ตอ้ งการและใหบ้ รกิ ารอยา่ งสะดวกรวดเร็ว หน่วยงานของรัฐต้องร่วมมือและช่วยเหลือกันในการ ปฏิบัติหน้าท่ี มีระบบการบริหารจัดการที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ มีความ โปรง่ ใส ใหก้ ารบรหิ ารราชการแผ่นดินท้งั ราชการส่วนกลาง สว่ นภมู ภิ าค ส่วนท้องถิ่น และงานของรัฐอย่างอ่ืนให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการ บ้านเมอื งท่ีดี สร้างประโยชนส์ ุขแก่ประชาชน (1 ) ก ารให้ บ ริก ารส าธ ารณ ะ ข อ งภ าค รัฐ ได้ มาตรฐานสากลและเปน็ ระดบั แนวหนา้ ของภมู ภิ าค หน่วยงานของรัฐต้องปรับรูปแบบและวิธีการดาเนินการ โดยต้องมีลักษณะท่ีเบ็ดเสร็จ ครบวงจร และหลากหลายรูปแบบตาม ความต้องการของผู้รับบริการ มีความร่วมมือกับภาคี อ่ืน ๆ พร้อมท้ังปรับปรุงกลไกการปฏิบัติงานของภาครัฐให้มีลักษณะบูรณาการ สามารถส่งเสริมภารกิจของ ภาคส่วนต่าง ๆ โดยเฉพาะการปรับปรุงบทบาทและกลไกภาครัฐให้เป็นผู้สนับสนุนและอานวยความสะดวก ในการประกอบการ การกาหนดกฎระเบียบที่ไม่เป็นอุปสรรคต่อการดาเนินธุรกิจภาคเอกชนทุกขนาด สอดคลอ้ งกับทศิ ทางการพัฒนาประเทศในระยะยาว (2) ภาครัฐมีความเชื่อมโยงในการให้บริการสาธารณะต่าง ๆ ผ่านการนาเทคโนโลยี ดิจิทลั มาประยกุ ตใ์ ช้ ภาครัฐต้องสร้าง ต้องมี มีระบบการบริหารจัดการข้อมูลที่มีความเช่ือมโยงระหว่าง หน่วยงานและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ นาไปสู่การวิเคราะห์การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อการพัฒนานโยบาย และการให้บริการภาครัฐ มีการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการให้บริการสาธารณะต้ังแต่ต้นจนจบ กระบวนการ เพื่อให้สามารถติดต่อราชการได้โดยง่าย สะดวก รวดเร็ว โปร่งใส เสียค่าใช้จ่ายน้อย และ ตรวจสอบได้ 2. ภาครัฐมีความทันสมัย ภาครัฐมีความทันสมัย ทันการเปล่ียนแปลง และมีขีดสมรรถนะสูง สามารถปฏิบัติงาน อย่างมีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่า เทียบได้กับมาตรฐานสากล สามารถรองรับกับสภาพแวดล้อมในการ ปฏบิ ตั งิ านที่มคี วามหลากหลายซบั ซอ้ นมากข้นึ และทนั การเปลย่ี นแปลงในอนาคต (1) องค์กรภาครัฐมคี วามยดื หย่นุ เหมาะสมกับบริบทการพัฒนาประเทศ

- ๒๒ - โดยการปรับโครงสร้างและระบบบริหารงานราชการใหม่ในรูปแบบท่ีมีความ หลากหลาย มีการดาเนินงานท่ีมีความยืดหยุ่น สามารถปรับตัวเข้าสู่การเป็นสานักงานสมัยใหม่ นาไปสู่การ เป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง สามารถปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล มีความคล่องตัว ไม่ยึดติดกับ การจัดโครงสร้างองค์กรแบบราชการ สามารถยุบ เลิก ปรับเปล่ียนโครงสร้างองค์กร กฎ ระเบียบ ได้ตาม สถานการณ์ (2) พัฒนาระบบและปรบั ระบบวิธกี ารปฏบิ ัติราชการให้ทนั สมัย โดยมีการกาหนดนโยบายและการบรหิ ารจัดการท่ีตั้งอยู่บนข้อมูลและหลักฐานเชิง ประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์ มีความโปร่งใส ยืดหยุ่นและคล่องตัวสูง นานวัตกรรม เทคโนโลยี ข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทางานท่ีเป็นดิจิทัล มาใช้ในการบริหารและการตัดสินใจ รวมทั้งนาองค์ความรู้ ในแบบ สหสาขาวิชาเข้ามาประยุกตใ์ ช้ เพ่อื สร้างคณุ คา่ และแนวทางปฏิบัติทเี่ ป็นเลิศในการตอบสนองกับสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างทันเวลา พรอ้ มท้งั มีการจัดการความรแู้ ละถ่ายทอดความร้อู ยา่ งเป็นระบบเพ่ือพัฒนาภาครฐั ให้ เป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้ ในส่วนของสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร การจะไปสู่หรือบรรลุเป้าหมายตาม ประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ คือ มีระบบการเข้าช่ือ เสนอกฎหมายทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือระบบอิเล็กทรอนิกส์ท่ีสามารถยืนยันตวั ตนและตรวจสอบความ เป็นผู้มีสิทธิเลือกต้ังได้ เพ่ือมาในการเข้าช่ือเสนอกฎหมายของประชาชนแทนรูปแบบการเข้าชื่อเสนอ กฎหมายแบบเดมิ ท่ีตอ้ งมเี อกสารแสดงรายละเอียดของผเู้ ขา้ ชื่อเสนอกฎหมายและสาเนาบัตรประชาชน

- ๒๓ - ๒) ประเทศมาเลเซีย ยุทธศาสตร์ชาตมิ าเลเซยี กาหนดระยะเวลา ๓๐ ปี (๒๕๓๔-๒๕๖๓) เป้าหมาย ทาให้ประชากรมาเลเซียมีรายได้ต่อ หัว USD ๑๕,๐๐๐ / ปี ภายในปี ๒๕๖๓ ซึ่งจะถือ เปน็ การพามาเลเซียให้กา้ วไปเป็นประเทศรายได้สงู แนวทาง มาเลเซยี แบ่งแนวคิดและนโยบายเป็น 4 หัวข้อหลกั ดงั น้ี 1. “หน่ึงมาเลเซีย” ประชาชนมาก่อน และ ปฏิบัติทันที เพื่อทาให้ชาวมาเลเซียท่ีต่างก็มาจาก หลายเชื้อชาติรวมกันเป็นหน่ึงเดียว ซ่ึงการปฏิบัติ ห น้ าท่ี ต าม น โย บ า ย จ ะ ท า ผ่ าน รั ฐ บ าล ที่ มี ประสิทธิภาพ และคานงึ ถึงประชาชนเป็นสาคญั 2. โปรแกรมปฏิรูปการปกครอง ท่ีจะปรับปรุง การทางานของภาครัฐให้ทันสมัย มีประสิทธิภาพ รองรับความต้องการของประชาชนได้ดี ซึ่งจะมีตัว วดั ผลชัดเจนวา่ เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่ โด ย ม าเล เซี ย ได้ ต้ั งห น่ ว ย งาน สั งกั ด ส า นั ก นายกรัฐมนตรีท่ีคอยติดตามการดาเนินงานของแต่ ละหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อให้ม่ันใจว่าจะสาเร็จ ตามยุทธศาสตร์ทวี่ างเอาไว้ 3. ปฏิรูปเศรษฐกิจ เพ่ือเพิ่มรายได้ กระจาย รายได้ให้ครอบคลุม และสามารถพัฒนาได้อย่าง ยัง่ ยืน โดยได้มีการกาหนดภาคส่วนทางเศรษฐกิจที่ ส าคั ญ ใน ระดั บ ช าติ เช่ น ก ารพั ฒ น าพ้ื น ที่ กัวลาลัมเปอร์ อุตสาหกรรมปาล์มน้ามันและ ยางพารา การท่องเที่ยว เป็นต้น ท่ีจะเป็นตัว ขับเคลือ่ นหลักในการปฏิรปู เศรษฐกจิ ในครงั้ นี้ 4. แผนมาเลเซียฉบับที่ ๑๐ (๒๕๕๔-๒๕๕๘) หรือเป็นแผนพัฒนาก่อนหน้าแผนในปัจจุบัน ท่ีเมื่อ มกี ารพัฒนาประเทศตามแนวทางต่าง ๆ ท่ีผา่ นมาได้อยา่ งครบถ้วนเรยี บร้อย ก็ได้เวลาที่จะก้าวไปสู่เป้าหมาย หลักอย่างเต็มรูปแบบ โดยแผนฉบับที่ 10 จะเน้นพัฒนาให้มาเลเซียเป็นประเทศท่ีมีรายได้สูง ผ่านการ กระจายงบประมาณเป็นสัดส่วนเพื่อผลักดันประเทศ ซึ่งผลท่ีได้ก็คือ ทาให้การลงทุนและการบริโภคของทั้ง เอกชนและภาครัฐเพมิ่ ขึน้ เช่นเดยี วกบั การส่งออกและนาเข้า ทีส่ าคญั ก็คอื การขาดดลุ ลดลง

- ๒๔ - สาหรับแผนมาเลเซียฉบับท่ี ๑๑ (๒๕๕๙-๒๕๖๓) ซึ่งเป็นแผน ๕ ปีสุดท้ายจะให้ ความสาคญั กับคน และปรับโครงสรา้ งเศรษฐกิจใหม้ คี วามหลากหลายมากข้ึน11 ๓) ประเทศบรูไน ยทุ ธศาสตรช์ าตบิ รไู น กาหนดระยะเวลา ๓๐ ปี (๒๕๕๑- ๒๕๗๘) เปา้ หมาย ๑. พัฒนาระบบการศึกษาและสรา้ งแรงงานทีม่ ีทักษะขั้นสงู ๒. ปรบั ปรุงคุณภาพชวี ิตของประชาชนในประเทศ ๓. สร้างเศรษฐกจิ ท่ยี ั่งยนื มีเปา้ หมายให้บรูไนก้าวขึน้ ไปเป็น ๑ ใน ๑๐ ของประเทศท่ีมี GDP สูงทส่ี ดุ ในโลก ภายในปี ๒๕๗๘ (จาก ปจั จุบนั อยูอ่ นั ดับที่ ๓๐) แนวทาง ๑. ให้การศกึ ษาเปน็ ปัจจยั สาคัญในการสรา้ งรากฐานเพ่อื พฒั นาประเทศ ๒. ให้ความสาคัญกบั ธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดเล็ก เพราะจะ เป็นกลไกพื้นฐานในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศผ่านการ จ้างงานและกระจายรายได้ ๓. พฒั นาการใชพ้ ลังงานอย่างมีประสิทธภิ าพ โดยแผนพัฒนา ๕ ปีท่ีจะใช้ควบคู่ไปกับแผนพัฒนาระยะยาว ฉบับแรก (วิสัยทัศน์บรูไนฯ ๒๕๗๘) จะให้ความสาคัญกับ การ พัฒนาภาคเศรษฐกิจที่ไม่ใช่น้ามันและก๊าซ เพ่ือให้โครงสร้าง เศรษฐกิจของประเทศมีความหลากหลายมากขึ้น ลดการพ่ึงพา ทรัพยากรที่อาจจะหมดลงไปอีกไม่ก่ีสิบปีข้างหน้า เพื่อเตรียมการ ใหป้ ระเทศสามารถพฒั นาตอ่ ไปได้อยา่ งราบรื่น12 11 สานกั งานบรหิ ารนโยบายของนายกรฐั มนตร,ี “[อนิ โฟกราฟกิ ] แอบส่อง “ยทุ ธศาสตร์ชาติ” ของประเทศใกลเ้ คยี ง,” 2560, PMDU, สืบค้นเม่ือวนั 8 มถิ นุ ายน, 2563, http://164.115.61.165/national-strategy-from-nearby- countries/3266 12 อ้างแล้ว

- ๒๕ - ๔) ประเทศสงิ คโปร์ ยุทธศาสตร์ชาติสิงคโปร์ กาหนดระยะเวลา ๑๐ ปี (๒๕๕๓-๒๕๖๓) เปา้ หมาย ๑. ทาใหป้ ระชาชนทกุ ร่นุ เปน็ ผู้บกุ เบกิ สาหรับรนุ่ ถัดไป ๒. ประชาชนต้องมีความเช่ียวชาญ และมีใจรักที่จะ เรยี นร้สู งิ่ ใหม่ ๓. ธุรกิจต้องมนี วตั กรรมและพร้อมทีจ่ ะปรับตัวกบั ความ เปลยี่ นแปลงของโลก ๔. ประเทศต้องเชื่อมโยงกับประเทศอื่น ๆ พร้อมท้ังทา ให้มีชวี ิตชีวา นา่ อยู่ ๕. ภาครัฐต้องตอบสนองปัญหาต่าง ๆ อย่างคล่องตัว รวดเร็ว และทว่ั ถึง ภาพรวมก็คือ สิงคโปร์ต้องการเพิ่มศักยภาพของ ประเทศเพื่อให้สามารถเอาชนะการเปล่ียนแปลงของเศรษฐกิจ โลก ที่ค่อนข้างซบเซา การผลิตไม่เติบโตแม้จะมีเทคโนโลยี เกิดข้ึนมากมาย รวมถึงแนวโน้มการค้าขายระหว่างประเทศที่ ความนิยมลดลง แนวทาง ๑. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศให้แน่นแฟ้นและ หลากหลายยงิ่ ขึ้น รวมถงึ หาตลาดใหม่ และสร้างความสมั พันธ์ กบั ประเทศในภมู ภิ าคผ่านโครงการต่าง ๆ ๒. สร้างความเชี่ยวชาญในแต่ละเรื่องในเชิงลึก ให้ สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้จริง ไม่ว่าจะเป็นความรู้ในช้ัน เรียนและการทางานทีต่ อ้ งเท่าทันเทคโนโลยเี สมอ ๓. เพ่ิมศักยภาพของธุรกิจ กระตุ้นการลงทุนในส่วนที่ทาให้เกิดนวัตกรรมใหม่ สร้างการ แข่งขันเพอ่ื ผลักดันให้แต่ละบรษิ ทั เตบิ โต ๔. คิดค้นปรับปรุงเทคโนโลยีเพ่ือสร้างอุตสาหกรรมใหม่หรือเพิ่มคุณภาพให้อุตสาหกรรม เดมิ โดยเนน้ การนาข้อมลู มาให้ประโยชนใ์ หม้ ากขนึ้ เพื่อพฒั นาเศรษฐกิจ ๕. พัฒนาเมือง ให้สามารถดึงดูดส่ิงใหม่ ๆ และโอกาสดี ๆ ที่เป็นประโยชน์กับประเทศได้ รวมถึงพัฒนาให้พ้ืนที่เติบโตอย่างไม่แออัด และยังสามารถเช่ือมโยงประชาชนเข้าด้วยกันได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ13 13 อา้ งแล้ว

- ๒๖ - ๒.๑.๒ แผนปฏริ ปู ประเทศ การปฏิรูป คือ การปรับปรุงส่ิงที่เป็นปัญหาอุปสรรคให้เกิดการเปล่ียนแปลงเพื่อให้ เหมาะสมหรือสมควรกับบริบทและยุคสมัย รวมท้ังเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายที่ต้ังไว้ โดยการปฏิรูป ประเทศได้กาหนดเป้าหมายหลัก ๓ ประการ คือ (๑) ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคี ปรองดอง มีการพัฒนาอย่างย่ังยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหว่างการ พัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนาดา้ นจิตใจ (๒) สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพ่ือ ขจัดความเหลอ่ื มล้า (๓) ประชาชนมีความสุขมีคุณภาพชวี ิตท่ีดี และมีสว่ นร่วมในการพัฒนาประเทศและการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ การจัดทาแผนการปฏิรูปประเทศ คณะรัฐมนตรมี ีมติเม่ือวันท่ี ๑๕ สงิ หาคม ๒๕๖๐ แต่งต้ังคณะกรรมการปฏิรูปประเทศจานวน ๑๑ เพ่ือจัดทาแผนการปฏิรูปประเทศจานวน ๑๑ ด้าน ประกอบด้วย (๑) ดา้ นการเมือง (๒) ดา้ นการบริหารราชการแผน่ ดิน (๓) ด้านกฎหมาย (๔) ดา้ นกระบวนการ ยุติธรรม (๕) ด้านเศรษฐกิจ (๖) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (๗) ด้านสาธารณสุข (๘) ด้าน สื่อสาร (๙) ด้านสังคม (๑๐) ด้านพลังงาน (๑๑) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิ ชอบ คณะกรรมการท่ีแต่งต้ังขึ้นได้จัดทาแผนการปฏิรูปประเทศและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๖ เมษายน ๒๕๖๑ 14 แผนปฏริ ปู ประเทศด้านกฎหมาย สถานการณ์การพัฒนาประเทศไทยในระยะที่ผ่านมา กฎหมายถูกใช้เป็นเครื่องมือที่ สาคัญในการจัดสรรประโยชนท์ างเศรษฐกิจและสังคมเพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับการพัฒนาประเทศในช่วงเวลาต่าง ๆ ในระยะต่อมาด้วยการพัฒนาทางสังคมและเทคโนโลยีที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดนิติสัมพันธ์รูปแบบ ต่าง ๆ ท่ีหลากหลายและซับซ้อนยิ่งข้ึน จึงจาเป็นต้องมีการตรากฎหมายข้ึนรองรับเป็นจานวนมาก ทั้งท่ี เป็นไปเพื่อเป็นการควบคุม ส่งเสรมิ และเพื่อให้เกิดสภาพบังคับทางกฎหมาย รวมถึงการตรากฎหมายเพอ่ื ให้ สอดคล้องตามพันธกรณีระหว่างประเทศเพ่ือพัฒนาประเทศให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล กฎหมายหลาย ฉบับถูกตราขึ้นโดยกาหนดมาตรการท่ีมุ่งเน้น การควบคุม ทาให้เกิดขั้นตอนในการดาเนินการซึ่งสร้างภาระ และก่อให้เกิดต้นทุนในการดาเนินการตามกฎหมายอันเป็นส่ิงที่กระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และเปน็ อุปสรรคท่สี าคญั ตอ่ การค้า การลงทุน และการเพิม่ ความสามารถของประเทศ นอกจากน้ีที่ผ่านมาไม่ มีการกาหนดกลไกการวิเคราะห์ผลกระทบก่อนการตรากฎหมาย ประกอบกับกฎหมายหลายฉบับไม่ได้รับ การทบทวนเพ่ือปรบั ปรุงหรือแก้ไขให้เป็นไปอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของสังคมในปัจจุบัน ทา ให้เกิดความล้าสมัยและไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ กฎหมายหลายฉบับถูกมองว่าไม่สอดคล้องกับบริบทใน การพัฒนาของสังคมโลก ขัดต่อหลักสิทธิเสรีภาพข้ันพื้นฐาน ตลอดจนไม่สอดคล้องกับพันธกรณีระหว่าง ประเทศที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งแม้ท่ีผ่านมาได้มีความพยายามในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายมาเป็นลาดับแต่ก็ ไมไ่ ด้รับการสนับสนุนอยา่ งต่อเน่ืองเท่าท่ีควรอนั เนื่องมาจากสถานการณ์ทางการเมืองทีไ่ ม่มีเสถยี รภาพ 14 รายงานสรุปผลการดาเนินการตามแผนการปฏิรปู ประเทศ ประจาปี ๒๕๖๒, สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ

- ๒๗ - เพ่ือให้เกิดการปฏิรูปกฎหมายที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของการพัฒนาประเทศใน ปัจจุบัน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยจึงได้มีการกาหนด “หลักการ” และ “กลไก” ท่ีสาคัญไว้หลาย ประการเพ่ือให้เกิดการปฏิรูปกฎหมาย โดยเฉพาะหลักการตามมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย ท่ีได้กาหนดหลักเกณฑ์และกลไกในเรอ่ื งต่าง ๆ เพ่ือให้กฎหมายเป็น “กฎหมายที่ดี” และ สอดคลอ้ งกับสภาพความตอ้ งการที่แท้จรงิ ของสงั คม ท้ังการกาหนดให้มีการวเิ คราะห์ผลกระทบของกฎหมาย เพื่อคานึงถึงภาระและต้นทุนในการดาเนินการตามกฎหมาย การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการ แสดงความคิดเห็นและติดตามตรวจสอบท้ังในข้ันตอนของการจัดทาร่างกฎหมายและการทบทวนความ เหมาะสมของกฎหมาย รวมท้ังการกาหนดให้มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายเพ่ือพัฒนาให้เหมาะสม และสอดคล้องกับบริบทของสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไป ประกอบกับการท่ีมาตรา ๒๕๘ ค. ของรฐั ธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย ระบุให้ดาเนินการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายให้เกิดผลอย่างน้อย ๔ ประการ ประกอบดว้ ย (๑) มีกลไกให้ดาเนินการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรอื ข้อบังคับต่าง ๆ ที่ใช้บังคับอยู่ ก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญน้ีให้สอดคล้องกับหลักการ ตามมาตรา ๗๗ และพัฒนาให้สอดคล้องกับหลัก สากล (๒) ปฏิรูประบบการเรียนการสอนและการศึกษาอบรมวิชากฎหมายเพื่อพัฒนา ผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายให้เป็นผู้มีความรอบรู้ มีนิติทัศนะ และยึดม่ันในคุณธรรม และจริยธรรมของนัก กฎหมาย (๓) พัฒนาระบบฐานข้อมูลกฎหมายของรัฐโดยใช้เทคโนโลยตี ่าง ๆ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึง ขอ้ มลู กฎหมายไดส้ ะดวก และสามารถเข้าใจเนอื้ หาสาระของกฎหมายได้งา่ ย และ (๔) จัดใหม้ กี ลไกชว่ ยเหลอื ประชาชนในการจัดทาและเสนอรา่ งกฎหมาย ภายใต้หลักการของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยดังท่ีกล่าวมาข้างต้น ประกอบกับ การศึกษาทบทวนข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับการปฏิรูปด้านกฎหมายในช่วงท่ีผ่านมา ท้ังในส่วนของข้อเสนอการ ปฏิรูปของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ สานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม สภาปฏิรูปประเทศ (สปช.) สภา ขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ ของสานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตลอดจนข้อเสนอปฏิรูปกฎหมายจากหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้อง เช่น สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ฯลฯ คณะกรรมการปฏริ ูปประเทศด้านกฎหมายจึงได้กาหนดประเด็นกจิ กรรมและผลอนั พึงประสงคข์ องการปฏิรูป ประเทศด้านกฎหมายโดยมมุ่งเน้นการสร้าง “กลไกทางกฎหมาย” เพ่ือให้รองรับการพัฒนาตามหลักการ “มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” สอดคล้องกับบริบทของการพัฒนาสู่ THAILAND ๔.๐ ตามนโยบายของรัฐบาล และเป็นไปตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร (รัชกาลท่ี ๙) ตลอดจนเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนของสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals (SDGs)) โดยมีการกาหนดประเดน็ ปฏิรปู ด้านกฎหมายเพ่ือรองรับตาม หลัก “ทวยิ ุทธศาสตร์” ดังน้ี

- ๒๘ - (๑) การกาหนดกลไกทางกฎหมายเพื่อเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันของประเทศให้ ทันต่อการพัฒนาตามกระแสโลกาภิวตั น์ เชน่ กาหนดใหม้ ีกลไกการพิจารณายกเลิกหรอื ปรับปรุงกฎหมายท่ี เป็นอุปสรรคต่อการประกอบอาชีพและการดาเนินธุรกิจ (Regulatory Guillotine) การทบทวนกฎหมาย ที่ เก่ียวกับการอนุมัติ อนุญาต เพื่ออานวยความสะดวกในการติดต่อราชการหรือการประกอบธุรกิจ หรือ กาหนดให้มีการพัฒนาฐานขอ้ มลู กฎหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถงึ ได้โดยงา่ ยและสะดวก (๒) การกาหนดกลไกทางกฎหมายเพ่ือสร้างความเป็นธรรมและขจัดความเหลื่อมลาใน สงั คม โดยเสนอให้มีกลไกพิจารณาทบทวนกฎหมายท่ีมีผลในการสร้างความเหล่ือมล้าและความไมเ่ ป็นธรรม ในสังคม เช่น การพิจารณายกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายท่ีเก่ียวกับการขายฝากเพ่ือมิให้เป็นช่องทางในการ เอาเปรียบ ผู้มีรายได้น้อย การปรับปรุงบทกาหนดโทษทางอาญาให้เหมาะสมกับสภาพความผิดหรือการ กาหนดมาตรการลงโทษใหเ้ หมาะสมกับฐานะของผ้กู ระทาความผิดเพอื่ มิให้บุคคลตอ้ งรับโทษหนักเกินสมควร หรือการเสนอให้ มีการตรากฎหมายเพื่อส่งเสริมการขจัดความเหล่ือมล้าในสังคม เช่น กฎหมายว่าด้วย วิสาหกิจชุมชนเพ่ือส่งเสริม ให้เกิดการกระจายรายได้ให้แก่สังคม หรือกฎหมายว่าด้วยการจัดการทรัพย์สิน ของประชาชนที่ตกค้างหรือไม่มีการเรียกคืนเพื่อให้มีการนามาใช้ประโยชน์ในกิจการที่เก่ียวกับการพัฒนา สังคมและการลดความเหลื่อมล้าไปพลางก่อน ตลอดจนกาหนดให้มีการพัฒนากลไกยุติธรรมชุมชนและ อาสาสมัครนักกฎหมายท้องถ่ินเพื่อให้มีกลไกท่ีสามารถให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนได้อย่าง ทั่วถึง จากหลัก “ทวิยุทธศาสตร์” ดังกล่าว คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายได้ยกร่าง แผนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย โดยกาหนดผลอันพึงประสงค์ของการปฏริ ูปประเทศดา้ นกฎหมาย ๑๐ ประการ ดังนี้ เป้าหมายหรือผลอันพึงประสงค์ที่ ๑ มีกลไกให้การออกกฎหมายเป็นกฎหมายท่ีดีและ เทา่ ทจ่ี าเป็น รวมทังมกี ลไกในการทบทวนกฎหมายท่ีมผี ลใช้บังคับแล้ว เพอื่ ให้สอดคลอ้ งกับหลักการตาม มาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย มีกิจกรรมปฏิรูปท่ีสาคัญ ไดแ้ ก่ (๑) จดั ทากฎหมายเพื่อ กาหนดหลกั เกณฑ์เก่ียวกับการจัดทารา่ งกฎหมาย การกาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการตรวจสอบความจาเป็น ในการตรากฎหมาย การรับฟังความคิดเห็นของผู้เก่ียวข้อง การวิเคราะห์ผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้นจาก กฎหมาย เพื่อเป็นหลักเกณฑ์ประกอบการจัดทาร่างกฎหมาย รวมท้ังกาหนดหลักเกณฑ์การประเมินผล สมั ฤทธิ์ของกฎหมายท่ีมีผลใช้บังคับแล้ว (๒) จัดให้มีกลไกตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินการ ของหน่วยงานของรัฐในเรื่องการวิเคราะห์ผลกระทบ และการประเมินผลสัมฤทธ์ิของกฎหมาย และ (๓) กาหนดเกณฑ์การพิจารณาในเรื่องระบบอนุญาต ระบบคณะกรรมการ การกาหนดกรอบการใช้ดุลพินิจของ เจ้าหน้าที่ และการกาหนดโทษทางอาญา เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการจัดทาร่างกฎหมายหรือทบทวนความ เหมาะสมของกฎหมายที่มผี ลใชบ้ ังคบั แลว้

- ๒๙ - เป้าหมายหรือผลอันพึงประสงค์ที่ ๒ ยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายที่ล้าสมัย และเป็น อุปสรรค ต่อการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพของประชาชน มีกิจกรรมการปฏิรูปท่ีสาคัญ ได้แก่ (๑) กาหนดให้จัดตั้ง “คณะกรรมการขับเคล่ือนการปฏิรูปกฎหมายในระยะเร่งด่วน” เพื่อทาหน้าท่ีในการ พิจารณาทบทวนกฎหมายท่ีล้าสมัย ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้าและไม่เป็นธรรม หรือเป็นอุปสรรคต่อการ ประกอบอาชีพและการดาเนินธุรกิจของประชาชน และโอนสานักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) มาจัดตั้งเป็นสานักงานขับเคลื่อนการปฏิรูปกฎหมายในระยะเร่งด่วนเพื่อทาหน้าที่สนับสนุนการดาเนินการ ของคณะกรรมการดังกล่าว (๒) กาหนดให้มีกลไกในการยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายท่ีสร้างภาระ หรือ ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้าและความไม่เป็นธรรมแก่ประชาชน และ (๓) กาหนดให้มีกลไกในการยกเลิกหรือ ปรับปรุงกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพของประชาชน โดยเฉพาะการ พิจารณายกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายท่ีเก่ียวกับการอนุมัติหรืออนุญาตที่เป็นอุปสรรคต่อการประกอบอาชีพ หรือการดาเนินธุรกิจของประชาชน และจัดทาหรอื แก้ไขปรับปรุงกฎหมายท่ีมีผลต่อการอานวยความสะดวก เพอื่ ลดอปุ สรรคตอ่ การประกอบอาชพี และการดาเนินการธุรกจิ ของประชาชน เป้าหมายหรือผลอันพึงประสงค์ท่ี ๓ มีกลไกทางกฎหมายเพ่ือขจัดความเหล่ือมลาและ สร้างความเป็นธรรมในสังคม มีกิจกรรมการปฏิรูปท่ีสาคัญ ได้แก่ (๑) จัดต้ัง “คณะกรรมการลดความ เหล่อื มล้าและสร้างความเป็นธรรมในสงั คม” เพ่ือพิจารณาเสนอแนะใหม้ กี ารกาหนดใหม้ าตรการและให้มกี าร ป รับ ป รุ งแ ก้ ไข ก ฎ ห ม าย ท่ี ส ร้างค วาม ไม่ เป็ น ธ รรม แ ล ะ ก่ อ ให้ เกิ ด ค ว าม เห ลื่ อ ม ล้ า ใน สั งค ม (๒) กาหนดให้มีการพัฒนากลไกทางกฎหมายในการกากับดูแลและตรวจสอบผู้ประกอบการที่ยังไม่เข้ามาใน ระบบภาษีหรือมีแนวโน้มหลีกเลี่ยงภาษี สร้างระบบการประเมินภาษีที่มีประสิทธิภาพและเป็นธรรม และ สร้างฐานขอ้ มูลผู้เสียภาษีที่ถูกต้อง (๓) มีกลไกในการพิจารณาให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอย่างเป็นธรรม โดย กาหนดสิทธิหักลดหย่อนและยกเว้นภาษีที่ไม่เอื้อต่อผู้ มีรายได้สูงและช่วยบรรเทาภาระให้กับ ผู้มีรายได้น้อย (๔) กาหนดกรอบการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีให้กับผู้ประกอบการที่ได้รับการส่งเสริมการ ลงทุนเท่าที่จาเป็นต่อการแข่งขันของประเทศ (๕) การพิจารณาให้มีหรือปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเพ่ือส่งเสริม ให้เกิดความเป็นธรรมและขจัดความเหล่ือมล้า เช่น กฎหมายว่าด้วยการกาหนดให้เงินหรือทรัพย์สินของ ประชาชนที่ตกค้างในความครอบครองของหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชน ท่ีไม่มีผมู้ าใช้สิทธิเรียกรอ้ ง มาใช้ เพ่ือประโยชน์ในการสนับสนุนการดาเนินการเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคม หรือการพิจารณาแนวทางท่ี เหมาะสมในการปรับปรุงกฎหมายที่เก่ียวกับธุรกรรมการขายฝากเพื่อบรรเทาผลกระทบจากการบังคับใช้ กฎหมายที่ก่อให้เกิดความไม่เปน็ ธรรม หรือการพิจารณาผลกั ดันกฎหมายวสิ าหกิจ เพือ่ สังคมเพอื่ ให้เกดิ กลไก ในการดาเนินธุรกิจที่มกี ารกระจายผลกาไรกลบั คืนสู่สังคมหรือชุมชนในพน้ื ที่ ฯลฯ เปา้ หมายหรอื ผลอนั พึงประสงคท์ ี่ ๔ มกี ลไกให้มีการตรากฎหมายเพื่อเพิม่ ความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ มีกิจกรรมการปฏิรูปที่สาคัญ ได้แก่ (๑) กาหนดให้มีกลไกส่งเสริมและพัฒนา ความสามารถในการแข่งขันโดยอาศัยมาตรการกฎหมายในทางภาษีอากร รวมถึงจัดต้ัง “คณะกรรมการท่ี ปรึกษานโยบายภาษีอากรแห่งชาติ” (๒) กาหนดให้มีการใช้เคร่ืองมือทางกฎหมายเพ่ือส่งเสริมและพัฒนา ความสามารถในการแข่งขันของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และธุรกจิ สตาร์ทอัพอย่างบูรณา

- ๓๐ - การและเป็นระบบ (๓) กาหนดให้มีกลไกในการปรับปรุงกฎหมายที่เก่ียวข้องกับภาคอุตสาหกรรม การเกษตร การท่องเท่ียว และบริการ และ (๔) กาหนดให้มีกลไกปรับปรุงและลดทอนอุปสรรคที่เกิดจากข้อกาหนดท่ี เกี่ยวกับใบอนุญาตท่ีเกินความจาเป็น รวมถึงขั้นตอนในการขอใบอนุญาตท่ีซ้าซ้อนและใช้เวลานานอัน ก่อให้เกิดภาระต้นทุนในการดาเนินการ และเป็นอุปสรรคต่อการประกอบอาชีพหรือการประกอบธุรกิจของ ประชาชนและการเพิ่มความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ เป้าหมายหรือผลอันพึงประสงค์ท่ี ๕ พัฒนากระบวนการจัดทาและตรวจพิจารณาร่าง กฎหมาย ให้รวดเร็ว รอบคอบ และสอดคล้องกับเงื่อนเวลาในการตรากฎหมายตามที่กาหนดใน รฐั ธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย มีกิจกรรมการปฏิรปู ท่ีสาคัญ ได้แก่ (๑) ปรับปรุงกระบวนการจดั ทาร่าง กฎหมายของหน่วยงานของรัฐให้เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รา่ งกฎหมายที่หนว่ ยงานของรฐั จดั ทาข้ึนมคี วาม สมบูรณ์ มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และมีคาอธิบายและข้อมูลประกอบการพิจารณาท่ี ครบถ้วน ชัดเจน และเข้าใจได้ง่าย (๒) ปรับปรุงกระบวนการตรวจพิจารณาร่างกฎหมายให้เป็นไปอย่าง รวดเร็วและ มีประสิทธิภาพ ร่างกฎหมายที่ผ่านการตรวจพิจารณาเป็นกฎหมายท่ีดี เป็นไปตามหลักสากล และสอดคล้องกับสภาพความต้องการของสังคม และ (๓) มกี ลไกติดตามตรวจสอบการเสนอร่างกฎหมายให้ เป็นไปตามท่ีรัฐธรรมนูญกาหนด รวมทั้งมีกลไกกลั่นกรองและ เร่งรัดการตรวจพิจารณากฎหมายที่จะตราข้ึนเพ่ือรองรับการ ปฏิรูปประเทศ เป้าหมายหรือผลอันพึงประสงค์ที่ ๖ มีกลไก ให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการจัดทาและเสนอร่างกฎหมายหรือ กฎที่มีความสาคัญ และจัดให้มีกลไกช่วยเหลือประชาชนใน การจดั ทาและเสนอร่างกฎหมาย รวมทังการให้ความชว่ ยเหลือ ทางกฎหมายแก่ประชาชน มีกิจกรรมการปฏิรูปท่ีสาคัญ ได้แก่ (๑) พัฒนากลไกให้ประชาชนได้ใช้เสรีภาพในการแสดงความ คิดเห็นในเรื่องเก่ียวกับการบังคับใช้กฎหมาย (๒) จัดให้มีกลไก เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นในเรื่อง เก่ียวกับการจัดทาและการเสนอกฎหมายโดยหน่วยงานของรัฐ (๓) พัฒนากลไกให้ประชาชนได้ใช้เสรีภาพในการแสดงความ คิดเห็นในเร่ืองเกี่ยวกับการจัดทาและการเสนอกฎหมายโดย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและประชาชนผู้มีสิทธเิ ลือกต้ัง และ (๔) จัดให้มีกลไกช่วยเหลือประชาชนในการจัดทาและเสนอร่าง กฎหมาย และพัฒนากลไกการให้ความชว่ ยเหลือทางกฎหมายแก่ ประชาชน

- ๓๑ - เป้าหมายหรือผลอนั พงึ ประสงคท์ ี่ ๗ มกี ลไกใหป้ ระชาชนเข้าถึงกฎหมาย กฎ โดยสะดวก และเข้าใจกฎหมายได้ง่ายรวมทังการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของกฎหมาย คาพิพากษา คาวินิจฉัย หรือ การตคี วามกฎหมาย หรือกฎให้ประชาชนเข้าถึงได้โดยสะดวก มกี ิจกรรมการปฏริ ูปท่สี าคญั ได้แก่ (๑) การ กาหนดให้มีการรวบรวมกฎหมาย กฎ หนังสือเวียน แนวปฏิบัติ คาสั่ง และมติคณะรัฐมนตรี รวมถึงคา พิพากษา คาวินิจฉัย และความเห็นของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เป็นการวางระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติ ราชการ และการตีความกฎหมายซึ่งมีผลกระทบต่อประชาชนท่ีมีอยู่ในปัจจุบันให้ครบถ้วนและจัดหมวดหมู่ เพ่ือจัดทาเป็นฐานข้อมูล (๒) จัดทาประมวลกฎหมายเพื่อรวบรวมกฎหมายในเรื่องเดียวกันไว้ด้วยกันเพื่อ ความสะดวกในการใช้งาน และเผยแพร่แก่ประชาชน (๓) จัดทาคาอธิบายกฎหมายสาหรับกฎหมายท่ีมีผล บังคับใช้อยู่ (๔) จัดทาคาแปลกฎหมายในฐานข้อมูลท่รี วบรวมไว้ และคาอธิบายกฎหมายเป็นภาษาอังกฤษซ่ึง เป็นภาษากลางของอาเซียน (๕) จัดให้มีการเผยแพร่ให้ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชนโดยใช้สื่อ ประชาสัมพันธ์ทุกช่องทาง รวมถึงจัดให้มีการอบรมวิธีการเข้าถึงระบบฐานข้อมูลทางกฎหมายของรัฐให้แก่ ประชาชนอย่างท่ัวถึง และ (๖) จัดให้มีระบบฐานข้อมูลกฎหมายกลางของประเทศที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งทุกหน่วยงานสามารถเช่ือมต่อถึงกัน ผ่านระบบกลางดังกล่าวได้โดยสะดวกและต้องวางระบบการเข้าถึง ข้อมลู ใหง้ ่ายต่อการใช้งาน และมีความมน่ั คงปลอดภยั ในการเขา้ ถึงและคมุ้ ครองข้อมูล เป้าหมายหรือผลอันพึงประสงค์ที่ ๘ ปฏิรูปการเรียนการสอนและการศึกษาอบรมวิชา กฎหมาย เพื่อพัฒนานักกฎหมายให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพท่ีดี มีกิจกรรมการปฏิรูปท่ีสาคัญ ได้แก่ (๑) กาหนดให้แต่งต้ัง “คณะกรรมการสภานิติศึกษาแห่งชาติ” เพื่อจัดทานโยบายและกาหนดกรอบมาตรฐาน สาหรับการศึกษากฎหมายและการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนในวิชานิติศาสตร์ ตลอดจนพิจารณา เพ่ิมเติมหลักสูตรในภาคปฏิบัติ เพื่อวางรากฐานในการมีนิติทัศนะ ปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมของนัก กฎหมายท่ีดี และสามารถนาความรู้ ท่ีได้จากการศึกษาไปใช้ให้เกิดผลในทางปฏิบัติได้จริง และ (๒) กาหนดให้มีการยกระดับการศึกษาอบรมวิชากฎหมายสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายทุกสาขา เพื่อให้มี ความรอบรูแ้ ละมอี งค์ความรูท้ ่ีทันสมัยสอดคลอ้ งกับสภาพการณ์ปัจจุบัน ตลอดจนมีคุณธรรมและจรยิ ธรรมใน การประกอบวิชาชีพ เพ่ือให้สามารถนากฎหมายไปใช้ให้เกิดความเป็นธรรมในสังคมได้อย่างเหมาะสมและมี ประสิทธภิ าพ เปา้ หมายหรอื ผลอันพึงประสงค์ที่ ๙ พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ีอสนับสนุนให้ ประชาชนติดต่อกับเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายได้โดยสะดวก เพ่ือลดค่าใช้จ่ายและขจัดช่องทางการ ทุจริตป ระพ ฤติมิ ชอบ มีกิจกรรมการป ฏิ รูป ท่ี สาคัญ ได้แก่ (๑ ) การกาหน ดให้ มีการจัดท า ร่างกฎหมายว่าด้วยรัฐบาลดิจิทัล เพื่อกาหนดให้หน่วยงานของรัฐต้องจัดทาข้อมูลในความรับผิดชอบให้เป็น ฐานข้อมูลในระบบดิจิทัล (๒) จัดให้มีระบบการให้บริการประชาชนผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ของภาครัฐ (e-Service) ท้ังในส่วนของการย่ืนคาขออนุมัติหรืออนุญาตผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ และบูรณาการระบบ ฐานข้อมูลของรัฐให้มีความเป็นเอกภาพ มีความปลอดภัย และมีความสอดคล้องกัน โดยปรับปรุงระบบการ ให้บริการประชาชนผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ของภาครัฐ (e-Service) ให้มีการใช้ภาษาท่ีง่ายต่อการทา ความเข้าใจง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน และสามารถเข้าถึงได้หลากหลายช่องทาง (๓) ดาเนินการให้มี

- ๓๒ - การบูรณาการและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานภาครัฐโดยจัดให้มีศูนย์กลางการแลกเปล่ียนทะเบียน ขอ้ มูลดิจทิ ลั ภาครฐั เพอื่ พัฒนาการใหบ้ รกิ าร ให้เป็นแบบเบ็ดเสร็จ ณ จดุ เดยี ว (one-stop service) เพือ่ มใิ ห้ เป็นภาระแกป่ ระชาชน (๔) พัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยในการให้บรกิ ารผ่านช่องทางอิเลก็ ทรอนกิ สข์ อง ภาครัฐ (e-Service) ให้เป็นระบบท่ีมีความเสถียร และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งพัฒนาให้มีการนา เทคโนโลยีที่ใช้ในการยืนยันตัวบุคคลและตรวจสอบลายมือช่ือทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการดาเนินการ เพื่อให้เกิดความสะดวกและความปลอดภัยในการใช้งาน และ (๕) ดาเนินการให้ประชาชนสามารถเข้าถึง ระบบสารสนเทศได้โดยท่ัวถึงในทุกพ้ืนท่ี และวางระบบเช่ือมโยงข้อมูลสารสนเทศเครือข่ายสาหรับองค์กร หรือหน่วยงาน เพอื่ ใหก้ ารบังคบั ใชก้ ฎหมายเป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ เป้าหมายหรือผลอันพึงประสงค์ที่ ๑๐ มีกลไกส่งเสริมการบังคับใช้กฎหมายให้มี ประสิทธิภาพย่ิงขึน มีกิจกรรมการปฏิรูปท่ีสาคัญ ได้แก่ (๑) กาหนดให้มีการพิจารณาจัดทากฎหมายว่าด้วย การเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย (๒) กาหนดให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐซึ่งมีหน้าที่ ควบคุม กากับดูแล และบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย พิจารณาให้มีการนาเทคโนโลยีหรือเคร่อื งมือมาใช้ ในการดาเนินการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมาย (๓) จัดทากฎหมายเพ่ือเปล่ียนโทษทาง อาญาที่สามารถเปรียบเทียบเพื่อให้คดียุติได้ให้เป็นโทษปรับทางปกครอง (๔) กาหนดให้มีการศึกษาการ ยกเลิกหรือปรับปรุงรางวัลนาจับที่ให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐในกฎหมายต่าง ๆ และ (๕) จัดให้มีกลไกการ ตรวจสอบและรายงานการบังคับใช้กฎหมาย ต่อองค์กรท่ีมีอานาจในการติดตามตรวจสอบ เช่น ผู้ตรวจการ แผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ฯลฯ เพ่ือให้การบังคับใชก้ ฎหมายเป็นไปตามวัตถุประสงค์และปอ้ งกัน การทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบของเจา้ หน้าท่ีผบู้ ังคับใช้กฎหมาย ๒.๑.๓ รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยกบั การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้นมีหลักการสาคัญของการ ปกครองอยู่ว่า เป็นการปกครองที่ประชาชนเป็นเจ้าของอานาจอธิปไตย มีความเสมอภาคทางการเมือง และ รัฐบาลมีที่มาจากเสียงข้างมากของประชาชน ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศของ ประชาชนทุกคนซึ่งผู้ปกครองจะต้องฟังเสียงของประชาชนด้วย ในปัจจุบันประเทศที่มีการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยในหลายประเทศได้นาหลกั การของระบอบประชาธปิ ไตยโดยตรงมาใช้ โดยใหป้ ระชาชนมสี ว่ นมี เสียงโดยตรงในการบริหารราชการแผ่นดิน ปัจจุบันกลไกของระบอบประชาธิปไตยโดยตรงท่ีใช้กันอยู่ใน ประเทศต่าง ๆ ทสี่ าคัญมีอยู่ ๓ ประการ คือ ๑) การออกเสียงประชามติ (Referendum) เป็นกระบวนการที่ให้ประชาชนใน ฐานะเจ้าของอานาจอธิปไตยสามารถเรียกร้องให้รัฐรับฟังมติของประชาชนเสียก่อนที่จะตรากฎหมายหรือ ตดั สินใจทางการเมืองการปกครองบางเรื่องบางราว โดยการจัดให้มีการลงคะแนนเสียงเพ่ือตัดสินในประเด็น สาคัญประเด็นใดประเด็นหน่ึง อันเป็นกลไกหน่ึงที่ถือว่าเป็นเครื่องมือของระบอบประชาธิปไตยทางตรงท่ีทา ใหเ้ รื่องหรอื ปญั หาท่ีสาคัญ ๆ ไดก้ ลับไปสู่ประชาชนเพอ่ื ตดั สนิ ใจอกี ครงั้ หนง่ึ ๒) การเสนอร่างกฎหมายโดยประชาชน (Initiative Process) เป็นกลไกที่ใช้กัน อยา่ งแพร่หลายในหลายประเทศ เพ่ือเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนสามารถเสนอร่างกฎหมาย เพ่อื แก้ปัญหาให้ตรง

- ๓๓ - กับความต้องการของบางประเทศยงั ได้กาหนดให้ประชาชนเขา้ ชื่อกันเสนอแก้ไขรัฐธรรมนญู ได้ดว้ ยส่วนบุคคล ผู้มีสิทธิเข้าชื่อในการเสนอร่างกฎหมายหรือร่างรัฐธรรมนูญน้ัน รัฐธรรมนูญของทุกประเทศที่มีบทบัญญัติให้ ประชาชนเสนอร่างกฎหมายไดก้ าหนดไว้เปน็ อย่างเดียวกนั คอื จะต้องเปน็ ผ้มู ีสิทธอิ อกเสยี งเลอื กต้ัง ๓) การถอดถอนผู้แทน (Recall) เป็นการควบคุมการใช้อานาจของผู้แทนของ ประชาชนในการดารงตาแหน่งทางการเมืองแทนประชาชนหากปรากฏว่าผู้แทนของประชาชนใช้อานาจใน ฐานะตัวแทนมิใช่เป็นไปเพื่อหลักการที่ถูกต้อง หรือเพ่ือประโยชน์ส่วนรวมที่แท้จริง ในทางตรงกันข้ามกลับ เป็นการใช้อานาจโดยมิชอบ โดยทุจริต หรือเพ่ือประโยชน์ส่วนตัวเป็นหลัก ประชาชนผู้เป็นเจ้าของอานาจ อธิปไตยสามารถเรียกร้องอานาจท่ีได้รับมอบหมายไปนั้นกลับคืนมาโดยการถอดถอนหรือปลดออกจาก ตาแหนง่ ได้โดยไม่ตอ้ งรอจนกว่าจะมกี ารเลอื กต้งั ครั้งต่อไป ความหมายของการเข้าช่ือเสนอกฎหมาย การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย หรือ The initiative process คือ กระบวนการที่ให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในทางการเมือง โดยการที่ประชาชนจานวนหน่ึงซ่ึงมีเจตนารมณ์หรือความ ตอ้ งการเช่นเดียวกันเพ่ือที่จะให้มีกฎหมายหรือแก้ไขเปลย่ี นแปลงกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่งมาร่วมเข้าช่ือกัน การใหส้ ทิ ธปิ ระชาชนในการเสนอกฎหมาย เป็นกระบวนการท่ีเปิดโอกาสให้ประชาชนในฐานะเจ้าของอานาจ อธิปไตยได้เข้ามามีส่วนร่วมในการใช้อานาจดังกล่าวอย่างแท้จริง เป็นการให้สิทธิท่ีมากกว่าสิทธิเลือกต้ัง กล่าวคือเป็นการให้สิทธิท่ีจะกาหนดอนาคตในทางการเมืองของตนเองผ่านการเสนอกฎหมายเพื่อให้รัฐสภา พิจารณา โดยประเทศไทยเร่ิมนาเอาแนวความคิดท่ีให้ประชาชนมีสิทธิเข้าช่ือเสนอกฎหมาย (Initiative Process) มาใช้บังคับต้ังแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ เป็นต้นมา โดยมี เจตนารมณ์เพื่อเป็นการเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนไดเ้ ขา้ มามสี ่วนรว่ มในการขับเคล่ือนกลไกทางการเมือง

- ๓๔ - ๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณ าจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ สิทธิในการเข้ามามีส่วนร่วมทางการ เมืองการปกครองของประชาชน โดยการร่วมกัน เข้าช่ือเสนอกฎหมาย ได้รับการรับรองเป็นครั้งแรกใน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 170 ซึ่งกาหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกต้ังไม่ น้อยกว่า 50,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อ ประธานรฐั สภา เพื่อใหร้ ฐั สภาพิจารณากฎหมายตามที่ กาหนดในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพืน้ ฐานแหง่ รฐั “มาตรา 170 ผู้มีสิทธิเลือกต้ังไม่น้อยกว่า ห้าหมื่นคน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภา เพื่อให้รัฐสภาพจิ ารณากฎหมายตามที่กาหนดในหมวด 3 และหมวด 5 แห่งรฐั ธรรมนญู น้ี ค า ร้ อ ง ข อ ต า ม ว ร ร ค ห นึ่ ง ต้ อ ง จั ด ท า ร่ า ง พระราชบญั ญัติเสนอมาดว้ ย หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อ รวมท้ังการ ตรวจสอบให้เป็นไปตามทีก่ ฎหมายบญั ญตั ิ” จะเห็นได้ว่าสิทธิในการมีส่วนร่วมทางการ เมืองของประชาชนจะเกิดได้มีเง่ือนไขหรือหลักการ ตามที่รฐั ธรรมนญู กาหนด มไิ ดห้ มายความว่าประชาชน ค น ไ ท ย ทุ ก ค น มี สิ ท ธิ เข้ า ชื่ อ เส น อ ร่ า ง ก ฎ ห ม า ย ไ ด้ เนื่องจากรัฐธรรมนูญกาหนดหลักการสาคัญไว้ว่าต้อง เป็น “ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง” และต้องเป็นการเข้าชื่อ รว่ มกันจานวนไม่น้อยกว่า 50,000 คน ย่ิงไปกว่านั้น รัฐธรรมนูญกาหนดเงื่อนไขการใช้สิทธิและการมีส่วน ร่วม ไว้อีกห ลายป ระการเช่น เข้าช่ือเสน อร่าง พระราชบัญญัติได้เฉพาะเรื่องที่เก่ียวกับหมวด 3 คือ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐเท่าน้ัน รวมถึงต้องมีการจัดทาร่างพระราชบัญญัติเสนอไปพร้อมกับคาร้องของ ประชาชนผ้มู สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ดงั กล่าวดว้ ย

- ๓๕ - ๒) รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ ต่อมารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ได้ถูกยกเลิกไป โดยคาส่ังของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 และได้มีการจัดทารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซ่ึง ประกาศใช้เม่ือวันที่ 24 สิงหาคม 2550 ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฉบับน้ีก็มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการ เข้าชื่อเสนอกฎหมายไวเ้ ชน่ เดียวกัน โดยได้บัญญัติไว้ในมาตรา 163 ซ่ึงกาหนดให้ประชาชนผ้มู ีสิทธิเลือกต้ัง ไม่น้อยกว่า 10,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ตามท่ีกาหนดในหมวด 3 สิทธแิ ละเสรภี าพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพน้ื ฐานแห่งรฐั ตามรัฐธรรมนูญฉบับน้ีแนวคิดและหลักการให้ประชาชนมีสิทธิและมีส่วนร่วม ทางการเมืองโดยตรง ในการเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติต่อรัฐสภาน้ี ยังคงได้รับการรับรองยืนยันสิทธิ ดังกล่าวต่อเนื่องย่ิงไปกว่านั้น ยังมีการพัฒนาต่อยอดและเพ่ิมความสาคัญของการมีส่วนร่วมทางการเมือง โดยตรงของประชาชน โดยกาหนดไวเ้ ป็นหมวดท่ีว่าดว้ ยเร่ืองดังกลา่ วเป็นการเฉพาะ คอื หมวด 7 การมีส่วน ร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชนประกอบด้วยมาตรา 163 การเข้าช่ือเสนอร่างกฎหมาย มาตรา 164 การเข้าชื่อเสนอถอดถอนผู้ดารงตาแหนง่ ทางการเมอื งหรอื ผู้บริหารระดับสูงและมาตรา 165 การออก เสยี งประชามติ การพัฒนาและยกระดับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในยุคนี้ เป็น การพิจารณาทบทวนบทเรียนจากยุคแรก โดยมีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการมีส่วนร่วม ทางการเมืองโดยตรงให้เกิดขึ้นจริงในทางปฏิบัติ เพ่ิมมาตรการและกลไกในการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ สิทธิและการมีส่วนร่วมของประชาชนซ่ึงประชาชนได้รับรู้และตื่นตัวร่วมเข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติต่อ รฐั สภาจานวนมาก แตผ่ ลสมั ฤทธิใ์ นทางปฏบิ ตั ยิ ังน้อยอยมู่ าก หลักการเข้าช่ือเสนอร่างพระราชบัญญัติของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ตาม รฐั ธรรมนูญ มาตรา 163 เปน็ ดังนี้ (1) ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10,000 คน มีสิทธิเข้าช่ือร้องขอต่อประธาน รัฐสภา เพ่ือให้รฐั สภาพจิ ารณาร่างพระราชบัญญัติตามทก่ี าหนดในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพืน้ ฐานแห่งรฐั (2) ในการเสนอคาร้องขอดงั กล่าว ใหจ้ ัดทารา่ งพระราชบญั ญัตเิ สนอไปด้วย (3) ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต้องให้ ผู้แทนของประชาชน ผู้มีสิทธิเลือกต้ังที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นช้ีแจงหลักการของร่าง พระราชบัญญัติ และใหม้ ีผแู้ ทนรว่ มเป็นกรรมาธิการวสิ ามัญเพ่ือพิจารณาร่างพระราชบัญญัตดิ ังกล่าว จานวน ไมน่ ้อยกวา่ 1 ใน 3 ของจานวนกรรมาธกิ ารทงั้ หมดดว้ ย (4) หลักเกณฑ์และวิธีการเข้าช่ือรวมท้ังการตรวจสอบรายชื่อให้เป็นไปตามท่ี กฎหมายบญั ญตั ิ จะเห็นได้วา่ หลกั การตามขอ้ (1) ข้อ (2) และขอ้ (4) เป็นหลกั การเช่นเดยี วกับท่ี กาหนดไว้ในมาตรา 170 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 1540 แตกต่างกันก็แต่เพียง วา่ ลดจานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในการเข้าช่ือจาก 50,000 คน เหลือ 10,000 คน และในหมวด 3 สิทธิและ

- ๓๖ - เสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐน้ัน มีการปรับปรุงบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ และได้จัดแบง่ หมวดหมู่เพื่อให้ง่ายต่อความเขา้ ใจและการบังคับใช้ที่มีประสทิ ธิภาพยิ่งข้นึ สว่ นข้อ (3) นั้น เป็นหลกั การใหม่ ซึ่งกาหนดข้ึนเพ่อื เปน็ มาตรการส่งเสรมิ ให้การ มสี ่วนรว่ มในการเขา้ ช่อื เสนอกฎหมายของประชาชนบรรลุผลตามเจตนารมณข์ องรฐั ธรรมนญู มากท่สี ดุ นอกจากน้ี รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ยังไดบ้ ัญญัติ รับรองสิทธิของประชาชนในการเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญได้ โดยบัญญัติไว้ในมาตรา 291 ซ่ึงกาหนดให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกต้ังจานวนไม่น้อยกว่า 50,000 คน มีสิทธิในการเสนอญัตติขอแก้ไข เพิ่มเติมรัฐธรรมนูญได้ ส่วนหลักเกณฑ์และวิธีการดาเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าช่ือเสนอ กฎหมาย ๓) รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้ประกาศมผี ลใช้บงั คับ เม่ือวันที่ 6 เมษายน 2560 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีบทบัญญัติ เกี่ยวกับการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน คือ การเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามมาตรา 133 (3) การเขา้ ชอื่ เสนอญัตติขอแก้ไขเพม่ิ เตมิ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย ตามมาตรา 256 และยัง มีบทบัญญัติในหมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 77 ที่กาหนดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมใน กระบวนการตรากฎหมายด้วยการร่วมแสดงความคิดเห็น เสนอข้อเสนอแนะต่อประเด็นการรับฟังความ คิดเห็นในหลักการของร่างพระราชบัญญัติ หรือต่อตัวร่างพระราชบัญญัติก่อนเข้าสู่กระบวนการตรา พระราชบัญญัตินั้นอีกด้วย ซ่ึงการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ส่งผล ทาใหพ้ ระราชบัญญตั ิวา่ ด้วยการเข้าช่อื เสนอกฎหมาย พ.ศ. 2556 สิน้ ผลใช้บังคบั แม้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มิได้กาหนดเรื่องการ เข้าช่ือเสนอกฎหมายไว้เป็นมาตรา หรือหมวดเป็นการเฉพาะ แต่ได้บัญญัติไว้ในเรื่อง การเสนอร่าง พระราชบญั ญตั แิ ละการเสนอญตั ตขิ อแก้ไขเพ่มิ เติมรัฐธรรมนญู คือ 1. การเข้าชือ่ เสนอรา่ งพระราชบญั ญัติต่อสภาผแู้ ทนราษฎร มาตรา 133 ร่างพระราชบัญญัตใิ ห้เสนอต่อสภาผ้แู ทนราษฎรก่อน และจะเสนอ ไดก้ ็แตโ่ ดย (1) คณะรัฐมนตรี (2) สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรจานวนไมน่ อ้ ยกว่ายี่สิบคน (3) ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งหม่ืนคนเข้าช่ือเสนอกฎหมายตาม หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย หรือหมวด 5 หน้าท่ีของรัฐ ท้ังน้ี ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าช่ือ เสนอกฎหมาย 2. การเสนอญัตติขอแกไ้ ขเพิ่มเตมิ รฐั ธรรมนญู มาตรา 256 ภายใต้บังคบั มาตรา 255 การแก้ไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนญู ใหก้ ระทา ได้ตามหลักเกณฑ์และวิธกี าร ดังตอ่ ไปนี้

- ๓๗ - (1) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี หรือจากสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎรมีจานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าท่ีมีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรหรือจาก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาจานวนไม่น้อยกว่าหน่ึงในห้าของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าท่ีมี อยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกต้ังจานวนไม่น้อยกว่าห้าหมนื่ คนตามกฎหมายว่าด้วยการ เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (2) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพ่ิมเติม ต่อรัฐสภาและใหร้ ฐั สภาพิจารณาเปน็ สามวาระ สาหรับหลักเกณฑ์ วิธีการรวมทั้งการตรวจสอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย นั้นให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าช่ือเสนอกฎหมาย ซึ่งในขณะนี้มีพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อ เสนอกฎหมาย พ.ศ. 2556 ที่ยังมีผลใชบ้ งั คับอย่ซู ึง่ นามาใชป้ รบั ใช้เทา่ ทไี่ มข่ ัดหรอื แยง้ กับรฐั ธรรมนญู ๒.๑.๔ วิวัฒนาการรูปแบบการเข้าช่อื เสนอกฎหมาย รูปแบบของการเข้าช่ือเสนอกฎหมายเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดไว้ ในกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายแต่ละฉบับ ซ่ึงเม่ือเร่ิมมีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายคร้ังแรกใน ประเทศไทย กฎหมายว่าด้วยการเข้าช่ือเสนอกฎหมายท่ีตราข้ึนเพ่ือกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการการเข้าช่ือ เสนอกฎหมาย คอื พระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการเขา้ ช่ือเสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๔๒ และฉบับตอ่ ๆ มาที่ตราข้ึน เพอ่ื อนุวตั การรฐั ธรรมนญู แตล่ ะฉบับทีใ่ ชใ้ นขณะนัน้ ๑) พระราชบัญญัติว่าดว้ ยการเขา้ ช่ือเสนอกฎหมาย ๒๕๔๒ ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าช่ือเสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๔๒ กาหนดให้ การเข้าช่ือเสนอกฎหมาย ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายต้องกรอก แบบแสดงรายละเอียดเก่ียวกับชื่อ ท่ีอยู่ ลายมือ ชื่อของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. ๑) พร้อมท้ังแนบสาเนาทะเบียนบ้าน และสาเนาบัตรประจาตัว ประชาชนมาพร้อมดว้ ย ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย ๑ คน จะต้องมีเอกสารครบทั้ง ๓ อย่าง จึงจะถือว่าเป็นเอกสารประกอบการ เข้าชอ่ื เสนอกฎหมายท่ีถูกตอ้ งตามที่กฎหมายบัญญตั ิ สภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึนคือ ทาให้การเข้าช่ือเสนอกฎหมายเป็นไปด้วยความยากลาบาก นอกจากจานวน ผู้เข้าช่ือเสนอกฎหมายท่ีต้องมีจานวนมากแล้ว ประชาชนท่ีมีความสนใจจะเข้าร่วมการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย แต่ขาดโอกาสในการเข้าร่วมเสนอกฎหมายเน่ืองจากโดยปกติแล้วประชาชนไม่พกทะเบียนบ้านติดตัว เหมือนกับบตั รประจาตัวประชาชน

- ๓๘ - ๒) พระราชบัญญัติวา่ ดว้ ยการเขา้ ชือ่ เสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๖ จากปญั หาเรื่องทะเบยี นบ้านท่ีเกดิ ขึน้ ตามพระราชบัญญัติวา่ ด้วย การเข้าช่ือเสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๔๒ และจากการปฏิบัติงานของ สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ไม่ได้ใช้ทะเบียนบ้านในการ ตรวจสอบ เพราะตรวจสอบจากหมายเลขบัตรประจาตัวประชาชนจาก กรมการปกครอง ซึ่งสามารถใหข้ ้อมลู ความเป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ช่อื สกุล ท่ีอยทู่ เี่ ป็นปัจจุบัน ดังน้ัน ในชั้นการเสนอร่างพระราชบัญญัติและการพิจารณาของ รัฐสภาจึงได้ตัดการใช้ทะเบียนบ้านออกไปเพื่อเป็นการอานวยความ สะดวก ๓) ร่างพระราชบัญญัติการเข้าช่ือเสนอกฎหมาย พ.ศ. .... สภาพสังคมที่เปล่ียนแปลงไปประกอบกับการบริหารราชการยุคใหม่ที่ ไม่ให้ส่วนราชการเรียกรับสาเนาเอกสาร ประกอบกับตามแผน ยุทธศาสตร์และปฏิรูปประเทศมุ่งเน้นให้ภาครัฐมีการนาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในการอานวยความสะดวกในการให้บรกิ ารประชาชน ดังน้ัน ตามร่างพระราชบัญญัติการเข้าชื่อ เสนอกฎหมาย พ.ศ. .... จึงเป็นการจัดทากฎหมายในแนวทางใหม่คือจะ ไม่มีการใช้สาเนาบัตรประจาตัวประชาชนและให้นาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศที่สามารถยืนยันตัวตนและตรวจสอบความเป็นผู้มีสิทธิ เลือกต้ังได้ ๒.๑.๕ การเข้าช่ือเสนอกฎหมายด้วยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ในสหภาพยุโรป (EU) ได้มีการนาระบบการเข้าช่ือออนไลน์มาใช้ในการรวบรวม รายชื่อผู้สนับสนุนข้อเสนอของกลุ่มผู้ริเร่ิม เพ่ือเป็นการเปิดโอกาสให้พลเมืองของสหภาพยุโรปซึ่งอยู่ในพื้นท่ี หลายประเทศ สามารถเขา้ ช่ือได้โดยงา่ ย กระบวนการในการเข้าชื่อย่ืนข้อเสนอของสหภาพยุโรป คือ จะต้องมีผู้ริเริ่มในการ ยื่นข้อเสนอ จานวนอย่างน้อย ๗ คน ซึ่งแต่ละคนต้องอยู่ในประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปคนละประเทศกัน จากนั้นเม่ือรวบรวมได้แล้วให้ยื่นข้อเสนอต่อคณะเจ้าหน้าท่ีของสหภาพยุโรปก่อน เพ่ือพิจารณาข้อเสนอนั้น โดยคณะเจ้าหน้าที่มีระยะเวลาในการตรวจสอบข้อเสนอเป็นเวลา ๒ เดือน หากคณะเจ้าหน้าที่เห็นชอบจะ ประชาสมั พนั ธข์ อ้ เสนอนนั้ ทางเวบ็ ไซตข์ องสหภาพยุโรป

- ๓๙ - คณะผู้ริเร่ิมท่ีได้รับความ เห็นชอบให้ดาเนินการจัดให้มีการ เข้าชื่อเสนอสนับสนุนข้อเสนอแล้ว ต้องไปรวบรวมรายชื่อผู้สนับสนุน ใ ห้ ไ ด้ จ า น ว น ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า ๑ ,๐ ๐ ๐ ,๐ ๐ ๐ คน ภ ายใน ระยะเวลา ๑๒ เดือน โดยสามารถ ท่ีจะรวบรวมรายช่ือโดยการใช้ แ บ บ ฟ อ ร์ ม ก ร ะ ด า ษ ห รื อ ร ะ บ บ ออนไลน์กไ็ ด้ ใ น ส่ ว น ของระบบออนไลนน์ ้ัน คณะผู้ริเริ่มสามารถใชร้ ะบบออนไลน์ของสหภาพยุโรป หรือสรา้ งระบบออนไลน์ขึ้นมา เองก็ได้ เม่ือได้จานวนผู้สนับสนุนครบถ้วนแล้วให้นามาเสนอต่อคณะเจ้าหน้าท่ีของสหภาพยุโรป ต่อจากนั้น จะเชิญคณะผู้ริเริ่มมาใหค้ วามเห็นในข้อเสนอต่อคณะเจ้าหน้าท่ี และเปดิ ให้มีการอภิปรายข้อเสนอของผู้ริเร่ิม เป็นการทั่วในสภาสหภาพยุโรป หากสภาเห็นชอบกับข้อเสนอก็จะนาไปสู่การจัดทาเป็นร่างกฎหมายเพื่อ เสนอให้สภาสหภาพยโุ รปพิจารณาตอ่ ไป หรอื อาจออกเป็นมาตรการอื่นท่ีไมใ่ ช่กฎหมายเพื่อดาเนินการรองรับ ข้อเสนอทีไ่ ดร้ บั ความเหน็ ชอบแลว้ กไ็ ด้

- ๔๐ - ๒.๒ สภาพปัญหาและอุปสรรคในกระบวนการเขา้ ชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนและความ คาดหวังในอนาคต ๒.๒.๑ ความย่งุ ยากในการจัดให้มกี ารเขา้ ชอ่ื เสนอกฎหมายและรวบรวมเอกสาร ใน ก ารจั ด ให้ มี ก ารเข้ าชื่ อ เส น อ กฎหมายตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าช่ือเสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๔๒ หรือตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอ กฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๖ ผู้แทนการเสนอกฎหมาย หรือผู้ริเร่ิม นอกจากจะต้องจัดทาร่างพระราชบัญญัติด้วยตนเองแล้ว ยังมี หน้าที่ท่ีจะต้องประชาสัมพันธ์ เชิญชวน และจัดหาผู้สนับสนุน โดยการไปรวบรวมรายช่ือพร้อมเอกสารประกอบการเข้าช่ือ เสนอกฎหมายจากประชาชนดว้ ยตนเอง เอ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร เข้ า ชื่ อ เส น อ กฎหมายที่ผู้แทนการเสนอกฎหมายหรือผู้ริเริ่มจะต้องจัดให้ ประชาชนผู้ร่วมเสนอกฎหมายดาเนินการ ถ้าเป็นตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าช่ือเสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๔๒ คือ ๑. แบบแสดงรายละเอียดเก่ยี วกับชื่อ ท่อี ยู่ ลายมอื ชอื่ ของผู้ เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. ๑) ๒.สาเนาทะเบียนบ้าน และ ๓ . สาเนาบัตรประจาตัวป ระชาชน หรือถ้าตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๖ จะต้องมีเอกสารการลงลายมือชื่อและสาเนาบัตรประจาตัว ประชาชน ซ่ึงผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย ๑ คน จะต้องมีเอกสาร ครบ ท้ัง ๓ อย่างหรือ ๒ สอง จึงจะถือว่าเป็นเอกสาร ประกอบการเข้าช่ือเสนอกฎหมายที่ถูกต้องตามท่ีกฎหมาย บัญญัติ และต้องจัดให้มีจานวนท่ีรัฐธรรมนูญบัญญัติ คือ ไม่ น้อยกว่า ๑๐,๐๐๐ รายชื่อ และเมื่อรวบรวมเสร็จแล้วผู้แทน การเสนอกฎหมายหรือผู้รเิ ริ่มต้องนาเอกสารมาเสนอต่อประธานรฐั สภา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook