Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่3_การจัดหมู่หนังสือ

บทที่3_การจัดหมู่หนังสือ

Published by Kittaya Chansawang, 2020-06-03 07:32:39

Description: บทที่3_การจัดหมู่หนังสือ

Search

Read the Text Version

สารสนเทศเพอื่ การเรียนรู้ Information For Learning รหสั วิชา 3000 - 1607 ครูกฤตยา จนั ทรส์ ว่าง วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ

การจดั หมู่หนงั สือ

ความหมายของการจดั หมู่หนงั สือ การจัดหมู่หนังสือ หมายถึง การจัดเก็บหนังสือโดย พิจารณาจากเน้ ือหาสาระของหนังสือเป็ นสาคญั สญั ลกั ษณ์ ท่ีถูกกาหนดข้ ึนเป็ นเคร่ืองหมายบอกตาแหน่งของหนังสือ ในหอ้ งสมุด หนังสือที่มีเน้ ือหาเดียวกนั หรือคลา้ ยคลึงกัน จะมีสัญลักษณเ์ หมือนกัน และวางอยู่ในท่ีเดียวกัน ส่วน หนังสือท่ีมีเน้ ือหาเกี่ยวเน่ืองสัมพันธก์ ันจะมีสัญลักษณ์ ใกลเ้ คียงกนั และวางอยใู่ นตาแหน่งที่ไม่ไกลกนั

ประโยชนข์ องการจดั หมู่หนงั สอื 1. หนงั สือท่ีมีเน้ ือหาอยา่ งเดียวกนั หรอื มีเน้ ือเร่ืองคลา้ ยคลึงกนั จะอยใู่ น หมวดวิชาเดียวกนั 2. หนงั สือแตล่ ะเลม่ จะมีสญั ลกั ษณท์ ่ีเขา้ ใจงา่ ย แทนเน้ ือเรอ่ื งในแตล่ ะ หมวดหมู่และตาแหน่งการจดั วางบนช้นั หนงั สือที่แน่นอน 3. หนงั สอื ท่ีมีลกั ษณะคาประพนั ธอ์ ยา่ งเดียวกนั จะรวมอยู่ท่ีเดยี วกนั 4. ช่วยใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีหอ้ งสมุดจดั หนงั สือเขา้ ที่ไดถ้ กู ตอ้ งและรวดเรว็ 5. ทาใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถคน้ หาหนงั สอื ไดส้ ะดวกรวดเรว็ ประหยดั เวลา 6. ชว่ ยใหท้ ราบจานวนหนงั สือแตล่ ะหมวด ว่ามีจานวนมากนอ้ ยเพียงใด 7. ชว่ ยเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการสืบคน้ สารสนเทศในหอ้ งสมุด

ระบบการจดั หมู่หนงั สอื ทีน่ ิยมใชใ้ นปัจจบุ นั ระบบการจดั หมู่หนังสือมีหลายระบบ เป็ นระบบท่ีใชส้ ัญลักษณ์ แทนเน้ ือหาของหนังสือ สามารถแบ่งออกเป็ นหมวดใหญ่ และ หมวดย่อย ตามลาดบั การเลือกใชร้ ะบบการจดั หมวดหมู่ข้ ึนอยู่ กับประเภทของหอ้ งสมุด และระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือที่ ห ้อ ง ส มุ ด ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ท่ี นิ ย ม ใ ช ้กั น อ ย่ า ง แพร่หลาย มี 2 ระบบ ไดแ้ ก่ ระบบหอสมุดรฐั สภาอเมริกัน และ ระบบทศนิยมของดวิ อ้ ี คลิกดูขอ้ มูลเพม่ิ เติมหอสมุด คลิกดูเว็บไซตห์ อสมุด รฐั สภาอเมริกนั เพม่ิ เติมไดท้ ี่นี่ รฐั สภาอเมริกนั เพม่ิ เติมไดท้ ่ีนี่

การจดั หมู่หนังสือระบบหอสมุดรฐั สภาอเมริกนั ระบบหอสมุดรฐั สภาอเมริกนั เรียกยอ่ ๆ ว่า ระบบหอสมุดรฐั สภา หรือ ระบบแอล.ซี. (L.C.) เป็ นระบบท่ีใชส้ ญั ลกั ษณต์ วั อกั ษรโรมนั และ ตวั เลขอารบิกแทนเน้ ือหาของหนังสือ ซึ่งจะใชต้ วั อกั ษรตวั พิมพใ์ หญ่ ต้งั แต่ A–Z และเลขอารบิก 1– 9999 ยกเวน้ I, O, W, X, Y มีเวน้ ไว้ สาหรบั เน้ ือหาความรูใ้ หม่ๆ ที่จะเกิดข้ ึนในอนาคต แบ่งเป็ น 20 หมวด หลกั จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดย่อย คิดคน้ โดย ดร.เฮอรเ์ บิรต์ พตั นัม (Dr.Herbert Putnum) ชาวอเมริกนั เป็ นบรรณารกั ษข์ องหอสมุดรฐั สภา อเมริกนั เมื่อปี ค.ศ.1899

การจดั หมู่หนงั สือระบบหอสมุดรฐั สภาอเมริกนั การแบง่ คร้งั ที่ 1 หรือหมวดใหญ่ คือ แบง่ เน้ ือหาวิชาเป็ น 20 หมวดใหญ่ ดงั น้ ี A หนงั สอื อา้ งองิ ทวั ่ ไป หนงั สือพิมพ์ วารสาร สิ่งพมิ พข์ องสมาคม B ปรชั ญา ตรรกวิทยา จติ วิทยา สุนทรยี ศาสตร์ C ประวตั อิ ารยธรรม โบราณคดี จดหมายเหตุ พงศาวดาร D ประวตั ศิ าสตรท์ วั ่ ไป ประวตั ศิ าสตรโ์ ลกตะวนั ออก E-F ประวตั ศิ าสตร์ ภมู ิศาสตรก์ ารทอ่ งเทีย่ ว G ภมู ิศาสตรท์ วั ่ ไป มานุษยวิทยาและการบนั เทิง H สงั คมศาสตร์ J รฐั ศาสตร์ การเมือง การปกครอง K กฎหมาย

การจดั หมู่หนงั สือระบบหอสมุดรฐั สภาอเมรกิ นั L การศึกษา M การดนตรี N ศิลปกรรม P ภาษาและวรรณคดี Q วิทยาศาสตรท์ วั ่ ไป คณิตศาสตร์ R แพทยศาสตร์ S เกษตรกรรม การเล้ ียงสตั ว์ การประมง T เทคโนโลยี U ยทุ ธศาสตร์ V นาวิกศาสตร์ Z บรรณานุกรม และบรรณารกั ษศาสตร์

การจดั หมู่หนังสอื ระบบหอสมุดรฐั สภาอเมรกิ นั การแบง่ คร้งั ท่ี 2 หรอื หมวดยอ่ ย คือ แบ่งแตล่ ะหมวดใหญอ่ อกเป็ นหมวดยอ่ ย โดยใชต้ วั อกั ษรโรมนั ตวั ใหญส่ องตวั แทนเน้ ือหาของหนงั สือ ยกเวน้ หมวด E-F หมวด K และหมวด Z เชน่ หมวด A แบง่ เป็ นหมวดยอ่ ย ดงั น้ ี AC รวมบทนิพนธ์ รวมเร่ือง หนงั สือชุด AF สารานุกรม AG พจนานุกรม และหนงั สืออา้ งอิงทวั ่ ไป AM พิพิธภณั ฑสถาน นกั สะสมและการเก็บรวบรวม AN หนงั สอื พิมพ์ AP วารสาร AS สถาบนั และสมาคมทางวิชาการ AY หนงั สือรายปี สมพตั สร นามานุกรม AZ ประวตั ขิ องนกั วิชาการ ทนุ การศึกษาและการเรียนรู้

การจดั หมู่หนังสอื ระบบหอสมุดรฐั สภาอเมริกนั การแบง่ คร้งั ที่ 3 หรือหมู่ยอ่ ย โดยวิธีการเติมตวั เลขอารบิก ตง้ั แต่ 1-9999 เชน่ วารสาร PN วารสารสากล PN1 วารสารอเมรกิ นั และองั กฤษ PN2 ประวตั แิ ละวิจารณ์ PN86 ผแู้ ตง่ อเมริกนั องั กฤษ PN101

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบหอสมุดรฐั สภาอเมรกิ นั การแบ่งคร้งั ที่ 4 หรือจุดทศนิยม โดยใชจ้ ุดคัน่ และตามดว้ ยตวั อักษร และตวั เลขเพ่ือแสดงรายละเอียดหมวดเรื่อง หรือรูปแบบ หรือประเทศ เชน่ เทคโนโลยี T คหกรรมศาสตร์ TX อาหารและโภชนาการ TX36 อาหารและโภชนาการของเฉพาะกลมุ่ คน TX361 อาหารและโภชนาการของผสู้ ูงอายุ TX361.A3 อาหารและโภชนาการของเดก็ TX361.C5

การจดั หมู่หนงั สือระบบทศนิยมของดิวอ้ ี ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี นิยมเรียกส้ัน ๆ ว่า ระบบ D.D.C. หรือ (Dewey Decimal Classification) เป็ นระบบการจดั หมวดหมู่หนงั สือ ที่ใชส้ ญั ลกั ษณต์ วั เลขอารบิกแทนเน้ ือหาของหนังสือ โดย เมลวิล ดิวอ้ ี (Melvil Dewey) ชาวอเมริกนั เป็ นผคู้ ิดคน้ การจดั หมู่ระบบน้ ีข้ ึน ขณะท่ี เป็ นนักศึกษาและผูช้ ่วยบรรณารักษ์ อยู่ท่ีมหาวิทยาลัยแอมเฮอรต์ รฐั แมสซาซูเสตส์ ประเทศสหรฐั อเมริกา

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี เมลวิล ดิวอ้ ี (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค. ศ .1851 เป็ นผู้คิ ด ค้น ร ะบ บ การ จัด ห มู่ ห นัง สือ แบบทศนิยมข้ ึน ยังเป็ นผู้หน่ึงท่ีริเร่ิมก่อต้ังสมาคม ห้องสมุดอเมริกัน ซ่ึงเป็ นสมาคมอาชีพบรรณารักษ์ แห่งแรกในโลก เม่ือเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1976 ยงั เป็ น ผู้จัดต้ังโรงเรียนบรรณารักษศาสตร์แห่งแรกข้ ึนท่ี มหาวิทยาลยั โคลมั เบียนิวยอรก์ เมื่อ ค.ศ. 1887 เร่ิมพิมพ์ หนังสือการจดั หมวดหมู่คร้งั แรกเมื่อปี ค.ศ. 1876 ดิวอ้ ี เป็ นผู้ริเริ่มการจัดกิจกรรมใหม่ๆ ในวงการวิชาชีพ บรรณารกั ษศาสตร์ ดิวอ้ ีถึงแก่กรรมเม่ือวนั ท่ี 26 ธนั วาคม ค.ศ.1931

การจดั หมู่หนงั สือระบบทศนิยมของดิวอ้ ี ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี (Dewey Decimal Classification) เป็ นระบบการ จัดหมู่หนังสือที่ใช้สัญลักษณ์แทนเน้ ือหาหนังสือเป็ นตัวเลขอารบิกและ ทศนิยม การแบ่งประเภทของหนังสือเป็ น 10 หมวดใหญ่ และจากหมวดใหญ่ แต่ละหมวดแบ่งย่อยออกไปอีก 10 หมวดย่อย แต่ละหมวดย่อยแบ่งเป็ น 10 หมู่ยอ่ ย ซ่ึงสามารถจดจาไดง้ า่ ย นิยมใชก้ นั ทวั ่ โลก โดยแบ่งไดด้ งั น้ ี การแบง่ หมู่คร้งั ที่ 1 ใชต้ วั เลขหลกั รอ้ ยเป็ นสญั ลกั ษณแ์ ทนเน้ ือหาวิชา การแบง่ หมู่คร้งั ที่ 2 ใชต้ วั เลขหลกั สิบเป็ นสญั ลกั ษณแ์ ทนเน้ ือหาวิชา การแบง่ หมู่ครง้ั ที่ 3 ใชต้ วั เลขหลกั หน่วยเป็ นสญั ลกั ษณแ์ ทนเน้ ือหาวิชา

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดวิ อ้ ี การแบง่ หมู่ คร้งั ที่ 1 แบ่งหนงั สอื ออกเป็ นหมวดใหญ่ 10 หมวด โดยใชต้ วั เลข หลกั รอ้ ยแทนเน้ ือหาวิชา 000 เบ็ดเตล็ด ความรูท้ วั ่ ไป (General) 100 ปรชั ญา (Philosophy) จติ วิทยา (Psychology) 200 ศาสนา (Religion) 300 สงั คมศาสตร์ (Social Science) 400 ภาษา (Language) 500 วิทยาศาสตรบ์ ริสุทธิ์ (Pure Science) คณิตศาสตร์ (Match) 600 วิทยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ (Applied Science) เทคโนโลยี (Technology) 700 ศิลปะและการบนั เทิง (Art and Recreation ) 800 วรรณคดี (Literature) 900 ประวตั ศิ าสตร์ (History) ภูมิศาสตร์ (Geography)

การจดั หมู่หนงั สือระบบทศนิยมของดิวอ้ ี 000 เบ็ดเตล็ด ความรูท้ วั ่ ไป คอมพวิ เตอร์ การอา่ น วารสารศาสตร์ สารนิเทศศาสตร์ 100 ปรชั ญา จติ วิทยา ตรรกศาสตร์ จรยิ ศาสตร์ ศีลธรรม 200 ศาสนา 300 สงั คมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รฐั ศาสตร์ การเมือง การปกครอง กฎหมาย การคมนาคม การบรหิ ารรฐั กิจ การทหาร การศึกษา การสอ่ื สาร 400 ภาษา 500 วิทยาศาสตรบ์ รสิ ุทธิ์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ พฤกษศาสตร์ ธรรมชาตวิ ิทยา ฟิ สกิ ส์ เคมี ชีววิทยา 600 วิทยาศาสตรป์ ระยุกต์ เทคโนโลยี แพทยศ์ าสตร์ คหกรรมศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การจดั การธุรกิจ 700 ศลิ ปะและการบนั เทงิ วิจติ รศิลป์ มณั ฑนศิลป์ นันทนาการ การถา่ ยภาพ ดนตรี กีฬา 800 วรรณคดี วรรณกรรม 900 ประวตั ศิ าสตร์ ภมู ิศาสตร์ ชีวประวตั ิ แผนทแี่ ละการทอ่ งเท่ียว

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี การแบง่ หมู่ ครง้ั ท่ี 2 แบ่งหนงั สอื ออกเป็ นหมวดใหญ่ 10 หมู่ยอ่ ย โดยใชต้ วั เลข หลกั สิบแทนเน้ ือหาวิชา หมวด 000 เบ็ดเตล็ด ความรูท้ วั ่ ไป 010 บรรณานุกรม 020 บรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารนิเทศศาสตร์ 030 สารานุกรม หนงั สอื รวบรวมความรูท้ วั ่ ไป 040 (ไม่ไดก้ าหนดใช)้ 050 สงิ่ พมิ พต์ อ่ เน่ือง วารสาร และดรรชนีของส่ิงพิมพ์ 060 องคก์ ารตา่ งๆ และพิพิธภณั ฑว์ ิทยา 070 วารสารศาสตร์ การพมิ พ์ 080 ชุมนุมนิพนธ์ รวมเรอ่ื งทวั ่ ไป 090 หนงั สือหายาก และหนงั สอื ตน้ ฉบบั ตวั เขียน

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี ตวั อยา่ งหนงั สือ หมวด 000

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดวิ อ้ ี หมวด 100 ปรชั ญา จติ วิทยา 110 อภิปรชั ญา 120 ทฤษฎีของอภิปรชั ญา ทฤษฎีแห่งความรู้ ความเป็ นมนุษย์ 130 จติ วิทยานามธรรม 140 ความคิดทางปรชั ญาเฉพาะกลมุ่ 150 จติ วิทยา 160 ตรรกวิทยา 170 จรยิ ศาสตร์ จริยธรรม ศีลธรรม 180 ปรชั ญาตะวนั ออก ปรชั ญาโบราณ ปรชั ญาสมยั กลาง 190 ปรชั ญาตะวนั ตกสมยั ปัจจบุ นั

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี ตวั อยา่ งหนงั สือ หมวด 100

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดวิ อ้ ี หมวด 200 ศาสนา 210 ศาสนาธรรมชาติ 220 คมั ภีรไ์ บเบิล 230 เทววิทยาตามแนวคริสตศ์ าสนา 240 ศีลธรรมของชาวคริสเตยี น 250 ระเบียบแบบแผนของศาสนาครสิ ต์ 260 สงั คมของชาวคริสต์ และศาสนศาสตร์ 270 ประวตั ิศาสนาคริสต์ 280 นิกายตา่ งๆ ในศาสนาคริสต์ 290 ศาสนาเปรยี บเทียบ และศาสนาอ่ืน ๆ

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี ตวั อยา่ งหนงั สือ หมวด 200

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดวิ อ้ ี หมวด 300 สงั คมศาสตร์ 310 สถิตทิ วั ่ ไป 320 รฐั ศาสตร์ 330 เศรษฐศาสตร์ 340 กฎหมาย 350 รฐั ประศาสนศาสตร์ การบรหิ ารรฐั กิจ การบริหารกองทพั 360 ปัญหาสงั คม สวสั ดิภาพสงั คม การบริหารสงั คม 370 การศึกษา 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนสง่ 390 ขนบธรรมเนียมประเพณี คตชิ นวิทยา

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี ตวั อยา่ งหนงั สือ หมวด 300

การจดั หมู่หนงั สือระบบทศนิยมของดวิ อ้ ี หมวด 400 ภาษา 410 ภาษาเปรยี บเทียบ 420 ภาษาองั กฤษ 430 ภาษาเยอรมนั และภาษาในกลมุ่ เยอรมนั 440 ภาษาฝรงั ่ เศส 450 ภาษาอิตาเลียน ภาษารูมาเนียน 460 ภาษาสเปนและภาษาโปรตเุ กส 470 ภาษาละตนิ 480 ภาษากรีก และกลมุ่ ภาษากรีก 490 ภาษาอื่นๆ

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี ตวั อยา่ งหนงั สือ หมวด 400

การจดั หมู่หนงั สือระบบทศนิยมของดวิ อ้ ี หมวด 500 วิทยาศาสตรบ์ ริสุทธิ์ คณิตศาสตร์ 510 คณิตศาสตร์ 520 ดาราศาสตร์ 530 ฟิ สกิ ส์ 540 เคมี 550 ธรณีวิทยา เรอื่ งราวเกี่ยวกบั โลก 560 ชีวิตโบราณศึกษา บรรพชีวินวิทยา 570 วิทยาศาสตรข์ องสง่ิ มีชีวิต 580 วิทยาศาสตรเ์ ก่ียวกบั พืช (พฤกษศาสตร)์ 590 วิทยาศาสตรเ์ ก่ียวกบั พืช (สตั วศาสตร)์

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี ตวั อยา่ งหนงั สือ หมวด 500

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี หมวด 600 วิทยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ เทคโนโลยี 610 แพทยศาสตร์ 620 วิศวกรรมศาสตร์ 630 เกษตรศาสตร์ 640 คหกรรมศาสตร์ และชีวิตครอบครวั 650 ธุรกิจและการจดั การธุรกิจ 660 วิศวกรรมเคมีและเทคโนโลยีท่ีเก่ียวขอ้ ง 670 โรงงานอตุ สาหกรรม ผลิตภณั ฑจ์ ากโรงงาน 680 โรงงานผลิตสินคา้ เบ็ดเตล็ดอน่ื ๆ 690 การกอ่ สรา้ งและวสั ดกุ ่อสรา้ ง

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี ตวั อยา่ งหนงั สือ หมวด 600

การจดั หมู่หนงั สือระบบทศนิยมของดวิ อ้ ี หมวด 700 ศิลปะการบนั เทิง วิจติ รศิลป์ มณั ฑณศิลป์ 710 ภมู ิสถาปัตย์ การออกแบบพ้ ืนที่ 720 สถาปัตยกรรม 730 ประตมิ ากรรมและศิลปกรรมพลาสตกิ 740 มณั ฑนศิลป์ การวาดเขียน และศิลปะตกแตง่ 750 จติ รกรรม 760 ศิลปะการพมิ พ์ ศิลปะกราฟิ ก 770 การถา่ ยภาพ 780 ดนตรี 790 นนั ทนาการ ศิลปะการแสดงการกีฬา

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี ตวั อยา่ งหนงั สือ หมวด 700

การจดั หมู่หนงั สือระบบทศนิยมของดิวอ้ ี หมวด 800 วรรณคดี 810 วรรณคดอี เมริกนั 820 วรรณคดอี งั กฤษ 830 วรรณคดเี ยอรมนั 840 วรรณคดีฝรงั ่ เศส 850 วรรณคดอี ิตาเลียน 860 วรรณคดีสเปนและโปรตเุ กส 870 วรรณคดลี ะตนิ 880 วรรณคดกี รกี 890 วรรณคดีอื่นๆ

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี ตวั อยา่ งหนงั สือ หมวด 800

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดวิ อ้ ี หมวด 900 ประวตั ศิ าสตร์ ภูมิศาสตร์ 910 ภมู ิศาสตรแ์ ละการทอ่ งเท่ียว 920 ชีวประวตั ิ ประวตั บิ ุคคล 930 ประวตั ศิ าสตรโ์ ลกโบราณ 940 ประวตั ศิ าสตรย์ ุโรป 950 ประวตั ศิ าสตรเ์ อเชีย 960 ประวตั ศิ าสตรแ์ อฟรกิ า 970 ประวตั ศิ าสตรอ์ เมรกิ าเหนือ 980 ประวตั ศิ าสตรอ์ เมรกิ าใต้ 990 ประวตั ศิ าสตรส์ ว่ นอ่ืนๆ ของโลกและบรเิ วณนอกโลก

การจดั หมู่หนงั สอื ระบบทศนิยมของดิวอ้ ี ตวั อยา่ งหนงั สือ หมวด 900

การจดั หมู่หนงั สือระบบทศนิยมของดวิ อ้ ี การแบง่ ครง้ั ที่ 3 แตล่ ะหมวดยอ่ ยสามารถแบ่งออกไดอ้ ีก 10 หมู่ยอ่ ย ตวั อยา่ งเชน่ หมวด 950 ประวตั ศิ าสตรเ์ อเชียทวั ่ ไป 951 ประวตั ิศาสตรจ์ นี 952 ประวตั ิศาสตรญ์ ่ีป่ ุน 953 ประวตั ิศาสตรป์ ระเทศซาอุดอิ าระเบีย 954 ประวตั ิศาสตรป์ ระเทศอินเดยี 955 ประวตั ศิ าสตรป์ ระเทศอิหรา่ น 956 ประวตั ศิ าสตรก์ ลมุ่ ประเทศตะวนั ออกไกล 957 ประวตั ศิ าสตรร์ สั เซียในเอเชีย 958 ประวตั ิศาสตรป์ ระเทศกลางทวีปเอเชีย 959 ประวตั ิศาสตรป์ ระเทศในแหลมอินโดจนี

การจดั หมู่หนงั สือระบบทศนิยมของดิวอ้ ี นอกจากการแบ่งหมวดหมู่ออกเป็ น 3 หมวดยอ่ ยแลว้ ยงั แบ่งยอ่ ยละเอียด และคนั ่ ดว้ ยจดุ ทศนิยม ตวั อยา่ งเช่น หมวด 400 ภาษา 400 ภาษา 490 ภาษาอน่ื ๆ 495 ภาษาตะวนั ออก 495.9 ภาษาอืน่ ๆ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ 495.91 ภาษาไทย 495.911 ภาษาพดู ภาษาเขียนมาตรฐานของไทย 495.9115 สทั ศาสตรภ์ าษาไทย การออกเสียงคา 495.91152 การสะกดการนั ตค์ าภาษาไทย 495.918 การใชภ้ าษาไทย ใชค้ า การเลอื กคาใชต้ ามตอ้ งการ 495.9181 แบบเรยี นภาษาไทยระดบั อนุบาล

การจดั หมู่หนงั สือระบบทศนิยมของดวิ อ้ ี สญั ลกั ษณแ์ ทนหนงั สอื ลกั ษณะพเิ ศษ หนังสือบางประเภทที่มีลักษณะพิเศษ เช่น หนังสืออา้ งอิง หนังสือนวนิยาย เร่ืองส้ัน หนังสือสาหรบั เด็กและเยาวชน จะกาหนดสัญลักษณใ์ นรูปของ อักษรย่อแทนประเภทของหนังสือ โดยสัญลักษณ์น้ ีจะปรากฏอยู่เหนือ เลขหมู่หนงั สือ หรอื แทนตาแหน่งเลขหมู่หนงั สอื ตวั อยา่ งเชน่ นวนิยายภาษาไทย ใชส้ ญั ลกั ษณ์ น เรอื่ งส้นั ภาษาไทย ใชส้ ญั ลกั ษณ์ รส หนงั สอื อา้ งอิงภาษาไทย ใชส้ ญั ลกั ษณ์ อ รายงานการวิจยั ภาษาไทย ใชส้ ญั ลกั ษณ์ วจ วิทยานิพนธภ์ าษาไทย ใชส้ ญั ลกั ษณ์ วพ

การจดั หมู่หนงั สือระบบทศนิยมของดวิ อ้ ี ตวั อยา่ งหนังสือลกั ษณะพิเศษ

เลขเรยี กหนงั สือ เลขเรียกหนังสือ (Call Number) หมายถึง สัญลักษณ์ที่ หอ้ งสมุดกาหนดข้ ึนใชแ้ ทนหนังสือแต่ละเล่ม เลขเรียก หนังสือประกอบดว้ ย เลขหมู่หนังสือ อกั ษรชื่อผูแ้ ต่ง เลขผู้ แต่ง และอักษรชื่อเรื่อง ในบางกรณีอาจมีสัญลักษณอ์ ื่น เพ่ิมข้ ึน เช่น เพิ่มเคร่ืองหมาย อักษรย่อ ตวั เลขแสดงปี ท่ี พิมพ์ เพื่อแสดงว่าหนงั สอื เลม่ น้ ีแตกตา่ งจากเลม่ อนื่

เลขเรยี กหนงั สือ ส่วนประกอบของเลขเรียกหนงั สือ 1. เลขหมู่หนังสือ (Classification Number) เป็ นสญั ลกั ษณท์ ่ีกาหนดข้ ึน เพื่อแสดงเน้ ือหาสาระของหนงั สือ 2. อกั ษรช่ือผแู้ ตง่ เป็ นสญั ลกั ษณท์ ี่ใชอ้ กั ษรตวั แรกของช่ือผแู้ ตง่ หนงั สือ 3. เลขผู้แต่งหรือรหัสผู้แต่ง (Author Number) กาหนดมาจากชื่อและ นามสกุลของผูแ้ ต่งหนังสือ เรียงตามลาดับพยญั ชนะท้ังภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษ 4. อักษรช่ือเร่ือง (Work mark) เป็ นสัญลักษณ์ท่ีใชอ้ ักษรตัวแรกของช่ือ หนงั สือ

เลขเรียกหนงั สือ ตวั อยา่ งเลขเรยี กหนังสือภาษาไทย หนงั สือชื่อเรอ่ื ง การใชห้ อ้ งสมุดยคุ ใหม่ แตง่ โดย น้าทิพย์ วิภาวิน 025.56 เลขหมู่หนงั สือ อกั ษรตวั แรกช่ือผแู้ ตง่ น522ก (น้าทิพย์ วิภาวิน) อกั ษรตวั แรกชื่อเร่อื ง ฉ.2 (การใชห้ อ้ งสมุดยุคใหม่) เครอ่ื งหมายบอกว่า หลายฉบบั (ฉบบั ท่ี) เลขผแู้ ตง่ หรือรหสั ผแู้ ตง่

เลขเรยี กหนงั สือ สญั ลกั ษณแ์ ทนเลขเรียกหนังสือ อาจจะมีสญั ลกั ษณอ์ ย่างอื่นเพ่ิมเติม ไดอ้ ีก เชน่ 1. กรณีหนังสือเรื่องเดียวกันแต่มีหลายฉบับซ้ากัน หนังสือภาษาไทย มักจะใช้ ฉ. ตามดว้ ยตวั เลขอารบิค ตามจานวนเล่มท่ีซ้าเช่น ฉ.2 ฉ.3 และถา้ เป็ นภาษาองั กฤษ ใช้ C. (Copies) ตามดว้ ยตวั เลขอารบิค ตาม จานวนเลม่ ที่ซ้าในหนงั สือภาษาองั กฤษ เชน่ C.2, C.3 2. กรณีหนงั สือเรื่องเดยี วกนั แตม่ ีหลายเลม่ ตอ่ กนั หนงั สอื ภาษาไทย มกั จะ ใช้ ล. ตามดว้ ยเลขอารบิค ตามลาดบั เล่มต้งั แตเ่ ล่มที่ 1 เป็ นตน้ ไป เช่น ล.1 ล.2 ล.3 และถา้ เป็ นภาษาองั กฤษใช้ V. (Volumes) ตามดว้ ยเลข โรมันหรือเลขอารบิคตามลาดบั เล่ม เช่น V.1, V.2, V.3 หรือ V.l, V.ll, V.lll

เลขเรยี กหนงั สือ ตวั อยา่ งเลขเรียกหนังสอื อา้ งอิงภาษาไทย หนงั สืออา้ งอิงชื่อเรื่อง สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชน เล่ม 3 แตง่ โดย โครงการสารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชน หนงั สืออา้ งอิง อ. 039.95911 เลขหมู่หนงั สอื อกั ษรตวั แรกชื่อผแู้ ตง่ ค691ส อกั ษรตวั แรกช่ือเรอ่ื ง เครอ่ื งหมายบอกว่า ล.3 เลขผแู้ ตง่ หรอื รหสั ผแู้ ตง่ หลายเลม่ (เลม่ ที่)

การจดั เก็บและเรียงทรพั ยากรสารสนเทศ 1. การจัดเรียงหนังสือบนช้ัน แยกหนังสือท่ีประเภทเดียวกันออกเป็ นกลุ่ม เรยี งตามลาดบั สญั ลกั ษณท์ ี่ใชแ้ ทนเน้ ือหาหนงั สือ 2. การจดั เก็บวารสาร จดั เรยี งไวต้ ามลาดบั ตวั อกั ษรช่ือวารสาร 3. การจดั เก็บจุลสารและกฤตภาค จะจดั แบ่งออกเป็ นเรื่องๆ โดยบรรณารกั ษ์ กาหนดหัวเรื่องใหจ้ ุลสารและกฤตภาคแต่ละชื่อเรื่อง เก็บเรียงใส่แฟ้มตาม หวั เรอ่ื งและ จดั เรยี งแฟ้มท้งั หมดตามลาดบั ตวั อกั ษร 4. การจดั เก็บวสั ดุไม่ตีพิมพป์ ระเภทส่ือโสตทศั น์ จดั เรียงตามลาดบั เลขทะเบียน ของสื่อโสตทศั นแ์ ต่ละประเภท เรียงจากนอ้ ยไปหามาก กาหนดใชอ้ กั ษรโรมัน ตัวใหญ่หรืออักษรย่อ และเลขทะเบียนเป็ นสัญลักษณแ์ ทนวัสดุแต่ละช้ ิน และจดั หมวดหมู่วสั ดไุ ม่ตพี มิ พเ์ ชน่ เดียวกนั การจดั หมวดหมู่หนงั สอื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook