Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

Published by suparakdankasai, 2020-12-24 08:05:43

Description: คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

Search

Read the Text Version

คำยืมภำษำต่ำงประเทศทม่ี ใี ช้ในภำษำไทย มาเริ่มเรยี น กันเลยจา้ ครูสภุ ารกั ษ์ แดนกาไสย

สาเหตุท่ภี าษาตา่ งประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย ๑. ด้ำนสภาพภูมิศาสตร์ คือ ประเทศไทยมีอาณา เขตติดต่อกับประเทศต่าง ๆ ได้แก่ พม่า ลาว เขมร มาเลเซีย จึงทาให้คนไทยที่อยู่อาศัยบริเวณชายแดน เดินทางข้ามแดนไปมาหาสู่กันและมีความเก่ียวข้องสัมพันธ์ กัน จึงมีการแลกเปล่ียนภาษากัน เช่น คนไทยท่ีอยู่ใน จงั หวัดสุรินทร์ ศรษี ะเกษ บุรีรัมย์ ก็จะสามารถส่ือสารด้วย ภาษาเขมรได้ คนไทยที่อยู่ในจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา รับเอาภาษามาลายูเขา้ มาใช้ เปน็ ต้น

สาเหตุทภี่ าษาตา่ งประเทศเขา้ มาปะปนในภาษาไทย ๒. ด้านประวัติศาสตร์ คือ ชนชาติไทยเป็นชน ชาติท่ีมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน มีการอพยพ โยกย้ายของคนไทยเข้ามาอยู่ในถ่ินอาศัยปัจจุบัน ซึ่ง แต่เดิมมีชนชาติอ่ืนอาศัยอยู่ก่อน เช่น เขมร ละว้า มอญ หรือมีการทาศึกสงครามกับชนชาติอื่น มีการ กวาดต้อนเชลยศึกและประชาชน พลเมืองชนชาติอ่ืน ๆ ให้มาอาศัยอยู่ในประเทศไทย ผู้คนเหล่าน้ีได้นา ถ้อยคาภาษาเดิมของตนเองมาใช้ปะปนกับภาษาไทย ด้วย

สาเหตุท่ีภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย ๓. ด้านศาสนา คือ คนไทยมีเสรีภาพในการนับ ถือศาสนามาเป็นเวลาช้านาน เม่ือนับถือศาสนาใดก็ย่อม ได้รับถ้อยคาภาษาท่ีใช้ในคาสอน หรือคาเรียกชื่อต่าง ๆ ในทางศาสนาของศาสนาน้ัน ๆ มาปะปนอยู่ในภาษาไทย ด้วย เช่น ศาสนาพราหมณใ์ ช้ภาษาสันสกฤต ศาสนาพุทธ ใช้ภาษาบาลี ศาสนาอิสลามใช้ภาษาอาหรับ และศาสนา คริสต์ใช้ภาษาอังกฤษ ดังน้ันภาษาต่าง ๆ ที่ใช้ ในทาง ศาสนาก็จะเข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วย

สาเหตุท่ภี าษาตา่ งประเทศเขา้ มาปะปนในภาษาไทย ๔. ด้านการค้าขาย จากหลักฐานทางด้าน ประวัติศาสตร์ ชนชาติไทยมีการติดต่อค้าขาย แลกเปล่ียนสินค้ากับชนชาติต่าง ๆ มาเป็นเวลาอัน ยาวนาน เช่น ชาวจีน ชาวโปรตุเกส ฝร่ังเศส อังกฤษ ฮอลันดา ตลอดถึงญี่ปุ่น ทาให้มีถ้อยคาในภาษาของชน ชาตนิ ้นั ๆ เขา้ มาปะปนอย่ใู นภาษาไทยเปน็ จานวนมาก

สาเหตุทีภ่ าษาตา่ งประเทศเขา้ มาปะปนในภาษาไทย ๕. ด้านวรรณคดี วรรณคดีอินเดียที่ไทย นาเข้ามา เช่น เรื่องมหากาพย์รามายณะ และ มหาภารตะ แต่งขึ้นเป็นภาษาสันสกฤต อิเหนา เป็นวรรณคดีที่มีเค้าเรื่องมาจากเร่ืองดาหลังของ ชวา ด้วยเหตุน้ีวรรณคดีทาให้ภาษาสันสกฤตและ ภาษาชวาเขา้ มาปะปนในภาษาไทย

สาเหตุท่ภี าษาตา่ งประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย ๖. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและ ประเพณี เม่ือชนชาติต่างๆ เข้ามาสัมพันธ์ติดต่อกับชน ชาติไทย หรือเข้ามาตั้งหลักแหล่งอยู่ในประเทศไทย ยอ่ มนาเอาวฒั นธรรมและประเพณที ี่เคยยึดถอื ปฏิบัติอยู่ ในสังคมเดิมของตนมาประพฤติปฏิบัติในสังคมไทย นานๆ เข้าถ้อยคาภาษาท่ีเก่ียวข้องกับวัฒนธรรมและ ประเพณเี หลา่ นน้ั ก็กลายมาเป็นถ้อยคาภาษาที่เก่ียวข้อง กบั ชวี ิตประจาวนั ของคนไทยมากข้นึ

สาเหตุทภี่ าษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย ๗. ด้านการศึกษาและวิทยาการด้านต่าง ๆ จากการท่ีคนไทยเดินทางไปศึกษายังต่างประเทศ ทาให้ได้ใช้และพูดภาษาอื่น ๆ และรับเอาวิทยาการ ต่าง ๆ เม่ือสาเร็จการศึกษา จึงนาภาษาของ ประเทศน้ันมาใช้ปะปนกับภาษาของตน เช่น ภาษาอังกฤษ เปน็ ต้น

สาเหตุทีภ่ าษาตา่ งประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย ๘. ด้านความสัมพันธ์ทางการทูต การ เจริญสัมพันธไมตรีทางการทูต ในการอพยพ โยกยา้ ยหรอื ในการติดต่อทางการทูต ย่อมทาให้ ภาษาของเจ้าของถิ่นเดิมหรือผู้อพยพโยกย้าย มาใหม่นามาใช้ร่วมกัน เช่น อังกฤษ ฝร่ังเศส เป็นตน้

สาเหตุทีภ่ าษาตา่ งประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย ๙. ด้านความสัมพันธ์ทางการทูต การ เจริญสัมพันธไมตรีทางการทูต ในการอพยพ โยกยา้ ยหรอื ในการติดต่อทางการทูต ย่อมทาให้ ภาษาของเจ้าของถิ่นเดิมหรือผู้อพยพโยกย้าย มาใหม่นามาใช้ร่วมกัน เช่น อังกฤษ ฝร่ังเศส เป็นตน้

คำภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทย คำภำษำต่ำงประเทศทป่ี รำกฏมำกในภำษำไทย ได้แก่ ๑. ภำษำบำลี ภำษำสันสกฤต ๕. ภำษำฝร่ังเศส ๒. ภำษำเขมร ๖. ภำษำโปรตุเกส ๓. ภำษำองั กฤษ ๗. ภำษำจีน ๔. ภำษำชวำ – มลำยู ๘. ญปี่ ่ ุน เกำหลี อำหรับ

อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย ๑. คามพี ยางคม์ ากขึ้น ภาษาไทยเปน็ ภาษาตระกลู คาโดด คาสว่ นใหญเ่ ปน็ คาพยางคเ์ ดยี ว เชน่ พ่อ แม่ พ่ี นอ้ ง เดิน ยนื นัง่ นอน เมอื ง เดอื น ดาว ช้าง แมว ม้า ปา่ นา้ เปน็ ตน้ เม่อื ยืมคาภาษาอ่ืนมาใช้ ทาให้คามีมากพยางคข์ น้ึ เช่น - คาสองพยางค์ เชน่ บิดา มารดา เชษฐา กนิษฐา ธานี จนั ทร กุญชร เปน็ ตน้ - คาสามพยางค์ เช่นโทรเลข โทรศัพท์ พาหนะ จักรยาน บริบรู ณ์ เป็นตน้ - คามากกวา่ สามพยางค์ เชน่ กัลปาวสาน สาธารณะ อุทกภยั วนิ าศกรรม ประกาศนยี บตั ร เป็นตน้

อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย ๒. มีคาควบกล้าใช้มากขึ้น โดยธรรมชาติของภาษาไทยจะไม่มีคาควบกล้า เมื่อรับภาษาอื่นเข้ามาใช้เป็นเหตุให้มีคาควบกล้ามากข้ึน เช่น บาตร ศาสตร์ ปราชญ์ พรหม ปราศรัย โปรด ปลูก ทรวง เกรด เคลียร์ เอ็นทรานซ์ ดรัมเมเยอร์ เป็นต้น

อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย ๓. มคี าไวพจนใ์ ชม้ ากข้นึ ซ่ึงสะดวกและสามารถเลือกใช้คาได้เหมาะสมตามความ ต้องการและวตั ถุประสงค์ เชน่ นก บหุ รง ปักษา ปักษนิ สกณุ า วิหค ม้า พาชี อาชา สนิ ธพ หยั อศั วะ ดอกไม้ กรรณกิ า บหุ งา ผกา สุมาลี ทอ้ งฟ้า ทิฆมั พร นภดล อัมพร นา้ ชลาลัย ธารา มหรรณพ สาคร พระจันทร์ แข จนั ทร์ นศิ ากร บุหลนั รชั นีกร

อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย ๔. คาไทยแท้ส่วนใหญ่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา เม่ือได้รับอิทธิพล ภาษาต่างประเทศ คาใหม่จงึ มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราจานวนมาก เช่น พพิ าท โลหิต สังเขป มิจฉาชีพ นิเทศ ประมาณ ผจญ กัปตัน ปลาสเตอร์ คริสต์ เคเบิล ดเี ซล โฟกัส เป็นต้น

อิทธิพลของภาษาต่างประเทศท่ีมีต่อภาษาไทย ๕. ทาให้โครงสร้างของภาษาเปลีย่ นไป เชน่ - ใช้คาภาษาตา่ งประเทศปน - ใชค้ า สานวน หรอื ประโยคภาษาตา่ งประเทศ กบั ภาษาไทย ทง้ั ๆ ท่บี าง คามคี าภาษาไทยใช้ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เชน่ เช่น เธอไม่แคร์ สานวนภาษาต่างประเทศ เขาพบตัวเองอย่ใู นห้อง ฉันไม่มายด์ สานวนภาษาไทย เขาอย่ใู นหอ้ ง เขาไม่เคลยี ร์ สานวนภาษาตา่ งประเทศ นวนิยายเรื่องนี้เขยี นโดยทมยนั ตี สานวนภาษาไทย ทมยนั ตีเขยี นนวนยิ ายเร่อื งนี้ สานวนภาษาต่างประเทศ มันเป็นเวลาบ่ายเม่ือข้าพเจา้ มาถึงอยธุ ยา สานวนภาษาไทย ขา้ พเจา้ มาถงึ อยธุ ยาเม่อื เวลาบ่าย

คาไทยแท้ : ลกั ษณะคาไทยแท้ คำไทยแท้ทเ่ี ป็ น มีความหมายท่ีผ้ฟู งั เขา้ ใจได้ทนั ที ส่วนมาก คำพยำงค์เดยี วโดดๆ เป็นถ้อยคาทีใ่ ช้กันในชวี ติ ประจาวัน อันไดแ้ ก่ คานาม คากริยา หรอื คาขยาย ท่ีใช้กันอยา่ ง ธรรมดาสามญั ทัว่ ไป จาแนกได้ดังนี้ ๑.๑ คาทใ่ี ช้เรียกเครือญาตมิ าแตเ่ ดิม เช่น พอ่ แม่ พี่ นอ้ ง ปู่ ยา่ ฯลฯ ๑.๒ คาท่ีใชเ้ ป็นสรรพนาม เชน่ ฉนั เรา เขา แก เอง็ ข้า มนั ฯลฯ

คาไทยแท้ : ลกั ษณะคาไทยแท้ คำไทยแท้ทเ่ี ป็ น ๑.๓ คาท่ใี ชบ้ อกกริยาอาการโดยท่วั ๆ คำพยำงค์เดยี วโดดๆ ไป เช่น น่งั คลาน กนิ ตก ตาย ร้อง ฯลฯ ๑.๔ คาท่ใี ชเ้ รยี กอวัยวะ เชน่ ตา หู ปาก คอ ค้ิว คาง แขน น้วิ ขา ฯลฯ ๑.๕ คาทใ่ี ชเ้ รยี กเคร่อื งมือเคร่ืองใช้ เช่น มีด จอบ ขวาน ช้อน ไถ จาน ชาม ฯลฯ

คาไทยแท้ : ลกั ษณะคาไทยแท้ คำไทยแท้ทเ่ี ป็ น ๑.๖ คาทใ่ี ช้เรยี กส่งิ ที่เกดิ ขนึ้ จาก คำพยำงค์เดยี วโดดๆ ธรรมชาติ เช่น ห้วย หนอง ดิน น้า ไฟ ฯลฯ ๑.๗ คาท่ีใช้บอกจานวนนับ เช่น หนึง่ สอง สาม สี่ อ้าย ยี่ ฯลฯ ๑.๘ คาที่ใช้เรียกสสี าคญั ๆ ทร่ี จู้ กั กัน โดยทว่ั ไป เช่น ดา แดง เขียว ด่าง มว่ ง ฯลฯ

คาไทยแท้ : ลกั ษณะคาไทยแท้ คำไทยแท้ทเ่ี ป็ น ๑.๙ คาขายาทใ่ี ชธ้ รรมดาสามญั ทวั่ ไป คำพยำงค์เดยี วโดดๆ เช่น ดี เลว เกา่ ใหม่ หนกั เบา อ้วน ฯลฯ ๑.๑๐ คาท่ใี ช้บอกลกั ษณะหรอื ลกั ษณะนาม เช่น กอง กา ลา ตวั อัน เล่ม ฝูง แท่ง ช้นิ ฯลฯ

คาไทยแท้ : ลกั ษณะคาไทยแท้ คำไทยแท้ แม่กก ใช้ ก สะกด เช่น กัก ถกั ปาก มาก ใช้สะกดตรงตำมมำตรำ จาก ฯลฯ แม่กด ใช้ ด สะกด เชน่ กัด วาด ถาด รดี ปดิ ฯลฯ แม่กง ใช้ ง สะกด เชน่ กาง ยาง เคียง เก่ง ฯลฯ แม่กบ ใช้ บ สะกด เชน่ กบ จบ นับ สาบ รบั ฯลฯ

คาไทยแท้ : ลกั ษณะคาไทยแท้ คำไทยแท้ แมก่ น ใช้ น สะกด เช่น เหน็ คน เดนิ เลน่ ใช้สะกดตรงตำมมำตรำ วนั ฯลฯ แมก่ ม ใช้ ม สะกด เช่น มอม ยอม เยยี่ ม ชม ฯลฯ แม่เกย ใช้ ย สะกด เชน่ ขาย ฉุย ลยุ เขย เชย ฯลฯ แม่เกอว ใช้ ว สะกด เชน่ ขาว ยาว เห่ียว เดี๋ยว ฯลฯ

คาไทยแท้ : ลกั ษณะคาไทยแท้ คำไทยแท้ เพราะสะกดตรงตามมาตรา ไม่มตี วั กำรันต์ คาท่มี ตี ัวการนั ต์จึงไม่ใช่คาไทยแท้

คาไทยแท้ : ลกั ษณะคาไทยแท้ คำไทยแท้ ฆญฎฏฐฑธฒณศษ มกั จะไม่ใช้รูปพยญั ชนะ ยกเว้นคาว่า ดงั นี้ ฆา่ เฆี่ยน ฆ้อง ระวัง เฒ่า ณ ธ เศกิ ศอก หญา้ หญงิ เปน็ ตน้ ท่ีเปน็ คาไทยแท้

คาไทยแท้ : ลกั ษณะคาไทยแท้ คำไทยแท้ โดยใช้เคร่ืองหมายวรรณยุกตก์ ากับ ถ้าออกเสยี ง มรี ะบบเสียงสูงตำ่ วรรณยุกต์ผิดความหมายกผ็ ดิ ไปดว้ ย เชน่ เสือ เส่อื เสือ้ หา หา่ หา้ นา น่า นา้ ปา ปา่ ปา้ ป๊า ปา๋

การยมื คาภาษาองั กฤษมาใชใ้ นภาษาไทย ๑. การทบั ศพั ท์ โดยการถ่ายเสยี งและถอดตัวอักษร คายมื จาก ภาษาอังกฤษโดยวธิ ีการทบั ศัพท์มีจานวนมาก คาบางคาราชบณั ฑิตยสถานได้ บญั ญัตศิ ัพท์เป็นคาไทยแลว้ แต่คนไทยนยิ มใช้คาทับศัพทม์ ากกว่า เพราะ เขา้ ใจง่าย สอื่ สารไดช้ ัดเจน เชน่ game เกม graph กราฟ cartoon การ์ตนู

การยมื คาภาษาองั กฤษมาใชใ้ นภาษาไทย ๒. การบญั ญัตศิ ัพท์ เป็นวิธกี ารยืมคา โดยรับเอาเฉพาะความคิด เกีย่ วกบั เร่อื งนนั้ มาแล้วสร้างคาขน้ึ ใหม่ ซึ่งมเี สยี งแตกต่างไปจากคาเดิม โดยเฉพาะศัพทท์ างวชิ าการจะใชว้ ิธีการนี้มาก ผ้ทู ี่มหี น้าท่ีบญั ญตั ิศัพท์ ภาษาไทยแทนคาภาษาองั กฤษ คือ ราชบัณฑิตยสถาน เชน่ science วทิ ยาศาสตร์ telephone โทรศพั ท์ reform ปฏริ ูป

การยมื คาภาษาองั กฤษมาใชใ้ นภาษาไทย ๓. การแปลศัพท์ วธิ กี ารน้จี ะต้องใช้วธิ ีการคิดแปลเป็นคาภาษาไทย ใหม้ คี วามหมายตรงกับคาในภาษาอังกฤษ แลว้ นาคาน้นั มาใชส้ ่ือสารใน ภาษาไทยต่อไป ดงั ตวั อยา่ งเชน่ blackboard กระดานดา enjoy สนกุ handbook หนงั สือคู่มอื

คายมื ภาษาจีนท่ีมีใชใ้ นภาษาไทย หลักการสังเกตคาภาษาไทยทม่ี าจากภาษาจนี ๑. นามาเปน็ ช่ืออาหารการกนิ เช่น กว๋ ยเตี๋ยว เต้าทึง แป๊ะซะ เฉากว๊ ย จับฉ่าย เป็นตน้ ๒. เป็นคาท่เี ก่ยี วกับส่งิ ของเคร่อื งใชท้ เ่ี รารบั มา จากชาวจนี เช่น ตะหลิว ตึก เกา้ อ้ี เกง๋ ฮวงซุ้ย

คายมื ภาษาจีนท่ีมีใชใ้ นภาษาไทย หลักการสงั เกตคาภาษาไทยทมี่ าจากภาษาจนี ๓. เปน็ คาทเ่ี กยี่ วกับการค้าและการจัดระบบทาง การคา้ เชน่ เจ๋ง บว๋ ย หนุ้ ห้าง โสหยุ้ เป็นตน้ ๔. เปน็ คาท่ใี ชว้ รรณยกุ ตต์ รี จัตวา เปน็ ส่วนมาก เชน่ กว๋ ยจบั๊ กยุ๊ เก๊ เก๊ ก๋ง ตนุ๋ เป็นตน้

คายมื ภาษาจีนท่ีมีใชใ้ นภาษาไทย วิธีนาคายมื ภาษาจนี มาใชใ้ นภาษาไทย ไทยนาคาภาษาจีนมาใช้ โดยมาก ไทยเลยี นเสยี งจีนไดใ้ กล้เคียงกว่าชาติอื่น ๆ เช่น เกาเหลา ต้งั ฉา่ ย เต้าทงึ เตา้ หู้ เตา้ ฮวย บะฉ่อ พะโล้ แฮก่ ้ึน เป็นตน้

คายมื ภาษาจีนท่ีมีใชใ้ นภาษาไทย วิธนี าคายมื ภาษาจนี มาใชใ้ นภาษาไทย มีบางคาทน่ี ามาตัดทอนและเปล่ียนเสยี ง เช่น เต้ยี ะหลวิ ตะหลวิ บะ๊ หมี่ บะหมี่ ปุ้งกี ปุ้งกี๋

คายมื ภาษาจีนที่มีใชใ้ นภาษาไทย ตัวอยา่ งคายมื ทม่ี าจากภาษาจนี กงสี กงฉิน กงไฉ่ กงเต็ก ก๋วยเต๋ียว ก๋วยจั๊บ เกาหลา กุ๊ย เก๊ เก๊ก เกี้ยว เกี๊ยว เกี๊ยะ กุยเฮง เก๊ก ก๋ง เก้าอี้ ขาก๊วย เข่ง จับกัง จับฉ่าย จับยี่กี จันอับ เจ๊ง เจี๋ยน เจ เฉาก๊วย เซ้ง เซยี น แซ่ แซยิด เซ็งล้ี ซาลาเปา ซ้มิ

คายมื ภาษาจีนที่มีใชใ้ นภาษาไทย ตวั อยา่ งคายมื ทม่ี าจากภาษาจนี ตะหลิว เต๋า ตุน ตุ๋น แต๊ะเอีย เต้าหู้ เต้าฮวย เต้าเจ้ียว โต๊ะ ไต้กง๋ ตงั เก บ๊วย บะฉ่อ บะหมี่ บู๊ ปุ้งกี๋ ปอเป๊ียะ แป๊ะเจ๊ียะ พะโล้ เย็นตาโฟ หวย ย่ีห้อ ลิ้นจ่ี ห้าง หุ้น เอ๊ียม โสหุ้ย เฮงซวย ฮวงซุ้ย ฮ่องเต้ อัง้ โล่

คาภาษาเขมรในภาษาไทย ลกั ษณะคาภาษาเขมร ๑. มักจะสะกดด้วย จ ญ ร ล เช่น เผด็จ บาเพญ็ กาธร ในภาษาไทย ถกล ตรัส ๒. มักเปน็ คาควบกลา้ เชน่ ไกร ขลัง ปรุง ๓. มกั ใช้ บัง บัน บา นาหนา้ คาทม่ี ีสองพยางค์ เช่น บงั บังคบั บังคม บงั เกดิ บงั คล บังอาจ บัน บนั ได บนั โดย บนั เดนิ บันดาล บนั ลอื บา บาเพญ็ บาบดั บาเหน็จ บาบวง

คาภาษาเขมรในภาษาไทย ลกั ษณะคาภาษาเขมร ๔. นยิ มใช้อกั ษรนา เช่น สนุก เสดจ็ ถนน เฉลยี ว เปน็ ตน้ ในภาษาไทย ๕. คาเขมรส่วนมากใช้เป็นราชาศพั ท์ เช่น ขนง ขนอง เขนย เสวย บรรทม เสดจ็ โปรด เป็นตน้

คาภาษาเขมรในภาษาไทย ลกั ษณะคาภาษาเขมร ๖. มักแผลงคาได้ เชน่ ในภาษาไทย - ข แผลงเป็น กระ เชน่ ขดาน - กระดาน ขจอก - กระจอก - ผ แผลงเป็น ประ เช่น ผสม - ประสม ผจญ - ประจญ - ประ แผลงเปน็ บรร เช่น ประทม - บรรทม ประจุ - บรรจุ

คาภาษาเขมรในภาษาไทย ตัวอย่างภาษาเขมร กระชับ กระโดง กระเดียด กระบอง กระบือ กระท่อม ในภาษาไทย กระโถน กระพัง ตระพัง ตะพัง กระเพาะ กระแส กังวล กาจัด กาเดา รัญจวน ลออ สกัด สนอง สนุก สดบั สบง สังกดั สไบ สาราญ ส ร ร ส า โ ร ง แ ส ว ง แสดง กาแพง กาลัง ขนาน ขจี โขมด จัด เฉพาะ ฉบับ เชลย โดยทรวง ถนน บายศรี ประกายพรึก ปรับ ประจาน โปรด เผด็จ ผจญ ผจญั เผอิญ เผชญิ เพญ็ เพลงิ เพนยี ด

คาภาษาชวา - มลายู ในภาษาไทย ภาษาชวา ภาษามลายูหรือภาษามาเลย์ ปัจจุบันเรียกว่าภาษาอินโดนีเซีย ภาษา ปัจจุบันเรียกว่า ภาษามาเลเซยี เข้ามา ชวาทไ่ี ทยยมื มาใช้ส่วนมากเป็นภาษาเขียน ป ะ ป น ใ น ภ า ษ า ไ ท ย เ พ ร า ะ มี เ ข ต แ ด น ซึ่งรับมาจากวรรณคดีเรื่อง ดาหลังและ ติดต่อกัน จึงติดต่อสัมพันธ์กันท้ังทางด้าน อิเหนาเปน็ ส่วนใหญ่ สว่ นมากมักใชใ้ น การค้าขาย ศาสนา วัฒนธรรม มาเป็น วรรณคดแี ละในบทร้อยกรองตา่ ง ๆ เวลานาน

คาภาษาชวา - มลายู ในภาษาไทย การยมื คาภาษาชวา-มลายมู าใช้ในภาษาไทย ๑. ใชใ้ นการแต่งคาประพันธ์ เช่น บุหรง บุหลนั ระตู ปาหนัน ตุนาหงนั เป็นต้น ๒. ใชส้ อ่ื สารในชีวิตประจาวัน เช่น กัลปังหา กญุ แจ กระดังงา ซา่ หรมิ่ ประทัด เป็นต้น ๓. นามาใช้ในความหมายคงเดมิ เชน่ ทเุ รียน น้อยหน่า บุหลัน เป็นตน้

คาภาษาชวา - มลายู ในภาษาไทย ตวั อยา่ งคาภาษาชวา-มลายใู นภาษาไทย กะพง กระจูด กะลาสี กะลุมพี กายาน กาปั่น กระยาหงัน (สวรรค์) กะละปังหา กระแชง จับปิ้ง จาปาดะ ตลับ ทุเรียน บูดู ปาเต๊ะ มังคุด สละ สลัก สลาตัน สลัด สุจหน่ี โสร่ง หนัง ยะลา เบตง น้อยหน่า กริช กดิ าหยัน (มหาดเลก็ ) กหุ นุง (เขาสงู ) กุญแจ การะบุหนงิ (ดอกแกว้ )

คาภาษาชวา - มลายู ในภาษาไทย ตัวอยา่ งคาภาษาชวา-มลายใู นภาษาไทย กระดังงา อิเหนา อังกะลุง อสัญแดหวา (เทวดา) ตุนาหงัน (คู่หม้ัน) ยิหวา (ดวงใจ) บุหรง (นกยูง) บุหลัน (ดวงจันทร์) บุหงา (ดอกไม้) อุรังอุตัง สะตาหมนั (สวน) บหุ งาราไป ปาหนนั (ดอกลาเจยี ก) รามะนา การะบุหนงิ (ดอกแกว้ ) ซ่าหรมิ่ กิดาหยัน (มหาดเล็ก) ซา่ โบะ (ผา้ หม่ )

คาภาษาอื่น ๆ ทีม่ ใี ช้ในภาษาไทย ภาษาญป่ี ุ่น เชน่ เกอิชา กโิ มโน คามคิ าเซ่ คาราเต้ เคนโด้ ซามไู ร ซูโม่ ซากุระ เทมปรุ ะ ฟจู ิ สุกียากี้ ยโู ด เปน็ ตน้

คาภาษาอ่นื ๆ ท่ีมีใชใ้ นภาษาไทย ภาษาโปรตเุ กส เชน่ สบู่ กัมปะโด ปนิ่ โต กะละแม กะละมัง จบั ป้งิ เลหลัง บาทหลวง ปัง ปนิ่ โต เหรียญ เป็นตน้

คาภาษาอ่นื ๆ ทม่ี ใี ช้ในภาษาไทย ภาษาทมฬิ เชน่ กะไหล่ กลุ ี กานพลู กามะหยี่ จงกลนี ตรียัมปวาย ตะก่วั ปะวะหลา่ ยี่หรา่ สาเก อาจาด กะละออม เปน็ ต้น

คาภาษาอื่น ๆ ที่มีใชใ้ นภาษาไทย ภาษาเปอร์เซีย เช่น กากี กาหลบิ กหุ ลาบ เกด (องุ่นแหง้ ) เข้มขาบ (ช่อื ผา้ ) คาราวาน ชุกชี (ฐานพระประธาน) ตาด (ผ้าไหม ปักเงนิ หรอื ทองแล่ง) ตรา (เครอื่ งหมาย) ตราชู (เครอ่ื งชง่ั ) บัดกรี (เชื่อมโลหะ) ปสาน (ตลาด) เปน็ ตน้

จบแลว้ จา้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook