Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กศน.ตำบลหนองสาหร่าย

กศน.ตำบลหนองสาหร่าย

Published by nongsarainfe11, 2019-12-26 01:26:48

Description: วิชาวิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ที่ 7 เร่อื ง แนวทางการอนุรักษ์การละเล่นด้านวฒั นธรรมไทย/ประเพณไี ทย การละเลน่ พืน้ บา้ น การละเลน่ ของไทยในสมัยกอ่ นนน้ั มวี ิธีการเล่นท่ีสนุกสนานและหลากหลาย การละเลน่ ของเดก็ สมัยก่อน ท่ีนยิ มเลน่ กันในชีวิตประจาวันน้ัน และสบื ทอดมาจากคนรนุ่ กอ่ น ซง่ึ บางประเภทมบี ทรอ้ ง และท่าทางประกอบ ส่วนกฎเกณฑ์ต่าง ๆ มักมีการกาหนดข้ึนเองตามข้อตกลงของกลุ่มผู้เล่นในแต่ละท้องถ่ิน บางครั้งก็เล่นตาม ความสนุกสนานร่าเริง แต่บางครั้งก็เล่นเพ่ือการแข่งขันซ่ึงทาให้ได้รับความบันเทิงจากการละเล่นไม่ใช่น้อย ขณะเดียวกันกย็ ังไดเ้ พิ่มพนู ทักษะทางร่างกายและจิตใจ ไปพรอ้ มกนั ด้วย ซ่ึงการละเล่น พื้นบ้านของไทยเราก็มี ใหเ้ ลอื กเล่นมากมายตามแต่เวลา โอกาส และสถานท่เี อือ้ อานวย แตใ่ นปจั จุบันสังคม มีการเปลี่ยนแปลงไปทา ให้การละเล่นพืน้ บา้ นของไทยนั้นเลอื นหายไปจึงเป็นเรื่องน่าเสียดายท่ีคนรุ่นต่อมาอาจไม่ทราบถึงการละเล่น ของไทยทีส่ นุกสนาน เพราะไมร่ ถู้ ึงวธิ ีการเลน่ และประโยชน์ของการละเล่นพ้ืนบ้าน ดังนั้นเรื่อง การละเลน่ พ้นื บา้ นของเรา ทเี่ ป็นทีน่ ยิ มเล่นกนั กับเพื่อน ๆ ในสมยั เดก็ ๆ ในหม่บู า้ นเรา ซึง่ เปน็ เรอื่ งใกล้ตวั เรามาก และเรากไ็ ดผ้ ่านชว่ งนี้มาแล้วด้วยเหมือนกัน ซึ่งเช่ือว่าทุกคนจะต้องผ่านวัยเด็กมาแล้วกัน ท้งั นั้น หรอื บางคนอาจจะกาลังอยู่ในช่วงน้ีก็ได้ ในช่วงวัยเด็กเป็นช่วงท่ีสนุกมากจนไม่อยากผ่านช่วงนี้มาเลย กลมุ่ ผูศ้ กึ ษาจงึ เลือกศกึ ษา เร่อื งการละเล่นพื้นบา้ นของเรา เพ่ือเป็นอนุรักษ์วัฒนธรรมการละเล่นของหมู่บ้าน และการละเล่นของไทยที่กาลังจะสูญหายใหเ้ ป็นท่รี จู้ ักเพื่อชนรุน่ หลังสืบไป การละเล่นพ้ืนบ้าน หมายถึง กิจกรรมการเล่นของสังคม เป็นกิจกรรมนันทนาการหน่ึงซึ่งได้รับการ ยอมรับร่วมกนั ในสังคม โดยมีรากฐานมาจากความเปน็ จรงิ แห่งวิถีชีวิตของชมุ ชนทมี่ ีการประพฤติปฏิบัติสบื ทอด กันมาจากอดตี สูป่ จั จบุ ัน การละเลน่ แสดงออกดว้ ยการเคลื่อนไหวกรยิ าอาการเปน็ หลกั อาจมดี นตรี การขบั ร้อง หรือการฟอ้ นราประกอบการเลน่ มจี ดุ มงุ่ หมาย เพ่อื ความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ ในโอกาสตา่ ง ๆ การละเลน่ บาง ชนิดได้รับการถ่ายทอดสืบสานต่อกันมา และปรับปรุงเปล่ียนแปลงเพื่อพัฒนารูปแบบอย่างต่อเนื่องจนมี ลักษณะเฉพาะถน่ิ การละเลน่ พ้นื บา้ นจึงเป็นผลิตผลอนั เกดิ จากความคิดและจนิ ตนาการของมนษุ ย์ ย่อมสะท้อน ถงึ โลกทัศน์ ภมู ธิ รรม และจติ วญิ ญาณของบรรพชนในท้องถนิ่ ท่ีได้ถูกหลอ่ หลอมจนเปน็ ภมู ิปัญญาอันทรงคุณค่า และไดก้ ลายเปน็ มรดกวัฒนธรรมของทอ้ งถนิ่ และของประเทศชาติ การละเล่นนับว่ามีความสมั พันธ์กับชีวิตมนุษย์มาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นการละเล่นของเด็กและของ ผู้ใหญ่ล้วนแสดงออกถงึ สภาพชวี ติ ความเปน็ อยู่ ขนบธรรมเนยี มประเพณีค่านยิ มและความเชือ่ ของสังคมน้ัน ๆ ท้ังยงั กอ่ คุณค่าแกผ่ ู้เลน่ และผเู้ ฝา้ ดู ในดา้ นการผ่อนคลายอารมณ์ ความเครียด เสริมสร้างพลังกายให้แข็งแรง ฝึกความคิด ความเขา้ ใจ การแก้ปัญหานอกจากน้ยี ังก่อใหเ้ กดิ ระเบยี บวินัย เกดิ ดารยอมรับกฎเกณฑ์ของสังคม สรรค์สร้างความเป็นกัลยาณมิตรข้ึนในชุมชน ทาให้สังคมเกิดความเข้มแข็งจนก่อเป็นความดีงามอันเป็น เปา้ หมายสงู สุดแห่งชีวิต การละเล่นของไทยไม่สามารถลาดับให้เห็นพัฒนาการตามกาลเวลาได้อย่างชัดเจนทั้งนี้เนื่องจาก การละเล่นสว่ นใหญเ่ ป็นกระบวนการถา่ ยทอดด้วยการปฏบิ ตั ิ มใิ ช่ตารา จงึ ขาดการบันทกึ เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร

ทจ่ี ะใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการสรา้ งลาดับอายสุ มัยของการละเล่นแตล่ ะอย่างไดย้ ง่ิ ไปกวา่ นน้ั การละเล่นของไทยส่วน ใหญม่ ลี กั ษณะของการพัฒนาตนเองและค่อยเป็นคอ่ ยไปเพราะจดจาสืบต่อกนั มาจากคนรุน่ หนึง่ ไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง (ร.อ.หญงิ ปรยี า หริ ญั ประดิษฐ์ 2533 : 15) และโดยเหตุทีก่ ารละเลน่ เกิดขน้ึ มายาวนานและปรากฏอยู่ทั่วไปใน ท้องถ่ินต่าง ๆ โดยทั่วไป เช่นนี้ทาให้เกิดความหลากหลายของการละเล่นพื้นบ้าน มีทั้งลักษณะร่วม และ ลกั ษณะทแ่ี ตกต่างกนั ไปในแต่ละทอ้ งถิน่ อยา่ งไรกด็ สี ิง่ ทตี่ รงกนั ในทุกท้องถนิ่ ก็คือมีการละเล่นพน้ื บ้านทั้งที่เป็น ของเด็กและของผใู้ หญ่ ประวัตคิ วามเป็นมา ของการละเลน่ พ้นื บา้ น เปน็ การละเล่นท่ีมีในกล่มุ สังคมท้องถิ่น ในอดตี มีกีฬาพ้นื บ้านต่าง ๆ ให้เล่นมากมายต้ังแต่รุ่นก่อน ๆ จนกระทงั่ ถึงรนุ่ ปัจจุบนั ก็ยงั มีให้เหน็ อยูซ่ งึ่ แต่ก็นอ้ ยกวา่ ในสมยั กอ่ นมากเพราะสมัย ปัจจบุ นั มเี ทคโนโลยีเข้ามา มากจึงทาใหค้ นรนุ่ ใหมไ่ ม่คอ่ ยไดเ้ ลน่ กันนัก กจิ กรรม การเล่นของสังคม เป็นกิจกรรมนันทนาการหนึ่งซ่ึงได้รับ การยอมรบั รว่ มกันในสังคม โดยมีรากฐานมาจากความเป็นจริงแห่งวิถีชีวิตของชุมชนที่มีการประพฤติปฏิบัติ สืบทอดกันมาจากอดตี ส่ปู ัจจุบัน การละเล่นแสดงออกด้วยการเคลื่อนไหวกริยาอาการเป็นหลัก อาจมีดนตรี การขบั รอ้ งหรือการฟ้อนราประกอบการเล่น มีจุดมุ่งหมาย เพ่ือความสนุกสนานเพลิดเพลินในโอกาสต่าง ๆ การละเล่นบางชนิดได้รับการถ่ายทอดสืบสานต่อกันมา และปรับปรุงเปล่ียนแปลงเพื่อพัฒนารูปแบบอย่าง ตอ่ เน่ืองจนมลี ักษณะเฉพาะถ่นิ ดังนี้การละเลน่ พน้ื บา้ นจึงเป็นผลิตผลอนั เกิดจากความคิดและจินตนาการของ มนุษยย์ ่อมสะทอ้ นถงึ โลกทัศน์ ภูมธิ รรม และจิตวญิ ญาณของบรรพชนในท้องถ่ินที่ได้ถูกหล่อหลอมจนตกผลึก เป็นภูมิปัญญาอัน ทรงคุณค่าและได้กลายเป็นมรดาวัฒนธรรมของท้องถ่ินและของประเทศชาติการละเล่น นับวา่ มีความสมั พันธก์ บั ชีวติ มนุษย์มาโดยตลอด ไมว่ า่ จะเปน็ การละเล่นของเด็กและของผู้ใหญ่ล้วนแสดงออก ถึงสภาพชวี ติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณีค่านยิ มและความเช่อื ของสงั คมนั้น ๆ ทง้ั ยงั ก่อคุณค่าแก่ผู้เล่นและผู้เฝ้าดู ใน ดา้ นการผ่อนคลายอารมณ์ ความเครยี ด เสริมสร้างพลงั กายใหแ้ ขง็ แรง ฝึกความคดิ ความเข้าใจ การแก้ปัญหา นอกจากน้ียงั ก่อให้เกดิ ระเบยี บวินัย เกิดการยอมรับกฎเกณฑ์ของสังคม สรรค์สร้างความเป็นญาติมิตรขึ้นใน ชมุ ชน ทาใหส้ ังคมเกดิ ความเขม้ แข็งจนก่อเป็นความดีงามอันเป็นเป้าหมายสูงสุดแห่งชวี ิต การละเล่นของไทยไม่สามารถลาดับให้เห็นพัฒนาการตามกาลเวลาได้อย่างชัดเจน ทั้งนี้เน่ืองจาก การละเล่นส่วนใหญเ่ ป็นกระบวนการถา่ ยทอดดว้ ยการปฏิบตั ิ มิใช่ตารา จงึ ขาดการบันทึกเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร ทจี่ ะใช้เปน็ ข้อมลู ในการสรา้ งลาดบั อายุ สมัยของการละเลน่ แตล่ ะอย่างไดย้ งิ่ ไปกวา่ นั้น การละเลน่ ของไทยสว่ น ใหญม่ ลี กั ษณะของการพัฒนาตนเองและค่อยเปน็ คอ่ ยไปเพราะจด จาสืบตอ่ กันมาจากคนร่นุ หน่งึ ไปสู่อีกรนุ่ หนึ่ง (ร.อ.หญิงปรียา หิรญั ประดิษฐ์ 2533 : 15) และโดยเหตุที่การละเลน่ เกดิ ขน้ึ มายาวนานและปรากฏอยู่ท่ัวไปใน ท้องถิ่นต่าง ๆ โดยท่ัวไป เช่นนี้ทาให้เกิดความหลากหลายของการละเล่นพ้ืนบ้าน มีทั้งลักษณะร่วม และ ลกั ษณะทแ่ี ตกต่างกันไปในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ อย่างไรกด็ ีส่งิ ทีต่ รงกนั ในทกุ ทอ้ งถน่ิ กค็ ือมกี ารละเลน่ พน้ื บา้ นท้ังท่ีเป็น ของเด็กและของผู้ใหญ่

การละเล่นพื้นเมอื ง คือ การละเลน่ ที่แสดงเอกลกั ษณข์ องทอ้ งถ่ินท่มี ีอยทู่ วั่ ทุกภาคของประเทศไทยโดยสามารถ แบง่ ตามการละเลน่ แตล่ ะภาค ดังนี้ 1. การละเลน่ ภาคกลางและภาคตะวันออก 2. การละเลน่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอสี าน 3. การละเล่นภาคเหนอื 4. การละเล่นภาคใต้ ประวัติศาสตร์ได้มีการบนั ทกึ วา่ คนไทยมีการละเล่นมาต้ังแต่สมัยสุโขทัย จากความในศิลาจารึกสมัย สุโขทยั หลักท่ี 1 กล่าวว่า “…ใครใคร่จักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเล่ือน เล่ือน…” และในสมัย อยุธยา กไ็ ดก้ ลา่ วถงึ การแสดงเรือ่ ง มโนหร์ า ไว้ในบทละครครงั้ กรงุ เก่า ได้กล่าวถึงการละเล่นน้ันบทละครนั้น ได้แก่ ลิงชิงหลกั และปลาลงอวน ประเพณีและวฒั นธรรมสมยั กอ่ น มักสอดแทรกความสนุกสนานบนั เทงิ ควบคู่ กนั ไปกับการทางาน ท้งั ในชวี ติ ประจาวัน และเทศกาลงานบญุ ตามระยะเวลาแหง่ ฤดูกาล ประเภทของการละเล่น เนอื่ งจากการละเลน่ ของไทยเรานนั้ มีมากมายจนนึกไม่ถงึ (กรมพลศึกษารวบรวมไว้ได้ถึง 1,200 ชนิด) แตพ่ อจะแบง่ ครา่ ว ๆ ไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ใหญ่ ๆ คอื - การละเลน่ กลางแจ้ง และการละเล่นในรม่ และในแตล่ ะประเภทก็ยังแบง่ ยอ่ ยอีกเป็นการละเล่นท่ีมี บทรอ้ งประกอบ กับทไี่ ม่มีบทร้องประกอบการละเล่นกลางแจ้งที่มีบทร้องประกอบได้แก่ โพงพาง เสือไล่หมู่ อา้ ยเขอ้ ้ายโขง ซอ่ นหา หรือโป้งแปะ มอญซ่อนผ้า รีรีข้าวสาร ท่ีมีคาโต้ตอบ เช่น งูกินหาง แม่นาคพระโขนง มะล็อกก๊อกแก็ก เขยง่ เกง็ กอย ที่ไม่มีบทร้องประกอบ ไดแ้ ก่ ล้อต๊อก หยอดหลุม บ้อหุ้น ลูกดิ่ง ลูกข่าง ลูกหิน เตยหรือตาล่อง ข้าวหลามตดั วัวกระทิง ลกู ช่วง ห่วงยาง เสือข้ามห้วยเคี่ยว เสือข้ามห้วยหมู่ ต่ีจับ แตะหุ่น ตาเขยง่ ยิงหนงั สะต๊กิ ปลาหมอ ตกกะทะ ตีลูกล้อ การเล่นว่าว กระโดดเชือกเดี่ยว กระโดดเชือกคู่ กระโดด เชอื กหมู่ ร่อนรปู หลุมเมือง ทอดกะทะ หรือหมุนนาฬกิ า ข่มี า้ สง่ เมอื ง กาฟักไข่ ตีโป่ง ชกั คะเยอ่ โปลศิ จับขโมย สะบ้า เสอื กันวัว ขม่ี ้าก้านกลว้ ย กระดานกระดก วิ่งสามขา วิ่งสวมกระสอบ วิง่ ทน ยงิ เปน็ ก้านกล้วย - การละเลน่ ในร่ม ท่ีมบี ทร้องประกอบ ได้แก่ ขีต้ ู่กลางนา ซักส้าว โยกเยก แมงมุม จับปูดาขยาปูนา จีจอ่ เจ๊ยี บ เดก็ เอย๋ พาย จา้ จ้ี ทไ่ี มม่ ีบทรอ้ งประกอบ ได้แก่ ดีดเม็ดมะขามลงหลุม อีขีดอีเขียน อีตัก เสือตกถัง เสอื กันวัว หมากกนิ อม่ิ สีซอ หมากเกบ็ หมากตะเกยี บ ปน่ั แปะ หัวก้อย กาทาย ทายใบสน ตีไก่ เป่ากบ ตีตบ แผละ กัดปลา นาฬิกาทางมะพร้าว กงจักร ต่อบ้าน พับกระดาษ ฝนรูป จูงนางเข้าห้อง การเล่นเลียนแบบ ผใู้ หญ่ เชน่ เลน่ เปน็ พอ่ เปน็ แม่ เล่นแตง่ งาน เล่นหม้อข้าวหม้อแกง แคะขนมครกเลน่ ขายของ เลน่ เข้าทรง ทาย คาปริศนา นอกจากน้ันยังมีบทร้องเล่น เช่น จันทร์เอ๋ย จันทร์เจ้า ขอข้าวขอแกงแกงและบทล้อเลียน เช่น ผมจุก คลุกน้าปลา เหน็ ข้หี มานั่งไหว้กระจ๊องหงอ่ ง เปน็ ต้น การละเล่นที่เล่นกลางแจ้งหรือในร่มก็ได้ท่ีไม่มี บทร้อง ไดแ้ ก่ ลิงชิงหลัก ขายแตงโม เก้าอ้ีดนตรี แข่งเรือคน ดมดอกไม้ปิดตาตีหม้อ ปิดตาต่อหาง โฮกปี๊บ เป่ายงิ ฉุบ

การละเล่นพน้ื บ้านของภาคใต้ ชักกะเยอ่ ภาค : ภาคใต้ จังหวัด : พงั งา ภาค : ภาคใต้ จงั หวัด : พังงา อุปกรณแ์ ละวธิ เี ล่น - เชือกเสน้ ใหญ่ ๆ 1 เสน้ สาหรับจบั ดงึ กนั วิธีเล่น - จัดคนเลน่ ออกเป็น 2 พวก ใหม้ ีกาลงั พอ ๆ กนั เมื่อแบ่งพวกเสรจ็ แล้ว ใหไ้ ปอยู่คนละขา้ งของไม้หรือ เชือกน้ัน ใหค้ นหัวแถวจบั กอ่ นขา้ งละคน นอกนัน้ ให้จบั เอวกนั ตลอดทั้งสองข้าง เม่ือให้สัญญาณแล้วต่างฝ่ายก็ ลงไปข้างหลังทุกคนระเบียบการตัดสิน ใช้ตัดสินกันเองหรือให้มีผู้ตัดสิน 1 คน ยืนตรงกลางให้สัญญาณและ ตัดสินได้ เพ่ือใหร้ แู้ นว่ า่ ฝา่ ยใดแพ้ชนะจะปักธงไว้ตรงกลางกไ็ ด้ ฝา่ ยใดถูกดงึ เลยเขตได้หมดตั้งแตห่ นง่ึ ศอกข้ึนไป นบั เปน็ แพ้ เมือ่ แพแ้ ลว้ ไมม่ ีปรับให้รอ้ งราอยา่ งใดเลย โอกาสทเ่ี ลน่ - เล่นแข่งขนั ในงานกิจกรรมต่าง ๆ หรือในเทศกาลพเิ ศษ คุณค่า/แนวคิด/สาระ - เพอ่ื ออกกาลงั และรบั ความรนื่ เรงิ ในเมอ่ื แพช้ นะกันเทา่ นนั้ การละเลน่ พื้นบ้านของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื วง่ิ ขาโถกเถก ภาค : ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จงั หวดั : ชัยภูมิ

อุปกรณแ์ ละวิธีการเล่น - อปุ กรณ์ ไมไ้ ผ่กิ่ง 2 ลา ถา้ ไมม่ ีก็เจาะรแู ลว้ เอาไมอ้ น่ื ๆ สอดไว้เพือ่ ใหเ้ ปน็ ที่วางเทา้ ได้ วิธีการเลน่ - ผู้เล่นจะเลอื กไมไ้ ผ่ลาตรง ๆ ท่ีมกี ่งิ 2 ลาท่ีกง่ิ มไี วส้ าหรบั วางเทา้ ตอ้ งเสมอกันท้งั 2 ขา้ ง ผูเ้ ลน่ ข้นึ ไป ยืนบนแขนงไมเ้ วลาเดนิ ยกเท้าขา้ งไหนมือทจ่ี ับลาไมไ้ ผก่ จ็ ะยก ขา้ งนั้น สว่ นมากเด็ก ๆ ทเี่ ล่นมกั จะมาแข่งขนั กัน ใครเดนิ ได้ไวและไมต่ กจากไมถ้ ือว่าเป็นผู้ชนะ โอกาสท่เี ล่น - การวง่ิ ขาโถกเถก ถอื เปน็ การละเลน่ ทเ่ี ลน่ ได้ทกุ โอกาส โดยเฉพาะในชว่ งเทศกาลสงกรานต์ คุณค่า / แนวคดิ / สาระ - นอกเหนอื จากความสนุกสนานแลว้ ยงั เป็นเครือ่ งมือในการออกกาลงั กาย บรหิ ารส่วนตา่ ง ๆ ของ ร่างกายไดเ้ ป็นอยา่ งดี เดมิ ผู้ท่ีใชข้ าโถกเถกเป็นชายหนุ่มไปเกย้ี วสาว เสยี งเดินจากไมเ้ ม่ือสาวไดย้ ินก็จะมาเปดิ ประตรู อเพ่อื พดู คยุ กันตามประสา หนุ่มสาว หรอื บ้านสาวเลย้ี งสนุ ขั ไมโ้ ถกเถกยังเป็นอปุ กรณ์ไลส่ ุนขั ไดด้ ว้ ย การละเลน่ พื้นบา้ นของภาคเหนือ โพงพาง ภาค : ภาคเหนือ จังหวดั : ตาก สถานที่เล่น : สนามลานกวา้ ง อปุ กรณ์ : ผ้าปิดตา จานวนผเู้ ลน่ : ไม่จากดั จานวน วิธีเลน่ เป่ายิงฉุบกันว่าใครจะเป็นผู้แพ้ต้องปิดตาเป็นโพงพางตาบอด ผู้เล่นคนอ่ืน ๆ จับมือเป็นวงกลมร้อง เพลง “โพงพางเอ๋ย โพงพางตาบอด รอดเข้ารอดออก โพงพางตาบอด ปล่อยลูกช้างเข้าในวง ” ขณะเดิน วนรอบ ๆ โพงพางตาบอดรอ้ งเพลง 1-3 จบ แล้วนงั่ ลงโพงพางจะเดนิ มาคลาคนอน่ื ๆ ซึง่ ตอ้ งพยายามหนี และ จะตอ้ งเงียบสนิท หากโพงพางจาเสยี งหัวเราะ รูปลักษณะได้จะเรียกชื่อ ถ้าเรียกคนถูกต้องออกมาปิดตาเป็น โพงพางต่อไป ถ้าไม่ถกู กต็ อ้ งเป็นโพงพางตอ่ ไปอกี เรอ่ื ย ๆ โอกาสทีเ่ ลน่ : เป็นการละเล่นพนื้ บ้านที่เดก็ ๆ เลน่ กนั โดยทว่ั ไป

การละเล่นพื้นบ้านภาคกลาง มอญซอ่ นผ้า อุปกรณ์ - ผา้ เช็ดหนา้ ขนาดใหญห่ น่งึ ผืน ไมต่ ้องขมวดหรือพนั ใหเ้ ป็นเกลียว เพราะถา้ ฟาดถกู ผ้ใู ดเข้าแล้วจะเจ็บ วิธเี ล่น - ขน้ั ที่ 1 ใหผ้ ู้เลน่ ทงั้ หมดจับไมส้ ้ันไมย้ าว ผูท้ ี่ได้ไมส้ ้นั ที่สดุ ถอื ผา้ เช็ดหนา้ ท่เี ตรยี มไวแ้ ลว้ ออกไปยืนข้าง นอก ที่เหลอื นอกนนั้ นงั่ กนั เปน็ วงกลม หนั หน้าเข้าหากนั ในระยะหา่ งกันประมาณ 1 ศอก เอามอื ทัง้ สองพาดไว้ ทตี่ ัก คยุ กันหรือรอ้ งเพลงกไ็ ด้ เพอ่ื ความรน่ื เรงิ - ขั้นที่ 2 ให้ผู้ถอื ผ้าบังตัวไวม้ ิใหผ้ ูน้ ่ังเห็นได้ถนดั แล้วเดินหรือว่ิงไปรอบๆ วงต้องทาท่าหรือหน้าตาให้ สนิท เดนิ บ้างว่ิงบ้าง ทาเป็นวางผ้าแต่ไมว่ าง เพ่อื หลอกล่อผ้ทู น่ี ั่งให้เผลอตัวเมื่อเห็นเปน็ โอกาสแลว้ ก็แอบหย่อน ผา้ ลงไว้ ใกล้หลังผนู้ งั่ คนใดคนหนึ่ง เมือ่ วางผา้ แลว้ ควรเดินหรือว่งิ ใหเ้ รว็ ต่อไปเพอื่ กลับถึงท่เี ดมิ โดยมิใหผ้ ู้นนั้ ตอ้ ง รู้ตัว - ข้นั ที่ 3 ถ้าผูถ้ กู วางผ้าขา้ งหลังร้สู กึ ตวั เสยี ก่อนผู้วางผ้ามาถงึ กต็ ้องรีบฉวยผ้าวิ่งมานั่งแทนที่ของตนได้ แล้วจงึ เดนิ หาโอกาสวางผ้าไวข้ า้ งหลงั ผูห้ นง่ึ ผ้ใู ดตอ่ ไป แต่ถ้าถกู วางขา้ งหลังไม่รู้สึกตัว จนผู้ท่ีวางวิ่งมาถึงก็หยิบ ผา้ ท่ีวางนน้ั ขึ้นฟาดผ้ถู ูกวางจนกว่าจะลุกขน้ึ รับผา้ ออกเดนิ ผูว้ างจึงลงนง่ั แทนที่ ขอ้ ระวังในการเลน่ ผู้น่งั ทุกคนจะหนั หน้าไปดูข้างหลงั ไม่ได้ ถา้ หากสงสัยว่าจะมีผ้าอยูข่ ้างหลงั ตนหรอื ไมก่ ็ให้ใช้ มือคลาดเู ทา่ นั้น ผู้ถอื ตอ้ งวางผ้าลงขา้ งหลงั ให้ใกลต้ วั ผู้นั่ง จะวางเกินกว่า 1 ศอกไม่ได้และให้วิ่งหรือเดินต่อไป ขา้ งหนา้ จนบรรจบรอบ จะหนั หลังเดินย้อนมาไมไ่ ด้ เพลงประกอบการเล่น “มอญซอ่ นผ้า ต๊กุ ตาอย่ขู า้ งหลัง ใครเผลอคอยระวัง ใครเผลอคอยระวัง ตุ๊กตาอยู่ขา้ งหลงั ระวังจะถูกตี” คุณคา่ /แนวคิด/สาระ 1. เพอื่ หดั ใหผ้ เู้ ลน่ เปน็ คนว่องไว 2. เพอื่ ฝึกให้ผเู้ ล่นเป็นคนที่มีไหวพรบิ และรจู้ กั สงั เกตเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook