Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter 1 ระบบฐานข้อมูล

Chapter 1 ระบบฐานข้อมูล

Published by suwit.t, 2020-05-25 00:55:38

Description: Chapter 1 ระบบฐานข้อมูล

Search

Read the Text Version

บทที่ 1 ระบบฐานขอ้ มลู สอนโดย นายสุวิทย์ ทองนอก แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลยั เทคนิคชลบรุ ี สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

1. ความหมายของระบบฐานข้อมูล ฐานข้อมูล (Database) กลุ่มของข้อมูลท่ีมีความสัมพันธ์กนั นามาเกบ็ รวบรวมไว้ด้วยกนั อย่าง มีระบบและขอ้ มูลทปี่ ระกอบกันเปน็ ฐานข้อมูลนนั้ ตอ้ งตรงตามวัตถุประสงค์การ ใช้งานของหน่วยงานนนั้ ๆ เช่น ฐานข้อมลู บคุ ลากร ฐานข้อมลู สนิ คา้

1. ความหมายของระบบฐานขอ้ มูล ระบบฐานข้อมูล (Database System) การรวมฐานข้อมูลต่างๆ ท่ีมีความสัมพันธ์กันหรือเป็นระบบงานท่ี เกีย่ วขอ้ งกันบางสว่ นหรือทัง้ หมดเขา้ ด้วยกนั

1. ความหมายของระบบฐานขอ้ มลู ระบบจดั การฐานขอ้ มูล (Database Management System) กลุ่มของโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ชนิดหน่ึงที่สร้างขึ้นมาเพ่ือทาหน้าท่ี บริหารฐานข้อมลู ให้มปี ระสิทธิภาพมากที่สุด เป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยอานวยความ สะดวกสาหรับผู้ใช้ โดยจะเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้และ โปรแกรมตา่ งๆ ท่ีเกย่ี วข้องกับฐานข้อมูล ไดแ้ ก่ Microsoft Access, Oracle, SQL Server เป็นต้น

1. ความหมายของระบบฐานข้อมลู งานทะเบียน ขอ้ มูลนักเรียน ขอ้ มูลการลงทะเบียน งานการเงิน ข้อมลู นักเรียน ข้อมลู การชาระเงิน งานหอ้ งสมดุ ข้อมลู นกั เรยี น ข้อมูลการยมื -คนื หนังสอื

1. ความหมายของระบบฐานข้อมลู นาย A นาย B งานทะเบียน นาย C งานการเงิน งานหอ้ งสมดุ นาย A นาย B นาย C นาย A นาย B นาย C

1. ความหมายของระบบฐานขอ้ มลู นาย F นาย B งานทะเบียน นาย C งานการเงิน งานหอ้ งสมดุ นาย A นาย B นาย C นาย A นาย B นาย C

1. ความหมายของระบบฐานข้อมูล งานทะเบยี น งานการเงนิ DBMS ข้อมลู นักเรยี น ขอ้ มลู การลงทะเบียน ขอ้ มลู การชาระเงนิ ขอ้ มลู การยมื -คนื หนังสือ งานห้องสมดุ

2. แนวคิดพน้ื ฐานเก่ยี วกับระบบฐานข้อมลู การนาขอ้ มลู ท่ีมีการใชง้ านรว่ มกันมาวางไว้ในรูปแบบโครงสรา้ งของ ขอ้ มูลทมี่ ีความสัมพนั ธก์ นั โดยที่เนอ้ื หาแตล่ ะบัตรจะเรียกวา่ เรคอรด์ (Record) โดยแต่ละบตั รจะมีเนื้อหาที่แตกตา่ งกนั ไป แตม่ เี ขตข้อมูลในแต่ละ บตั รทเ่ี หมือนกนั เรียกวา่ ฟิลด์ (Field) และบตั รรายการในเรอื่ งเดยี วกนั ถูก เก็บรวมกันไวเ้ ป็นกลุ่ม เรียกวา่ ตารางขอ้ มลู (Table)

แนวคดิ พื้นฐานเกี่ยวกบั ระบบฐานขอ้ มลู

แนวคดิ พื้นฐานเกี่ยวกบั ระบบฐานขอ้ มลู

3. ฐานข้อมูลเชงิ สมั พนั ธ์ ฐานข้อมูลเชิงสัมพนั ธ์เป็นการเกบ็ ขอ้ มูลในรูปแบบของตาราง (Table) โดยแต่ละตารางที่มีอยจู่ ะตอ้ งมคี วามเชื่อมโยงทางข้อมลู ระหว่างกนั หรือเรยี กวา่ ความสมั พันธ์ (Relation)

ฐานข้อมลู เชงิ สมั พนั ธ์

4. รูปแบบความสมั พันธ์ ความสมั พันธ์แบบ หนึ่งต่อหนงึ่ (One-to-One Relationships) เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง หนึ่งเรคคอร์ดในตารางหน่ึงจะมี ความสัมพนั ธ์อีกเรคคอร์ดหนงึ่ ในอีกตารางเท่าน้นั

รปู แบบความสมั พนั ธ์

รปู แบบความสัมพันธ์ ความสมั พนั ธ์แบบ หนึง่ ต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationships) เ ป็ น ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ท่ี พ บ บ่ อ ย ท่ี สุ ด ใ น ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล ทั่ ว ไ ป ความสัมพันธ์แบบน้ีเป็นความสัมพันธ์ที่เรคคอร์ดหนึ่งเรคคอร์ดในตารางหน่ึง จะสมั พันธ์กบั จานวนเรคคอรด์ หนง่ึ เรคคอรด์ หรอื มากกวา่ ในอีกหนึ่งตาราง

รปู แบบความสมั พนั ธ์

รปู แบบความสมั พันธ์ ความสัมพนั ธแ์ บบ กลุ่มตอ่ กลุ่ม (Many-to-Many Relationships) เป็นความสัมพันธ์ท่ีเรคคอร์ดหลายๆ เรคอร์ดในตารางหนึ่งมี ความสัมพนั ธ์กบั อีกหลายๆ เรคคอร์ดในอกี ตารางหน่ึง

รปู แบบความสมั พนั ธ์

5. ชนดิ ของคียใ์ นฐานขอ้ มูลเชิงสมั พนั ธ์ คยี ์หลกั (Primary key) เป็นฟิลด์ท่ีมีค่าไม่ซ้ากันในแต่ละเรคคอร์ดในตารางนั้น สามารถใช้ค่า ของฟลิ ดท์ เ่ี ป็นคีย์หลกั เป็นตวั แทนของรายการข้อมูลในตารางนั้นได้

5. ชนดิ ของคยี ใ์ นฐานข้อมูลเชิงสมั พนั ธ์ คียห์ ลัก (Primary key)

5. ชนิดของคีย์ในฐานขอ้ มูลเชงิ สัมพันธ์ คีย์คแู่ ขง่ (Candidate key) เป็นฟิลด์หน่ึงหรือหลายฟิลด์ท่ีเอามารวมกันแล้วมีคุณสมบัติเป็นคีย์ หลัก แต่ไม่สามารถใช้เป็นคีย์หลัก เช่น รหัสจงั หวัดถือเป็นคีย์หลักส่วนช่ือของ จังหวดั กไ็ ม่ซ้ากันเช่นกัน แต่ไมไ่ ด้เป็นคยี ์หลักจึงเปน็ คีย์ค่แู ขง่ แทน

5. ชนดิ ของคีย์ในฐานข้อมูลเชงิ สมั พนั ธ์ คียค์ ่แู ข่ง (Candidate key)

5. ชนดิ ของคีย์ในฐานข้อมลู เชงิ สมั พันธ์ คยี ผ์ สม (Composite key) ตารางท่ีหาค่าไมซ่ า้ ไมไ่ ด้เลยจงึ ตอ้ งใชห้ ลายๆ ฟลิ ด์มารวมกันทาหน้าท่ี เป็นคีย์หลัก เช่น ถ้าค้นหาข้อมูลบุคคลท่ีไม่ทราบเลขที่บัตรประชาชน อาจจะ ค้นหาดว้ ย ช่อื นามสกุล และวันเกิดรว่ มกนั เพื่อค้นหารายการตามท่ตี อ้ งการ

5. ชนดิ ของคีย์ในฐานขอ้ มูลเชิงสมั พนั ธ์ คีย์ผสม (Composite key)

5. ชนิดของคีย์ในฐานขอ้ มูลเชงิ สัมพันธ์ คยี น์ อก (Foreign key) เป็นฟิลด์ในตารางฝ่ัง Many ท่ีมีความสัมพันธ์กับฟิลด์ที่เป็นคีย์หลัก ในตารางฝั่ง One โดยทต่ี ารางท้ังสองมีความสัมพนั ธ์แบบ One-to-Many

5. ชนดิ ของคยี ใ์ นฐานข้อมูลเชิงสมั พนั ธ์ คยี น์ อก (Foreign key)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook