พระพุทธศาสดาประชานาถ พระพุทธศาสดาประชานาถถือเป็นพระพุทธรูปปี ๒๐๒๐ – แห่งศตวรรษที่ ๒๑ ของคริสต์ศักราช ปี ๒๕๖๓ – แห่งศตวรรษท่ี ๒๖ ของพุทธศักราช ท่ีได้รับอัญเชิญนาไปประดิษฐาน ณ จุดสูงสุดของประเทศไทย ใหอ้ ยูค่ บู่ ้านเมืองตลอดไป ดว้ ยความสมเหตสุ มผลนานาประการ ดังน้ี พระพุทธศาสดาประชานาถ “ศักด์สิ ทิ ธิ์ – สงู สดุ – สูศ่ รทั ธา = ส่งบุญสู่สรวงสวรรค์” พระพุทธศาสดาประชานาถ ได้รับการสร้างข้ึนมาในวโรกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี ทิวงคตของจอมพลสมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ ผู้ได้ชื่อว่าเป็น “พระบิดาแห่ง กองทัพอากาศ” ผู้ได้ทรงสถาปนากาลังทางอากาศในประเทศไทย เพ่ือใช้ในการป้องกันประเทศและ เพ่อื กจิ การคมนาคม อนั ถอื ว่าทรงมีพระคณุ อันยิ่งใหญ่หาท่ีสุดไดต้ ่อกองทัพอากาศและประเทศไทย พระพทุ ธศาสดาประชานาถ ได้รับการออกแบบให้เป็นพระพุทธรปู ท่ีเปน็ ศนู ย์กลางอารยธรรมของไทย ๔ ยุคสมัย คือ ยุคล้านนา ยุคสุโขทยั ยคุ อยุธยา และยคุ รัตนโกสนิ ทร์ เปน็ พระพุทธรูปท่มี คี วามสงา่ งามยง่ิ พระพุทธศาสดาประชานาถ ได้รับพระราชทานนามจากสมด็จพระสังฆราช และได้รับแผ่นจาร จากบรรดาสมเดจ็ พระราชาคณะทัง้ ๙ รปู นบั เปน็ ครัง้ แรกของประเทศไทยทสี่ มเดจ็ พระราชาคณะท้ัง ๙ รูป ไดล้ งแผน่ จารครบพรอ้ มกนั ในวาระเดียวกัน พระพุทธศาสดาประชานาถ ถูกสร้างข้ึนมาตรงรัชสมยั รัชกาลที่ ๑๐ แห่งราชวงศ์จักรี โดยได้ถูกออกแบบให้ ทาการสร้างด้วยเน้ือโลหะ ๑๐ อย่าง คือ เนื้อนว ๙ ประการผสมกับไทเทเนียม ที่เป็นองค์ประกอบหลักของอากาศยาน เนอื่ งจากมคี วามแกร่งสงู อีก ๑ ประการ ในการน้ี ทองหลืองท่เี ป็นองค์ประกอบหลักน้นั ไดม้ าจากปลอกกระสนุ ปืนใหญ่ อากาศขนาด ๒๐ มม. ทย่ี ิงจากเครอ่ื งบนิ รบทมี่ ีประจาการอยู่ในกองทัพอากาศ พระพุทธศาสดาประชานาถ ผ่านพิธีมหาพุทธาภิเษกเมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ หรือเม่ือ ๐๒๐๒๒๐๒๐ ของคริสต์ศักราช อันเป็นวันท่ีพระบิดาขอกองทัพอากาศได้ทรงทาการบินเคร่ืองบินเป็นคร้ังแรก ในประเทศไทย ณ วังสระปทมุ อน่ึง ณ วัน ๐๒๐๒๒๐๒๐ น้นั หากนบั จากวนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ มานนั้ นบั เป็น จานวนวนั ได้ “๓๓ วัน” และหกนับจากวนั นต้ี อ่ ไปจนถงึ วันท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๓ จะนบั เปน็ จานวนวันได้ “๓๓๓ วนั ” พระพุทธศาสดาประชานาถ เข้าพิธีมหาพุทธาภิเษกโดยบรรดาเกจิอาจารย์จานวน ๒๐๐ รูป จาก ๔ ภาค ของประทศไทย โดยกระทาพธิ ีข้นึ ณ ดอยอนิ ทนนท์ บนแผ่นดนิ ท่ถี อื เป็นจุดสูงสุดของประเทศไทย ทค่ี วามสงู ๘,๕๑๔ ฟตุ ซึ่งเป็นความสูงที่สุดของประเทศไทยที่อยู่ใกล้กับสรวงสวรรค์มากท่ีสุด ผู้ใดได้กราบไหว้บูชาด้วยศรัทธาสูงสุดจะได้ บญุ กศุ ลสงู สดุ -การทามาหากนิ เจริญร่งุ เรอื งมากทส่ี ุด พระพุทธศาสดาประชานาถ เป็นพระพุทธรูปที่ถือว่าเป็นตัวแทนพระพุทธเจ้าอย่างแท้จริง เน่ืองจากได้รับ การบรรจุพระบรมสารีริกธาตุท่ีรัฐบาลอินเดียไดม้ อบแก่ประเทศไทยอย่างเปน็ ทางการ ทั้งนี้ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สังฆปรินายก (อัมพร อมฺพโร) ประทานพระบรมสารีริกธาตุแก่กองทัพอากาศเป็นกรณีพิเศษ ให้บรรจุไว้ในพระเกตุ มาลาเป็นการถาวร มณฑปประดิษฐานพระพทุ ธศาสดาประชานาถประดษิ ฐานบนยอดดอยอนิ ทนนท์ได้รบั การออกแบบการปลูก สร้างให้มีความสวยงาม หอ้ มลอ้ มดว้ ยพรรณไม้ภูเขาสูงนานาชนิด อีกทัง้ ใหม้ คี วามปลอดภัยสูงสดุ ในการเดินทางเข้าถึง โดยแยกสัดส่วนพื้นที่ศักดิ์สิทธ์ิจุดนี้ออกจากพ้ืนที่ความมั่นคงบริเวณสถานีเรดาร์ดอยอินทนนท์โดยเด็ดขาด เพื่อให้ พทุ ธศาสนิกชนเข้าสกั การะกราบไหว้บูชาไดส้ ะดวก
บทนา เมอ่ื วันท่ี ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๒ พลอากาศเอก มานัต วงษ์วาทย์ ผู้บัญชาการทหารอากาศ มีดารใิ ห้สร้างพระพุทธรูปศักด์ิสทิ ธิไ์ วท้ ี่จุดสูงสดุ ของประเทศไทย ทั้งนี้ผบู้ ัญชาการทหารอากาศ ได้ส่ังการให้ พลอากาศเอก นภาเดช ธปู ะเตมีย์ ผ้บู ญั ชาการกรมควบคมุ การปฏิบัติทางอากาศ ดาเนินการดงั นี้ “เนอ่ื งจากวนั ที่ ๒ ก.พ.๖๓ เปน็ วันดี พอ่ี ยากสร้างพระพุทธรปู ศักดิส์ ิทธ์ิ “หลวงพอ่ อินทนนนท์” เพ่ือให้ประชาชนได้บูชา ในการนี้จะนิมนต์เกจิอาจารย์ทาพิธีมหาพุทธาภิเษกในปี ๒๐๒๐ (วางแผนจัด พธิ ีปลกุ เสกใน วนั ท่ี ๐๒ ก.พ. ๒๕๖๓ = ๐๒๐๒๒๐๒๐ ในจานวนจากดั )” - เพื่อส่งบุญ ณ จุดสูงสุดของแผ่นดินไทยเสมือนเป็นสะพานบุญให้แก่ประชาชนได้อธิฐานไปสู่ จุดสูงสดุ แหง่ ชวี ติ - เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลให้แก่พระบิดากองทัพอากาศเนื่องจากครบรอบ ๑๐๐ ปี แห่งการ ทวิ งคตของพระองคท์ ่าน - เพ่ือถวายแด่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว เนือ่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา อนึ่ง ผู้บัญชาการทหารอากาศได้มอบหมายให้ผู้บัญชาการกรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ ศึกษาความเหมาะสมในการจัดพิธีมหาพุทธาภิเษกพระพุทธรูปอินทนนท์ และพระพุทธรูปบูชา จานวน ๒,๐๒๐ องค์ ในวันอาทิตย์ท่ี ๒ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ ๐๒๐๒๒๐๒๐ ณ สถานรี ายงานดอยอินทนนท์ ผู้บัญชาการกรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ รับภารกิจด้วยความยินดีและเต็มใจอย่างย่ิงและ เรียนผู้บัญชาการทหารอากาศ ว่า “ในเบื้องต้นขออนุญาตจัดทีม และนาลูกทีมบางส่วนเข้าพบพ่ีเพ่ือซึม ซบั แนวคิด รวมทั้งเรียนหารือใหเ้ กิดความเข้าใจอย่างชัดเจน ภายในสัปดาหห์ นา้ ครับ วนั เวลาขออนุญาต ประสานโดยตรงกบั หน้าหอ้ งครับ” ผบู้ ญั ชาการกรมควบคุมการปฏบิ ตั ิทางอากาศ ได้สง่ั การให้ พลอากาศตรี ณรงค์ อนิ ทชาติ รองผู้ บัญชาการโรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช เร่งดาเนินการตามส่ังการ ผู้บัญชาการทหาร อากาศด้วยความทุ่มเท “ในสองเดือนน้ีทาให้สุดตัว ช่วยวางแผนเรื่องสร้างพระโดยด่วน เพราะเวลามี น้อยจรงิ ๆ” โดย ๑. จดั ทีมดว่ น ๓. ประชุมทมี ด่วน ๒. วางแผนด่วน ๔. ออกคาสั่งด่วน - เรื่อง ๕. ประสานด่วน - รปู แบบพระ ๖. จดั การประชาสัมพนั ธ์ด่วน - จานวน - โรงหล่อและการหล่อ - พธิ มี หาพุทธาภิเษก - งบประมาณ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ
ผ ล ข อ ง ก า ร ด า เ นิ น ก า ร จั ด ส ร้ า ง พ ร ะ พุ ท ธ รู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ซึ่ ง ไ ด้ รั บ ป ร ะ ท า น น า ม จ า ก ส ม เ ด็ จ พระสงั ฆราชวา่ พระพุทธศาสดาประชานาถ มคี วามหมายว่า พระพุทธเจา้ ทรงเปน็ พระศาสดาผู้เป็นที่พ่ึง ของประชาชน สรา้ งจากมวลสาร ๑๐ ชนิด เรยี กวา่ “ทศโลหะ” ประกอบดว้ ย ๑. ทองคา ๖. พลวง ๒. เงิน ๗. ดบี กุ ๓. ทองแดง ๘. ซลิ ิคอน ๔. สงั กะสี ๙. จ้าวนา้ เงิน ๕. ตะกัว่ ๑๐. ไทเทเนียม พระพุทธรูปทศโลหะจัดสร้างเพียง ๒ องค์ มีหน้าตัก ๒๐.๒๐ น้ิว นาไปประดิษฐานที่ดอย อินทนนท์ และหน้าตัก ๑๐ นิ้ว จัดสร้างเพื่อถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวัน เฉลิมพระชนมพรรษา จะทลู เกล้าทูลกระหม่อมถวายพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ในวันท่ี ๑๒ สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๖๓ ส่วนพระพุทธรูปบูชาหน้าตัก ๑๐ นิ้ว จานวน ๒,๐๒๐ องค์ ให้นามวลสารทศโลหะไปผสม รวมถึงจัดทาเหรียญที่ระลึกครบรอบ ๑๐๐ ปี แห่งการทิวงคตของพระบิดากองทัพอากาศ จานวน ๔๐,๐๐๐ เหรยี ญ เพื่อใหป้ ระชาชนและขา้ ราชการกองทพั อากาศไดบ้ ูชาไว้เป็นสิรมิ งคลแก่ชีวติ พระพุทธศาสดาประชานาถ
วตั ถปุ ระสงค์ จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณอย่างยิ่งต่อกองทัพอากาศ พระองค์มีพระดาริ ให้จัดตั้งแผนกการบิน ซ่ึงได้รับการพัฒนาอย่างเป็นลาดับจนกระทั่ง เป็นกองทัพอากาศที่มีขีดความสามารถดังเช่นปัจจุบัน นับเป็น พระมหากรุณาธิคุณแก่กองทัพอากาศเป็นล้นพ้น ทั้งน้ี ได้เทิดพระเกียรติ พระองค์เป็น “พระบดิ าแหง่ กองทพั อากาศ” ในวาระครบ ๑๐๐ ปี วันคล้ายวันทิวงคต ในวันท่ี ๑๓ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๓ พลอากาศเอก มานัต วงษ์วาทย์ ผู้บัญชาการทหารอากาศ พร้อมด้วยข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ นักเรียนทหาร และทหารกองประจาการ ได้จัด กจิ กรรมหลากหลายเพ่ือนอ้ มราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ โครงการจัดสร้างพระพุทธศาสดาประชานาถ ซ่ึงเป็นพระพุทธรูปทศโลหะปางสมาธิเพชร ผสมผสานศิลปะ ๔ ยุค ๔ อาณาจักร นับเป็นกิจกรรมสาคัญกิจกรรมหนึ่งของกองทัพอากาศ มีวัตถปุ ระสงค์ดงั น้ี ๑. เพือ่ จัดสรา้ งรูปเหมือนแทนองคส์ มเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท่ีมีความงดงาม ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ และ ทรงพทุ ธานภุ าพ ถวายเปน็ พทุ ธบชู าแด่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผูเ้ ปน็ ศาสดาเอกของโลก ผทู้ รง มีพระคณุ สูงสุดอนั ประเสรฐิ ประกอบดว้ ยพระปญั ญาธิคุณ พระบรสิ ุทธิคุณ และพระมหากรุณาธคิ ณุ ๒. เพ่ือน้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณและเทิดพระเกียรติ จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ “พระบิดาแห่งกองทัพอากาศ” ผู้เปี่ยมด้วย พระปรีชาสามารถ เปน็ ท่ียอมรบั ท้ังในและต่างประเทศ ๓. เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล เน่ืองในโอกาสมหามงคลวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชริ เกล้าเจา้ อยู่หวั รัชกาลท่ี ๑๐ ทั้งนี้ กาหนดจัดพิธีมหาพุทธาภิเษกในวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ เนื่องจากตามหลักสากลจะ เขียนว่า ๐๒๐๒/๒๐๒๐ ถือเป็นตัวเลขสะท้อนกลับ ระหว่าง ๐๒๐๒ และ ๒๐๒๐ ซ่ึงเกิดเพียงแค่ ๑ ครั้ง ในรอบ ๑,๐๐๐ ปี กองทัพอากาศหวังเป็นอย่างย่ิง ว่าพระพุทธศาสดาประชานาถ รูปเคารพท่ีสถิต ณ ดินแดนสูงสุดแห่งสยาม จะเป็นศูนย์รวมแห่งความ ศรัทธา นาพาศาสนิกชนก้าวข้ามสะพานสู่ความ ศักดิส์ ิทธิ์นริ ันดร์ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ
พระพุทธศาสดาประชานาถ
โดย พลอากาศเอก นภาเดช ธปู ะเตมีย์ ผู้บัญชาการกรมควบคุมการปฏบิ ัติทางอากาศ /ประธานกรรมการอานวยการจัดสร้างพระพุทธศาสดา ประชานาถ วนั จันทรท์ ี่ ๒๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ ณ หอ้ งรับรองกองทพั อากาศ ---------------------------- กราบเรียน ประธานคณะทีป่ รึกษากองทัพอากาศ, หม่อมราชวงศน์ รศิ รา จกั รพงษ์ และท่านผู้มีเกียรติทกุ ทา่ นครับ ผ้บู ญั ชาการทหารอากาศได้ปรารภว่า จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจา้ ฟา้ จักรพงษ์ภวู นารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ พระบิดากองทัพอากาศ มิได้ทรงมีคุณูปการใหญ่หลวงต่อประเทศชาติ และกองทัพอากาศแต่เพียงเท่านั้น พระองค์ทรงมีพระคุณย่ิงใหญ่ต่อพวกเราทหารอากาศทุกคนและ ครอบครัวอีกด้วย เพราะการที่พวกเรามีงานทา มีเกียรติ มีความสุขสบายในชีวิต ล้วนมาจากพระ วิสัยทัศน์อันกว้างไกลของพระองค์ท้ังสิ้น ถือเป็นบุญคุณอันใหญ่หลวงที่ชาวกองทัพอากาศพึงระลึก ถึงอยู่เสมอ ในวาระครบ ๑๐๐ ปี แห่งการทิวงคตของพระองค์ในปีน้ี ผู้บัญชาการทหารอากาศจึงมีดาริให้ สร้างพระพุทธรูป เป็นเสมือนเคร่ืองบูชาแห่งความกตัญญูของทหารอากาศที่มีต่อพระองค์ ท้ังน้ี สมเด็จ พระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (อัมพร อมฺพโร) ได้ประทานชื่อว่า “พระพุทธศาสดาประชานาถ” ซึ่งมีความหมายว่า พระพุทธเจ้าทรงเป็นพระศาสดาผู้เป็นท่ีพ่ึงของ ประชาชน พระพทุ ธศาสดาประชานาถเป็นพระพทุ ธรูปที่มพี ุทธลักษณะและพุทธศลิ ปข์ อง ๔ ยุคสมัย ได้แก่ ล้านนา สุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ สื่อถึงประวัติศาสตร์แห่งความเป็นชาติ พระพักตร์อิ่มเอิบ เปี่ยมด้วยความเมตตากรุณา ตามแบบศิลปะเชียงแสน พระวรกายสมบูรณ์สะท้อนถึงความอยู่ดีมีสุข ในน้ามีปลา ในนามีข้าว ทรงขัดสมาธิเพชร อันหมายถึงปัญญา ตามแบบศิลปะสมัยสุโขทัย และจิตใจ ม่ันคงอยู่บนฐานรูปดอกพิกุล ซ่ึงเป็นศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ เป็นรากฐานแข็งแกร่งสืบทอดความเป็น ชาติไทย เปรียบเสมือนชีวิตและจิตใจของพวกเราทหารอากาศ พร้อมปกป้องประเทศชาติและราช บลั ลังกใ์ ห้คงอยู่ตลอดไป อีกท้ังพระพุทธรปู ทรงเครอื่ งจักรพรรดิตามแบบอยธุ ยา สื่อแทนความจงรกั ภักดี ทีม่ ตี ่อสถาบันพระมหากษตั ริย์ พระพุทธศาสดาประชานาถ
พระพุทธศาสดาประชานาถ มีขนาดหน้าตัก ๒๐.๒๐ น้ิว สร้างขึ้นจากโลหะท่ีมีคุณค่า ๑๐ ชนิด จึงเรียกว่า “ทศโลหะ” ตามดาริของผู้บัญชาการทหารอากาศ โดยนาไทเทเนียมซ่ึงเป็นโลหะ ที่เป็นโครงสร้างหลักของเคร่ืองบินเข้าไปหลอมรวมกับนวโลหะหรือ โลหะ ๙ ชนิด ทองเหลืองน้ันนามาจากปลอกกระสนุ ปืนกลอากาศของ เคร่ืองบินขับไล่ ซึ่งเคยบินผ่านความเร็วเสียง และแผ่นทอง เงิน นาก จารโดยพระเถระและพระเกจิอาจารย์ท่ัวประเทศกว่า ๔๐๐ รูป ท้ังน้ี ข้าราชการทหารอากาศ จานวนกว่า ๔๐,๐๐๐ คน ได้ต้ังจิตอธิษฐาน เขยี นช่อื บนแผน่ ทองในการหลอ่ พระพทุ ธรปู อีกดว้ ย เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ ที่ผ่านมา กองทัพอากาศได้จัดพิธีเททองหล่อพระพุทธ ศาสดาประชานาถ ทโ่ี รงเรียนนายเรอื อากาศนวมินทกษตั ริยาธิราช ถอื เปน็ พธิ ีที่จดั ยงิ่ ใหญ่ครบถว้ นทั้งพิธี ทางพราหมณแ์ ละพิธีทางพุทธต่อหน้ารปู ปนั้ หล่อของพระบดิ ากองทัพอากาศและอนุสาวรยี ์บพุ การีทหารอากาศ โดยมีพระเถระชั้นผู้ใหญ่และพระเกจิอาจารย์มาเจริญพระพุทธมนต์ เจริญชัยมงคลคาถา และ น่ังปรกอธษิ ฐานจติ รวมเปน็ พลงั ศกั ด์สิ ิทธ์ิ สถิตอยู่ในองคพ์ ระตลอดชว่ั กาลนาน นอกจากนี้ กองทัพอากาศได้สร้างพระบูชาขนาดหน้าตัก ๑๐ นิ้ว จานวน ๒,๐๒๐ องค์ เพื่อให้ ข้าราชการได้เช่าบูชา และจัดสร้างเหรียญที่ระลึก จานวน ๔๐,๐๐๐ เหรียญ เป็นเหรียญ ๒ ด้าน ที่มี ความสาคัญเสมอกัน ด้านหนงึ่ เป็นพระพทุ ธศาสดาประชานาถ และอีกดา้ นหน่งึ เปน็ พระฉายาลักษณ์ของ พระบิดากองทัพอากาศ ผลิตโดยสานกั กษาปณ์ กรมธนารกั ษ์ จึงมีความคมชดั และสวยงามมาก ในวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ กองทัพอากาศอัญเชิญพระพุทธศาสดาประชานาถ ขึ้นไป ประกอบพธิ ีมหาพุทธาภิเษกและบรรจพุ ระบรมสารีริกธาตุ ซง่ึ ไดร้ บั การประทานจากสมเดจ็ พระสังฆราช บนยอดดอยอินทนนท์ ซ่งึ เปน็ ยอดเขาที่สูงทีส่ ดุ ของประเทศ สาเหตุสาคัญท่ีเลือกประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษก ในวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ เนื่องจาก เป็นวันท่ีพระบิดากองทัพอากาศ ขณะดารงตาแหน่งเสนาธิการทหารบก ได้ทรงขับเครื่องบินในโอกาส จัดแสดงการบินครั้งแรกในประเทศไทยที่สนามม้าสระปทุม อีกท้งั วนั ดงั กล่าวเขียนตามหลักปฏทิ ินสากล ว่า “๐๒๐๒ ๒๐๒๐” ซง่ึ ถือเป็นกล่มุ เลขมงคลทม่ี โี อกาสเกิดข้นึ ไดย้ าก หลังจากนั้นกองทัพอากาศจะจัดหาสถานที่เหมาะสมบนยอดดอยอินทนนท์เพ่ือสร้างแท่น ประดิษฐานพระพุทธศาสดาประชานาถ ข้าราชการทหารอากาศ และประชาชนทั่วไปจะได้สักการบูชา ตงั้ จิตอธิษฐาน และยึดมัน่ ในการประกอบคุณงามความดีแกป่ ระเทศชาติและส่วนรวม ดงั เช่นทพ่ี ระบิดา กองทัพอากาศได้ปฏิบัติไวเ้ ป็นแบบอยา่ ง ขอบพระคณุ ครับ พระพุทธศาสดาประชานาถ
สารบญั หน้า บทนำ ผ้บู ัญชาการทหารอากาศ บทนำ วัตถุประสงค์ ผู้บญั ชาการกรมควบคมุ การปฏิบัติทางอากาศ แถลงขา่ วฯ ประวัตพิ ระบิดาแหง่ กองทัพอากาศไทย ๑ ประวตั ิความเป็นมาของดอยอนิ ทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ๑๓ ประวตั กิ ารสร้างพระพุทธรูปของกองทัพอากาศ ๒๓ ประวัติพระพุทธศาสดาประชานาถ ๓๖ มวลสารศักด์สิ ิทธิ์ทศโลหะพระพุทธศาสดาประชานาถ ๔๘ มวลสารทวีความศกั ด์ิสิทธแ์ิ ดพ่ ระพุทธศาสดาประชานาถ ๕๓ การทดสอบทศโลหะกอ่ นพิธเี ททอง ๕๙ รปู แบบและจำนวนสร้าง ๖๔ รายพระนามและรายนามพระเถระทัว่ ประเทศลงอกั ขระแผน่ ทอง เงนิ นาก ๗๐ รายพระนามและรายนามพระเกจิอาจารยน์ ่งั อธิษฐานจิตแผ่เมตตาจารแผน่ ทอง เงิน นาก ๙๒ พระเกจิอาจารยท์ ่ไี ด้เมตตาลงอกั ขระแผ่นจารทอง เงิน นาก แกก่ องทพั อากาศ ๑๐๖ ในหน่วยขน้ึ ตรง ๑๑ กองบิน และโรงเรียนการบิน ๑๒๕ พิธีเททองนำฤกษ์หล่อพระพุทธศาสดาประชานาถ พิธรี บั พระบรมสารีรกิ ธาตุ ๑๓๘ พิธีเททองหลอ่ พระพุทธศาสดาประชานาถ ๑๔๒ การประกอบพธิ นี ่ังปรกอธษิ ฐานจติ เดย่ี ว บน บ.ล.๘ (C-130 H-30) ๑๕๒ พธิ มี หาพุทธาภิเษกพระพุทธศาสดาประชานาถ ๑๕๖ เรือ่ งเล่าอันน่าอศั จรรย์ ๑๖๘ ความในใจประติมากร ผู้สร้างพระพทุ ธศาสดาประชานาถ ๑๗๓ คำสั่งแตง่ ตั้งคณะกรรมการจดั สร้างพระพทุ ธรปู ๑๗๖ พระพุทธศาสดาประชานาถ
พระพุทธศาสดาประชานาถ
(ภาพ) จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟา้ จกั รพงษภ์ วู นารถ กรมหลวงพิศณโุ ลกประชานารถ สมเด็จเจ้าฟ้าชายจักรพงษภูวนารถ นริศตราชมหามกุฎวงศ์จุฬาลงกรณนรินทร์ สยามพิชิตินวรางกูร สมบรู ณพสิ ุทธิชาติ วิมโลภาสอภุ ยั ปกั ษ์อรรควรรัตน์ ขัตตยิ ราชกมุ าร๒ ประสูตเิ ม่อื วันท่ี ๓ มีนาคม พ.ศ.๒๔๒๕๓ ๑ เมื่อเปลี่ยนแผ่นดินใหม่ คานาพระนามของเจ้านายรัชกาลที่แล้วกับรัชกาลก่อน ๆ มาก็เปลี่ยนไป เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวเสด็จข้ึนครองราชสมบัติ พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้เปล่ียนคานาพระนามพระราชโอรสพระราชธิดาในรัชกาลก่อน ๆ มาเป็น “สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ” “พระเจ้าบรมวงศ์เธอ” ตามพระเกียรติยศ โดยประกาศ ณ วันเสาร์ท่ี ๑๕ กรกฎาคม รัตนโกสินทรศก ๑๓๐ (พทุ ธศักราช ๒๔๕๔) ๒ พระนามปรากฏตามพระสุพรรณบัฏเมอ่ื ครงั้ ประสูติ ๓ นับตามปฏิทินไทย (เดือนแรกของปีคือเดือนเมษายน เดือนสุดท้ายของปีคือเดือนมีนาคม) ในปี พ.ศ. ๒๔๕๖ จอมพล ป.พิบูลสงคราม ใหเ้ ปลี่ยนมาใช้วันท่ี ๑ มกราคม เป็นวนั ขน้ึ ปใี หม่ตามหลักสากล ดงั นน้ั หากนับตามปฏิทินสากลจะตรงกับปี พ.ศ.๒๔๒๖ พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๑
เป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๔๓ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ ๔ ในสมเด็จ พระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง มีพระนามลาลองว่า “ทูลกระหม่อมเล็ก” หรือ “เล็ก” ทรงเป็นต้นราชสกุล \"จกั รพงษ์\" ทลู กระหมอ่ มมีพระเชษฐภคนิ ีและพระอนุชารว่ มพระราชมารดา ๘ พระองค์ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั สมเด็จพระศรพี ัชรนิ ทราบรมราชนิ นี าถ (พ.ศ.๒๓๙๖ – ๒๔๕๓) พระบรมราชชนนี พันปีหลวง (พ.ศ.๒๔๐๗ – ๒๔๖๒) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั จอมพล สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ พลเรือเอก สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว (พ.ศ.๒๔๒๓ – ๒๔๖๘) เจา้ ฟา้ จกั รพงษภ์ วู นารถ เจ้าฟ้าอษั ฎางค์เดชาวธุ (พ.ศ.๒๔๓๖ – ๒๔๘๔) กรมหลวงพศิ ณุโลกประชานารถ กรมหลวงนครราชสีมา (พ.ศ.๒๔๒๖ – ๒๔๖๓) (พ.ศ.๒๔๓๒ – ๒๔๖๗) สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดลิ ก พาหรุ ดั มณีมัย กรมพระเทพนารรี ตั น์ เจ้าฟ้าตรีเพช็ รุตม์ธารง กรมขุนเพ็ชรบรู ณ์อินทราชยั (พ.ศ.๒๔๒๔ – ๒๔๓๐) เจา้ ฟา้ ศริ ิราชกกธุ ภณั ฑ์ (พ.ศ.๒๔๒๑ - ๒๔๓๐) (พ.ศ.๒๔๓๕ – ๒๔๖๖) (พ.ศ.๒๔๒๘ – ๒๔๓๐) (ภาพ) ลาดบั พระเชษฐภคนิ ีและพระอนุชา ใน จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจา้ ฟา้ จกั รพงษภ์ วู นารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ หน้า ๒ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ
(ภาพ) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมขุนพิศณุโลกประชานารถ (ภาพ) สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง ทรงฉายร่วมกับพระโอรสและ พระราชนัดดา ในปี พ.ศ. ๒๔๕๓ แถวยืนจากซ้าย สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสมี า, พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อย่หู ัว, สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟ้าจักรพงษ์ภวู นารถ กรมหลวงพศิ ณุโลกประชานารถ แถวน่ังจากซ้าย สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธชุ ธราดลิ ก กรมขุนเพ็ชรบูรณอ์ นิ ทราไชย, พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ จลุ จักรพงษ,์ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอย่หู วั พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๓
เมื่อมีพระชนมายุ ๙ พรรษา ทรงรับสถาปนาพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้า จักรพงษ์ภูวนารถ กรมขุนพิศณุโลกประชานารถ๔ พระองค์ทรงเข้ารับการศึกษาเบื้องต้นท่ีโรงเรียนราชกุมาร ในพระบรมมหาราชวัง ท่ามกลางกระแสการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตกซ่ึงแผ่อิทธิพลในภูมิภาคเอเชีย หลายประเทศต่างตกเป็นเมืองขึ้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงความสาคัญของ การพัฒนาบ้านเมืองให้ทัดเทียมอารยประเทศ ทรงส่งพระราชโอรสผู้ทรงมีความสามารถเสด็จไปศึกษ า วิทยาการสมัยใหม่จากประเทศต่าง ๆ ในยุโรป เพื่อนาความรู้มาบริหารบ้านเมือง อีกทั้งยังเป็นการเจริญ สมั พนั ธไมตรกี บั ชนชัน้ เจา้ นายระดับสูงของประเทศมหาอานาจอีกด้วย (ภาพ) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงฉายร่วมกับพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ ๒ (Nicholas II) ในโอกาส เสดจ็ ประพาสยโุ รป ขณะสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมขุนพิศณุโลกประชานารถ มีพระชนมายุ ๑๔ พรรษา ได้เสด็จไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ จากน้ันทรงเข้ารับการศึกษาต่อ ณ โรงเรียนนายร้อย มหาดเล็ก Corps de Pages ประเทศรัสเซีย เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมี สายสมั พันธ์อันดีกับพระเจา้ ซารน์ โิ คลสั ท่ี ๒ (Nicholas II) แห่งประเทศรสั เซยี ในฐานะมหามิตรแห่งสยาม ทง้ั น้ี พระเจ้าซารน์ โิ คลัสที่ ๒ ทรงอปุ ถมั ภ์ดแู ลพระองค์เสมือนพระญาติวงศใ์ กล้ชิด สมเด็จฯ เจา้ ฟ้าจกั รพงษภ์ วู นารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ ทรงมีพระวิริยะอุตสาหะในการศึกษาเป็นอย่างย่ิง ทรงสอบไล่ได้เป็นท่ี ๑ ๔ คานาพระนามของพระบรมวงศานุวงศเ์ ป็นคาทม่ี ีความหมายให้ทราบถงึ ความสมั พันธก์ บั องคพ์ ระมหากษตั ริยห์ รอื เป็นพระประยูรญาติ ชนั้ ใดในพระมหากษตั ริย์ ดังนั้น คานาพระนามจึงมกี ารเปลย่ี นแปลงตามรัชกาล หน้า ๔ พระพุทธศาสดาประชานาถ
ทาคะแนนได้สูงสุดเป็นประวัติการณ์ โรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กจึงจารึกพระนามไว้บนแผ่นศิลาอ่อนของ โรงเรียน จากน้ันทรงเข้ารับการศึกษาต่อในโรงเรียนนายทหารฝ่ายเสนาธิการ และทรงสอบไล่ได้เป็นที่ ๑ อีกครั้ง พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ ๒ ทรงพอพระราชหฤทัยอย่างย่ิง จึงโปรดเกล้า ฯ แต่งต้ังยศทูลกระหม่อมเป็น นายพันเอกพิเศษในกองทัพบกรัสเซีย และเป็นนายทหารพิเศษในกรมทหารม้าฮุสซาร์ (Hussars) ของสมเด็จ พระเจ้าซาร์นิโคลัสท่ี ๒ นอกจากนี้พระองค์ได้รับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์เซนต์อันเดรย์ ชั้นสายสะพาย (Decoration of Saint Andre of Russia) ซึ่งเป็นตราสูงสุดของประเทศรัสเซียในสมัยน้ัน อีกดว้ ย (ภาพ) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ ทรงชุดเต็มยศ นายทหารพเิ ศษ กรมทหารมา้ ฮุสซาร์แห่งรสั เซียในพระจกั รพรรดซิ ารน์ ิโคลสั ท่ี ๒ แห่งรสั เซยี ชีวิตครอบครัว ขณะศึกษาท่ีโรงเรียนเสนาธิการ สมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมขุนพิศณุโลกประชานารถ ทรงพบรักกับเอกาเทรินา (คัทริน) อิวานอฟนา เดนิตสกายา (Catherine Desnitski) ซ่ึงเป็นธิดาของประธาน ผู้พิพากษาสูงสุดของแคว้นลุตซ์ก ในเขตยูเครน เธอทางานเป็นพยาบาลประจาโรงพยาบาลสนาม แต่ด้วย ความที่พระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์หนึ่งที่เป็นความหวังของพระบรมราชชนกชนนี เพราะเป็นพระราช โอรสท่ีมีพระสติปัญญาฉลาดเฉลียว พระจริยวัตรงดงาม และยังทรงอยู่ในฐานะรัชทายาทพระองค์ที่ ๒ ต่อจาก พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๕
สมเด็จฯ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ พระเชษฐา ทาให้ต้องทรงประพฤติปฏิบัติพระองค์ตามกรอบขนบประเพณีอย่าง เคร่งครัด ทัง้ น้ี พระองคท์ รงเกรงวา่ จะไม่ไดพ้ ระราชทานพระบรมราชานุญาต จงึ ตัดสินพระทัยอภิเษกสมรสกับ นางสาวคัทริน โดยมไิ ดก้ ราบทลู ใหพ้ ระราชบดิ าและจกั รพรรดิซาร์ทรงทราบ หลังสาเร็จการศึกษาเมื่อ พ.ศ.๒๔๔๙ เสด็จกลับเมืองไทยพร้อมหม่อมคัทริน พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรงกร้ิวเป็นที่สุด และไม่โปรดรับ หม่อมคัทรินเป็นสะใภ้หลวง แต่พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้พระองค์และพระชายาประทับร่วมกันที่ วงั ปารสุ กวนั ในปลายปี พ.ศ.๒๔๕๐ หม่อมคทั รนิ ไดป้ ระสตู ิพระโอรสเป็นชายพระองค์แรกและพระองคเ์ ดียวคือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์๕ ด้วยความแตกต่างด้านวัฒนธรรมและความคิดถึงครอบครัวเดิม จึง ทาให้สุขภาพทางกายและทางใจของหม่อมคัทรินทรุดโทรมลง จนต้องเดินทางเข้ารับการรักษา ในต่างประเทศ และได้หย่าขาดจากสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมขุนพิศณุโลกประชานารถ ในปี พ.ศ.๒๔๖๒ (ภาพ) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณโุ ลกประชานารถ หม่อมคัทริน พิศณุโลก หรือ หมอ่ มคัทรนิ จักรพงษ์ ณ อยุธยา และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ จลุ จกั รพงษ์ พระโอรส ๕ ขณะประสตู พิ ระองค์ดารงพระอสิ ริยยศเปน็ หม่อมเจา้ ตอ่ มาพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า สถาปนาเป็นพระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้า เมือ่ วันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๓ หน้า ๖ พระพุทธศาสดาประชานาถ
ต่อมาพระองค์ได้ทูลขอพระบรมราชานุญาตเพ่ืออภิเษกสมรสกับหม่อมเจ้าหญิงชวลิตโอภาศ รพีพัฒน์ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ แต่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่ได้ พระราชทานพระบรมราชานญุ าต จงึ ทรงรว่ มชีวิตกันเองโดยมไิ ด้มพี ิธีอภิเษกสมรส เอกาเทรนิ า (คัทริน) อิวานอฟนา สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ หมอ่ มเจ้าหญงิ ชวลติ โอภาศ รพีพฒั น์ เดนติ สกายา เจา้ ฟา้ จกั รพงษภ์ วู นารถ กรมหลวงพศิ ณุโลกประชานารถ (Catherine Desnitski) พระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ จลุ จกั รพงษ์ เอลสิ ะเบธ ฮนั เตอร์ (Elisabeth Hunter) ๖ อา่ นว่า นะ-ริด-สา ม.ร.ว.นรศิ รา๖ จักรพงษ์ ลาดบั ราชสกุลจกั รพงษ์ หน้า ๗ พระพุทธศาสดาประชานาถ
ชวี ิตการทางาน หลังสาเร็จการศึกษาจากประเทศรัสเซีย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ พระองค์ร้ังตาแหน่งเสนาธิการทหารบก ยศนายพลตรี ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจอันเป็นประโยชน์ใหญ่ยิ่งแก่ กองทัพไทยจวบจนปัจจุบัน ทรงริเริ่มจัดการงานของกองทัพให้เป็นระเบียบแบบแผนเรียบร้อยอย่างนานา อารยประเทศ ทรงเข้ารับตาแหน่งผู้ช่วยผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ ทรงช่วย จอมพล พระเจ้าพี่ยาเธอฯ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการในเวลานั้น วางรากฐานการทางานด้านการทหาร อย่างเป็นระบบ เม่ือคร้ังดารงตาแหน่งผู้บัญชาการโรงเรียนทหารบกและเจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบก ทรงวาง และขยายระบบการศึกษาให้กว้างขวางทันสมัย ขณะเป็นเสนาธิการทหารบก ทรงปรับปรุงงานเสนาธิการและ จัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงวางแนวทางหลักสูตร และคัดเลือกนายทหารท่ีมีคุณสมบัติอันเหมาะสมเข้ารับ การศึกษา เพื่อให้การศึกษาแก่นายทหารท่ีจะทาหน้าท่ีฝ่ายเสนาธิการ นอกจากน้ียังทรงเรียบเรียงตารา เรื่อง “พงษาวดารยุทธศิลปะ” และเอกสารอ่ืน ๆ จานวนมากเพื่อใช้ศึกษาในโรงเรียนเสนาธิการ ทั้งน้ี โรงเรียน เสนาธิการยังคงใชเ้ ปน็ แนวทางในการพัฒนาการศึกษาสบื จนถึงปจั จุบัน ช่วงสงครามโลกคร้ังที่หนึ่ง หลังจากคงท่าทีเป็นกลางอย่างเคร่งครัดมาเกือบ ๓ ปี สมเด็จพระเจ้า น้องยาเธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ ซึ่งดารงตาแหน่งเสนาธกิ ารทหารบกและ เป็นนายทหารกิตตมิ ศักด์ิของกองทหารม้าฮสุ ซาร์ของรัสเซีย และพระวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าจรูญศักด์ิกฤดากร อัครราชทูตสยามประจากรุงปารีส ทูลเสนอแนะว่าควรเข้าร่วมสงคราม สยามจะได้ประโยชน์เป็นอย่างมาก ถ้าส่งกองทหารไปยังทวีปยุโรป เพราะเป็นการแสดงให้เห็นถึงความจริงใจและความตั้งใจที่จะเป็นพันธมิตร ที่แข็งขัน ซึ่งจะช่วยเพ่ิมโอกาสในการปรับแก้สนธิสัญญาต่าง ๆ ที่ไม่เป็นธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งสนธิสัญญา เบาว์ริง (Bowring Treaty) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงประกาศสงครามกับฝ่าย มหาอานาจกลาง ซึ่งนาโดยเยอรมนีและออสเตรีย – ฮังการี และทรงนาสยามเข้าร่วมกับกลุ่มพันธมิตร ท้ังน้ี มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เล่ือนพระยศสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณโุ ลกประชานารถ จากนายพลเอกเปน็ จอมพล ทาหน้าทจ่ี ัดส่งทหารอาสาประมาณ ๑,๒๕๐ คน ประกอบด้วย หน่วยขนส่งยานยนต์ บุคลากรทางการแพทย์ และนักบิน ไปร่วมรบที่แนวรบด้านตะวันตก (Western Front) หลังสงครามสิ้นสุด สยามสามารถล้มเลิกสนธสิ ญั ญาที่ไมเ่ ปน็ ธรรมกบั ประเทศตา่ ง ๆ ได้เป็น ผลสาเร็จ อกี ทั้งไดก้ ้าวสกู่ ารเปน็ สว่ นหนึง่ ประชาคมโลก เป็นสมาชิกผกู้ อ่ ต้ังองค์การสนั นิบาตชาติ ประวัติศาสตร์การบินของไทยเริ่มต้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะนั้น ประเทศฝรั่งเศสกาลังพัฒนาด้านการบิน สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวง พิศณโุ ลกประชานารถ เสด็จทอดพระเนตรกจิ การทหารของยโุ รป โดยเฉพาะอย่างย่ิงความก้าวหนา้ ด้านการบิน ในประเทศฝร่ังเศส พระองค์ตระหนักถึงความจาเป็นท่ีประเทศสยามต้องมีเคร่ืองบินไว้ป้องกันประเทศ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ชาวเบลเยียมนาเคร่ืองบิน มาแสดงการบินให้ชาวสยามได้ชม ณ สนามม้าสระปทุม คร้ังนั้นสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวง หน้า ๘ พระพุทธศาสดาประชานาถ
พิศณุโลกประชานารถ และกรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ได้ทรงผลัดกันประทับบนเครื่องบินที่ทำการแสดง พระองค์ทรงมีพระวิสัยทัศน์เล็งเห็นถึงประโยชน์ด้านการบินในอนาคต ดังพระดำรัสของพระองค์ตอนหนึ่งว่า “...กำลังในอากาศ เป็นโล่อันแท้จริงอย่างเดียว ที่จะกันมิใหก้ ารสงครามมาถงึ ท่ามกลางประเทศของเราได้ ทั้งยงั เปน็ ประโยชน์ใหญ่ยิ่งในการคมนาคมเวลาปกต.ิ ..” (ภาพ) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ ประทับหลังนายแวน เดอ บอร์น นักบินชาวเบลเยี่ยมบนเครื่องบินแบบอังรีฟาร์มัง ของฝรั่งเศส ในการแสดงการบินให้ประชาชนได้ชมที่สนามม้า สระปทมุ เป็นครงั้ แรกของประเทศไทย ขณะดำรงตำแหน่งเสนาธิการทหารบกและรั้งตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม พระองค์มีพระดำริ ให้เริ่มกิจการบินขึ้นในกองทัพบก และคัดเลือกนายทหาร ๓ นาย ได้แก่ นายพันตรี หลวงศักดิ์ศัลยาวุธ (สุณี สุวรรณประทีป) ผู้บังคับการกองพันพิเศษ กองพลที่ ๕ นายร้อยเอก หลวงอาวุธสิขิกร (หลง สินศุข) ผู้บังคับการกองพันพิเศษ กองพลที่ ๙ นายร้อยโท ทิพย์ เกตุทัต ผู้บังคับกองร้อยที่ ๓ โรงเรียนนายร้อย ชั้นมัธยม ไปศึกษาวิชาการบิน ณ ประเทศฝรั่งเศส และกลับมาเป็นนักบินของกองทัพรุ่นแรกและเร่ิม วางรากฐานกจิ การบนิ ณ สนามม้าสระปทุม ทง้ั นี้ กระทรวงกลาโหมไดส้ ั่งซอ้ื เครอื่ งบินจากประเทศฝรง่ั เศสไว้ใช้ ในราชการ จำนวน ๘ เครื่อง หลังจากนั้น จอมพล สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ มีพระดำริให้ย้ายมาตั้งอยู่ที่เขตดอนเมือง ทรงทำนุบำรุงส่งเสริมกิจการบิน พระพทุ ธศาสดาประชานาถ หน้า ๙
ทั้งในกิจการทหารและกิจการพลเรือน ในปี พ.ศ.๒๔๖๒ โปรดเกล้าฯ ให้ทดลองใช้เครื่องบินนาถุงไปรษณีย์ จากดอนเมืองไปจังหวัดจันทบุรี และในเวลาต่อมาได้ใช้กิจการบินทาการส่งเวชภัณฑ์และลาเลียงผู้เจ็บป่วย ทางอากาศ ทรงวางรากฐานแนวทางเสริมสร้างกาลังทางอากาศของประเทศไทยอย่างจริงจัง กิจการบินได้รับ การเลื่อนฐานะขนึ้ เปน็ กองบินทหารบก ในวันท่ี ๒๗ มีนาคม พ.ศ.๒๔๕๗ นบั ตัง้ แตน่ ัน้ กาลงั ทางอากาศได้พัฒนา กา้ วหนา้ มาเป็นลาดับ และยกฐานะขึ้นเปน็ “กองทพั อากาศ” เมื่อวนั ท่ี ๙ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๐ กองทัพอากาศน้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณและเทิดพระเกียรติด้วยการทูลเกล้าทูลกระหม่ อม ถวาย พระสมญั ญานามว่า “พระบดิ าแหง่ กองทัพอากาศไทย” (ภาพ) จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ ในฉลองพระองค์ เตม็ ยศของกรมทหารราบที่ ๑ มหาดเลก็ รกั ษาพระองค์ พระกรณียกจิ อ่ืน ๆ ในด้านส่วนราชการอื่น ๆ พระองคท์ รงทาหนา้ ท่ีกากบั การก่อสรา้ งโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ซึ่งเปน็ ทตี่ ้ัง สภากาชาดไทย ทรงมีส่วนริเริ่มในการก่อต้ังสภากาชาดไทย โดยทรงดารงตาแหน่งอุปนายกผู้อานวยการ สภากาชาดไทยเป็นพระองค์แรก นอกจากน้ีทรงดาริให้ร่างระเบียบการและสร้างความเจริญใหแ้ ก่สภากาชาดไทย อย่างรอบด้าน อนั เป็นประโยชน์ในการรักษาผูป้ ว่ ยอย่างมปี ระสิทธิภาพ หน้า ๑๐ พระพุทธศาสดาประชานาถ
การเสดจ็ ทิวงคต (ภาพ) หม่อมเจ้าหญงิ ชวลิตโอภาศ รพพี ัฒน์ ทรงเป็นพระชายาองค์ท่ี ๒ ในพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟ้าจกั รพงษภ์ ูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ หลังทรงหย่ารา้ งกับ หมอ่ มคัทริน จอมพล สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ เสด็จ ประพาสทะเลทางฝัง่ แหลมมลายู โดยมีหมอ่ มเจ้าหญิงชวลิตโอภาศ พระชายา พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า จุลจักรพงษ์ พระโอรส และพันเอกพระยาสุรเสนา ปลัดกรมเสนาธิการทหารบก ตามเสด็จ ทรงประชวรด้วย พระอาการไข้ตลอดทาง และกาเริบหนักจนลุกลามเป็นพระปับผาสะเป็นพิษ (โรคปอดบวม) เรือต้องเทียบท่า ท่ีเมืองสิงคโปร์เมื่อวันท่ี ๘ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๖๓ ครั้นความทราบถึงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พันโทสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยธรรมราชา และพันเอก พระศักดาพลรักษ์ รีบเดินทางโดยรถไฟพิเศษไปสมทบกับนายแพทย์ท่ีประเทศสิงคโปร์เพ่ือรักษาพระอาการ คณะแพทย์ได้ถวายการรักษาจนสุดความสามารถ แต่ทว่าไม่เป็นผล พระองค์เสด็จทิวงคตเม่ือวันที่ ๑๓ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๖๓ เวลา ๑๓ นาฬิกา ๕๐ นาที สิริพระชนมายุได้ ๓๗ พรรษา ๓ เดือน ๑๐ วัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และข้าราชการฝ่ายทหารต่างโศกเศร้าอาลัย ดังความตอนหน่ึง ในคานาหนังสอื ท่ีทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหพ้ มิ พ์แจกในงานพระราชพิธพี ระราชทานเพลิงพระศพว่า ....นอกจากเธอเป็นน้องที่ข้าพเจ้ารักมากท่ีสุด เธอยังได้เป็นท่ีปรึกษาและผู้ช่วยราชการอย่างดีที่สุด หาผู้ใดเสมอเหมือนมิได้ โดยเหตุที่ข้าพเจ้าเป็นผู้มีอายุมากกว่าเธอ ข้าพเจ้าจึงได้เคยหวังอยู่ว่าจะได้อาศัยกาลัง พระพทุ ธศาสดาประชานาถ หน้า ๑๑
ของเธอต่อไปจนตลอดชวี ิตของข้าพเจ้า ฉะน้นั เมอื่ เธอได้มาสิ้นชวี ิตลงโดยดว่ นในเม่ือมีอายยุ ังน้อย ข้าพเจ้าจะมี ความเศร้าโศกอาลัยปานใด ขอท่านผู้ที่ได้เคยเสียพ่ีน้องและศุภมิตรผู้สนิทชิดใจจงตรองเองเถิด ข้าพเจ้ากล่าว โดยย่อ ๆ แต่เพียงว่า ข้าพเจ้ารู้สึกตรงกับความที่สมเด็จกรมพระยาปรมานุชิตชิโนรส ได้ทรงไว้ใน เตลงพ่ายว่า “ถนดั ด่ังพาหาเหีย้ น หน่ั ใหไ้ กลองค์” หลังจาก จอมพล สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ เสด็จทิวงคต พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช พระราชทานเศวตฉัตร ๕ ชั้น ประดับเหนือพระโกศ ท้ังน้ี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชทานเพลิงพระศพ พระอนุชา ณ พระเมรุท้องสนามหลวง เม่ือวันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ.๒๔๖๓ พระอัฐิของพระองค์ได้บรรจุไว้ ที่อนุสรณส์ ถาน เสาวภาประดิษฐาน ณ สุสานหลวง วดั ราชบพธิ สถิตมหาสมี าราม ตราบเท่าทกุ วันนี้ หน้า ๑๒ พระพุทธศาสดาประชานาถ
(ภาพ) ดอยอนิ ทนนท์ต้ังอยใู่ นอาเภอจอมทอง อาเภอแม่แจ่ม อาเภอแมว่ าง และก่งิ อาเภอดอยหลอ่ จงั หวัดเชยี งใหม่ ตามคติความเชื่อในสมัยโบราณ เช่ือกันว่าพ้ืนโลกแบน มีเขาพระสุเมรุเป็นศูนย์กลางจักรวาลท่ีลอย อยู่เหนอื พนื้ นา้ และมี “ปลาอานนท์” หนนุ อยู่ขา้ งใต้ บนยอดเขาพระสุเมรุจะเปน็ “สวรรค์ช้ันดาวดงึ ส์” ซึ่งเป็น ทตี่ งั้ ของนครไตรตรึงษ์ หรือ“นครแห่งเทพ” และภายในมีไพชยนตม์ หาปราสาท ซ่ึงเปน็ ทปี่ ระทบั ของพระอินทร์ ผู้อภบิ าลโลกและพทิ ักษ์คณุ ธรรมใหแ้ ก่มนุษย์ ภเู ขาจงึ เป็นสถานท่ีซ่ึงท้าใหม้ นุษย์อยู่ใกลส้ รวงสวรรค์ได้มากที่สุด นอกจากนย้ี งั เปน็ แหล่งสรรพสิง่ ทก่ี ่อก้าเนดิ การผลิดอกออกผลและความเจริญงอกงามแก่มวลมนุษยชาติอีกดว้ ย ดอยอินทนนท์ตั้งอยู่ในอ้าเภอจอมทอง อ้าเภอแม่แจ่ม อ้าเภอแม่วาง และกิ่งอ้าเภอดอยหล่อ จังหวัด เชียงใหม่ เปน็ ดินแดนสูงสดุ แห่งสยาม เหนือจากระดบั น้าทะเล ๒,๕๖๕ เมตร เป็นผนื ปา่ ดงดบิ ขนาดใหญ่ที่อุดม ด้วยพันธุ์ไม้และสัตว์ป่านานาพรรณ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กวางผา ซ่ึงเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมที่อาศัยอยู่บน แนวผาสูงชันเกินกว่าท่ีจะปีนป่าย เคลื่อนตัวได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว เช่ือกันว่าเป็นพาหนะของเทวดา เมอ่ื หยาดฝนและนา้ ค้างจากเมฆหมอกทีละหยดลงยอดเขาบนดอย ทา้ ให้สถานทแี่ หง่ นกี้ ลายเป็นป่าเมฆสวยงาม ตามต้านานเล่าขาน คนกลุ่มแรกท่ีค้นพบป่าเมฆแห่งนี้คือ บรรพบุรุษของชาวปกาเกอะญอ ที่แสวงหาถ่ินท่ีอยู่ อาศัยแห่งใหม่ พวกเขาท้าพิธีปักไม้เท้าลงดิน ๗ คร้ัง พบว่าดินสามารถท่วมไม้เท้าท่ีปักจนเต็มท้ัง ๗ ครั้ง เป็น สัญญาณบอกถึงความอุดมสมบูรณ์ของผืนดิน จากนั้นจึงอพยพญาติพ่ีน้องมาต้ังถิ่นฐานบนดอยนับแต่นั้นมา และเรียกขานสถานที่แห่งน้ีตามภาษาปกาเกอะญอว่า “เกอะเจ่อโดะ” มีความหมายว่า ภูเขาใหญ่ ส่วนคนพ้ืน ราบเรยี กว่า “ดอยหลวง” เพราะค้าว่า “หลวง” ในภาษาเหนือมีความหมายว่า “ใหญ”่ แต่มีบางกระแสเล่าต่อ พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๑๓
กันมาว่า ห่างจากยอดดอยไปทางทิศตะวันตกประมาณ ๓๐๐ เมตร มีหนองน้ำแห่งหนึ่งลักษณะเหมือนอ่าง ฝูงกาจำนวนมากมักพากันไปเล่นน้ำที่หนองน้ำแห่งนี้ จึงพากันเรียกว่า “อ่างกา” และภูเขาขนาดใหญ่แห่งนั้น จงึ มอี กี ชือ่ หนึง่ วา่ “ดอยอ่างกา” (ภาพ) ปา่ เมฆแห่งดอยอินทนนท์ แต่เดิมป่าไม้ทางภาคเหนืออยู่ในความดูแลของเจ้าผู้ครอบครองนคร พระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้ายทรงเห็นความสำคัญของป่าไม้เป็นอันมาก ทรงผูกพันกับ“ดอยหลวง” เป็นพิเศษ รับสั่งว่าหากพระองค์ถึงแก่พิราลัย ขอให้นำพระอัฐิส่วนหนึ่งไปบรรจุไว้บนยอดดอยหลวง นับแต่นั้นมา ดอยหลวงไดร้ ับการเปลีย่ นชือ่ เปน็ “ดอยอินทนนท์” ตามพระนามของเจา้ ผู้ครองนคร หน้า ๑๔ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ
(ภาพ) สถปู บรรจพุ ระอัฐิของพระเจา้ อนิ ทวชิ ยานนทป์ ระดิษฐานอยใู่ นปา่ ดอยอินทนนท์ (ภาพ) หมดุ ฝงั ระบคุ วามสูงที่กรมแผนท่ีทหารดำเนนิ การตามพระราชกระแสรบั สงั่ ในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว ใหส้ ำรวจพนื้ ทีต่ ่าง ๆ ของประเทศ พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๑๕
ป่าดอยอินทนนท์ นับเป็นป่า ๑ ใน ๑๔ แห่ง ที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติในการประชุมเม่ือวันที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๒ ให้จัดต้ังเป็นอุทยานแห่งชาติ ต่อมากฎกระทรวงฉบับท่ี ๑๐๓ (พ.ศ.๒๕๐๒) ออกตามความ ในพระราชบัญญัติคุ้มครองและสงวนป่า พ.ศ.๒๔๘๑ ก้าหนดให้ป่าดอยอินทนนท์ในท้องที่ ต้าบลบ้านหลวง อ้าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นป่าสงวนแห่งชาติ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๐๘ กองบ้ารุง กรมป่าไม้ (ขณะน้ัน เป็นหมวดอุทยานแห่งชาติ สังกัดกองบ้ารุง) ได้มีค้าสั่งท่ี ๑๑๙/๒๕๐๘ ลงวันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๐๘ ให้นายนพิ นธ์ บญุ ทารมณ์ นักวชิ าการปา่ ไม้ตรี สา้ รวจหาขอ้ มูลเบอื้ งต้น และเมอื่ วันที่ ๑๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๑๕ นายปรีดา กรรณสูต ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้สั่งการให้นายอุดม ธนัญชยานนท์ นักวิชาการ ป่าไม้โท ส้ารวจทางเฮลิคอปเตอร์ พบว่าป่าดอยอินทนนท์มีสภาพเป็นป่าสมบูรณ์ เป็นป่าต้นน้าล้าธาร มีสภาพ ทิวทัศน์และเอกลักษณ์ทางธรรมชาติที่สวยงาม ตลอดจนเป็นท่ีอยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด การประชุม คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ครั้งท่ี ๑/๒๕๑๕ จึงมีมติให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ ต่อมาศูนย์ อ้านวยการร่วม ฝ่ายรักษาความมั่นคงแห่งชาติ ได้มีหนังสือที่ กห ๐๓๑๒/๔๗๕๗ ลงวันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๑๕ เสนอต่อ จอมพลถนอม กิตติขจร หัวหน้าคณะปฏิวัติ ก้าหนดให้ป่าดอยอินทนนท์เป็นเขตอุทยาน แหง่ ชาติ ทัง้ น้ี สภาบริหารคณะปฏวิ ัติ ไดม้ ีมติเมอ่ื วนั ที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๑๕ อนุมัตหิ ลกั การให้ดา้ เนนิ การได้ กรมป่าไม้ก้าหนดให้ท่ีดินป่าดอยอินทนนท์ในท้องที่ต้าบลบ้านหลวง ต้าบลสบเต้ีย ต้าบลสองแคว ต้าบลยางคราม อ้าเภอจอมทอง ต้าบลแม่วิน อ้าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ครอบคลุมเนื้อที่ ๑๖๘,๗๕๐ ไร่ เปน็ อทุ ยานแห่งชาติ โดยมีประกาศคณะปฏิวัติ ฉบบั ที่ ๒๒๓ ลงวนั ท่ี ๒ ตลุ าคม ๒๕๑๕ ลงในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๘๙ ตอนท่ี ๑๔๘ ลงวนั ที่ ๒ ตลุ าคม ๒๕๑๕ เปน็ อุทยานแห่งชาติลา้ ดับท่ี ๖ ของประเทศ หน้า ๑๖ (ภาพ) จุดชมวิวบนยอดดอยอนิ ทนนท์ พระพุทธศาสดาประชานาถ
เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ.๒๕๑๗ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จ พระราชดำเนินไปยังบริเวณดอยขุนกลาง อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ มีพระราชกระแสรับสั่งให้ขยายอาณาเขต ของอทุ ยานแห่งชาติครอบคลมุ พ้ืนทบี่ ริเวณแหล่งกำเนดิ ต้นน้ำลำธาร กรมป่าไมไ้ ด้ตรวจสอบและสำรวจเพ่ิมเติม พบว่าพื้นที่ตำบลแม่ศึก ตำบลช้างเคิ่ง และตำบลท่าผา ไม่ได้อยู่ในแนวเขตอุทยานดังกล่าว อีกทั้ง กองทัพอากาศ ประสงค์ที่จะใช้พื้นที่ ๓๓ ไร่ ๒ งาน ๓๗ ตารางวา เพื่อก่อสร้างสถานีรายงานใช้ในราชการ กองทัพอากาศ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบและอนุมัติให้ดำเนินการได้ เมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๑๗ ตอ่ มากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประสงค์ทจี่ ะปรับปรงุ ขยายแนวเขตอุทยานแห่งชาติ ได้กำหนด ป่าสงวนแห่งชาติอินทนนท์ ป่าสงวนแห่งชาติป่าจอมทอง และป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เปน็ อทุ ยานแห่งชาติ ท่ีประชุมคณะกรรมการแห่งชาติ ครั้งที่ ๑/๒๕๑๘ เม่ือวันท่ี ๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๑๘ มีมติ เห็นชอบ กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ จึงดำเนินการเพิกถอนป่าสงวนแห่งชาติทั้ง ๓ แห่ง แล้วจัดตั้งเป็น อุทยานแห่งชาติ โดยออกพระราชกฤษฎีกา กำหนดให้บริเวณป่าดอยอินทนนท์ ในท้องที่ตำบลแม่นาจร ตำบล ช้างเคิ่ง ตำบลท่าผา อำเภอแม่แจ่ม ตำบลแม่วิน ตำบลทุ่งปี้ อำเภอสันป่าตอง ตำบลสองแคว ตำบลยางคราม ตำบลบ้านหลวง ตำบลสบเต้ีย อำเภอจอมทอง จงั หวดั เชยี งใหม่ รวมเน้อื ท่ี ๓๐๑,๕๐๐ ไร่ เป็นอุทยานแห่งชาติ ในปี พ.ศ.๒๕๒๑ ทง้ั น้ี ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๙๕ ตอนท่ี ๖๒ ลงวนั ท่ี ๑๓ มถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๒๑ โดยให้ยกเลิกประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๒๓ ลงวนั ที่ ๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๑๕ ดอยอินทนนท์ถือว่าเป็นอุทยานแห่งชาติที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์และงดงาม เป็นป่าพรุแห่งเดียว ในประเทศไทยซึ่งตั้งอยู่บนที่สูงบริเวณยอดดอย และมีน้ำตกน้อยใหญ่ไหลไมข่ าดสายตลอดปี เช่น น้ำตกแม่ยะ น้ำตกวชิรธาร น้ำตกแม่กลาง และน้ำตกสิริภูมิ อย่างไรก็ตาม ดอยอินทนนท์ได้รับการพัฒนาเพื่อส่งเสริม คุณภาพชีวิตของคนในท้องที่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร ทรงใหค้ วามสำคัญกบั การพฒั นาพนื้ ทแ่ี หลง่ ทำกนิ ของพสกนิกร ในปี พ.ศ.๒๕๒๖ มีการจดั ตั้งศนู ย์พัฒนา โครงการหลวงขนุ แปะ ใหค้ วามร้แู กเ่ กษตรกรในการปลูกผลไม้และพชื ผักฤดูหนาว อนั เป็นการชว่ ยพัฒนาอาชีพ และรายได้ให้แกช่ าวเขาในพ้ืนท่ี นอกจากน้ีสถานเี กษตรหลวงอนิ ทนนท์ ซง่ึ เป็นสถานวี จิ ยั พืชเขตหนาว ๑ ใน ๔ แห่ง ของโครงการหลวง ได้รับการก่อตั้งขึ้น มีหน้าที่หลักในการพัฒนาและวิจัยพืชผักและไม้ดอกไม้ใบเมืองหนาว หลากหลายชนิด เพื่อสรา้ งอาชีพและรายไดใ้ หก้ บั ชนกลมุ่ นอ้ ยซึง่ อาศัยบนพน้ื ทส่ี ูงบรเิ วณยอดเขา ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร กองทัพอากาศได้จัดสร้างพระมหาธาตุนภเมทนีดล เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา ครบ ๕ รอบ และกองทัพอากาศมีอายคุ รบ ๗๐ ปี เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๓๐ พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๑๗
พระมหาธาตุนภเมทนีดลเป็นเจดีย์ ๘ เหลี่ยม ต้ังอยู่บนฐานทักษิณ ๒ ชั้น แต่ละช้ันมีก้าแพงแก้ว ล้อมรอบ เหนือก้าแพงแก้วทั้งสองชั้นท้าเป็นซุ้มประดับด้วยภาพปั้นดินเผาจากด่านเกวียนท้ัง ๒ ด้าน รวมท้ัง ผนังของเรือนธาตุด้วย เล่าเร่ืองทศชาติ ธรรมชาติจากป่าหิมพานต์ และประดับด้วยรูปปีกสัญลักษณของ กองทัพอากาศ ฐานทักษิณมีบันไดทางขึ้นไปยังเรือนธาตุ ท่ีมีประตูทางเข้า ๔ ประตู เหนือกรอบทุกประตู ประดิษฐานพระปรมาภิไธยย่อ “ภปร” ถัดจากเรือนธาตุข้ึนไปเป็นองค์ระฆังท่ีมีมาลัยเถา ๓ ช้ัน เหนือขึ้นไป เป็นบัลลังก์ท้าเป็นกลีบบัว ๘ กลีบ ส่วนปลียอดสีทองทรงดอกบัวตูม ๘ เหล่ียม ยอดสุดเป็นฉัตรโลหะสีเงิน ๙ ช้ัน ผิวนอกองค์เจดีย์ประดับด้วยโมเสคสีน้าตาล สูงจากชานพักช้ันล่างถึงยอดปลี ๖๐ เมตร ภายในเรือนธาตุ ประดิษฐานพระพุทธรูปปางประทานพร หน้าตักกว้าง ๖๐ นิ้ว แกะสลักด้วยหินแกรนิตสีเขียวจากประเทศ อินโดนีเซีย ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานนามว่า “พระพุทธบรมศาสดานวมินทรมหาจักรีราชานุสรณ์ สัฐิพรรษาสถาพรพิพัฒน์ ” มคี วามหมายวา่ “พระพุทธเจา้ พระบรมศาสดา” (ภาพ) พระมหาธาตุนภเมทนดี ล และในปี พ.ศ.๒๕๓๕ กองทัพอากาศไดส้ ร้างพระมหาธาตุนภพลภมู สิ ิริ เพอ่ื ถวายพระเกียรติแด่ สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา ครบ ๕ รอบ พระมหาธาตุนภพลภูมิสิริ เป็นเจดีย์ ๑๒ เหลี่ยม ต้ังอยู่บนฐานทักษิณ ๒ ชั้น แต่ละช้ันมีก้าแพงแก้ว ล้อมรอบ เหนอื ก้าแพงแกว้ ทั้งสองช้นั มีซมุ้ ทีป่ ระดบั ด้วยภาพปน้ั ดนิ เผาเคลือบสนี ้าตาลทั้ง ๒ ดา้ น เล่าเร่อื งราว หน้า ๑๘ พระพุทธศาสดาประชานาถ
ของเหล่าอุบาสิกาที่พระพุทธเจ้าประกาศให้เป็นเลิศกว่าเหล่าอุบาสิกาทั้งหลาย รวมทั้งภาพสวรรค์ประเภท กามาวจรภูมิ ๖ ช้ัน ท่ีมนุษยพ์ ึงบ้าเพ็ญทาน ศลี ภาวนา ตามหลักพระพุทธศาสนา ฐานทักษนิ มีบันไดทางขึ้นไป ยังเรือนธาตุ ท่ีมีประตูทางเข้า ๓ ประตู เหนือกรอบทุกประตูประดิษฐานพระนามาภิไธยย่อ “สก” ผนังเรือนธาตุ ประดับด้วยภาพป้ันดินเผาระบายสีส่วนรวมเป็นสีม่วง เร่ืองเหล่าภิกษุณีท่ีพระพุทธเจ้าประกาศให้เป็นเลิศกว่า ภิกษุณีทั้งหลายในด้านต่าง ๆ ถัดจากเรือนธาตุข้ึนไปเป็นองค์ระฆังท่ีมีมาลัยเถา ๔ ช้ัน เหนือข้ึนไปเป็นบัลลังก์ ๑๒ เหล่ยี ม สว่ นปลยี อดท้าเปน็ กลีบบวั ๑๒ กลบี สีทองทรงดอกบวั ตูม ๑๒ เหลย่ี ม ยอดสดุ เปน็ ฉัตรโลหะสีเงิน ๙ ชั้น ผิวนอกองค์พระเจดีย์ประดับด้วยโมเสคแก้วสีม่วง สูงจากชานพักช้ันล่างถึงยอดปลี ๕๕ เมตร ภายใน เรือนธาตุประดษิ ฐานพระพทุ ธรูปปางรา้ พึง พระประจา้ วนั ศกุ ร์ อันเป็นวันพระราชสมภพของสมเดจ็ พระนางเจ้า สิริกิต์ิ สูง ๓.๒๐ เมตร แกะสลักด้วยหินหยกสีขาว จากประเทศจีน ซึ่งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระราชทาน นามว่า “พระพุทธสิริกิติทีฆายุมงคล” มีความหมายว่า “พระพุทธเจ้าทรงเป็นสิริมงคล และทรงเจริญ พระชนมพรรษา สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ” (ภาพ) พระมหาธาตนุ ภพลภูมสิ ริ ิ หอพระพทุ ธศาสดาประชานาถ ในปี พ.ศ.๒๕๖๓ กองทัพอากาศได้จัดสร้างพระพุทธศาสดาประชานาถ ในโอกาสครบ ๑๐๐ ปี แห่งการทิวงคตของ จอมพล สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟา้ จักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณโุ ลกประชานารถ พระบิดาแห่งกองทัพอากาศ ผู้ทรงวางรากฐานด้านการบินจนกระท่ังกลายเปน็ กองทัพอากาศทมี่ ีบทบาทส้าคัญ ในการปอ้ งกนั ประเทศมาจนถงึ ปจั จบุ นั น้ี พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๑๙
พระพุทธศาสดาประชานาถจะประดิษฐานอยู่ในหอพระพุทธศาสดาประชานาถ ตั้งอยู่บริเวณสถานี รายงานดอยอินทนนท์ กองทพั อากาศ จัดสร้างโดยกองอาคาร กรมชา่ งโยธาทหารอากาศ บรหิ ารงานออกแบบ และจัดสร้างโดย พลอากาศตรี เรืองวิทย์ ศรีนวลนัด ออกแบบโดย นาวาอากาศเอก จักรพงษ์ สุจริตธรรม และนาวาอากาศโท สายัณห์ แต้มคุณ หอพระมีลักษณะเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กสูง ๒ ช้ัน รูปทรง ตราปกี กองทัพอากาศ ตวั แท่นมคี วามสูงจากระดับน้าทะเล ๒,๕๖๗ เมตร ณ จดุ ท่ีสูงทสี่ ดุ แดนสยาม พระพุทธ ศาสดาประชานาถประดิษฐานบนฐานบุษบก ทา้ จากวสั ดุสแตนเลส โดยหันพระพกั ตรไ์ ปทางทศิ ตะวันออก ทั้งนี้ เปิดให้ข้าราชการทหารอากาศและบุคคลท่ัวไปได้มาสักการบูชา น้าพาผู้มีจิตศรัทธาก้าวข้ามสะพานบุญไปสู่ สรวงสวรรค์ ดินแดนแห่งความศกั ดิส์ ทิ ธิน์ ริ ันดร์ หน้า ๒๐ (ภาพ) ภาพจาลอง หอพระพุทธศาสดาประชานาถ พระพุทธศาสดาประชานาถ
(ภาพ) ภาพจาลอง หอพระพุทธศาสดาประชานาถ (ภาพ) การก่อสร้าง หอพระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๒๑ พระพุทธศาสดาประชานาถ
หน้า ๒๒ (ภาพ) การก่อสร้าง หอพระพุทธศาสดาประชานาถ พระพุทธศาสดาประชานาถ
พระพทุ ธรูปเป็นมรดกทางวัฒนธรรมทสี่ าคัญของโลก โดยเฉพาะประเทศทเี่ ปน็ พุทธศาสนิกชนทงั้ หลาย เป็นการแสดงออกซ่งึ ความสงู ส่งทางด้านสุนทรียศิลป์ ภูมิปัญญาในเชิงประตมิ ากรรม อีกทง้ั แสดงถึงพลงั ศรัทธา บารมีของผู้อุปถัมภ์ในการสร้างอีกด้วย และท่ีสาคัญพระพุทธรูปเป็นส่ิงยึดเหนี่ยวจติ ใจของพุทธศาสนิกชนใหม้ ี ความเป็นเอกภาพ มีความเป็นน้าหน่ึงใจเดียวกัน ประกอบด้วยแรงศรัทธาอันสูงส่งของพุทธศาสนิกชนท่ีมีต่อ พระพทุ ธรูป ฉะนน้ั การได้ทราบถึงประวัติความเป็น มาของพระพุทธรูปและวตั ถปุ ระสงค์ทีแ่ ท้จรงิ ของการสร้าง พระพุทธรูปนน้ั จึงเป็นส่ิงสาคญั อย่างยิ่งต่อพุทธศาสนิกชน๑ ความหมายของคาว่า “พระพทุ ธรปู ” พระพุทธรูป หรือ “พระพุทธปฏิมา” ตามภาษาบาลี หมายถึง พระรูปที่ใช้แทนองค์พระพุทธเจ้า ผู้เปน็ พระศาสดาในพระพทุ ธศาสนา๒ รูปพระพุทธเจ้าเป็นสัญลักษณ์ท่ีสร้างขึ้นเป็นตัวแทนองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นพระศาสดา แห่งพระพุทธศาสนา เป็นผู้ที่ก่อตั้งพระพุทธศาสนา เพื่อให้ผู้นับถือพระพุทธศาสนาได้ระลึกถึงและแสดง ความเคารพกราบไหวบ้ ชู าพระพุทธเจา้ ๓ ความเป็นมาของการสรา้ งพระพทุ ธรูป สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ๔ ประทานความเหน็ ว่า การสร้างพระพุทธรปู ปรากฏอยู่ในตานานพระแก่นจันทน์ ซ่ึงได้กล่าวถึงพุทธประวัติ ตอนท่ีพระพุทธองค์ได้เสด็จขึ้นไปเทศนา โปรด พระพุทธมารดาบนสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ และทรงค้างอยู่ท่ีดาวดึงส์สวรรค์น้ัน ๑ พรรษา ทาให้พระเจ้าปเสนทิ แหง่ กรุงโกศลท่มี ไิ ดเ้ ห็นพระพทุ ธองค์มาช้านาน ก็มคี วามราลกึ ถงึ จึงทรงรับส่งั ให้ชา่ งทาพระพทุ ธรูปดว้ ยไม้แก่น จันทน์แดงขึ้น ประดิษฐานไว้เหนืออาสนะท่ีพระพุทธองค์เคยประทับ คร้ันเมื่อพระพุทธองค์เสด็จกลับจาก ดาวดึงส์มาถึงท่ีประทับ พระแก่นจันทน์ลุกข้ึนปฏิสันถารกับพระพุทธองค์ด้วยปาฏิหาริย์ แต่พระพุทธองค์ตรัส ส่ังใหพ้ ระแกน่ จันทน์กลับไปยังท่ปี ระทับ เพือ่ รักษาไว้เปน็ ตวั อย่างพระพทุ ธรปู ซงึ่ สาธุชนจะไดใ้ ช้เป็นแบบอย่าง สร้างพระพุทธรูป เม่ือพระพุทธองค์ทรงล่วงลับไปแล้ว ความท่ีกล่าวไว้ในตานานประสงค์ที่จะอ้า งว่า “พระพุทธรูปแก่นจันทน์องค์น้ันเป็นแบบอย่างของพระพุทธรูป” ซ่ึงสร้างกันต่อมาภายหลัง หรืออีกนัยหนึ่ง คือ อ้างว่า “พระพุทธรูปมีข้ึน โดยพระบรมพุทธานุญาต และเหมือนพระพุทธองค์” เพราะตัวอย่างสร้างข้ึน ๑ พระมหาสมเจต สมจารี (หลวงกัน). พระพุทธรปู : สญั ลกั ษณแ์ ห่งศรัทธาทม่ี ตี อ่ พระพุทธเจ้า. วารสาร “ศึกษาศาสตร์ มมร” คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ปีท่ี ๔ ฉบับท่ี ๑ มกราคม - มิถุนายน ๒๕๕๙, หน้า ๙๗. ๒ สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ เล่มท่ี ๒๙ เรื่องที่ ๒ พระพทุ ธรปู ๓ Van Hien, 2003, p. 97. อ้างถงึ ใน พระธรรมปฎิ ก (ป.อาเภอ ปยตุ ฺโต) , ๒๕๔๖, หนา้ ๑๖๔. ๔ ทรงนิพนธ์หนังสอื เรอื่ ง “ตานาน พระพุทธเจดีย์” พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๒๓
ตั้งแต่ในครั้งพุทธกาล อย่างไรก็ตาม ที่กล่าวน้ีเป็นเพียงตานานท่ีน่าจะเขียนข้ึนภายหลัง เมื่อมีการสร้าง พระพทุ ธรูปกันแพร่หลายแลว้ แต่เดิมไม่เคยปรากฏว่ามีรูปเคารพในศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู และพุทธศาสนาแต่อย่างใด หลังจาก พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ผู้ที่เล่ือมใสในพุทธศาสนาจึงสร้างสิ่งท่ีทาให้ราลึกถึงหรือเป็นสัญลักษณ์ของ องค์พระศาสดา เพื่อบอกกล่าวเล่าขานเร่ืองราวขององค์พระสมั มาสมั พุทธเจ้า ผู้ทรงศึกษาหาทางดับทุกข์ และ ทรงชี้แนะสอนสั่งผู้คนเก่ียวกับการปฏิบัติเพื่อให้บรรลุถึงความเป็นอยู่ ท่ีก่อให้เกิดความผาสุกในหมู่มวลมนุษย์ และส่ิงมชี วี ติ ในโลก ท้ังนี้ ในระยะแรก พุทธศาสนกิ ชนนาส่ิงของ ได้แก่ ดนิ นา้ และก่ิง ก้าน ใบโพธ์ิ จากบรเิ วณ สงั เวชนยี สถาน ๔ แห่ง ประกอบด้วย สถานท่ปี ระสตู ิ (ลุมพนิ วี ัน) ตรสั รู้ (พทุ ธคยา) ปฐมเทศนา (สารนาถ) และ ปรินิพพาน (กุสินารา) มาไว้เป็นท่ีระลึกบูชาคุณพระพุทธเจ้า จนกระท่ังเมื่อ ๒,๒๐๐ ปีก่อน หรือหลังจาก การดับขันธ์ของพระพุทธเจ้า ๓๐๐ ปี พระเจ้าอโศกมหาราช พุทธศาสนูปถัมภกที่ย่ิงใหญ่ ทรงส่งสมณทูต จานวน ๓๐ รูป ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่เมืองตักศิลา แคว้นคันธารราฐ ทาให้มีช่ือเสียงในฐานะเป็น ”มหาวิทยาลัยแห่งแรกทางพระพุทธศาสนา” ท่ีประสิทธิประสาทวิทยาการต่าง ๆ แต่ยังไม่มีรูปเคารพแทน พระพทุ ธเจ้าทเ่ี ป็นรปู คน พระพุทธรูปท่ีแท้จริงน้ันเริ่มสร้างขึ้นในระหว่าง พ.ศ.๕๐๐ ถึง ๕๕๐ พระเจ้าเมนันเดอร์ท่ี ๑ (Menander I) หรือพระยามิลินท์ (Milinda) กษัตริย์เชื้อสายกรีก ทรงยกทัพ “โยนา” หรือ “โยนก”๕ เข้า ครอบครองแคว้นคันธาราฐ (Gandhara)๖ จากน้ันพระองค์ทรงแผ่อาณาเขตไปท่ัวบริเวณด้านตะวันตก เฉียงเหนือของชมพูทวีป และสร้างเมืองหลวงเป็นที่ประทับ ณ เมืองสากล (Sakala) หลังจากพบพระสงฆ์ ทา่ นหนึง่ นามวา่ นาคเสน และมีการสนทนาธรรมระหวา่ งกัน เรียกว่า ปุจฉาวิสชั นามลิ นิ ทปญั หา (The Milinda Panha or The Debate of King Minlinda) พระเจ้ามิลินท์ ทรงเกิดความเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา มีการสร้างสถาปัตยกรรมและประติมากรรมทางพุทธศาสนาจานวนมากในแคว้นคันธาราฐ ท้ังน้ี พระพุทธรูป มใี บหน้าเหมือนชาวกรีก จวี รเป็นรวิ้ เหมอื นเคร่อื งนุ่งหม่ ของเทวรปู กรีก ราวพุทธศตวรรษ ที่ ๔ - ๑๒ มีคตินิยมสร้างพระพุทธรูปเป็นขนาดเล็ก (พระเคร่ือง) บรรจุไว้ในพุทธเจดยี ์ พระพุทธรูปจึงมีความสาคัญ เป็นเสมือนตัวแทนแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อให้พุทธศาสนิกชน ได้กราบไหว้บูชาและระลึกถึงพระธรรมคาสอนของพระพุทธองค์ อีกทั้งประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรม อันก่อใหเ้ กิดมรรคผลและนิพพานในอนาคต ๕ คาทช่ี าวชมพทู วีป (อินเดยี โบราณ) ใช้เรียกชาวกรกี ๖ ปจั จุบนั เป็นดนิ แดนของอปั ระเทศฟกานิสถาน หน้า ๒๔ พระพุทธศาสดาประชานาถ
(ภาพ) หนังสือมลิ นิ ทปญั หา - The Debate of King Minlinda) การสร้างพระพุทธรปู ในประเทศไทย พระมหากษัตริย์ไทยในอดีตทุกพระองศ์ทรงอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาในทุกด้านเป็นอย่างดียิ่งตลอดมา นับต้ังแต่ ด้านศาสนธรรม พระมหากษัตริย์ทรงอุปถัมภ์การชาระและจารึกพระไตรปิฎก การศึกษา พระปริยัติธรรม ตลอดจนการปฏิบัติธรรม ด้านศาสนบุคคล พระมหากษัตริย์ทรงอุปถัมภ์คณะสงฆ์และ การสถาปนาพระราชาคณะ ด้านศาสนวัตถุ พระมหากษัตริย์ทรงอุปถัมภ์การสร้างและการทะนุบารุงถาวรวัตถุ ทางพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะพระพุทธรูป อีกท้ังพระราชทานวิสุงคามสีมาให้แก่วัดในพระพุทธศาสนา พระราชกรณียกิจที่พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ทรงบาเพ็ญ ไม่ว่าจะเป็นงานพระราชพิธี งานพระราชกุศล และรัฐพิธี แม้จะมพี ิธีพราหมณป์ นอยู่บางสว่ น แต่ทว่ามพี ธิ กี รรมทางพระพุทธศาสนาเป็นหลักทั้งสิ้น เริ่มตั้งแต่พุทธศตวรรษท่ี ๑๑ - ๑๘ อาณาจักรทวารวดีถือกาเนิดเป็นอาณาจักรใหญ่ พระพุทธศาสนา ในแถบนสี้ ว่ นมากเปน็ เถรวาท ซ่ึงมีความสมั พันธ์กบั ทางอนิ เดียทางฝา่ ยใต้ พุทธศิลปใ์ นยุคนีม้ จี านวนมาก ตั้งแต่ วัตถุชิ้นใหญ่ลงมาถึงวัตถุชิ้นเล็ก เช่น พระพิมพ์บริเวณเมืองอู่ทองเก่า นครปฐม นครชัยศรี ราชบุรี เป็น ศนู ย์กลางแห่งจักรวรรดิได้คน้ พบพระพุทธรูปและเสมาธรรมจักรจานวนหนึ่ง พระพุทธรูปในยุคนโ้ี ดยมากสร้างด้วย ศิลา ดินเผา และโลหะ ส่วนมากสร้างตามแบบอย่างพระพุทธรูปอินเดียสมัยราชวงศ์คุปตะ แต่พุทธศิลป์ท่ีพบ ท่ีจังหวัดนครปฐมและจังหวัดอ่ืน ๆ อันเป็นอาณาเขตของอาณาจักรทวารวดีเดิมน้ันไม่มีแต่เฉพาะพระพุทธรูป ท่ีทาตามแบบอยา่ งฝมี ือช่างอนิ เดียสมัยราชวงศ์คปุ ตะเทา่ น้ัน ยังมีพุทธศิลป์อน่ื ๆ เช่น สง่ิ ของทีท่ าเป็นอทุ เทสิก เจดยี ต์ ามคตสิ มัยพระเจ้าอโศกมหาราชก่อนมีพระพทุ ธรูป ได้แก่ เสมาธรรมจักรกับกวางหมอบ แท่นหนิ อันเป็น อาสนบูชา รอยพระพุทธบาท และสถูป เป็นต้น พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๒๕
ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๘ อาณาจักรศรีวิชัยมีอานาจรุ่งเรืองทางใต้ ปกครองเกาะสุมาตรา แหลมมลายู และดินแดนบางสว่ นทางภาคใต้ของประเทศไทย ศลิ ปะศรวี ชิ ยั ได้รบั อิทธิพลมาจากศิลปะอินเดีย แบบคุปตะ หลังคุปตะ และ ปาละ - เสนะ ตามลาดับ ส่วนมากสร้างข้ึนในพุทธศาสนาลัทธิมหายานทั้งสิ้น พระพุทธรูปสมัยน้ีมีจานวนน้อย แต่มีพระโพธิสัตว์เป็นจานวนมาก เพราะคติมหายานนับถือพระโพธิสัตว์เป็น สาคัญ มักพบได้ทางภาคใต้ในจังหวัดสุราษฏร์ธานี จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสงขลา เป็นต้น ทาง เหนือพบบางสว่ นในจังหวัดมหาสารคาม ต่อมาในราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ เป็นต้นมา อาณาจักรขอมซ่ึงเรืองอานาจปกครองอยู่ในแคว้น สุวรรณภูมิ ต้ังราชธานีอยู่ที่ “ลพบุรี” ในพุทธศตวรรษที่ ๑๖ - ๑๙ ได้เป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนา ลทั ธินกิ ายมหายาน และหินยาน ศิลปะของขอมในภายหลังมที ง้ั ศลิ ปะในศาสนาพราหมณแ์ ละพุทธศาสนานิกาย มหายาน ในสมยั ที่กษตั ริย์ขอมนับถือศาสนาพราหมณ์มีการสร้างศิลปกรรมในศาสนาพราหมณ์ สมยั ที่กษตั ริย์ขอม นับถือพุทธศาสนานิกายมหายานมักสร้างศิลปกรรมทางพุทธศาสน์ พระพุทธรูปที่สร้างในสมัยลพบุรีน้ีมีท้ัง พระศลิ า พระหลอ่ และพระพิมพ์ นอกจากนี้พระทรงราชาภรณ์ หรอื ท่ีเรยี กกนั เป็นสามัญวา่ “พระทรงเครื่อง” เกิดขึ้นในสมัยนี้ด้วย เพราะส่วนใหญ่นับถือลัทธิมหายาน ซ่ึงมีคติความเชื่อว่า มีพระอาทิพุทธเจ้าประจาโลก พระองค์หน่ึงต่างหาก จึงทารูปพระอาทิพุทธเจ้าเป็นพระทรงเคร่ืองให้แตกต่างจากพระพุทธเจ้าองค์อื่น ๆ พุทธลักษณะของพระพุทธรูปสมัยลพบุรีนาแบบทวารวดีกับขอมมาผสมผสานกัน เกิดเป็นศิลปะแบบใหม่ พระพุทธรปู ซง่ึ สร้างในสมยั ลพบรุ ีสรา้ งเปน็ พระนั่งสมาธิ มีนาคปรกหรือทีเ่ รยี กว่า “พระนาคปรก” พระพุทธรูป ในสมัยนี้มีจานวนน้อย แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของศิลปะทวารวดีอย่างชัดเจน กล่าวคือ มักห่มคลุมและ แสดงปาง ทรงส่งั สอน หรอื ประทานอภยั ยกท้ังสองพระหัตถ์ ในสมัยเชียงแสนซ่ึงอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๗ - ๒๑ พระพุทธรูปสมัยเชียงแสนน้ีถือว่าเป็นฝีมือ ของช่างไทย ซ่ึงได้เข้ามาต้ังภูมิลาเนาต้ังแต่โบราณ มีพบทั่วไปในมณฑลพายัพ แต่ที่พบในเมืองเชียงแสนเก่า เป็นชนิดฝีมือช่างดีงามกว่าท่ีพบในจังหวัดอ่ืน ๆ ทางโบราณคดีจึงใช้คาน้ีเป็นชื่อของพระพุทธรูป แบ่งออก เป็น ๒ รุ่น คือ รุ่นแรกทาตามแบบอย่างพระพุทธรูปอินเดียครั้งราชวงศ์ปาละ ซึ่งรุ่งเรืองในอินเดียระหว่าง พ.ศ.๑๒๗๓ - ๑๗๔๐ ส่วนรุ่นหลังเป็นของไทยชาวล้านนาและล้านช้าง สร้างตามแบบอย่างพระพุทธรูปสมัย สุโขทัย มีลักษณะต่างจากเชียงแสนรุ่นแรกเป็นอย่างมาก พระพุทธรูปสมัยเชียงแสนน้ีมีพระนั่งเป็นส่วนมาก พระยืนมีจานวนน้อย และสร้างด้วยโลหะเป็นพื้น ส่วนมากนิยมหล่อด้วยสาริด เป็นโลหะผสม สัดส่วนหลัก ทผี่ สม ได้แก่ ทองคา ทองแดง และทองเหลือง ต่อมาในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานีหรือสมัยราชวงศ์พระร่วงครองสโุ ขทัย ได้รับลัทธิพระพุทธศาสนา แบบลังกาวงศ์เข้ามาประพฤตปิ ฏบิ ัติ เพราะในขณะน้ันพระพุทธศาสนาในลังกาทวีปเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมาก พระสงฆ์ลังกาในสมัยนั้นทรงพระธรรมวินัย รอบรู้พุทธวจนวิเศษกว่าพระสงฆ์ประเทศอ่ืน ๆ ส่งผลให้พระสงฆ์ ไทย มอญ พม่า เขมร จานวนมากไปศึกษาในลังกาทวีป เมอ่ื กลับมาได้ชักชวนพระสงฆ์ลังกามาอยู่ในประเทศด้วย ในระยะแรกพานกั ทเ่ี มอื งนครศรธี รรมราช ภายหลงั ยา้ ยไปตัง้ สานักอยู่ทกี่ รงุ สโุ ขทัยและเชียงใหม่ตามลาดบั หน้า ๒๖ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ
ขณะพระมหาธรรมราชาลิไทดารงตาแหน่งอุปราชเมืองศรีสัชนาสัย ทรงยกกาลังเข้ายึดสุโขทัยจาก พระยาง่ัวนาถม ท่ีครองสุโขทัยต่อจากพญาเลอไทผู้ซ่ึงเป็นพระราชบิดาของพระมหาธรรมราชาลิไทได้เป็น ผลสาเร็จ ทรงปราบดาภิเษกและข้ึนครองราชย์สมบัติเม่ือ พ.ศ.๑๘๙๐ พระองค์ทรงปราบปรามเมืองต่าง ๆ รวมรวมเปน็ อาณาจักรเดยี วกัน อาณาจักรสุโขทัยจึงเปน็ ปกึ แผน่ อกี คร้งั พระองคท์ รงเล่ือมใสในพระพทุ ธศาสนา เป็นอย่างมาก เมื่อครั้งยังเป็นอุปราชเมืองศรีสัชนาลัยได้ทรงพระนิพนธ์หนังสือเตภูมิถาหรือไตรภูมิพระร่วงขึ้น ในปี พ.ศ.๑๘๘๘ โดยสาระสาคัญของเร่ืองอยู่ที่แนวคิดและความเชื่อถือของคนโบราณ ซ่ึงได้จินตนาการ สรา้ งสรรค์อนั เป็นเคร่ืองจูงใจให้คนประพฤตดิ ี ละเว้นชั่ว พระราชนพิ นธเ์ ล่มน้จี ึงเป็นคู่มือใน การสอนศีลธรรม และสะกดกน้ั ความประพฤตใิ นสังคมไทยตลอดมา พ.ศ.๑๙๒๐ ทรงประดิษฐานรอยพระพุทธบาทไวบ้ นเขาสุมนกูฎนอกเมืองสุโขทัย และทรงสร้างวัดป่าแดง ทีเ่ มอื งศรีสชั นาลยั เพื่อเป็นทจี่ าพรรษาของพระมหากลั ยาณเถระ พระสงั ฆราช พ.ศ.๑๙๐๔ พระมหาธรรมราชาลิไท ทรงออกผนวช นับเป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงด้านศาสนาของ สุโขทัยให้เป็นศูนย์กลางการศึกษา ในการผนวชน้ีได้มีผู้บวชตามอีกเป็นจานวน ๔๐๐ คน นอกจากน้ี พระมหา ธรรมราชาลิไท ทรงสร้างวัดข้ึนหลายแห่ง และทรงสร้างพระพุทธรูปสาริด ซ่ึงหล่อเท่ากับพระองค์ของ พระพทุ ธเจา้ คือ พระศรศี ากยมุนี ประดิษฐานทีว่ ัดมหาธาตุ พ.ศ.๑๙๑๑ พระมหาธรรมราชาลิไท ทรงรวบรวมผู้คนจากเมืองต่าง ๆ คือ สระหลวง สองแคว ปากยม ชากังราว สุพรรณลาว นครพระชุม เมืองน่าน เมืองราด เมืองละค้า เมืองหล่มบาจาย ไปไหว้ รอยพระพทุ ธบาทท่เี ขาสุมนกูฎ พระมหาธรรมราชาลไิ ท ทรงเชีย่ วชาญทางดา้ นศาสนา รอบรู้พระไตรปฎิ กอย่าง แตกฉาน ทั้งอรรถกถา ฎีกา อนุฎีกาและปกรณ์พิเศษอ่ืน ๆ ทรงศึกษาจากพระสงฆ์ผู้เชี่ยวชาญพระไตรปิฎก ในขณะนั้น เช่น พระมหาเถรมุนีพงศ์ พระอโนมทัสสีเถรเจ้า เป็นต้น หรือจากราชบัณฑิตฝ่ายฆราวาส เช่น อุปเสนบัณฑิต เป็นต้น ทรงส่งเสริมอุปถัมภ์ด้านการศึกษาพระพุทธศาสนาและศิลปะศาสตร์ต่าง ๆ ทรงส่งราช บุรุษไปขอพระบรมสารีริกธาตุจากลังกาทวีป และได้ทรงนามาบรรจุไว้ในพระมหาธาตุเมืองนครชุม (เมืองโบราณ อยู่ในจังหวัดกาแพงเพชร) ทรงส่งราชทูตไปอาราธนาพระสังฆราชมาจากลังกาทวีปไปจาพรรษาอยู่ที่วัดป่า มะม่วงนอกจากนี้ทรงผนวชในพระพุทธศาสนา และทรงสร้างพระพุทธรูปไว้หลายองค์ การสร้างพระพุทธรูป ของไทยคร้ังเก่าไม่เคยมีเปลวรัศมีสูง ต่อมาพ่อขุนรามคาแหงได้รับพระพุทธสิหิงค์จากลังกา ดังน้ัน แนวทาง สร้างพระพุทธรูปได้เปลี่ยนแปลงเป็นแบบลังกา พระพุทธรูปสุโขทัยได้รับการยอมรับว่าเป็นทรงท่ีสวยงามท่สี ุด มีลักษณะออ่ นไหวมชี ีวิตชวี า จนได้รับการยกยอ่ งว่าเปน็ ยคุ ทองแห่งศลิ ปะพทุ ธศาสนา นอกจากน้ี พระมหาธรรมราชาลิไท ทรงสร้างปูชนียสถานและปูชนียวัตถุไว้ จานวนมาก เช่น พระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ พระเจดีย์ตันโพธิ์ และรอยพระพุทธบาท วัดพระศรีมหาธาตุ พิษณุโลก เป็นต้น พุทธเจดีย์ที่พบบ่งบอกว่า พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เจริญรุ่งเรืองมานานกว่าพันปี โดยเฉพาะ พระพุทธรูปพระปฏิมาแทนองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าล้วนสร้างข้ึนด้วยฝีมือช่างอันประณีตงดงาม เพื่อน้อมนา ให้เกิดความเล่ือมใส เจริญศรัทธาเป็นประเพณีสืบเน่ืองมาท้ังในสว่ นที่เป็นการพระราชกุศลของพระเจ้าแผ่นดิน และอาณาประชาราษฎร์ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ หน้า ๒๗
หลังจากอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองข้ึนมาแทนที่อาณาจักรสุโขทัย พระพุทธรูปสมัยอยุธยา ได้รับอิทธิพลศิลปะล้านนาท่ีแพร่หลายมาสู่ศิลปะอยุธยาต้ังแต่ต้นพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ พระพุทธรูปท่ีสร้างขึ้น ในกรุงศรีอยุธยาในช่วงเวลาดังกล่าวจึงมีพุทธลักษณะเหมือนกับพระพุทธรูปแบบล้านนา ต่อมาในสมัย กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สมเด็จพระเจ้าปราสาททองมีพระราชนิยมศิลปะขอม ประกอบกับพระราชกรณียกิจ เช่น พระราชพิธีลบศักราช หรือพระราชพิธีอินทราภิเษก ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ศักด์ิสิทธิ์แห่งเทวราช พระพุทธรูป ท่ีสร้างข้ึนในรัชสมัยของพระองค์จึงมักเป็นพระพุทธรูปทรงเคร่ืองแบบจักรพรรดิราช อาจแฝงแนวคิดด้าน การสร้างพระพุทธรูปแทนองค์พระมหากษัตริย์ ที่เรียกอีกอย่างหนึ่ง ว่า “พระพุทธรูปฉลองพระองค์” ดังเช่น พระพุทธรูปป้ันทรงเครื่องท่ยี ังเหลือรอ่ งรอยอยหู่ ลายองค์ทวี่ ัดไชยวฒั นาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อันเป็น วดั ท่ีพระองค์สรา้ งขึน้ ส่วนพระพุทธรูปสมัยรัตนโกสินทร์น้ันได้รับอิทธิพลจากพระพุทธรูปทรงเคร่ืองสมัยกรุงศรีอยุธยา เช่น การสร้างพระพุทธรูปฉลองพระองค์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานนามว่า “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก” และ “พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย” พระพุทธรูปท้ังสององค์นี้เป็นพระพุทธรูปยืน พระหัตถ์ทั้งสอง แสดงปางหา้ มสมุทร ปัจจุบนั ประดษิ ฐานอยู่ภายในพระอุโบสถวัดพระศรรี ตั นศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงเป็นปราชญ์ ทรงสอบสวนลักษณะ พระพุทธรูป และทรงคิดแบบพระพุทธรูปข้ึนใหม่ ให้มีลักษณะคล้ายมนุษย์ย่ิงขึ้น มีการปรับปรุงเปล่ียนแปลง พุทธลักษณะของพระพุทธรูปครั้งสาคัญ เป็นพระพุทธรูปแบบใหม่ตามพระราชนิยม มีพุทธลักษณะใกล้ ธรรมชาติมาก เช่น จีวรเป็นริ้วรอยยับย่นเป็นธรรมชาติต่างจากพระพุทธรูปในอดีต จีวรบางเรียบแนบ พระวรกาย แตพ่ ระพุทธรูปลักษณะดังกล่าวไม่เป็นท่นี ิยม ในสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เม่ือ พ.ศ.๒๔๙๗ รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ประสงค์ท่ีจะจัดงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษให้เป็นงานยิ่งใหญ่ คณะกรรมการจัดงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ จึงสร้างพุทธมณฑลในพ้ืนท่ี ๒,๕๐๐ ไร่ มีพระพุทธรูปปางลีลาขนาดใหญ่เป็นพระประธาน เพอ่ื เป็นปูชนยี สถานประกอบพธิ ีสาคญั ทางพุทธศาสนา พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงดาเนิน รอยตามสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ในการทะนุบารุงพระพุทธศาสนาไว้โดยครบถ้วน ส่วนท่ีเป็น ราชประเพณีที่เกี่ยวเนื่องด้วยพระพุทธรูป โปรดกล้าโปรดกระหม่อมให้บูรณะปฏิสังขรณ์พระพุทธรูปสาคัญ มีมาแต่คร้ังโบราณ รวมถึงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างข้ึนใหม่ในวาระมหามงคลต่าง ๆ อันจาแนกเป็น พระพุทธรูปทรงพระราชอุทิศถวายพระมหากษัตริย์รัชกาลก่อน ได้แก่ พระพุทธรูปประจารัชกาลที่ ๗ พระพุทธรูปประจารัชกาลท่ี ๘ และพระพุทธรูปประจาพระชนมวารรัชกาลท่ี ๘ พระพุทธรูปทรงสร้างเป็น พุทธบูชาในการทรงพระผนวชตามราชประเพณี คือ พระพุทธนาราวันตบพิตร ประดิษฐาน ณ พระตาห นัก ปั้นหยา วดั บวรนเิ วศวหิ าร หน้า ๒๘ พระพุทธศาสดาประชานาถ
นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงสร้าง พระพุทธรูปเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่สิริราชสมบัติและในมหามงคลสมัยที่พระชนมายุครบรอบสาคัญ ตามราชประเพณี ได้แก่ ๑. พระพทุ ธปฏิมาชัยวัฒนป์ ระจารชั กาล เนือ่ งในพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ๒. พระพุทธรูปประจาพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษา จานวน ๔ องค์ มีความหมายเน่ืองในพระองค์ท่ีสาคัญยิ่ง คือ พระพุทธรูปปางลีลาสูงเท่าพระองค์ พระพุทธรูปปางห้ามญาติ พระพุทธรูปประจาวันพระบรมราชสมภพ พระพุทธรูปปางนาคปรก หมายถึงพระเสาร์ องค์อภิบาลพระชนมายุ ซึ่งได้พ้นจากการอภิบาล พระพุทธรูป ปางสมาธิ หมายถงึ พระพฤหัสบดี องค์อภิบาลพระชนมายตุ ่อจากพระเสาร์ เปน็ ต้น ๓. พระพุทธรูปประจาพระชนมพรรษา ๕ รอบ ปางสมาธิ และพระพุทธรูปประจาพระชนมวาร วันพระบรมราชสมภพวันจันทร์ปางห้ามญาติ พระองค์ทรงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างเมื่อทรงเจริญ พระชนมพรรษา ๕ รอบ ๕ ธนั วาคม พุทธศกั ราช ๒๕๓๐ ๔. พระราชพธิ ีหล่อพระพทุ ธรูปปางห้ามสมุทร ในมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๖ รอบ พ.ศ.๒๕๔๒ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชริ เกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานพระราชวินิจฉัยแบบพระพุทธรูป พร้อมพระราชทานแผ่น ทองคาที่ทรงเจิมและทรงตั้งพระราชสัตยาธิษฐานแล้ว เพ่ือเชิญมาหล่อพระพุทธรูป และในวันเสาร์ท่ี ๒๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๒ เวลา ๑๕.๓๐ น. สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (อัมพร อมฺพโร) เสด็จออก ณ ลานพระอนุสาวรีย์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภา คุณากร วัดราชบพิธ สถิตมหาสีมาราม ทรงเททองหล่อพระพุทธรูปทองคาปางห้ามญาติ ประจาวันจันทร์อันเป็นวันพระราชสมภพ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว เป็นศลิ ปะรตั นโกสินทร์ มคี วามสงู จากพระบาทจรดพระรัศมีรวม ๑๐ น้ิว เทา่ เลข รัชกาล พร้อมฉัตรทองคา ๗ ชัน้ กางก้ัน นา้ หนักทองคารวม ๕ กโิ ลกรมั เศษ ถวายเป็นของเฉลมิ พระขวัญในมหา มงคลสมัยพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ทรงบูชาพระรัตนตรัย และทรงสวมพระรัศมีทองคาลงยาราชาวดี (ฉัพพรรณรังสี) ถวายพระพุทธอังคีรส ประธานพระอุโบสถ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ในวันอาทิตย์ที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๒ เนอ่ื งในพระราชพิธบี รมราชาภิเษก การสร้างพระพทุ ธรูปของกองทัพอากาศ กองทัพอากาศเป็นหน่วยงานด้านความม่ันคงท่ีมีความสาคัญยิ่งต่อเอกราชของชาติไทย ได้พัฒนา ความรู้ความสามารถของกาลังพลอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งส่งเสริมศีลธรรมของบุคลากรตลอดเวลา ผู้บัญชาการ ทหารอากาศต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีนโยบายให้หัวหน้าหน่วยขึ้นตรงของกองทัพอากาศทุกหน่วยจัดทา โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของกาลังพล หน่วยงานต่าง ๆ จึงได้จัดสร้างพระพุทธรูปและพุทธศาสนสถาน ประจาองค์กร เพื่อเป็นศูนย์รวมใจของข้าราชการภายในหน่วย ในที่นี้จะนาเสนอความเป็นมาและระยะเวลา ท่มี กี ารสร้างพระพุทธรูปของกองทพั อากาศตงั้ แต่อดีตจนถงึ ปัจจุบัน พระพุทธศาสดาประชานาถ หน้า ๒๙
พระพุทธทปี ังกร พระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดหน้าตัก ๒๗ นิ้ว เป็นพระพุทธรูปประจากองบินท่ี ๑ นครราชสีมา ประดษิ ฐาน ณ วิหารพระพุทธทีปงั กร กองบิน ๑ อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า เปน็ ท่เี คารพและศรัทธาของ ข้าราชการกองบิน ๑ เปน็ อย่างมาก ดาเนินการจัดสรา้ งในสมัย นาวาอากาศโท วงศ์ พุ่มพูนผล (ยศในขณะน้ัน) ดารงตาแหน่งเปน็ ผ้บู ัญชาการโรงเรยี นการบนิ ทา่ นเป็นประธานฝ่ายฆราวาสในการเททองหล่อ พระ พทุ ธทปี งั กร เมื่อวันท่ี ๒๔ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๐ โดยมที ่านอาจารยส์ ิงห์ ขันตยาคโม วัดปา่ สาละวนั อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ในพิธีดังกล่าวมีการนิมนต์พระเกจิอาจารย์ พระเถราจารย์ ของ จังหวัดนครราชสมี า ในขณะนน้ั มาร่วมพิธพี ุทธาภิเษก หน้า ๓๐ (ภาพ) พระพุทธทีปังกร พระพุทธศาสดาประชานาถ
พระพทุ ธจตุรากาศยาน (หลวงพอ่ เพชร) พระพุทธรูปหินปูนสมัยเชียงแสน ปางขัดสมาธิเพชร อายุราว ๓๐๐ - ๔๐๐ ปี ขนาดหน้าตัก กว้าง ๒ ฟุต ๓ นิ้ว สูง ๓ ฟุต เป็นพระพุทธรูปประจากองบิน ๔ ประดิษฐาน ณ วิหารพระพุทธจตุรากาศยาน กองบิน ๔ อาเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ นาวาอากาศเอก บัญชา สุขานุศาสน์ ผู้บังคับการกองบิน ๔ เข้ากราบ นมัสการพระชัยนาทมุนี เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุวรวิหาร อาเภอเมือง จังหวัดชัยนาท ซ่ึงเมตตามอบ พระพุทธรูปปางขัดสมาธิเพชร ประดิษฐานท่ีกองบิน ๔ เมื่อวันท่ี ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๐๖ ขนานนามว่า \"หลวงพอ่ เพชร กองบนิ ๔\" ทงั้ นี้ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ไดร้ บั พระมหากรณุ าธิคุณจาก สมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานนามวา่ \"พระพุทธจตุรากาศยานประธาน\" อนั มคี วามหมายเปน็ มงคลว่า \"พระพทุ ธรูปที่เปน็ ประธานในหน่วยทหาร กองบิน ๔\" (ภาพ) พระพทุ ธจตุรากาศยาน (หลวงพอ่ เพชร) หน้า ๓๑ พระพุทธศาสดาประชานาถ
พระพทุ ธรูป “คุม้ เกลา้ พระพุทธรปู ขนาด ๒๙ นิ้ว ปางสมาธิ มี ๒ องค์ ประดษิ ฐาน ณ หอพระโรจนนิล ทางเข้ากองบัญชาการ กองทัพอากาศ และหอพระโรจนิล โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พร้อมด้วยสมเด็จพระกนิษฐาธิราชฯ เสด็จพระราชดาเนินเททองหล่อพระพุทธรูป “คุ้มเกล้า” เม่ือวันท่ี ๑๖ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๗ หน้า ๓๒ (ภาพ) พระพุทธรปู “คุ้มเกลา้ ” พระพุทธศาสดาประชานาถ
พระพทุ ธศรนี ภาภิธรรม พระพุทธรูปประจาโรงเรียนการบิน ปางสมาธิ ประกอบพิธีเททองหล่อเม่ือปี พ.ศ.๒๕๑๐ ประดิษฐาน ณ วิหารพระพทุ ธศรีนภาภธิ รรม โรงเรยี นการบิน อาเภอกาแพงแสน จังหวดั นครปฐม (ภาพ) พระพุทธศรนี ภาภธิ รรม หน้า ๓๓ พระพทุ ธศาสดาประชานาถ
พระพทุ ธมหากรุณานภาพลพิทักษ์ พระพุทธรูปสมัยสุโขทัยปางสมาธิ ขนาดหน้าตัก ๓๙ น้ิว ประทับน่ังบนฐานบัวคว่าบัวหงายและฐาน แข้งสิงห์ เป็นพระพุทธรูปประจาโรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช ประดิษฐาน ณ วิหารพระพุทธ มหากรุณานภาพลพิทักษ์ โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช กรุงเทพมหานคร ได้ประกอบพิธี เททอง ในวนั ที่ ๓ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๐ ทั้งน้ี สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก (เจรญิ สุวฑฒฺ นมหาเถร) ประทานนามวา่ “พระพุทธมหากรุณานภาพลพิทักษ์” เมอื่ วันท่ี ๑๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๐ หน้า ๓๔ (ภาพ) พระพทุ ธมหากรณุ านภาพลพทิ กั ษ์ พระพุทธศาสดาประชานาถ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196