Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.QA_MANUAL 2557 ed3(ปรับ)

1.QA_MANUAL 2557 ed3(ปรับ)

Published by rtafa qa, 2020-12-25 07:27:05

Description: 1.QA_MANUAL 2557 ed3(ปรับ)

Search

Read the Text Version

คมู่ อื การประกนั คณุ ภาพ การศึกษาภายใน ระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557 สำ�นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557 จดั ทำ� โดย คณะกรรมการประกันคณุ ภาพภายในระดบั อุดมศกึ ษา คณะอนุกรรมการพฒั นาการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1 : พฤษภาคม 2558 พมิ พค์ ร้งั ท่ี 2 : กมุ ภาพนั ธ์ 2560 พมิ พ์ครั้งท่ี 3 : สิงหาคม 2560 ISBN : 978-616-395-880-8 จัดพิมพเ์ ผยแพร่ : สำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา 328 ถนนศรอี ยธุ ยา เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศพั ท์ 0-2610-5373, 0-2610-5374 โทรสาร 0-2354-5530, 0-2354-5491 พมิ พ์ที่ : ภาพพิมพ์ www.parbpim.com









ค�ำน�ำ การประกันคุณภาพการศึกษาตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 หมายถงึ การพัฒนาคณุ ภาพของการบริหารจดั การและด�ำเนินกิจกรรม ตามภารกิจของสถานศึกษาทุกระดับเพ่ือพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างต่อเนื่องและสร้างความม่ันใจให้ ผู้รับบริการทางการศึกษา สถานศึกษาทุกแห่งจะต้องจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา โดยถือ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของกระบวนการบรหิ ารการศกึ ษาทต่ี อ้ งดำ� เนนิ การอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง มกี ารจดั ทำ� รายงานประจำ� ปที ี่ เป็นรายงานการประเมนิ คุณภาพภายในเสนอต่อสภาสถาบัน หนว่ ยงานตน้ สงั กัด และหน่วยงานทเี่ ก่ียวข้อง เพื่อพิจารณาและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษาได้มีการปรับปรุงมาอย่างต่อเน่ืองตามระบบการ พัฒนาของสถาบันการศึกษาตามความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สภาพสังคม เศรษฐกิจ ความรู้ และ ทกั ษะในอนาคต ที่ตลาดแรงงานตอ้ งการ และพฤติกรรมการเรยี นรขู้ องผ้เู รียน คณะกรรมการประกนั คุณภาพภายในระดบั อุดมศึกษาซงึ่ มีหนา้ ท่ใี นการกำ� หนดนโยบาย หลกั เกณฑ์ และแนวปฏบิ ตั ติ า่ งๆ เพอื่ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ พฒั นาการดำ� เนนิ งานเกยี่ วกบั การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน สถานศกึ ษาไดด้ ำ� เนนิ การทบทวนองค์ประกอบและตัวบ่งชก้ี ารประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน และเสนอ แนวทางการพัฒนากระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในให้มีความทันสมัย สอดคล้อง กับบริบท ท่ีเปล่ียนแปลงไปและความเคลื่อนไหวในด้านคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่างๆ ซ่ึง คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ให้ความเห็นชอบให้เผยแพร่และส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาน�ำไปใช้เป็น แนวทางในการด�ำเนินการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ตั้งแตป่ ีการศึกษา 2557 เปน็ ตน้ ไป ส�ำนกั งาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้จัดพิมพ์คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 ขึ้น และการจัดพิมพ์เผยแพร่เป็นคร้ังที่ 3 นี้ ได้ปรับปรุงและแก้ไขเพิ่มเติมเกณฑ์การก�ำกับ มาตรฐานตามประกาศกระทรวงศกึ ษา เรอื่ ง เกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรี และระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2558 พร้อมค�ำอธิบายตัวบ่งช้ีบางตัวให้มีความชัดเจนเพ่ือประโยชน์ต่อสถาบันอุดมศึกษาและ คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายในส�ำหรับการนำ� ไปสู่การปฏิบตั ิในสถาบนั อดุ มศึกษา คู่มือฉบับน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็นแนวทางในการกำ� กับและพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาตามบริบทของแต่ละสถาบัน ซ่ึงเน้ือหาจะประกอบด้วยระบบการประกันคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตร ระดับคณะ และระดับสถาบัน แนวทางการวิเคราะห์และสรุปผลการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน ตลอดจนกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารฉบับน้ี จะเป็นคู่มือส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถดำ� เนินการประกันคุณภาพภายในได้อย่างมีประสิทธิผล และนำ� ไปสกู่ ารพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในทเ่ี ขม้ แขง็ อนั จะเปน็ กลไกสำ� คญั สกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพ และมาตรฐานของอดุ มศึกษาทตี่ ่อเน่อื งและยั่งยนื ตอ่ ไป (นายสุภัทร จำ� ปาทอง) เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา



สารบัญ หนา้ 3 ประกาศคณะกรรมการประกันคณุ ภาพภายในระดับอดุ มศึกษา 11 เรอื่ งหลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิเกยี่ วกับการประกันคุณภาพภายใน ระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557 11 บทท่ี 1 การประกนั คณุ ภาพการศึกษา ระดบั อดุ มศึกษา 12 1) เหตผุ ลและความจำ� เป็นของการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ระดับอุดมศกึ ษา 16 2) กฎหมายท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 20 3) การประกันคณุ ภาพการศึกษา 21 4) ความเช่ือมโยงระหว่างมาตรฐานการศกึ ษากบั การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 23 5) ความเชื่อมโยงระหว่างการประกนั คณุ ภาพภายในและการประเมินคณุ ภาพ 23 บทที่ 2 การประกันคุณภาพภายใน 24 1) พฒั นาการของระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน 26 2) การประกนั คุณภาพการศึกษารอบใหม่ (ปีการศึกษา 2557-2561) 31 3) กระบวนการและวิธีการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน (ปกี ารศกึ ษา 2557-2561) 41 บทที่ 3 นยิ ามศัพท์ 89 บทท่ี 4 ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร บทท่ี 5 ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั คณะ 113 บทท่ี 6 ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน 133 บทท่ี 7 แนวทางการวเิ คราะห์และสรุปผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 139 ภาคผนวก



บทที่ 1 การประกันคณุ ภาพการศึกษาระดับอดุ มศึกษา 1 เหตผุ ลและความจ�ำเป็นของการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ระดบั อุดมศกึ ษา 1.1 ความจ�ำเป็นของการประกันคุณภาพการศึกษา ภารกจิ หลกั ทส่ี ถาบนั อดุ มศกึ ษาจะตอ้ งปฏบิ ตั มิ ี 4 ประการ คอื การผลติ บณั ฑติ การวจิ ยั การใหบ้ รกิ าร ทางวชิ าการแกส่ งั คมและการทำ� นบุ ำ� รงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม การดำ� เนนิ การตามภารกจิ ทง้ั 4 ประการดงั กลา่ ว มคี วามสำ� คญั อยา่ งยงิ่ ตอ่ การพฒั นาประเทศทง้ั ระยะสน้ั และระยะยาว ปจั จบุ นั มปี จั จยั ภายในและภายนอก หลายประการทท่ี ำ� ใหก้ ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษาเปน็ สง่ิ จำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งเรง่ ดำ� เนนิ การ ปจั จยั ดงั กล่าวคือ 1) คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิตภายในประเทศท่ีมแี นวโน้มแตกตา่ งกันมากขึ้น ซ่ึงจะ กอ่ ให้เกิดผลเสียแก่สงั คมโดยรวมของประเทศในระยะยาว 2) ความท้าทายของโลกาภวิ ัตน์ตอ่ การอดุ มศึกษา ทัง้ ในประเด็นการบรกิ ารการศกึ ษาขา้ มพรมแดน และการเคลอ่ื นยา้ ยนกั ศกึ ษาและบณั ฑติ การประกอบอาชพี ของบณั ฑติ ในอนาคต อนั เปน็ ผลจากการรวมตวั ของประเทศในภมู ภิ าคอาเซยี น ซ่ึงทงั้ สองประเด็นต้องการการรบั ประกันของคณุ ภาพการศกึ ษา 3) สถาบนั อดุ มศกึ ษามคี วามจำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งสรา้ งความมนั่ ใจแกส่ งั คมวา่ สามารถพฒั นาองคค์ วามรู้ และผลติ บณั ฑติ ตอบสนองตอ่ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศใหม้ ากขนึ้ ไมว่ า่ จะเปน็ การสรา้ งขดี ความสามารถ ในการแขง่ ขนั ระดบั สากล การพฒั นาภาคการผลติ จรงิ ทง้ั อตุ สาหกรรมและบรกิ าร การพฒั นาอาชพี คณุ ภาพชวี ติ ความเป็นอย่รู ะดบั ทอ้ งถนิ่ และชุมชน 4) สถาบนั อดุ มศกึ ษาจะต้องให้ข้อมลู สาธารณะ (public information) ท่ีเป็นประโยชนต์ ่อผูม้ ีสว่ นได้ ส่วนเสีย ท้ังนักศึกษา ผู้จ้างงาน ผู้ปกครอง รัฐบาล และประชาชนทั่วไป 5) สังคมต้องการระบบอุดมศึกษาท่ีเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วม (participation) มคี วามโปรง่ ใส (transparency) และมคี วามรบั ผดิ ชอบซง่ึ ตรวจสอบได้ (accountability) ตามหลกั ธรรมาภบิ าล 6) พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 กำ� หนดให้ สถานศกึ ษาทกุ แหง่ จดั ใหม้ รี ะบบการประกนั คณุ ภาพภายในรวมถงึ ใหม้ สี ำ� นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาทำ� หนา้ ทป่ี ระเมนิ คณุ ภาพภายนอก โดยการประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 7) คณะกรรมการการอดุ มศึกษาไดป้ ระกาศใชม้ าตรฐานการอุดมศึกษา เมือ่ วันท่ี 7 สงิ หาคม 2549 เพ่ือเป็นกลไกก�ำกับมาตรฐานระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหน่วยงาน โดยทกุ หน่วยงานระดับอุดมศึกษาจะไดใ้ ช้เปน็ กรอบการดำ� เนินงานประกนั คุณภาพการศกึ ษา 8) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดม้ ปี ระกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษา แห่งชาติ เม่ือวันท่ี 2 กรกฎาคม 2552 และคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ประกาศ แนวทางการปฏิบัติ ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาติ เมอื่ วันที่ 16 กรกฎาคม 2552 เพ่อื ใหก้ ารจัดการศึกษา ระดบั อดุ มศกึ ษาเปน็ ไปตามมาตรฐานการอดุ มศกึ ษาและเพอ่ื การประกนั คณุ ภาพ ของบณั ฑติ ในแตล่ ะระดบั คณุ วุฒแิ ละสาขาวิชา คู่มือการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อุดมศึกษา พ.ศ. 2557 11

9) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดม้ ปี ระกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ งมาตรฐานสถาบนั อดุ มศกึ ษา เมอ่ื วนั ท่ี 24 เมษายน 2554 เพื่อเป็นกลไกส่งเสริมและก�ำกับให้สถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาให้มีมาตรฐาน ตามประเภทหรอื กลมุ่ สถาบนั อุดมศึกษา 4 กลุ่ม 10) กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 ระดับปริญญาตรี ระดับ บณั ฑิตศึกษา และแนวทางการบริหารเกณฑ์ 1.2 วัตถุประสงคข์ องการพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา สถาบันอุดมศึกษาร่วมกับต้นสังกัดจ�ำเป็นต้องพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมวี ตั ถุประสงค์ ดงั น้ี 1) เพอื่ ใหส้ ถาบนั ไดม้ กี ารพฒั นามงุ่ สวู่ สิ ยั ทศั นแ์ ละยกระดบั ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั โดยระบบ ดังกลา่ วจะตอ้ งเปน็ ไปตามเจตนารมณ์ของ พรบ. และเป็นไปตามกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว มาตรฐาน ระดบั ชาติและนานาชาติ 2) เพอ่ื ตรวจสอบและประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานตง้ั แตร่ ะดบั หลกั สตู รคณะวชิ าหรอื หนว่ ยงานเทยี บเทา่ และสถาบันอดุ มศึกษา 3) ศกึ ษาในภาพรวมตามระบบคณุ ภาพและกลไกทส่ี ถาบนั นน้ั ๆ กำ� หนดขนึ้ โดยวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บ ผลการด�ำเนนิ งานตามตัวบ่งชี้ในองคป์ ระกอบคณุ ภาพตา่ งๆ วา่ เปน็ ไปตามเกณฑ์ และได้มาตรฐาน 4) เพ่ือให้หลักสูตร คณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่า และสถาบันอุดมศึกษาทราบสถานภาพของ ตนเองอันจะน�ำไปสู่การก�ำหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพไปสู่เป้าหมาย (targets) และเป้าประสงค์ (goals) ท่ตี ั้งไว้ตามจดุ เนน้ ของตนเอง 5) เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทสี่ ะทอ้ นจดุ แขง็ จดุ ทคี่ วรปรบั ปรงุ ตลอดจนขอ้ เสนอแนะในการพฒั นา การดำ� เนนิ งาน เพ่อื นำ� ไปปรับปรุงผลการด�ำเนินการในแตล่ ะระดับอย่างตอ่ เนอื่ ง เพอื่ ยกระดบั ขีดความสามารถของสถาบนั 6) เพื่อให้ข้อมูลสาธารณะที่เป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ท�ำให้ม่ันใจว่าสถาบันอุดมศึกษา สามารถสรา้ งผลผลติ ทางการศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพและได้มาตรฐานตามท่กี ำ� หนด 7) เพอื่ ใหห้ นว่ ยงานตน้ สงั กดั ของสถาบนั อดุ มศกึ ษาและหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง มขี อ้ มลู พนื้ ฐานทจี่ ำ� เปน็ สำ� หรับการสง่ เสริมสนับสนุนการจัดการอดุ มศกึ ษาในแนวทางที่เหมาะสม 2 กฎหมายท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการประกันคณุ ภาพการศึกษา 2.1 พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาระดับอุดมศกึ ษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้ก�ำหนด จุดมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษาท่ีมุ่งเน้นคุณภาพและมาตรฐาน โดยก�ำหนดรายละเอียดไว้ ในหมวด 6 มาตรฐานและการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ซง่ึ ประกอบดว้ ย “ระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน” 12 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557

และ “ระบบการประกันคุณภาพภายนอก”เพื่อใช้เป็นกลไกในการผดุงรักษาคุณภาพและมาตรฐานของ สถาบันอดุ มศึกษา การประกนั คณุ ภาพภายใน เปน็ การสรา้ งระบบและกลไกในการพฒั นา ตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ การด�ำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าหมายและระดับคุณภาพตามมาตรฐาน ที่ก�ำหนดโดยสถานศึกษาและหรือหน่วยงานต้นสังกัด โดยหน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษา ก�ำหนดให้ มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของ กระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องมีการจัดท�ำรายงานประจ�ำปี ท่ีเป็นรายงาน ประเมนิ คณุ ภาพภายในเสนอตอ่ สภาสถาบนั หนว่ ยงานตน้ สงั กดั และหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เพอ่ื พจิ ารณาและ เปิดเผยต่อสาธารณชนเพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและ เพ่ือรองรับการประกัน คุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายนอก เป็นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาเพ่ือให้มีการติดตาม และ ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยค�ำนึงถึงความมุ่งหมายหลักการ และ แนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ ซ่ึงประเมินโดย “ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศกึ ษา(องคก์ ารมหาชน)” หรอื เรยี กชอื่ ยอ่ วา่ “สมศ.” พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ข เพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้ก�ำหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอก อยา่ งน้อย 1 ครง้ั ในทุกรอบ 5 ปี นับตั้งแตก่ ารประเมนิ คร้งั สดุ ทา้ ย และเสนอผลการประเมิน ตอ่ หน่วยงาน ทีเ่ กยี่ วขอ้ งและสาธารณชน 2.2 กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2551-2565) และแผนพฒั นา การศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษา ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555-2559) กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) ได้ก�ำหนดแนวทางการพัฒนา และแกป้ ญั หาอดุ มศกึ ษาท่ไี ร้ทิศทาง ซ�ำ้ ซ้อน ขาดคุณภาพ และขาดประสทิ ธภิ าพ โดยใชก้ ลไกการประเมนิ คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาเปน็ กลไกหลกั ในการด�ำเนนิ การ กลา่ วคือ ให้มีการสร้างกลไกการ ประเมิน คณุ ภาพสถาบนั อดุ มศกึ ษาตามพนั ธกจิ ของสถาบนั ในแตล่ ะกลมุ่ ซงึ่ มพี น้ื ทบ่ี รกิ ารและจดุ เนน้ ระดบั การศกึ ษาที่ ตา่ งกนั รวมทง้ั มพี นั ธกจิ และบทบาทในการพฒั นาสงั คมและเศรษฐกจิ ของประเทศตา่ งกนั ตามความหลากหลาย ทง้ั การพฒั นาฐานราก สงั คม เศรษฐกจิ รวมถงึ การกระจายอำ� นาจในระดบั ทอ้ งถนิ่ การขบั เคลอ่ื นภาคการผลติ ในชนบท ทอ้ งถิน่ และระดับประเทศ จนถึงการแขง่ ขนั ในโลกาภิวัตน์ ซึง่ ระบบอุดมศกึ ษาแต่ละกล่มุ เหล่าน้ี จะน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงอุดมศึกษา และส่งผลกระทบท่ีเป็นประโยชน์ต่อประเทศอย่างมีนัยส�ำคัญ อาทิ สามารถสรา้ งความเป็นเลิศไดต้ ามพนั ธกจิ ของตวั เอง สามารถตอบสนอง ตอ่ ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ ดขี ้ึน ส่งผลเชิงบวกตอ่ การผลิต พฒั นาและการท�ำงานของอาจารย์ สามารถปรับจ�ำนวนของบณั ฑติ ในสาขา ทเี่ ปน็ ความตอ้ งการของสังคม ลดการวา่ งงาน โดยทส่ี ถาบันอุดมศึกษาในกลมุ่ เหลา่ นมี้ ีกลไกรว่ มกนั ในการ ประกันคุณภาพ เพ่ือให้นักศึกษาสามารถต่อยอด ถ่ายโอนแลกเปล่ียนกันได้ระหว่างกลุ่มและในระยะยาว การประเมินคุณภาพควรน�ำไปสูร่ ะบบรับรองวทิ ยฐานะ (accreditation) ท่นี กั ศึกษาและสาธารณะใหค้ วาม เช่ือถือ เป็นฐานและเง่ือนไขในการจัดสรรงบประมาณของรัฐ และการสนับสนุนจากภาคเอกชน รวมท้ัง การโอนยา้ ยหน่วยกิต คูม่ ือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 13

จากกรอบแผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 15 ปดี งั กลา่ ว กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดม้ ปี ระกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง มาตรฐานสถาบนั อดุ มศกึ ษา ในปี 2554 ก�ำหนดประเภทหรอื กลุ่มสถาบนั อดุ มศกึ ษา เปน็ 4 กลมุ่ คอื กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน หมายความถึง สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตระดับต�่ำกว่าปริญญาตรี จดั ฝกึ อบรมสนองตอบความตอ้ งการของทอ้ งถนิ่ เพอื่ เตรยี มกำ� ลงั คนทมี่ คี วามรเู้ ขา้ สภู่ าคการผลติ จรงิ ในชมุ ชน สถาบันสนับสนุนรองรับการเปลี่ยนอาชีพพ้ืนฐาน เช่น แรงงานที่ออกจากภาคเกษตร เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ี สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนไดม้ โี อกาสเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ อนั จะนำ� ไปสคู่ วามเขม้ แขง็ ของชมุ ชนและการพฒั นาทยี่ งั่ ยนื กลมุ่ ข สถาบนั ทเ่ี นน้ ระดบั ปรญิ ญาตรี หมายความถงึ สถาบนั ทเี่ นน้ การผลติ บณั ฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรี เพื่อให้ได้บัณฑิตท่ีมีความรู้ความสามารถเป็นหลักในการขับเคล่ือนการพัฒนาและการเปล่ียนแปลง ในระดับภมู ภิ าค สถาบนั มีบทบาทในการสร้างความเข้มแขง็ ใหก้ ับหน่วยงาน ธุรกจิ และ บุคคลในภูมิภาค เพ่ือรองรับการด�ำรงชีพสถาบันอาจมีการจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับ ปริญญาโทด้วยกไ็ ด้ กลุ่ม ค สถาบนั เฉพาะทาง หมายความถงึ สถาบันท่ีเนน้ การผลิตบัณฑิตเฉพาะทางหรือเฉพาะกลมุ่ สาขาวิชา ท้ังสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สังคมศาสตร์หรือมนุษยศาสตร์ รวมท้ังสาขาวิชาชีพเฉพาะทาง สถาบันอาจเน้นการท�ำวิทยานิพนธ์หรือการวิจัย หรือเน้นการผลิตบัณฑิต ทมี่ คี วามรู้ ความสามารถ ทกั ษะและสมรรถนะในการประกอบอาชพี ระดบั สงู หรอื เนน้ ทง้ั สองดา้ น รวมทงั้ สถาบนั อาจมบี ทบาทในการพฒั นาภาคการผลติ จรงิ ทงั้ อตุ สาหกรรมและบรกิ าร สถาบนั ในกลมุ่ นอี้ าจจำ� แนกไดเ้ ปน็ 2 ลักษณะคอื ลกั ษณะท่ี 1 เปน็ สถาบนั ท่ีเน้นระดบั บัณฑิตศกึ ษา และลักษณะที่ 2 เปน็ สถาบนั ที่เนน้ ระดบั ปริญญาตรี กลมุ่ ง สถาบนั ทเี่ นน้ การวจิ ยั ขน้ั สงู และผลติ บณั ฑติ ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาโดยเฉพาะระดบั ปรญิ ญาเอก หมายความถึง สถาบันท่ีเน้นการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับ ปริญญาเอก และเน้น การทำ� วิทยานิพนธ์และการวิจัยรวมถึงการวิจยั หลังปรญิ ญาเอก สถาบันเนน้ การผลิตบณั ฑิตท่เี ป็นผู้นำ� ทาง ความคิดของประเทศ สถาบันมีศักยภาพในการขับเคล่ือนอุดมศึกษาไทยให้อยู่ในแนวหน้าระดับสากล มุ่งสรา้ งองคค์ วามร้ทู ฤษฎี และข้อค้นพบใหม่ทางวชิ าการ ดงั นนั้ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาจงึ ตอ้ งสรา้ ง กลไกการประเมินคณุ ภาพใหส้ อดรบั กบั การแบ่งกลุ่มสถาบันอดุ มศึกษา 4 กลุ่มดงั กลา่ ว แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555-2559) ก�ำหนดให้อุดมศึกษาไทย ในชว่ งปี 2555-2559 ตอ้ งมกี ารพัฒนาอย่างกา้ วกระโดดเพอ่ื เป็นแหลง่ ความรู้ท่ตี อบสนองการแกไ้ ขปญั หา วิกฤติและชี้น�ำการพัฒนาอย่างยั่งยืนของชาติและท้องถ่ินโดยเร่งสร้างภูมิคุ้มกันในประเทศให้เข้มแข็งขึ้น ภายใตห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและตอ้ งสง่ เสรมิ การพฒั นาประเทศใหส้ ามารถแขง่ ขนั ไดใ้ นประชาคม อาเซียนและประชาคมโลกโดยให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาคนและสังคมไทยให้มีคุณภาพ ผลิตก�ำลังคน ทม่ี ศี กั ยภาพตรงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน สามารถทำ� งานเพอื่ ดำ� รงชพี ตนเอง และเพอ่ื ชว่ ยเหลอื สังคมมีคุณธรรมมีความรับผิดชอบและมีสุขภาวะท้ังร่างกายและจิตใจรวมท้ังพัฒนาอาจารย์ให้เป็น มอื อาชพี และผเู้ ชยี่ วชาญมอื อาชพี ใหเ้ ปน็ อาจารยพ์ ฒั นาวชิ าชพี อาจารยใ์ หเ้ ปน็ ทยี่ อมรบั ของสงั คมมกี ารจดั การ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยโดยใช้ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมความคิดสร้างสรรค์บนพ้ืนฐาน การผลิตและการบริโภคท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมซ่ึงจะน�ำไปสู่การพัฒนาเพ่ือประโยชน์สุขที่ย่ังยืนของ ประเทศไทย ทง้ั นี้โดยอาศัยการบรหิ ารจัดการอุดมศกึ ษาเชิงรุกและพระราชบัญญตั ิอดุ มศกึ ษาเป็นเครื่องมือ ส�ำคัญในการขับเคล่ือนวิสัยทัศน์ปี 2559 “อุดมศึกษาเป็นแหล่งองค์ความรู้และพัฒนาก�ำลังคนระดับสูง 14 คู่มือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557

ที่มีคุณภาพเพ่ือการพัฒนาชาติอย่างย่ังยืนสร้างสังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิตตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) บนพ้ืนฐาน ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมบี ทบาทสูงในสงั คม ประชาคมอาเซียนและมงุ่ สคู่ ณุ ภาพอุดมศกึ ษาระดบั นานาชาต”ิ 2.3 มาตรฐานการอดุ มศกึ ษา ท่ปี รากฏตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 7 สงิ หาคม 2549 ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ มาตรฐานดา้ นคุณภาพบณั ฑิต มาตรฐานด้านการบริหารจัดการการอุดมศกึ ษา และมาตรฐานดา้ น การสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้ และสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานยอ่ ยทัง้ 3 ดา้ นนี้อย่ใู นมาตรฐาน การศึกษาของชาติท่ีประกอบด้วยมาตรฐานย่อย 3 มาตรฐานเช่นกัน คือ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของ คนไทยที่พึงประสงค์ ท้ังในฐานะพลเมืองและพลโลก มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานท่ี 3 แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ แต่ละมาตรฐานย่อยของมาตรฐานการอุดมศึกษา จะมีความสอดคล้องและสัมพันธ์กับมาตรฐานย่อยของมาตรฐานการศึกษาของชาติ เพื่อให้การพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาบรรลตุ ามจดุ ม่งุ หมาย และหลักการของการจดั การศกึ ษาของชาติ นอกเหนือจากมาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีเป็นมาตรฐานแม่บทแล้ว คณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดจ้ ดั ทำ� มาตรฐานสถาบนั อดุ มศกึ ษา ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2554 เพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารพฒั นา สถาบนั อุดมศึกษาตามกลมุ่ สถาบนั ท่มี ีปรัชญา วัตถุประสงค์ และพันธกิจในการจัดตง้ั ท่ีแตกต่างกนั ได้อย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ประกอบดว้ ยมาตรฐานหลกั 2 ดา้ น คอื มาตรฐานดา้ นศกั ยภาพ และความพรอ้ ม ในการจัดการศึกษา และมาตรฐานด้านการด�ำเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา และก�ำหนด กลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง และกลุ่ม ง สถาบันท่ีเน้นการวิจัยข้ันสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอก นอกจากน้นั ยงั ได้จัดท�ำกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพ่ือเป็นการประกันคุณภาพบัณฑิตในแต่ละ ระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา โดยก�ำหนดให้คุณภาพของบัณฑิตทุกระดับคุณวุฒิ และสาขาวิชาต้องเป็นไป ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้อย่างน้อย 5 ด้าน คือ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทาง ปัญญา ดา้ นทักษะความสมั พันธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ และดา้ นทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 2.4 กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารประกันคุณภาพการศึกษา หลังจากที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช้ ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอดุ มศกึ ษา (ทบวงมหาวทิ ยาลยั เดมิ ) ในฐานะหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ทที่ ำ� หนา้ ทก่ี ำ� กบั ดแู ลสถาบนั อดุ มศกึ ษา ได้เสนอระบบการประกันคุณภาพการศึกษาให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาเพ่ือให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ แหง่ พระราชบญั ญตั ฉิ บบั ดงั กลา่ ว ซง่ึ คณะรฐั มนตรใี นการประชมุ เมอ่ื วนั ที่ 21 มนี าคม 2543 ไดม้ มี ตเิ หน็ ชอบ กับระบบประกันคุณภาพการศึกษาของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม) ซ่ึงต่อมาไดจ้ ัดท�ำเปน็ ประกาศทบวงมหาวิทยาลยั เรอ่ื ง ระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารประกนั คุณภาพ ค่มู ือการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 15

การศกึ ษาภายในระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2545 เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวปฏบิ ตั ิ สาระสำ� คญั ของประกาศฉบบั น้ี ระบใุ ห้ ทบวงมหาวทิ ยาลยั สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ สถาบนั อดุ มศกึ ษาจดั ทำ� ระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ตามภารกจิ หลกั ของสถาบนั อดุ มศกึ ษาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลรวมทงั้ ใหม้ กี ารประเมนิ ผลและตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาจากภายในหรือโดยหน่วยงานต้นสังกัด ทม่ี หี นา้ ทก่ี ำ� กบั ดแู ลสถาบนั การศกึ ษา เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มสำ� หรบั การประเมนิ คณุ ภาพจากภายนอกรวมถงึ สนับสนุนให้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษาข้ึนในแต่ละคณะวิชา หรือสถาบันอุดมศกึ ษา เพือ่ ก�ำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ แนวทาง วธิ กี ารตรวจสอบและประเมนิ ระบบกลไก และประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในของแตล่ ะคณะวชิ าหรอื สถาบนั อดุ มศกึ ษา หลงั จากดำ� เนนิ การตามประกาศฉบบั ปี พ.ศ. 2545 ไประยะหนง่ึ สำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา จงึ ไดจ้ ดั ทำ� กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 เพ่ือให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไข เพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 ในมาตรา 5 และมาตรา 47 วรรคสองโดยสาระส�ำคญั เก่ียวกับระบบและ กลไกการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในของกฎกระทรวงฉบบั นย้ี งั คงไวต้ ามประกาศทบวงมหาวทิ ยาลยั ฯ พ.ศ. 2545 ซ่ึงส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ถือปฏิบัติมาอย่างต่อเนื่อง ต่อมาในปี 2553 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดอ้ อกกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี าร ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2553 แทนฉบับเดิม โดยรวมการประกันคุณภาพภายในและภายนอก ของการศึกษาทุกระดับ ไว้ในฉบับเดียวกัน โดยมีการปรับให้คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับ อุดมศึกษาท�ำหน้าที่หลัก 2 ประการ คอื 1) วางระเบยี บหรอื ออกประกาศกำ� หนดหลกั เกณฑแ์ ละแนวปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การประกนั คณุ ภาพ ภายในระดับอุดมศึกษาเพ่ือส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาการประกันคุณภาพ ภายในระดับอุดมศึกษา โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา และ 2) เสนอแนะแนวทางปรบั ปรงุ และพฒั นาคณุ ภาพ การศกึ ษาแกส่ ถานศกึ ษา โดยนำ� ผลการประเมนิ คณุ ภาพทงั้ ภายในและภายนอกไปปรบั ปรงุ คณุ ภาพการศกึ ษา อย่างต่อเน่ือง นอกจากน้ียังมีการปรับเปล่ียนให้ระบบการประกันคุณภาพภายในประกอบด้วยการประเมิน คุณภาพ การติดตามตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพ และก�ำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดจัดให้ มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาอย่างน้อยหน่ึงครั้งในทุกสามปีและแจ้งผลให้สถานศึกษาระดับ อดุ มศึกษาทราบ รวมทงั้ เปดิ เผยผลการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาต่อสาธารณชน 3 การประกันคุณภาพการศึกษา ก่อนมีประกาศพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทบวงมหาวิทยาลัยได้ตระหนักดี ถึงความส�ำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาและได้จัดท�ำประกาศทบวงมหาวิทยาลัยเรื่องนโยบาย และแนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษามาต้ังแต่ปี พ.ศ. 2539 เพื่อเป็นแนวทาง ในการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของสถาบันอดุ มศึกษาตามหลักการส�ำคญั 3 ประการ คอื การให้เสรีภาพ ทางวชิ าการ (academic freedom) ความมอี สิ ระในการดำ� เนินการของสถาบัน (institutional autonomy) และความพร้อมของสถาบันที่จะรับการตรวจสอบคุณภาพจากภายนอกตามหลักการของความรับผิดชอบ ทต่ี รวจสอบได้ (accountability) ตอ่ มาพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) 16 ค่มู ือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศึกษา พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ได้ระบใุ หห้ นว่ ยงานตน้ สงั กัดและสถานศกึ ษาจดั ใหม้ รี ะบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบกับพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ ก�ำหนดให้ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าท่ี พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติสนับสนุนทรัพยากร ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การจดั การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาโดยคำ� นงึ ถงึ ความเปน็ อสิ ระและความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการของสถานศกึ ษา ระดับปริญญา ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดต้ังสถานศึกษาแต่ละแห่งและกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง ส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงมีหน้าท่ีร่วมกับสถานศึกษาในการจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 3.1 แนวทางการพฒั นาระบบและกลไกการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน 3.1.1 ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา ด้วยกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ข้อ 33 ใหส้ ถาบนั อุดมศึกษาพฒั นาระบบประกันคุณภาพโดยยดึ หลกั เสรีภาพทางวชิ าการและความมอี ิสระในการ ด�ำเนินการของสถานศึกษาเพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ งและเตรยี มความพรอ้ ม เพอ่ื รองรบั การประกนั คณุ ภาพ ภายนอก สถาบันจึงมีอิสระในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน ที่เหมาะสมสอดคล้องกับระดับการ พัฒนาของสถาบัน โดยอาจเป็นระบบประกันคุณภาพที่ใช้กันแพร่หลาย ในระดับชาติหรือนานาชาติ หรือ เปน็ ระบบเฉพาะทสี่ ถาบนั พฒั นาขนึ้ เอง แตไ่ มว่ า่ จะเปน็ ระบบคณุ ภาพแบบใด จะตอ้ งมกี ระบวนการทำ� งานที่ เรม่ิ ตน้ จากการวางแผน การดำ� เนนิ งานตามแผน การตรวจสอบ ประเมนิ และการปรบั ปรงุ พฒั นา ทง้ั นี้ เพอื่ ให้ การดำ� เนนิ ภารกจิ ของสถาบนั บรรลเุ ปา้ ประสงคแ์ ละมพี ฒั นาการอยา่ งตอ่ เนอ่ื งขณะเดยี วกนั กเ็ ปน็ หลกั ประกนั แกส่ าธารณชนใหม้ นั่ ใจวา่ สถาบนั อดุ มศกึ ษาสามารถสรา้ งผลผลติ ทางการศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพหลกั การทสี่ ำ� คญั ในการพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพ และตวั บง่ ชก้ี ารประกนั คุณภาพการศึกษาภายในระดับอดุ มศึกษา หลักการส�ำคญั ในการพฒั นาระบบประกันคุณภาพการศึกษามี ดังตอ่ ไปน้ี 1) สง่ เสรมิ พนั ธกจิ หลกั และพนั ธกจิ สนบั สนนุ ของการอดุ มศกึ ษาภายใตค้ วามสอดคลอ้ งกบั หลกั เกณฑ์ ทีก่ ำ� หนดในกฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารประกนั คณุ ภาพ การศึกษา พ.ศ. 2553 2) เปน็ ระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในทคี่ รอบคลมุ ปจั จยั นำ� เขา้ และกระบวนการ ซง่ึ สามารถ สง่ เสรมิ และนำ� ไปสผู่ ลลัพธ์ของการดำ� เนินการอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 3) ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษารอบใหม่ประกอบด้วยการประกัน คณุ ภาพระดับหลกั สตู ร ระดับคณะ และระดบั สถาบัน โดยจะเร่มิ ใช้ในปกี ารศกึ ษา 2557 - ระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาระดบั หลกั สตู ร มกี ารดำ� เนนิ การตงั้ แตก่ ารควบคมุ คณุ ภาพ การตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพ และการพฒั นาคณุ ภาพ การพฒั นาตวั บง่ ชแี้ ละเกณฑ์ การประเมนิ ฯ จะมงุ่ ไปทร่ี ะบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษามากกวา่ การประเมนิ คณุ ภาพ เพอื่ ใหส้ ามารถ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กำ� กบั ตดิ ตามการดำ� เนนิ งานใหเ้ ปน็ ไปตามทกี่ ำ� หนดสะทอ้ นการจดั การศกึ ษาอยา่ งมคี ณุ ภาพ คมู่ อื การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 17

- ระบบการประกันคุณภาพภายในระดับคณะและระดับสถาบัน เป็นการด�ำเนินการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในที่คณะและสถาบันพัฒนาระบบประกันคุณภาพ โดยยึดหลัก เสรีภาพทางวิชาการและความมีอิสระในการด�ำเนินการของสถานศึกษา ซ่ึงจะประเมินตาม ระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในทคี่ ณะและสถาบนั ตอ้ งการใหค้ ณะและสถาบนั พฒั นา ตามศักยภาพและประเภทของกลุ่มสถาบนั ซ่งึ เป็นการประเมินความเขม้ แขง็ ทางวิชาการ 4) ให้อิสระกบั สถาบนั อุดมศกึ ษาในการออกแบบระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 5) เชอื่ มโยงกบั ระบบคณุ ภาพอนื่ ทก่ี ำ� หนดและเปน็ นโยบายของ กกอ. โดยเฉพาะเรอ่ื งกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และการเช่ือมโยงกับการประกันคุณภาพภายนอกของ สมศ. เพื่อไม่ให้ เปน็ การท�ำงานซำ้� ซ้อนเกนิ ความจ�ำเปน็ หรอื สร้างภาระการท�ำงานของหน่วยงาน 3.1.2 มาตรฐาน ตวั บ่งช้แี ละเกณฑป์ ระเมินคุณภาพ มาตรฐานท่ีเป็นกรอบส�ำคัญในการด�ำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา คือ มาตรฐานการอุดมศึกษา ในขณะเดียวกันสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ต้องด�ำเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์อ่ืนๆ ทเี่ กี่ยวข้องอกี มาก เช่น เกณฑม์ าตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อุดมศึกษา แห่งชาติ มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษามาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. หรือกรอบ การปฏิบัติราชการตามมิติด้านต่างๆ ของส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณี มหาวทิ ยาลยั ของรฐั เป็นตน้ ก�ำหนดตัวบง่ ชเี้ ปน็ 2 ประเภท คือตวั บ่งช้เี ชิงปริมาณและตัวบง่ ชีเ้ ชงิ คุณภาพ ดังนี้ 1) ตวั บง่ ชเ้ี ชงิ คณุ ภาพจะระบเุ กณฑม์ าตรฐานเปน็ ขอ้ ๆ กำ� หนดเกณฑก์ ารประเมนิ ตวั บง่ ชเ้ี ปน็ 5 ระดบั มีคะแนนต้ังแต่ 1 ถึง 5 การประเมินเชิงคุณภาพน้ีจะมีทั้งการนับจ�ำนวนข้อและระบุว่า ผลการด�ำเนินงาน ได้กี่ข้อได้คะแนนเท่าใด กรณีที่ไม่ด�ำเนินการใดๆ หรือด�ำเนินการไม่ครบที่จะได้ 1 คะแนน ให้ถือว่าได้ 0 คะแนน และการประเมินโดยก�ำหนดการให้คะแนนตามที่ได้คณะหรือสถาบันด�ำเนินการ และกรรมการ ประเมิน (peer review) จะพิจารณาผลการด�ำเนินการน้ันๆ ร่วมกันก่อนท่ีจะบันทึกคะแนน โดยมีระดับ คะแนนอย่รู ะหว่าง 0-5 2) ตวั บง่ ชเ้ี ชงิ ปรมิ าณอยใู่ นรปู ของรอ้ ยละหรอื คา่ เฉลยี่ กำ� หนดเกณฑก์ ารประเมนิ เปน็ คะแนนระหวา่ ง 1 ถึง 5 โดยเป็นค่าต่อเน่ือง (มีจุดทศนิยม) ส�ำหรับการแปลงผลการด�ำเนินงานตามตัวบ่งชี้ (ซ่ึงอยู่ในรูป รอ้ ยละหรอื คา่ เฉลีย่ ) เป็นคะแนน ทำ� โดยการเทยี บบญั ญตั ไิ ตรยางศ์ โดยที่แตล่ ะตวั บง่ ชีจ้ ะก�ำหนดค่าร้อยละ หรือค่าเฉลย่ี ทีค่ ิดเปน็ คะแนนเตม็ 5 ไว้ คณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายในระดบั อดุ มศกึ ษาไดก้ ำ� หนดใหม้ รี ะบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ระดับหลักสตู ร คณะ และสถาบนั เพื่อให้สถาบันอุดมศกึ ษาตา่ งๆ น�ำไปใช้เป็นแนวทาง (Guideline) ในการ จัดท�ำระบบการประกันคุณภาพภายในของแต่ละสถาบันตามความสมัครใจภายใต้การก�ำกับ ดูแลของ สภาสถาบันอุดมศึกษา โดยระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในจะครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการ ของการอดุ มศึกษาและพันธกิจด้านการบริหารจดั การ ไดแ้ ก่ (1) พันธกจิ ด้านการผลติ บณั ฑติ (2) พนั ธกิจ ด้านการวิจัย (3) พันธกิจด้านการบริการวิชาการ (4) พันธกิจด้านการท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรมและ 18 คมู่ ือการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557

การบริหารจัดการ ส�ำหรับการประกันคุณภาพระดับหลักสูตรจะเน้นพันธกิจในด้านการผลิตบัณฑิต เปน็ สำ� คญั สว่ นพนั ธกจิ ดา้ นอน่ื ๆ จะเปน็ การบรู ณาการเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั หากเปน็ ตวั บง่ ชใี้ นระดบั คณะและสถาบนั จะครอบคลมุ พนั ธกจิ หลกั ของการอดุ มศกึ ษารวมทงั้ การบรหิ ารจดั การไดท้ ง้ั หมดซง่ึ สามารถชว้ี ดั คณุ ลกั ษณะ ท่ีพึงประสงค์ตามมาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานและหลักเกณฑ์อื่นๆ ที่เก่ียวข้องกับพันธกิจเหล่านั้น ได้ท้ังหมด ในบทท่ี 4 ถึงบทที่ 6 ของคู่มือฉบับนี้ จึงได้พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพ่ือให้สถาบันอุดมศึกษาน�ำไปเป็นกรอบในการด�ำเนินการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในต้ังแต่ ระดับหลักสูตร ระดับคณะ และระดับสถาบัน การพัฒนาตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินจะมุ่งไปที่ระบบ การประกันคุณภาพการศึกษามากกว่าการประเมินคุณภาพเพ่ือให้สามารถส่งเสริมสนับสนุนกำ� กับติดตาม การด�ำเนินงานให้เป็นไปตามที่ก�ำหนด สะท้อนการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพและตัวบ่งชี้ท่ีพัฒนาขึ้น ควรเชอื่ มโยงหรอื เปน็ เรอื่ งเดยี วกนั กบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก โดยการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน เน้นท่ีปัจจัยน�ำเข้า และกระบวนการ ซ่ึงภายใต้ตัวบ่งชี้ท่ีเป็นกระบวนการให้สามารถสะท้อนผลลัพธ์ของ การดำ� เนนิ การตามกระบวนการดงั กลา่ วด้วย 3.1.3 กลไกการประกนั คุณภาพ ในดา้ นของกลไกการประกนั คณุ ภาพผทู้ มี่ คี วามสำ� คญั สง่ ผลใหก้ ารดำ� เนนิ งานประสบความสำ� เรจ็ และ นำ� ไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพอยา่ งตอ่ เนอื่ งคอื คณะกรรมการระดบั นโยบายและผบู้ รหิ ารสงู สดุ ของสถาบนั ทจ่ี ะ ต้องให้ความส�ำคัญและก�ำหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาที่ชัดเจนและเข้าใจร่วมกันทุกระดับ โดยมอบหมายให้หน่วยงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และกระตุ้น ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเน่ือง หน้าท่ีสำ� คัญประการหน่ึงของคณะกรรมการ หรือหน่วยงานน้ี คือ การจัดระบบประกันคุณภาพพร้อมทั้งก�ำหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพที่เหมาะสมส�ำหรับ คณะและสถาบันระบบประกันคุณภาพที่ใช้ต้องสามารถเชื่อมโยงให้เกิดคุณภาพของการปฏิบัติงาน ต้ังแต่ ระดับบุคคล ระดับหลักสูตร ระดับคณะวิชาไปจนถึงระดับสถาบัน โดยอาจจ�ำเป็นต้องจัดท�ำคู่มือคุณภาพ ในแต่ละระดับเพื่อก�ำกับการด�ำเนินงาน แต่ท่ีส�ำคัญคณะกรรมการหรือหน่วยงานนี้ ต้องประสานงานและ ผลักดนั ใหเ้ กิดระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศท่ีมปี ระสิทธิภาพซ่งึ สามารถใชง้ านรว่ มกนั ไดใ้ นทกุ ระดบั 3.1.4 ระบบฐานขอ้ มลู และระบบสารสนเทศ การวัดและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงานเป็นส่ิงจ�ำเป็นในกระบวนการประกันคุณภาพ การวัดและ วิเคราะห์ผลการด�ำเนินงานจะไม่สามารถท�ำได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพหากปราศจากฐานข้อมูล และระบบสารสนเทศท่ีเป็นจริง ถูกต้องตรงกันทุกระดับต้ังแต่ระดับบุคคล ระดับหลักสูตร คณะวิชา และ สถาบัน ตลอดจนเป็นข้อมูลที่สามารถเรียกใช้ได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้น ระบบสารสนเทศท่ีดี มีประสิทธิภาพ จึงเป็นปัจจัยส�ำคัญย่ิงที่จะส่งผลต่อความส�ำเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา และส่งผลต่อคุณภาพ ในทุกขั้นตอนการด�ำเนินงานต้ังแต่การวางแผน การปฏิบัติงาน การตรวจสอบประเมิน ตลอดจนถึง การปรับปรุงและพัฒนา ค่มู อื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 19

4 ความเช่อื มโยงระหวา่ งมาตรฐานการศกึ ษากบั การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 ในหมวด 5 ทว่ี า่ ดว้ ย การบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 ได้ก�ำหนดให้คณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าที่ พิจารณา เสนอมาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีสอดคล้องกับความต้องการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยค�ำนึงถึงความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทางวิชาการ ของสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้จัดท�ำมาตรฐานการอุดมศึกษาเพื่อใช้เป็นกลไก ระดบั กระทรวง ระดบั คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา และระดบั หนว่ ยงานเพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารกำ� หนดนโยบายการ พฒั นาการอดุ มศกึ ษาของสถาบนั อดุ มศกึ ษาตอ่ ไป มาตรฐานการอดุ มศกึ ษาทจี่ ดั ทำ� ขน้ึ ฉบบั นไี้ ดใ้ ชม้ าตรฐาน การศึกษาของชาติท่ีเปรียบเสมือนร่มใหญ่เป็นกรอบในการพัฒนาโดยมีสาระส�ำคัญท่ีครอบคลุมเป้าหมาย และหลกั การของการจัดการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาของไทย และเป็นมาตรฐานท่ีคำ� นึงถึงความหลากหลาย ของกลมุ่ หรอื ประเภทของสถาบนั อดุ มศกึ ษา เพอื่ ใหท้ กุ สถาบนั สามารถนำ� ไปใชก้ ำ� หนดพนั ธกจิ และมาตรฐาน ของการปฏิบตั ิงานได้ คณะกรรมการการอุดมศึกษายังได้ก�ำหนดเกณฑ์มาตรฐานอื่นๆ อาทิ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา หลักเกณฑ์การขอเปิดและด�ำเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล หลักเกณฑ์การก�ำหนดช่ือปริญญา หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเก่ียวกับการพิจารณาประเมินคุณภาพ การจัดการศึกษานอกสถานที่ต้ังของสถาบันอุดมศึกษาเพ่ือส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาได้พัฒนา ดา้ นวชิ าการและวชิ าชพี รวมทง้ั การพฒั นาคณุ ภาพและยกระดบั มาตรฐานในการจดั การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา ให้มีความทัดเทียมกันและพัฒนาสู่สากลซ่ึงท�ำให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างยืดหยุ่น คล่องตัวและต่อเนื่องในทุกระดับการศึกษาตลอดจนสะท้อนให้เห็นถึงมาตรฐานคุณภาพการจัดการศึกษา ในระดับอดุ มศกึ ษา เพอ่ื ใหก้ ารจดั การศกึ ษาทกุ ระดบั และทกุ ประเภทมคี ณุ ภาพและไดม้ าตรฐานตามทก่ี ำ� หนด ทงั้ มาตรฐาน การศึกษาระดับชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาและสัมพันธ์กับมาตรฐานและ หลักเกณฑ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาอ่ืนๆ รวมถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จึงจ�ำเป็นต้องมีระบบประกันคุณภาพที่พัฒนาขึ้นตามท่ีก�ำหนดไว้ในกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2553 ทงั้ นี้ ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งมาตรฐานการศกึ ษา หลกั เกณฑ์ ทเ่ี ก่ยี วข้อง และการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาสามารถแสดงในแผนภาพที่ 1.1 20 คมู่ อื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557

แผนภาพท่ี 1.1 ความเช่ือมโยงระหวา่ งมาตรฐานการศกึ ษาและการประกันคณุ ภาพ มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 3 คณุ ลักษณะของคนไทยท่ีพึงประสงค์ แนวทางการจัด แนวการสรา้ งสงั คม แหง่ การเรยี นร/ู้ สงั คมแหง่ ความรู้ ท้งั ในฐานะพลเมอื งและพลโลก การศกึ ษา มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน การอุดมศึกษา ดา้ นคุณภาพบณั ฑติ ด้านการบรหิ ารจดั การ ด้านการสรา้ งและพฒั นา การอุดมศกึ ษา สังคมฐานความรู้ และสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ หลกั เกณฑ์ก�ำกบั มาตรฐาน รวมถงึ มาตรฐาน การประกนั คุณภาพภายใน ภายใต้ตัวบ่งชี้ สถาบันอุดมศกึ ษา ตามพนั ธกิจของการอดุ มศกึ ษาและการบรหิ ารจัดการ และกรอบมาตรฐาน คณุ วุฒิ ระดับอดุ มศึกษา ผลผลิตทางการศึกษาทไ่ี ด้คุณภาพ แหง่ ชาติ 5 ความเชอ่ื มโยงระหว่างการประกันคณุ ภาพภายในและการประเมินคณุ ภาพ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในเปน็ สว่ นหนง่ึ ของกระบวนการบรหิ ารการศกึ ษาปกตทิ ตี่ อ้ งดำ� เนนิ การ อย่างต่อเน่ือง โดยมีการควบคุมดูแลปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพมีการตรวจสอบติดตามและประเมินผล การดำ� เนนิ งานเพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารพฒั นาปรบั ปรงุ คณุ ภาพอยา่ งสมำ�่ เสมอ ดว้ ยเหตนุ รี้ ะบบประกนั คณุ ภาพภายใน จึงต้องดูแลทั้งปัจจัยน�ำเข้า (input) กระบวนการ (process) และผลผลิตหรือผลลัพธ์ (output/outcome) ซง่ึ ตา่ งจากการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกทเ่ี นน้ การประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ดงั นน้ั ความเชอ่ื มโยงระหวา่ ง การประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอกจึงเป็นสิ่งจ�ำเป็น โดยได้เช่ือมโยงให้เห็นจาก แผนภาพท่ี 1.2 ค่มู อื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 21

แผนภาพที่ 1.2 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในกบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก การประเมนิ คุณภาพภายใน การประเมินคณุ ภาพภายนอก การปฏิบัตงิ าน การประเมนิ รายงาน การตรวจเยย่ี ม รายงานผล การตดิ ตามผล ของสถาบนั ตนเองของ ประจำ� ปี การประเมิน สถาบนั ขอ้ มลู ป้อนกลับ ติดตาม ตรวจสอบ โดยตน้ สังกดั ทุก 3 ปี ข้อมูลปอ้ นกลบั จากแผนภาพที่ 1.2 จะเหน็ วา่ เมอื่ สถาบนั อดุ มศกึ ษามกี ารดำ� เนนิ การประกนั คณุ ภาพภายในแลว้ จำ� เปน็ ตอ้ งจัดทำ� รายงานประจำ� ปที ่เี ป็นรายงานประเมนิ คุณภาพภายใน โดยใชร้ ูปแบบการจดั ทำ� รายงานประจำ� ปี ที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายในตามท่ีก�ำหนดในระบบฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพ (CHE QA Online) ซึ่งเป็นการบันทึกผลการด�ำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาผ่านทางระบบออนไลน์ ต้ังแต่ การจดั เก็บขอ้ มูลพ้ืนฐานเอกสารอา้ งอิงการประเมินตนเอง การประเมินของคณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพ เพื่อน�ำเสนอสภาสถาบันหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน ซ่ึงข้อมูล ดังกล่าวจะเป็นข้อมูลเช่ือมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในของสถาบัน การติดตามตรวจสอบของ ตน้ สังกัด ดังนนั้ สถาบนั อุดมศึกษาจำ� เป็นต้องจัดทำ� รายงานการประเมินตนเองทม่ี คี วามลุ่มลกึ สะทอ้ นภาพ ท่ีแท้จริงของสถาบันในการจดั การศกึ ษาต้งั แต่ระดบั หลักสูตร การดำ� เนนิ การของคณะและสถาบนั เพ่อื การ ผลติ บณั ฑติ ท่มี คี ณุ ภาพออกไปรบั ใช้สงั คม 22 คูม่ อื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557

บทท่ี 2 การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 1 พัฒนาการของระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน เป็นที่ทราบกันดีว่าระบบการประกันคุณภาพการศึกษาจ�ำเป็นต้องมีการปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง ตามระดบั การพฒั นาของสถาบันการศกึ ษา ตามความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี สภาพสังคม เศรษฐกิจ ความรแู้ ละทกั ษะในอนาคตทตี่ ลาดงานตอ้ งการและพฤตกิ รรมการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น ดงั นนั้ ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในและระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกจึงมีการปรับปรุงมาโดยตลอด ปัจจุบัน ระบบการประกันคุณภาพภายในเข้าสู่รอบท่ีสาม (2557-2561) และระบบการประเมินคุณภาพ ภายนอกเข้าส่รู อบท่ีสี่ (2558-2562) ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในทพ่ี ฒั นาโดยสำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา เรม่ิ ใชม้ าตง้ั แต่ ปีการศกึ ษา 2550 เป็นระบบแรกท่ีใหส้ ถาบนั อดุ มศกึ ษาทุกแห่งได้น�ำไปใช้ในการประเมินผลการด�ำเนนิ งาน ในทุกปีการศึกษาและให้สถาบันอุดมศึกษาเพ่ิมเติมประเด็นการประเมินที่สะท้อนเอกลักษณ์ของแต่ละ สถาบนั ในรอบแรกนต้ี วั บง่ ชป้ี ระเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานมที งั้ ตวั บง่ ชที้ เี่ ปน็ ปจั จยั นำ� เขา้ กระบวนการและผลผลติ หรอื ผลลพั ธโ์ ดยครอบคลมุ องคป์ ระกอบคณุ ภาพตามกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2546 ตอบสนองเจตนารมณแ์ หง่ พระราชบญั ญตั ิ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ มาตรฐาน การอดุ มศกึ ษาและมาตรฐานตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง รวมทง้ั สอดคลอ้ งไปในทศิ ทางเดยี วกนั กบั ตวั บง่ ชกี้ ารประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของสำ� นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) หรอื สมศ. ภายใต้หลักการส�ำคัญคือไม่เป็นภาระซ้�ำซ้อนในการปฏิบัติงานของสถาบันอุดมศึกษา ตัวบ่งช้ีที่พัฒนาข้ึน สามารถประเมินได้ครบทุกมิติของระบบการประกันคุณภาพ คือ ปัจจัยน�ำเข้า กระบวนการ และผลผลิต หรือผลลัพธ์ อีกท้ัง ยังมีความสมดุลระหว่างมุมมอง การบริหารจัดการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านนักศึกษาและ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ดา้ นกระบวนการภายใน ดา้ นการเงนิ และดา้ นบคุ ลากร การเรยี นรแู้ ละนวตั กรรม ในสว่ นของ เกณฑ์การประเมิน มีท้ังเกณฑ์ท่ัวไปท่ีใช้กับทุกสถาบันและท่ีแยกใช้เฉพาะกับสถาบันที่มีจุดเน้นต่างกัน ได้แก่ สถานท่ีเน้นการผลิตบัณฑิตและการวิจัย สถาบันท่ีเน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม สถาบันท่ี เนน้ การผลติ บณั ฑติ และพฒั นาศลิ ปวฒั นธรรม และสถาบนั ทเ่ี นน้ การผลติ บณั ฑติ เพยี งอยา่ งเดยี ว เนอ่ื งจาก ในระยะแรกนส้ี ถาบนั อดุ มศกึ ษาหลายแหง่ ยงั ไมม่ กี ระบวนการทำ� งานทเ่ี นน้ วงจรคณุ ภาพอยา่ งชดั เจนตวั บง่ ชี้ สว่ นใหญ่จึงเป็นตัวบ่งชี้ทเ่ี นน้ กระบวนการ การพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในรอบทสี่ อง พ.ศ. 2553 ยงั คงยดึ หลกั การเดยี วกบั รอบแรก โดยน�ำแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) กฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 มาตรฐานสถาบนั อดุ มศึกษา กรอบมาตรฐาน คณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ เกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั อดุ มศกึ ษา มาตรฐานเพอื่ การประเมนิ คณุ ภาพ ภายนอกของ สมศ. กรอบการปฏิบัติราชการตามมิติด้านต่างๆ ของส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณีมหาวิทยาลัยของรัฐมาเป็นกรอบในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน คมู่ อื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 23

อย่างไรก็ตาม การพัฒนาตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประกันคุณภาพภายใน รอบที่สองจะมุ่งเน้นการประเมิน เฉพาะปัจจัยน�ำเข้าและกระบวนการส�ำหรับการวัดผลผลิตหรือผลลัพธ์นั้น ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอดุ มศกึ ษาไดน้ ำ� ตวั บง่ ชที้ ใี่ ชใ้ นการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสามของสมศ. มาใชโ้ ดยถอื เปน็ สว่ นหนงึ่ ของตวั บง่ ช้แี ละเกณฑก์ ารประกันคุณภาพภายในที่สถาบนั อุดมศึกษาต้องด�ำเนนิ การใหค้ รบถว้ นทุกมติ ขิ อง ระบบประกนั คณุ ภาพคอื ปจั จยั นำ� เขา้ กระบวนการ ผลผลติ หรอื ผลลพั ธ์ ทง้ั นี้ เกณฑท์ พ่ี ฒั นาขนึ้ ในรอบนยี้ งั มี ความแตกตา่ งจากรอบแรก คอื มกี ารกำ� หนดประเภทเกณฑม์ าตรฐานทว่ั ไปทใี่ ชก้ บั ทกุ กลมุ่ สถาบนั อดุ มศกึ ษา และเกณฑ์มาตรฐานเพ่ิมเติมเฉพาะกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา ได้แก่ กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี กลุ่ม ค 1 สถาบันเฉพาะทางทีเ่ น้นระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา กลุม่ ค 2 สถาบนั เฉพาะทางทเ่ี น้นระดับปริญญาตรี และกลุ่ม ง สถาบันท่ีเน้นการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอก ตามนยิ ามทีก่ �ำหนดในประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ือง มาตรฐานสถาบนั อุดมศกึ ษา 2 การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในรอบใหม่ (พ.ศ. 2557-2561) ในปี พ.ศ. 2557 สำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาโดยคณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายในระดบั อดุ มศกึ ษา ไดต้ ระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของหนว่ ยยอ่ ยของการอดุ มศกึ ษาทท่ี ำ� หนา้ ทผ่ี ลติ บณั ฑติ ใหม้ คี ณุ ภาพ จึงได้ก�ำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษาโดยให้ พจิ ารณาเพิ่มเติมในสาระทเี่ กีย่ วข้องในกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) แผนพฒั นาการศกึ ษาระดบั อุดมศกึ ษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) มาตรฐานการอดุ มศึกษา มาตรฐาน สถาบันอุดมศึกษา เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 รวมท้ังกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ท้งั น้ี ได้กำ� หนดให้มกี ารประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน 3 ระดบั คอื ระดับหลักสูตร ระดบั คณะ และระดับสถาบัน โดยมี องคป์ ระกอบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในตาม พันธกจิ 4 ด้านของสถาบนั อดุ มศกึ ษา และเพิ่มเตมิ ด้านอืน่ ๆ ท่ีจ�ำเปน็ ส�ำหรับการพฒั นาตัวบ่งช้แี ละเกณฑ์ การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในทัง้ ระดบั หลกั สตู ร คณะ และสถาบัน ดำ� เนนิ การไปพร้อมกนั หากเป็น ตัวบ่งชี้ที่เน้นกระบวนการจะต้องมีการประเมินผลลัพธ์ภายใต้การด�ำเนินการตามตัวบ่งช้ีกระบวนการ ดังกลา่ วดว้ ย (process performance) ซ่งึ ไดก้ ำ� หนด หลักการพัฒนาไว้ ดังนี้ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในระดบั หลกั สตู ร ประกอบดว้ ย 6 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ องคป์ ระกอบ ที่ 1 การก�ำกับมาตรฐาน องค์ประกอบที่ 2 บณั ฑติ องค์ประกอบท่ี 3 นักศกึ ษา องค์ประกอบท่ี 4 อาจารย์ องค์ประกอบท่ี 5 หลักสูตรการเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน และองค์ประกอบที่ 6 ส่ิงสนับสนุน การเรยี นรตู้ วั บง่ ชแี้ ละเกณฑก์ ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในระดบั หลกั สตู รครอบคลมุ เรอื่ งการสง่ เสรมิ พฒั นานกั ศกึ ษา การวางระบบกระบวนการจดั การเรยี นการสอน จำ� นวนอาจารยต์ อ่ นกั ศกึ ษาในระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา (โดยเฉพาะการคุมวิทยานิพนธใ์ ห้เปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสตู ร) ผลงานทางวิชาการ ผลงาน วิจัยของคณาจารย์ ส่ืออุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุด และแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ การด�ำเนินการตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ รวมทั้งคุณภาพบัณฑิต ซึ่งจะพิจารณาจากการมีงานท�ำ หรือประกอบอาชีพอิสระ คุณภาพผลงานตีพิมพ์และเผยแพร่ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา การประกัน คุณภาพการศึกษาภายในระดบั คณะ ประกอบด้วย 5 องคป์ ระกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑติ องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย องคป์ ระกอบท่ี 3 การบริการวชิ าการ องคป์ ระกอบท่ี 4 การทำ� นบุ ำ� รงุ ศลิ ปะและ 24 คูม่ อื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557

วัฒนธรรม และองคป์ ระกอบที่ 5 การบริหาร จดั การตวั บง่ ช้ีและเกณฑก์ ารประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับคณะให้ครอบคลุมการด�ำเนินงานของคณะเพ่ือสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของแต่ละหลักสูตร ที่คณะดูแล รวมทั้งกิจกรรมนักศึกษา การบริการนักศึกษา การให้บริการทางวิชาการ การวิจัย การบริหาร จดั การและการประกนั คณุ ภาพของคณะ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั สถาบนั ประกอบดว้ ย 5 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ องคป์ ระกอบท่ี 1 การผลติ บณั ฑติ องคป์ ระกอบท่ี 2 การวจิ ยั องคป์ ระกอบท่ี 3 การบรกิ ารวชิ าการ องคป์ ระกอบท่ี 4 การทำ� นบุ ำ� รงุ ศิลปะและวัฒนธรรม และองค์ประกอบท่ี 5 การบริหารจัดการตัวบ่งช้ี และเกณฑ์การประกันคุณภาพ การศึกษาภายในระดับสถาบัน พิจารณาให้เป็นไปตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ได้แก่ มาตรฐาน ด้านศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษาประกอบด้วยด้านกายภาพ ด้านวิชาการ ด้านการเงิน ดา้ นการบริหารจัดการมาตรฐาน ดา้ นการด�ำเนนิ การตามภารกจิ ของสถาบนั อดุ มศกึ ษา ประกอบด้วย ดา้ น การผลติ บณั ฑติ ดา้ นการวจิ ยั ดา้ นการใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการแกส่ งั คม ดา้ นการทำ� นบุ ำ� รงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม ทั้งน้ี ควรมุ่งเน้นการประกันคุณภาพการด�ำเนินการของสถาบัน เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของ แต่ละคณะ โดยครอบคลุมในด้านกายภาพและภารกิจของสถาบัน รวมถึงการประกันคุณภาพในภาพรวม จุดมุ่งหมายของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในแต่ละระดับ เพ่ือการควบคุมคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบคณุ ภาพและการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาในระดบั หลกั สตู ร ระดบั คณะ และระดบั สถาบนั ให้ได้ข้อมูลท่ีช้ีผลการบริหารจัดการหลักสูตรท่ีได้คุณภาพตามมาตรฐานการอุดมศึกษาของแต่ละคณะ และภาพรวมของสถาบันอันจะน�ำไปสู่การก�ำหนดแนวทางและพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์และมาตรฐาน ที่ต้ังไว้อย่างต่อเน่ือง เพ่ือจัดท�ำรายงานประจ�ำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน เสนอต่อส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศกึ ษาทุกปกี ารศกึ ษา ตลอดจนเพอ่ื รองรบั การตดิ ตามตรวจสอบ อยา่ งน้อยหนง่ึ ครงั้ ในทุกสามปีตามกฎกระทรวงฯ รวมทั้งการสร้างความม่ันใจต่อสังคมในเร่ืองคุณภาพ บัณฑิตโดยผู้เรียนมี งานทำ� ผเู้ รยี นมคี ณุ ภาพตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาตแิ ละเพอ่ื ประกอบการพจิ ารณา ข้ึนทะเบียนหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดับอุดมศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 อยา่ งไรกต็ ามระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในรอบใหม่นี้ จะมุ่งเน้นท่ีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับ หลกั สตู รใหม้ กี ารดำ� เนนิ การตง้ั แตก่ ารวางระบบคณุ ภาพการควบคมุ คณุ ภาพ การตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพ การประเมินคุณภาพและการพัฒนาคุณภาพ เพ่ือสร้างความม่ันใจให้กับผู้ใช้บัณฑิตและส่งเสริมสนับสนุน ก�ำกับติดตามการด�ำเนินงานของคณะ และสถาบัน ให้เป็นไปตามมาตรฐาน และวิสัยทัศน์ที่สถาบัน อดุ มศกึ ษากำ� หนด โดยใหส้ ะทอ้ นผลการจดั การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพมกี ารควบคมุ คณุ ภาพในทกุ ขนั้ ตอน ของการผลติ บณั ฑติ ในแตล่ ะปกี ารศกึ ษาโดยคณะกรรมการประจำ� หลกั สตู รมกี ารตรวจสอบตดิ ตามคณุ ภาพ ผลการผลติ บณั ฑติ โดยคณะกรรมการประจำ� คณะและคณะกรรมการระดบั สถาบนั ในทกุ ปกี ารศกึ ษา มคี วาม เชื่อมโยงกับระบบการประเมินคุณภาพภายนอก ท่ีจะมีการรับรองคุณภาพการศึกษาระดับชาติ รวมทั้งมี การประเมินคณุ ภาพเพอื่ ให้ได้ข้อมูลเชงิ ปริมาณ และเชิงคณุ ภาพท่ีสะท้อนผลของการผลติ บณั ฑติ ในแต่ละ ปกี ารศกึ ษา เพอ่ื สรา้ งความเชอ่ื มน่ั ในคณุ ภาพของบัณฑิตทส่ี �ำเร็จการศึกษาจากสถาบนั อดุ มศกึ ษา อนึ่ง คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาได้ออกประกาศ เร่ือง หลักเกณฑ์และ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 โดยระบุให้สถาบันอุดมศึกษา มีอิสระในการเลือกพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในโดยยึดหลักเสรีภาพทางวิชาการและ ความมอี สิ ระในการดำ� เนนิ การของสถานศกึ ษาเพอื่ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ในการพฒั นาคณุ ภาพ คู่มือการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557 25

และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับบริบทของสถาบัน อดุ มศกึ ษา และเปน็ ไปตามมาตรฐานการอดุ มศกึ ษาเกณฑม์ าตรฐานตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งและเตรยี มความพรอ้ ม เพอ่ื รองรบั การประกนั คณุ ภาพภายนอก ทง้ั นี้ ระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในทสี่ ถาบนั อดุ มศกึ ษา เลอื กใชต้ อ้ งสนองตอ่ เจตนารมณข์ องสถาบนั อดุ มศกึ ษาและกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี าร ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2553 อาจเปน็ ระบบทค่ี ณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายในระดบั อดุ มศกึ ษา พฒั นาขน้ึ หรอื เปน็ ระบบทเี่ ปน็ ทยี่ อมรบั ในระดบั สากลทส่ี ามารถประกนั คณุ ภาพไดต้ งั้ แตร่ ะดบั หลกั สตู ร คณะ และสถาบนั เช่น ระบบ AUN - QA หรือ ระบบ EdPEx หรือ เปน็ ระบบท่สี ถาบนั อดุ มศกึ ษาพฒั นาขึ้นเอง ทงั้ นี้ โดยผา่ นการพจิ ารณาจากสภาสถาบนั และเสนอคณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายในระดบั อดุ มศกึ ษา พิจารณาให้ความเห็นชอบ ซึ่งสถาบันอุดมศึกษาต้องรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในต่อต้นสังกัด เพอ่ื พจิ ารณาและเปดิ เผยตอ่ สาธารณะ เพอื่ ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรา 48 แหง่ พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 และข้อ 6 แห่งกฎกระทรวง ว่าด้วยระบบหลกั เกณฑ์ และวิธีการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2553 3 กระบวนการและวิธกี ารประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (ปกี ารศกึ ษา 2557-2561) เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเกิดประโยชน์จึงควรมีแนวทางการจัดกระบวนการประกัน คณุ ภาพการศกึ ษาภายในตามวงจรคณุ ภาพ ประกอบดว้ ย 4 ขนั้ ตอน คอื การวางแผน (Plan) การดำ� เนนิ งาน และเกบ็ ข้อมูล (Do) การประเมินคณุ ภาพ (Check/Study) และการเสนอแนวทางการปรบั ปรงุ (Act) โดยมี รายละเอียด ดงั น้ี P = เร่ิมกระบวนการวางแผนการประเมินตั้งแต่ต้นปีการศึกษา โดยน�ำผลการประเมินปีก่อนหน้านี้ มาใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการวางแผนโดยตอ้ งเกบ็ ขอ้ มลู ตงั้ แตเ่ ดอื นมถิ นุ ายน กรณใี ชร้ ะบบเปดิ -ปดิ ภาคการศกึ ษา แบบเดิม หรอื ตง้ั แตเ่ ดือนสิงหาคม กรณใี ชร้ ะบบเปิด-ปดิ ภาคการศึกษาตามอาเซยี น D = ดำ� เนินงานและเก็บข้อมูลบันทึกผลการด�ำเนินงานต้งั แตต่ ้นปีการศกึ ษา คอื เดือนที่ 1-เดือนท่ี 12 ของปีการศึกษา (เดอื นมถิ ุนายน-พฤษภาคม ปถี ัดไป หรือเดอื นสิงหาคม-กรกฎาคม ปีถัดไป) C/S = ดำ� เนนิ การประเมนิ คณุ ภาพในระดบั หลกั สตู ร คณะ และสถาบนั ระหวา่ งเดอื นมถิ นุ ายน-สงิ หาคม หรอื เดือนสงิ หาคม-ตุลาคม ของปีการศกึ ษาถัดไป A = วางแผนปรับปรุงและด�ำเนินการปรับปรุงตามผลการประเมิน โดยคณะกรรมการบริหารระดับ หลักสูตร ระดบั คณะ และระดับสถาบัน โดยน�ำขอ้ เสนอแนะและผลการประเมินของคณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายในมาวางแผนปรับปรุงการด�ำเนินงาน (รวมทั้งข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย) มาจัดท�ำ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ� ปแี ละเสนอตงั้ งบประมาณปถี ดั ไป หรอื จดั ทำ� โครงการพฒั นาและเสนอใช้ งบประมาณ กลางปหี รอื งบประมาณพเิ ศษกไ็ ด้ วิธีการประกันคณุ ภาพภายใน กำ� หนดไว้ ดังนี้ 1) สถาบนั วางแผนการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในประจำ� ปีการศึกษาใหม่ 2) สถาบันเก็บข้อมูลระยะ 12 เดือนตามตัวบ่งช้ีที่ได้ประกาศใช้บนระบบ CHE QA Online และ ให้มีการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาภายในเปน็ ประจำ� ทุกปีทั้งระดับหลกั สูตร คณะวิชา และสถาบัน 26 คู่มอื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557

3) หลักสูตรเตรียมการประเมินตนเองระดับหลักสูตรและจัดท�ำรายงานการประเมินตนเองระดับ หลกั สตู รผ่านระบบ CHE QA Online 4) คณะหรอื หนว่ ยงานเทยี บเทา่ นำ� ผลการประเมนิ ระดบั หลกั สตู รมาจดั ทำ� รายงานการประเมนิ ตนเอง ระดบั คณะ 5) คณะหรอื หนว่ ยงานเทยี บเทา่ ประเมนิ ตนเองบนระบบ CHE QA Online และยนื ยนั ผลการประเมนิ หลกั สตู รทไี่ ดป้ ระเมินไปแลว้ 6) สถาบนั นำ� ผลการประเมนิ ระดบั หลกั สตู รผลการประเมนิ ระดบั คณะวชิ ามาจดั ทำ� รายงานการประเมนิ ตนเองระดบั สถาบนั 7) สถาบนั ประเมนิ ตนเองบนระบบ CHE QA Online และยนื ยนั ผลการประเมนิ ตนเองระดบั หลกั สตู ร คณะวชิ า พรอ้ มนำ� ผลการประเมนิ เสนอสภาสถาบนั เพอื่ พจิ ารณาวางแผนพฒั นาสถาบนั ในปกี ารศกึ ษาถดั ไป 8) ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาน�ำผลการประเมินและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายในที่สถาบันแต่งตัง้ (รวมท้งั ขอ้ เสนอแนะของสภาสถาบัน) มาวางแผนปรับปรุงการด�ำเนินงาน แผนปฏิบัติการประจ�ำปี และแผนกลยทุ ธ์ 9) สง่ รายงานประจำ� ปที เี่ ปน็ รายงานการประเมนิ คณุ ภาพภายใน ผา่ นระบบ CHE QA Online ภายใน 120 วนั นบั จากสนิ้ ปกี ารศึกษา สถาบันอุดมศึกษาต้องมีการประเมินตนเองตามตัวบ่งช้ีและเกณฑ์การประกันคุณภาพภายในทุกปี การศึกษา ทั้งระดับหลักสตู ร ระดับคณะ และระดับสถาบนั ตามล�ำดับ โดยสถาบนั อุดมศกึ ษาเป็นผแู้ ตง่ ตง้ั คณะกรรมการประเมิน และส่งผลการประเมินให้ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาทราบผ่านระบบ ฐานขอ้ มลู ด้านการประกนั คณุ ภาพ (CHE QA Online) ท้งั น้ี คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในระดับ หลักสูตร 1 ชุด อาจประเมินได้มากกว่าหนึ่งหลักสูตรหากเป็นหลักสูตรในสาขาวิชาเดียวกันเช่นหลักสูตร สาขาวชิ าเดยี วกันทั้งในระดบั ปรญิ ญาตรีและบัณฑติ ศกึ ษา ส�ำหรับแนวทางการด�ำเนินการประกันคุณภาพภายในระดับหลักสูตรท่ีสถาบันอุดมศึกษาต้อง ด�ำเนินการเป็นประจ�ำทุกปี คือ หลักสูตรสามารถแต่งตั้งอาจารย์ประจ�ำหลักสูตร หรือผู้ประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในของสถาบันอุดมศึกษา หรือผู้ทรงคุณวุฒิท่ีข้ึนทะเบียนของ สกอ. และเป็นคนก้าวทัน ความทนั สมัยของหลักสูตรมาประเมินหลกั สูตร และรายงานผา่ นระบบ CHE QA ONLINE ในกรณีที่ต้องการเผยแพร่หลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับ อุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับ หลักสูตร ก�ำหนดไว้ดงั นี้ - ผู้ประเมินคุณภาพภายในจ�ำนวนอย่างน้อย 3 คน ซ่ึงมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา ท่ีขอรับการประเมิน โดยเกินกว่ากึ่งหน่ึงเป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน และอย่างน้อย หน่งึ คนของผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอกนน้ั ต้องมคี ุณวุฒติ รงกบั สาขาวิชาท่ีขอรับการประเมิน ทัง้ น้ี ประธานกรรมการตอ้ งเป็นผทู้ รงคณุ วฒุ จิ ากภายนอกสถาบัน - คณะกรรมการทุกคนต้องเป็นผู้ท่ีขึ้นทะเบียนผู้ประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตรของ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา คู่มอื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 27

คุณสมบัติเฉพาะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตรของแต่ละระดับ การศึกษา เป็นดังน้ี - ระดบั ปรญิ ญาตรี คณะกรรมการมคี ณุ วฒุ ปิ รญิ ญาโทขนึ้ ไปหรอื ดำ� รงตำ� แหนง่ ทางวชิ าการ ระดบั ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขึ้นไป - ระดบั ปรญิ ญาโท คณะกรรมการมคี ณุ วฒุ ปิ รญิ ญาเอกหรอื ดำ� รงตำ� แหนง่ ทางวชิ าการระดบั รองศาสตราจารยข์ นึ้ ไป - ระดบั ปรญิ ญาเอก คณะกรรมการมคี ณุ วฒุ ปิ รญิ ญาเอกหรอื ดำ� รงตำ� แหนง่ ทางวชิ าการระดบั ศาสตราจารยข์ ึ้นไป ในกรณที ป่ี ระสงคน์ ำ� ผลการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในระดบั อดุ มศกึ ษาในระดบั สถาบนั ไป ใชใ้ นการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำ� รบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของสถาบนั อดุ มศกึ ษาของสำ� นกั งาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั อดุ มศึกษา ระดบั สถาบนั กำ� หนดไว้ดังน้ี - ผู้ทรงคุณวฒุ ิ จำ� นวนอยา่ งน้อย 5 คน ท้งั น้ี ขึ้นอยู่กบั ขนาดของสถาบนั - ประธานกรรมการประเมินฯ เป็นผู้ประเมินจากภายนอกสถาบันที่ขึ้นทะเบียนประธาน คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายในของสำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา - กรรมการประเมนิ ฯ เปน็ ผปู้ ระเมนิ จากภายนอกสถาบนั ทผ่ี า่ นการฝกึ อบรมหลกั สตู รผปู้ ระเมนิ ของ สกอ. อย่างน้อยร้อยละ 50 ส่วนผู้ประเมินจากภายในสถาบันต้องผ่านการฝึกอบรม หลักสูตรผู้ประเมินของ สกอ. หรือท่ีสถาบันจัดฝึกอบรมให้โดยใช้หลักสูตรของส�ำนักงาน คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา คุณสมบัติเฉพาะของคณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายในระดบั สถาบนั เป็นดังนี้ 1) ประธานกรรมการ - ผู้ที่เป็นหรือเคยเป็นผู้บริหารระดับคณบดีหรือเทียบเท่าขึ้นไปและมีประสบการณ์เป็น ผู้ประเมินคณุ ภาพการศึกษาระดบั อุดมศกึ ษา ในระดบั คณะหรือเทียบเทา่ หรือ - ผู้ที่มีต�ำแหน่งทางวิชาการระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ข้ึนไป และมีประสบการณ์เป็น ผูป้ ระเมนิ คุณภาพการศึกษาระดบั อุดมศกึ ษา ในระดับคณะหรอื เทียบเทา่ ขน้ึ ไป หรอื - ผู้ท่สี ำ� นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาแลว้ ว่ามคี วามเหมาะสม 2) กรรมการ - กรณีเป็นอาจารย์ ต้องท�ำหนา้ ท่ีเปน็ อาจารย์ประจ�ำมาแลว้ ไม่น้อยกวา่ 2 ปี - กรณีเป็นฝ่ายสนับสนุน ต้องท�ำหน้าท่ีในระดับผู้อ�ำนวยการหน่วยงานขึ้นไปมาแล้ว ไมน่ ้อยกวา่ 2 ปี ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจะด�ำเนินการติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าของ การปฏบิ ตั ติ ามแผนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา อยา่ งนอ้ ยหนง่ึ ครง้ั ในทกุ สามปี และแจง้ ผลใหส้ ถานศกึ ษา ทราบรวมท้ังเปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน เพื่อให้เป็นไปตามข้อ 36 แหง่ กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 28 ค่มู ือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557

หมายเหตุ : 1. แนวทางการดำ� เนนิ การสำ� หรบั หลกั สตู รทขี่ อปดิ ดำ� เนนิ การ หรอื งดรบั นกั ศกึ ษา หรอื ไมม่ นี กั ศกึ ษา มาสมัครเรียนที่ก�ำหนดไว้ คือ กรณีหลักสูตรท่ีสภาสถาบันอุดมศึกษาเห็นชอบ/อนุมัติให้ปิดด�ำเนินการ ต้องแจ้งให้ สกอ. รับทราบ หากหลักสูตรยังมีนักศึกษาคงค้างอยู่ อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรดังกล่าวยังต้อง ท�ำหน้าที่อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรต่อไปและจัดการเรียนการสอนจนกว่านักศึกษาคนสุดท้ายจะส�ำเร็จ การศกึ ษา ทงั้ น้ี สถาบนั อดุ มศกึ ษายงั ตอ้ งดำ� เนนิ การประเมนิ ตนเองระดบั หลกั สตู รเปน็ ประจำ� ทกุ ปี โดยประเมนิ องค์ประกอบที่ 1 การก�ำกับมาตรฐาน และองค์ประกอบที่เก่ียวข้อง เฉพาะตัวบ่งชี้ท่ีมีการด�ำเนินการ เพ่ือ น�ำผลที่ได้มาประกอบการพิจารณาปรับปรุงกระบวนการหรือพิจารณาด�ำเนินการอื่นๆ ต่อไป โดยค�ำนึงถึง ประโยชน์จากการประเมิน เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของหลักสูตรเป็นส�ำคัญ อนึ่ง การประเมินตนเองดังกล่าวเป็นการด�ำเนินการภายในของหลักสูตร คณะ หรือสถาบัน โดยรายงานผลการ ดำ� เนนิ งานของหลกั สตู รเฉพาะตวั บง่ ชที้ มี่ กี ารดำ� เนนิ งาน ในการคำ� นวณคา่ คะแนนของหลกั สตู รใหค้ ดิ เฉพาะ ตัวบ่งชีท้ ่มี ีการประเมนิ เท่านั้น และดำ� เนนิ การผา่ นระบบ CHE QA Online 2. หลักในการพิจารณาส�ำหรับตัวบ่งช้ีการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตรที่เป็นตัวบ่งช้ี กระบวนการ (3.1, 3.2, 4.1, 5.1, 5.2, 5.3 และ 6.1) การพิจารณาตัดสินผลการประเมินตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพในระดับหลักสูตรที่เน้นกระบวนการ เพื่อให้ ผู้ประเมินน�ำไปใช้ในการตัดสินผลการประเมินให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ให้ยึดหลักการ คือ หลักสูตร ควรกำ� หนดผลลพั ธซ์ ึ่งแสดงคุณภาพท่ตี อ้ งการจากกระบวนการท่ีได้ออกแบบ โดยอธบิ ายวิธกี ารด�ำเนินงาน ท่ีน�ำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ มีการทบทวน/ประเมิน/ศึกษา ผลการด�ำเนินงานที่เทียบกับผลลัพธ์ที่ก�ำหนด หากหลกั สตู รไมไ่ ดผ้ ลลพั ธต์ ามทต่ี อ้ งการ ใหอ้ ธบิ ายวา่ มกี ารปรบั ปรงุ วธิ กี ารทำ� งานอยา่ งไร เพอื่ นำ� ไปสผู่ ลลพั ธ์ ที่ตอ้ งการ (หมายเหตุ : ให้พิจารณาผลการด�ำเนนิ งานในภาพรวม ไมค่ วรพจิ ารณาแตล่ ะประเด็นยอ่ ย และ กรณจี ะให้คะแนนระดับ 4 หรอื 5 ต้องมีค�ำอธิบายที่เหน็ เปน็ รูปธรรม) คู่มอื การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557 29



บทท่ี 3 นยิ ามศัพท์ การจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) หมายถงึ การรวบรวมองคค์ วามรทู้ ่ีมอี ยใู่ นองค์กร ซ่ึงกระจัดกระจายอยใู่ นตัวบุคคล หรือเอกสาร มาพฒั นาใหเ้ ปน็ ระบบ เพื่อใหท้ ุกคนในองคก์ รสามารถเขา้ ถึง ความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมท้ังปฏิบัติงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ อนั จะส่งผลใหอ้ งค์กรมีความ สามารถในเชงิ แข่งขนั สูงสดุ โดยทค่ี วามรมู้ ี 2 ประเภท คือ 1. ความรู้ท่ีฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ท่ีได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือ สัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการท�ำความเข้าใจในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมา เป็นค�ำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการท�ำงาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครงั้ จึงเรียกว่าเปน็ ความรแู้ บบนามธรรม 2. ความรทู้ ี่ชัดแจง้ (Explicit Knowledge) เป็นความรทู้ ่ีสามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผา่ น วธิ ตี า่ งๆ เชน่ การบนั ทกึ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร ทฤษฎี คมู่ อื ตา่ งๆ และบางครง้ั เรยี กวา่ เปน็ ความรแู้ บบรปู ธรรม นพ. วจิ ารณ์ พานชิ ไดใ้ หค้ วามหมายของคำ� วา่ “การจดั การความร”ู้ คอื เครอื่ งมอื เพอื่ การบรรลเุ ปา้ หมาย อยา่ งนอ้ ย 4 ประการไปพรอ้ มๆ กนั ไดแ้ ก่ บรรลเุ ปา้ หมายของงาน บรรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาคน บรรลเุ ปา้ หมาย การพัฒนาองค์กรไปเป็นองค์กรเรียนรู้ และบรรลุความเป็นชุมชน เป็นหมู่คณะ ความเอ้ืออาทรระหว่างกัน ในท่ที ำ� งาน การจดั การความร้เู ปน็ การด�ำเนนิ การอยา่ งน้อย 6 ประการตอ่ ความรู้ ได้แก่ (1) การก�ำหนดความรูห้ ลกั ทจ่ี ำ� เปน็ หรือสำ� คัญต่องานหรอื กจิ กรรมของกลุม่ หรอื องค์กร (2) การเสาะหาความรทู้ ตี่ อ้ งการ (3) การปรบั ปรุง ดัดแปลง หรอื สรา้ งความรูบ้ างสว่ นให้เหมาะตอ่ การใช้งานของตน (4) การประยุกต์ใช้ความรู้ในกจิ การงานของตน (5) การน�ำประสบการณจ์ ากการทำ� งาน และการประยุกตใ์ ชค้ วามรูม้ าแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และ สกัด “ขุมความรู้” ออกมาบันทกึ ไว้ (6) การจดบนั ทกึ “ขมุ ความร”ู้ และ “แกน่ ความร”ู้ สำ� หรบั ไวใ้ ชง้ าน และปรบั ปรงุ เปน็ ชดุ ความรู้ ทีค่ รบถ้วน ลมุ่ ลกึ และเชือ่ มโยงมากขน้ึ เหมาะต่อการใช้งานมากย่ิงขึ้น โดยที่การด�ำเนินการ 6 ประการน้ีบูรณาการเป็นเนื้อเดียวกัน ความรู้ท่ีเก่ียวข้องเป็นทั้งความรู้ ที่ชัดแจง้ อย่ใู นรปู ของตัวหนังสือหรือรหัสอย่างอน่ื ทเ่ี ข้าใจได้ทว่ั ไป (Explicit Knowledge) และความรฝู้ ังลึก อยู่ในสมอง (Tacit Knowledge) ทีอ่ ยู่ในคน ท้งั ทอ่ี ยใู่ นใจ (ความเชอื่ คา่ นิยม) อยูใ่ นสมอง (เหตผุ ล) และอยู่ ในมือและส่วนอ่ืนๆ ของร่างกาย (ทักษะในการปฏิบัติ) การจัดการความรู้เป็นกิจกรรมที่คนจ�ำนวนหนึ่ง ทำ� ร่วมกนั ไม่ใช่กิจกรรมทท่ี �ำโดยคนคนเดยี ว คมู่ ือการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 31

การตีพิมพ์ในลักษณะใดลักษณะหน่ึง หมายถึง การตีพิมพ์ผลงานวิชาการฉบับสมบูรณ์ในลักษณะของ รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ วารสารวิชาการ หรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการในระดับมหาวิทยาลัย หรือระดับคณะ และต้องเป็นผลงานที่ผ่านการกลั่นกรอง (Peer review) โดยมีบุคคลภายนอกสถาบัน รว่ มเป็นกรรมการพจิ ารณาด้วย การเทียบเคยี งผลการด�ำเนินงาน (Benchmarking) หมายถึง วธิ กี ารในการวัดและเปรียบเทยี บผลผลิต บริการ และวิธีการปฏิบัติกับองค์กรที่สามารถท�ำได้ดีกว่า เพ่ือน�ำผลการเปรียบเทียบมาใช้ในการปรับปรุง องค์กรของตนเพ่ือมุง่ ความเป็นเลศิ ทางธรุ กิจ การบูรณาการ (Integration) หมายถงึ การผสมกลมกลืนของแผน กระบวนการ สารสนเทศ การจดั สรร ทรัพยากร การปฏิบัติการ ผลลัพธ์ และการวิเคราะห์ เพื่อสนับสนุนเป้าประสงค์ที่ส�ำคัญของสถาบัน (organization-wide goal) การบรู ณาการทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ลเปน็ มากกวา่ ความสอดคลอ้ งไปในแนวทางเดยี วกนั (Alignment) ซึ่งการด�ำเนินการของแต่ละองค์ประกอบภายในระบบการจัดการ ผลการด�ำเนินการ มีความ เชอื่ มโยงกันเปน็ หนงึ่ เดยี วอยา่ งสมบูรณ์ การเผยแพร่งานสร้างสรรค์ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ หมายถึง โครงการร่วมมือระหว่าง ประเทศไทยกบั ประเทศอ่ืน การเผยแพรง่ านสรา้ งสรรค์ในระดบั นานาชาติ หมายถงึ การเผยแพรท่ เ่ี ปดิ กวา้ งสำ� หรบั ทกุ ประเทศ (อยา่ งนอ้ ย 5 ประเทศ ทไี่ ม่ไดอ้ ย่ใู นกลุม่ อาเซยี น) การเผยแพรง่ านสรา้ งสรรค์ในระดบั ภมู ภิ าคอาเซยี น หมายถงึ การเผยแพรเ่ ฉพาะในกลมุ่ อาเซยี น 10 ประเทศ (อยา่ งนอ้ ย 5 ประเทศนบั รวมประเทศไทยดว้ ย) และการใหค้ ะแนนตามแหลง่ เผยแพร่ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งไปแสดง ในตา่ งประเทศ อาเซียน หมายถึง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) มี 10 ประเทศ ได้แก่ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย สปป.ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวยี ดนาม การเผยแพร่ผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ หมายถึง การน�ำเสนอบทความวิจัยในท่ีประชุม วิชาการ และบทความฉบับสมบูรณ์ (Full paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings) โดยมกี องบรรณาธกิ ารจดั ทำ� รายงานการประชมุ หรอื คณะกรรมการจดั ประชมุ ประกอบดว้ ย ศาสตราจารย์ หรอื ผทู้ รงคณุ วฒุ ริ ะดบั ปรญิ ญาเอก หรอื ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ ม่ี ผี ลงานเปน็ ทยี่ อมรบั ในสาขาวชิ านนั้ ๆ จากนอกสถาบนั เจา้ ภาพ อยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 25 โดยตอ้ งมผี ปู้ ระเมนิ บทความทเ่ี ปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญในสาขานน้ั ดว้ ย และมีบทความที่มาจากหน่วยงานภายนอกสถาบันอย่างน้อย 3 หน่วยงาน และรวมกันแล้วไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25 32 คู่มือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557

การเผยแพร่ผลงานวิจัยในท่ีประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึง การน�ำเสนอบทความวิจัยในท่ี ประชมุ วชิ าการ และบทความฉบบั สมบรู ณ์ (Full paper) ไดร้ บั การตพี มิ พใ์ นรายงานสบื เนอื่ งจากการประชมุ (Proceedings) โดยมกี องบรรณาธกิ ารจดั ทำ� รายงานฯ หรอื คณะกรรมการจดั ประชมุ ประกอบดว้ ยศาสตราจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีผลงานเป็นท่ียอมรับ ในสาขาวิชาน้ันๆ จาก ต่างประเทศอย่างน้อยร้อยละ 25 และมีผู้ประเมินบทความที่เป็นผู้เช่ียวชาญในสาขานั้น และบทความท่ี มาจากตา่ งประเทศ อยา่ งนอ้ ย 3 ประเทศ และรวมกนั แล้วไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 **บทความในการประชมุ วชิ าการทงั้ ระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ทน่ี ำ� เสนอใหก้ องบรรณาธกิ ารหรอื คณะกรรมการ จัดประชุมพิจารณาคัดเลือก ต้องเป็นฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) และได้รับการตีพิมพ์ ซึ่งสามารถอยู่ใน รปู แบบเอกสารหรือสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ได้ งานวิจยั หมายถงึ กระบวนการทม่ี ีระเบียบแบบแผนในการค้นหาคำ� ตอบของปญั หา หรือการเสาะแสวงหา ความรใู้ หม่ ตลอดจนถงึ การประดษิ ฐค์ ดิ คน้ ทผ่ี า่ นกระบวนการศกึ ษา คน้ ควา้ หรอื ทดลอง วเิ คราะหแ์ ละตคี วาม ขอ้ มลู ตลอดจนสรุปผลอยา่ งเปน็ ระบบ งานสร้างสรรค์ หมายถึง ผลงานศิลปะและส่ิงประดิษฐ์ทางศิลปะประเภทต่างๆ ที่มีความเป็นนวัตกรรม โดยมีการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบท่ีเหมาะสมตามประเภทของงานศิลปะซ่ึงมีแนวทางการทดลอง หรือการพัฒนาจากแนวคิดสร้างสรรค์เดิมเพื่อเป็นต้นแบบหรือความสามารถในการบุกเบิกศาสตร์ อันก่อ ให้เกิดคุณค่าทางสุนทรีย์และคุณประโยชน์ที่เป็นท่ียอมรับในวงวิชาชีพตามการจัดกลุ่มศิลปะ ของอาเซียน งานสรา้ งสรรคท์ างศลิ ปะ ไดแ้ ก่ (1) ทศั นศลิ ป์ (Visual Art) ประกอบดว้ ย ผลงานดา้ นจติ รกรรม ประตมิ ากรรม ภาพพมิ พ์ ภาพถา่ ย ภาพยนตร์ สอื่ ประสม สถาปตั ยกรรมและงานออกแบบประเภทอน่ื ๆ (2) ศลิ ปะการแสดง (Performance Arts) ประกอบดว้ ย ดรุ ยิ างคศลิ ป์ นาฏยศลิ ป์ รวมทง้ั การแสดงรปู แบบตา่ งๆ และ (3) วรรณศลิ ป์ (Literature) ซ่ึงประกอบดว้ ยบทประพันธ์และกวีนพิ นธ์รูปแบบต่างๆ แนวโนม้ (Trends) หมายถงึ สารสนเทศท่เี ปน็ ตวั เลข ซึง่ แสดงให้เห็นทิศทางและอัตราการเปล่ยี นแปลงของ ผลลัพธ์ของสถาบัน หรือความคงเส้นคงวาของผลการด�ำเนินการในแต่ละช่วงเวลา แนวโน้มแสดงผลการ ดำ� เนนิ การของสถาบนั ตามลำ� ดบั เวลา โดยทวั่ ไปการแสดงแนวโนม้ ไดจ้ ะตอ้ งมขี อ้ มลู ในอดตี อยา่ งนอ้ ยสามจดุ (ไม่รวมค่าคาดการณ์) ทั้งนี้ ในทางสถิติ อาจจ�ำเป็นต้องแสดงจ�ำนวนข้อมูลมากกว่านี้เพ่ือยืนยันแนวโน้ม ระยะห่าง ระหว่างจุดข้อมูลท่ีแสดงแนวโน้มข้ึนกับรอบเวลาของกระบวนการที่น�ำเสนอ หากรอบเวลาสั้น ตอ้ งมกี ารวดั ถข่ี น้ึ ในขณะทร่ี อบเวลาทย่ี าวกวา่ อาจตอ้ งใชช้ ว่ งเวลานาน จงึ จะทราบแนวโนม้ ทสี่ อ่ื ความหมาย ได้ชดั เจน แนวปฏิบัติท่ีดี หมายถึง วิธีปฏิบัติหรือข้ันตอนการปฏิบัติที่ท�ำให้สถาบันประสบความส�ำเร็จหรือสู่ ความเป็นเลิศตามเป้าหมาย เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพนั้นๆ มีหลักฐานของความส�ำเร็จ ปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปวิธีปฏิบัติ หรือขั้นตอนการปฏิบัติ ตลอดจนความรู้และประสบการณ์ บันทึก เป็นเอกสาร เผยแพร่ให้หน่วยงานภายในหรือภายนอกสามารถนำ� ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ คู่มือการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั อดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 33

ประสบการณ์ด้านการท�ำวจิ ัย หมายถงึ มปี ระสบการณ์ด้านการทำ� วจิ ยั เป็นผลส�ำเรจ็ มาแลว้ โดยมีหลกั ฐาน เป็นผลงานที่น�ำเสนอในที่ประชุมวิชาการท่ีมีรายงานการประชุม (Proceedings) ที่มีกรรมการภายนอก มารว่ มกลน่ั กรอง (Peer Review) หรอื ตพี มิ พใ์ นวารสารหรอื สง่ิ พมิ พท์ างวชิ าการทมี่ กี รรมการภายนอกมารว่ ม กลั่นกรอง (Peer Review) หรือเป็นผลงานที่เป็นรูปเล่มซ่ึงน�ำเสนอแหล่งทุนวิจัยหรือ น�ำเสนอผู้ว่าจ้าง ในการท�ำวิจัยนั้นๆ และเป็นผลงานท่ีแหล่งทุนวิจัยหรือผู้ว่าจ้างวิจัยได้ตรวจรับงานเรียบร้อยแล้ว ซึ่งเป็น ผลงานวจิ ยั ทไี่ มใ่ ชส่ ว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาเพอ่ื รบั ปรญิ ญาของอาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู ร โดยใหร้ ายงานผลงาน วจิ ยั ของอาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู รทกุ คนไวใ้ นเอกสารหลกั สตู ร ทงั้ น้ี การรายงาน ผลงานวจิ ยั ทต่ี พี มิ พใ์ หร้ ายงาน ในลักษณะของการเขียนบรรณานุกรม หรือการเขียนเอกสารอ้างอิง ทางวิชาการ กล่าวคือ ระบุช่ือเจ้าของ ผลงาน ชื่อผลงาน ปที ่พี ิมพแ์ ละแหลง่ ตพี มิ พเ์ ผยแพรผ่ ลงาน ผลงานท่ีได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ หมายถึง บทความจากผลงานวิจัยหรือบทความ วชิ าการทไี่ ดร้ บั การตพี มิ พใ์ นวารสารวชิ าการ (Journal) ทม่ี ชี อ่ื ปรากฏอยใู่ นฐานขอ้ มลู Thai-Journal Citation Index Centre (TCI) หรือวารสารวิชาการระดับชาตติ ามประกาศของคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึง บทความจากผลงานวิจัย หรือ บทความวชิ าการทไี่ ดร้ บั การตพี มิ พใ์ นวารสารวชิ าการ (Journal) ทป่ี รากฏในฐานขอ้ มลู สากล ไดแ้ ก่ ฐานขอ้ มลู การจดั อันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank : www.scimagojr.com) หรอื ฐานข้อมูล ISI Web of Science (Science CitationIndex Expand, Social Sciences Citation Index, Art and Humanities Citation Index) หรอื ฐานขอ้ มลู Scopus หรอื วารสารวชิ าการระดบั นานาชาตติ ามประกาศของคณะกรรมการ การอดุ มศึกษา แผนกลยุทธ์ หมายถึง แผนระยะยาวของสถาบันโดยท่ัวไปมักใช้เวลา 5 ปี เป็นแผนท่ีก�ำหนดทิศทางการ พฒั นาของสถาบนั แผนกลยทุ ธป์ ระกอบไปดว้ ยวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ วตั ถปุ ระสงค์ ผลการ วเิ คราะห์ จดุ แขง็ จดุ ออ่ น โอกาสและภยั คกุ คาม กลยทุ ธต์ า่ งๆ ของสถาบนั ควรครอบคลมุ ทกุ ภารกจิ ของสถาบนั ซง่ึ ตอ้ ง มกี ารกำ� หนดตวั บง่ ชคี้ วามสำ� เรจ็ ของแตล่ ะกลยทุ ธแ์ ละคา่ เปา้ หมายของตวั บง่ ชเ้ี พอื่ วดั ระดบั ความสำ� เรจ็ ของ การดำ� เนนิ งานตามกลยทุ ธ์ โดยสถาบนั นำ� แผนกลยทุ ธม์ าจดั ทำ� แผนดำ� เนนิ งาน หรอื แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ� ปี แผนกลยทุ ธท์ างการเงนิ หมายถึง แผนระยะยาวท่รี ะบทุ ่ีมาและใช้ไปของทรพั ยากรทางการเงนิ ของสถาบัน ที่สามารถผลักดันแผนกลยุทธ์ของสถาบันให้สามารถด�ำเนินการได้ แผนกลยุทธ์ทางการเงิน จะสอดรับไป กบั แผนกลยทุ ธข์ องสถาบนั สถาบันควรประเมินความต้องการทรัพยากรท่ตี ้องจัดหาส�ำหรับการดำ� เนนิ งาน ตามกลยุทธ์แต่ละกลยุทธ์และประเมินมูลค่าของทรัพยากรออกมาเป็นเงินทุนท่ีต้องการใช้ซึ่งจะเป็น ความต้องการเงินทุนในระยะยาวเท่ากับเวลาที่สถาบันใช้ในการด�ำเนินการให้กลยุทธ์น้ันบังเกิดผล จากนั้น จงึ จะก�ำหนดให้เหน็ อย่างชัดเจนถงึ ทีม่ าของเงนิ ทนุ ท่ตี ้องการใชว้ ่าสามารถจัดหาไดจ้ ากแหลง่ เงินทนุ ใด เชน่ รายได้คา่ ธรรมเนยี มการศึกษา งบประมาณแผ่นดินหรอื เงนิ อดุ หนุนจากรฐั บาล เงนิ ทุนสะสมของหน่วยงาน เงนิ บรจิ าคจากหนว่ ยงานภายนอกหรอื ศษิ ยเ์ กา่ หรอื สถาบนั จะตอ้ งมกี าร ระดมทนุ ดว้ ยวธิ กี ารอน่ื ๆ อกี เพมิ่ เตมิ 34 คมู่ ือการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557

เช่น การแปลงทรัพย์สินทางปัญญาเป็นมูลค่า รวมทั้งมีการวิเคราะห์ต้นทุนของการด�ำเนินงานด้วย เช่น ต้นทุนต่อหน่วยในการผลิตบัณฑิตในแต่ละหลักสูตรโดยที่ระยะเวลาของแผนกลยุทธ์ทางการเงินจะเท่ากับ ระยะเวลาของแผนกลยทุ ธข์ องสถาบัน แผนปฏิบัติการประจ�ำปี หมายถึง แผนระยะส้ันที่มีระยะเวลาในการด�ำเนินงานภายใน 1 ปี เป็นแผนท่ี ถา่ ยทอดแผนกลยทุ ธล์ งส่ภู าคปฏิบัติ เพอื่ ให้เกิดการดำ� เนินงานจรงิ ตามกลยทุ ธ์ ประกอบดว้ ย โครงการ หรอื กิจกรรมต่างๆ ท่จี ะตอ้ งดำ� เนินการในปนี ้ันๆ เพ่อื ให้บรรลเุ ป้าหมายตามแผนกลยทุ ธ์ตวั บ่งชค้ี วามส�ำเร็จของ โครงการหรอื กจิ กรรม คา่ เปา้ หมายของตวั บง่ ชเี้ หลา่ นนั้ รวมทงั้ มกี ารระบผุ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั หรอื หวั หนา้ โครงการ งบประมาณในการด�ำเนินการ รายละเอยี ดและทรัพยากรทต่ี ้องใช้ในการดำ� เนนิ โครงการทช่ี ดั เจน พหุวิทยาการ หรือ สหวทิ ยาการ หลักสูตรพหุวิทยาการ พหวุ ทิ ยาการ (Multidisciplinary) หรือ สหวิทยาการ (Interdisciplinary) หมายถงึ การใช้องค์ความรู้ หลายสาขาวิชา หลายศาสตร์หรือหลายอนุศาสตร์ มาผสมผสานใช้ในการวิเคราะห์ วิจัยและสังเคราะห์ ขนึ้ เปน็ องคค์ วามรใู้ หม่และพฒั นาเปน็ ศาสตรใ์ หม่ขึ้น หลักสูตรพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) หมายถึง หลักสูตรที่น�ำเอาความรู้หลายศาสตร์หรือหลาย อนุศาสตร์เขา้ มาใช้ในการเรยี นการสอน เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวิเคราะห์ วจิ ยั จนกระทัง่ ผู้เรียนสามารถพฒั นา ความรู้ องคค์ วามรูเ้ ปน็ ศาสตรใ์ หม่ข้นึ หรือเกดิ อนศุ าสตรใ์ หม่ขึน้ ตัวอย่างหลักสูตรท่ีเป็น พหุวิทยาการ เช่น วิศวกรรมชีวการแพทย์ (วิศวกรรมศาสตร์+แพทย์ศาสตร์) ภมู ศิ าสตรส์ ารสนเทศ (ภมู ศิ าสตร์ + เทคโนโลยสี ารสนเทศ) วศิ วกรรมนาโน (วศิ วกรรมศาสตร+์ วทิ ยาศาสตร-์ เคม)ี ตวั อยา่ งหลกั สตู รทไี่ มใ่ ชพ่ หวุ ทิ ยาการ เชน่ คอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ การศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นา (ทม่ี า : คณะอนกุ รรมการ ปรบั ปรุงเกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู รระดบั อดุ มศึกษา ในการประชุมครั้งท่ี 7/2549 เมือ่ วนั ที่ 18 ตลุ าคม 2549) พชิ ญพจิ ารณ์ (Peer review) หมายถงึ การตรวจเยยี่ มโดยผูท้ รงคณุ วุฒทิ มี่ คี วามรู้ ความสามารถ และ ประสบการณ์ ซ่ึงสามารถให้ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะเชิงพัฒนาแก่สถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพและสอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนดโดยมี วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ใหข้ ้อเสนอแนะในเชิงพัฒนาแก่สถาบันอุดมศกึ ษา ระบบและกลไก ระบบ หมายถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีการก�ำหนดอย่างชัดเจนว่าต้องท�ำอะไรบ้าง เพื่อให้ได้ผลออกมา ตามที่ต้องการ ข้ันตอนการปฏิบัติงานจะต้องปรากฏให้ทราบโดยทั่วกันไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเอกสารหรือ สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สห์ รอื โดยวธิ กี ารอน่ื ๆ องคป์ ระกอบของระบบ ประกอบดว้ ย ปจั จยั นำ� เขา้ กระบวนการ ผลผลติ และข้อมูลปอ้ นกลับ ซงึ่ มีความสมั พนั ธเ์ ช่ือมโยงกนั ค่มู อื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557 35

กลไก หมายถึง สิ่งที่ท�ำให้ระบบมีการขับเคลื่อนหรือด�ำเนินอยู่ได้ โดยมีการจัดสรรทรัพยากร มีการจัด องคก์ าร หนว่ ยงาน หรอื กลมุ่ บคุ คลเป็นผ้ดู ำ� เนนิ งาน สาขาวชิ าทส่ี มั พนั ธก์ นั หมายถงึ สาขาวชิ าตามคณุ วฒุ หิ รอื ตำ� แหนง่ ทางวชิ าการทส่ี มั พนั ธก์ บั ศาสตร์ ทเ่ี ปดิ สอน มใิ ชส่ มั พนั ธก์ บั รายวชิ าทเ่ี ปดิ สอนในหลกั สตู ร เชน่ เปน็ ศาสตรใ์ นกลมุ่ สาขาวชิ า (Field of Education) เดยี วกนั ตาม ISCED 2013 (คณะกรรมการการอดุ มศึกษาในการประชมุ ครงั้ ที่ 12/2554 เมื่อ 17 พฤศจิกายน 2554 หนงั สอื เวียนท่ี ศธ 0506(2)/ว506 ลงวนั ที่ 22 ธนั วาคม 2554) หน่วยงานหรอื องคก์ ารระดบั ชาติ หมายถงึ หน่วยงานภายนอกสถาบนั ระดบั กรมหรือเทยี บเทา่ ขึ้นไป (เช่น ระดบั จังหวดั ) หรือรฐั วสิ าหกจิ หรือองค์การมหาชน หรอื บรษิ ัทมหาชนที่จดทะเบียนในตลาดหลกั ทรพั ย์ หรอื องคก์ ารกลางระดับชาติทั้งภาครัฐและเอกชน (เช่น สภาอตุ สาหกรรม สภาหอการคา้ สภาวชิ าชพี ) หลักธรรมาภบิ าล หมายถงึ การปกครอง การบริหาร การจดั การ การควบคมุ ดแู ลกจิ การตา่ งๆ ให้เป็นไปใน ครรลองธรรม นอกจากน้ี ยังหมายถึงการบรหิ ารจัดการทด่ี ี ซึง่ สามารถนาไปใช้ไดท้ ้งั ภาครฐั และเอกชน ธรรม ทใี่ ชใ้ นการบรหิ ารงานนม้ี คี วามหมายอยา่ งกวา้ งขวาง กลา่ วคอื หาไดม้ คี วามหมายเพยี งหลกั ธรรมทางศาสนา เท่านัน้ แตร่ วมถึงศีลธรรม คณุ ธรรม จริยธรรมและความถูกต้อง ชอบธรรมท้งั ปวง ซงึ่ วิญญชู นพงึ มีและพงึ ประพฤตปิ ฏบิ ัติ อาทิ ความโปรง่ ใสตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์การภายนอก เปน็ ต้น หลกั ธรรมาภบิ าลของการบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทดี่ ี (Good Governance) ทเ่ี หมาะสมจะนำ� มาปรบั ใช้ ในภาครฐั มี 10 องค์ประกอบ ดังน้ี 1) หลกั ประสทิ ธผิ ล (Effectiveness) คอื ผลการปฏบิ ตั ริ าชการทบ่ี รรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของ แผนการปฏบิ ตั ริ าชการตามทไ่ี ดร้ บั งบประมาณมาดำ� เนนิ การ รวมถงึ สามารถเทยี บเคยี งกบั สว่ นราชการหรอื หนว่ ยงานทม่ี ภี ารกจิ คลา้ ยคลงึ กนั และมผี ลการปฏบิ ตั งิ านในระดบั ชนั้ นำ� ของประเทศ เพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ขุ ต่อประชาชน โดยการปฏิบัติราชการจะต้องมีทิศทางยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ท่ีชัดเจน มีกระบวนการ ปฏบิ ตั งิ านและระบบงานทเี่ ปน็ มาตรฐาน รวมถงึ มกี ารตดิ ตามประเมนิ ผลและพฒั นา ปรบั ปรงุ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และเป็นระบบ 2) หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ การบริหารราชการตามแนวทางการก�ำกับดูแลท่ีดีท่ีมีการ ออกแบบกระบวนการปฏบิ ตั งิ านโดยใชเ้ ทคนคิ และเครอ่ื งมอื การบรหิ ารจดั การทเี่ หมาะสมใหอ้ งคก์ าร สามารถ ใช้ทรัพยากรท้ังด้านต้นทุน แรงงานและระยะเวลาให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาขีดความสามารถ ในการปฏิบัติราชการตามภารกิจเพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนและผูม้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสียทกุ กลมุ่ 3) หลกั การตอบสนอง (Responsiveness) คอื การใหบ้ รกิ ารทสี่ ามารถดำ� เนนิ การไดภ้ ายในระยะเวลา ที่ก�ำหนด และสร้างความเช่ือม่ัน ความไว้วางใจ รวมถึงตอบสนองความคาดหวังหรือความต้องการของ ประชาชนผ้รู บั บรกิ าร และผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสียท่มี ีความหลากหลายและมคี วามแตกตา่ ง 4) หลกั ภาระรบั ผดิ ชอบ (Accountability) คอื การแสดงความรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี และผลงาน ต่อเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ โดยความรับผิดชอบนั้นควรอยู่ในระดับท่ีสนองต่อความคาดหวังของสาธารณะ รวมทง้ั การแสดงถึงความสำ� นกึ ในการรบั ผดิ ชอบต่อปัญหาสาธารณะ 36 คูม่ ือการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557

5) หลักความโปร่งใส (Transparency) คือ กระบวนการเปิดเผยอย่างตรงไปตรงมา ช้ีแจงได้เม่ือมี ข้อสงสัยและสามารถเข้าถงึ ขอ้ มูลขา่ วสารอนั ไมต่ อ้ งห้ามตามกฎหมายได้อย่างเสรี โดยประชาชนสามารถรู้ ทกุ ขน้ั ตอนในการด�ำเนนิ กิจกรรมหรอื กระบวนการตา่ งๆ และสามารถตรวจสอบได้ 6) หลกั การมสี ว่ นรว่ ม (Participation) คอื กระบวนการทขี่ า้ ราชการ ประชาชนและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทุกกลุ่มมโี อกาสได้เข้ารว่ มในการรบั รู้ เรียนรู้ ทำ� ความเข้าใจ ร่วมแสดงทศั นะ ร่วมเสนอปญั หา หรือ ประเด็น ทส่ี ำ� คญั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง รว่ มคดิ แนวทาง รว่ มการแกไ้ ขปญั หา รว่ มในกระบวนการตดั สนิ ใจ และรว่ มกระบวนการ พัฒนาในฐานะหุน้ สว่ นการพัฒนา 7) หลักการกระจายอ�ำนาจ (Decentralization) คือ การถ่ายโอนอ�ำนาจการตัดสินใจ ทรัพยากร และภารกจิ จากส่วนราชการสว่ นกลางใหแ้ กห่ นว่ ยการปกครองอนื่ ๆ (ราชการบรหิ ารส่วนทอ้ งถนิ่ ) และภาค ประชาชนดำ� เนนิ การแทนโดยมอี สิ ระตามสมควร รวมถงึ การมอบอำ� นาจและความรบั ผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจ และการด�ำเนินการให้แก่บุคลากร โดยมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจในการให้บริการต่อผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การปรับปรุงกระบวนการ และเพ่ิมผลิตภาพเพ่ือผลการด�ำเนินงานที่ดีของส่วนราชการ 8) หลักนติ ิธรรม (Rule of Law) คือ การใช้อ�ำนาจของกฎหมาย กฎระเบียบข้อบงั คบั ในการบรหิ าร ราชการดว้ ยความเป็นธรรม ไมเ่ ลอื กปฏบิ ัติ และคำ� นึงถงึ สทิ ธิเสรีภาพของผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี 9) หลกั ความเสมอภาค (Equity) คอื การไดร้ บั การปฏบิ ตั แิ ละไดร้ บั บรกิ ารอยา่ งเทา่ เทยี มกนั โดยไมม่ ี การแบง่ แยกดา้ นชายหรอื หญิง ถ่นิ ก�ำเนดิ เช้ือชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพกิ าร สภาพทางกาย หรือสุขภาพ สถานะของบคุ คล ฐานะทางเศรษฐกจิ และสงั คม ความเช่ือทางศาสนา การศึกษา การฝกึ อบรม และอื่นๆ 10) หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) คือ การหาข้อตกลงท่ัวไปภายในกลุ่มผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียท่ีเก่ียวข้อง ซ่ึงเป็นข้อตกลงท่ีเกิดจากการใช้กระบวนการเพื่อหาข้อคิดเห็นจากกลุ่มบุคคล ท่ีได้รับประโยชน์และเสียประโยชน์ โดยเฉพาะกลุ่มท่ีได้รับผลกระทบโดยตรงซึ่งต้องไม่มีข้อคัดค้านท่ี ยุติไมไ่ ดใ้ นประเด็นทสี่ �ำคญั โดยฉนั ทามตไิ ม่จ�ำเปน็ ตอ้ งหมายความว่าเปน็ ความเหน็ พ้องโดยเอกฉันท์ อาจารย์ หมายถึง คณาจารย์ ซ่ึงจะมีต�ำแหน่งทางวิชาการท่ีประกอบด้วย อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ อาจารย์ประจ�ำ หมายถึง บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาท่ีมีหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัย และ ปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลาตามภาระงานท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรท่ีเปิดสอน (มิใช่เต็มเวลาตามเวลาท�ำการ) (ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง แนวทางการบรหิ ารเกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2548) สำ� หรบั อาจารยท์ สี่ ถาบนั จา้ งเขา้ มาเปน็ อาจารยป์ ระจำ� ดว้ ยเงนิ รายไดห้ นว่ ยงานจะตอ้ งมสี ญั ญาจา้ งท่ี มีการระบุระยะเวลาการจา้ งอยา่ งชดั เจนและไมน่ ้อยกวา่ 9 เดอื น ในสญั ญาจ้างจะต้องระบหุ น้าที่ ภาระงาน ใหช้ ดั เจนไมน่ อ้ ยกวา่ หนา้ ทข่ี องอาจารยป์ ระจำ� ตามทกี่ ำ� หนดตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง แนวทาง การบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตรระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2548 คมู่ อื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 37

การนับจ�ำนวนอาจารย์ประจ�ำและนักวิจัย ให้นับระยะเวลาการท�ำงานส�ำหรับอาจารย์ที่บรรจุใหม่ ในปที ่ีประเมนิ ดงั นี้ 9-12 เดือน คดิ เป็น 1 คน 6 เดือนขนึ้ ไปแตไ่ มถ่ งึ 9 เดอื น คิดเปน็ 0.5 คน น้อยกวา่ 6 เดอื น ไมส่ ามารถน�ำมานบั ได้ อาจารย์ประจ�ำหลักสูตร หมายถึง อาจารย์ประจ�ำเต็มเวลาที่มีภาระหน้าท่ีในการบริหารหลักสูตร และจัด การเรียนการสอน โดยวางแผน ตดิ ตาม ทบทวนการด�ำเนนิ งานหลักสูตร และปฏิบตั ิงานประจำ� หลกั สตู รนนั้ ตลอดระยะเวลาทจี่ ดั การศกึ ษาตามหลกั สตู รนน้ั มคี ณุ วฒุ ติ รงหรอื สมั พนั ธก์ บั สาขาวชิ าทเี่ ปดิ สอนไมน่ อ้ ยกวา่ 5 คน และทกุ คนเปน็ อาจารยป์ ระจำ� เกนิ กวา่ 1 หลกั สตู รในเวลาเดยี วกนั ไมไ่ ด้ ยกเวน้ อาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู ร ระดับปริญญาโทและปริญญาเอกในสาขาวิชาเดียวกันได้ หรือเป็นอาจารย์ประจ�ำหลักสูตรในหลักสูตร พหุวิทยาการได้อีก 1 หลักสูตร โดยต้องเป็นหลักสูตรที่ตรงหรือสัมพันธ์กับ หลักสูตรที่ได้ประจ�ำอยู่แล้ว (คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาในการประชมุ ครงั้ ที่ 2/2549 วนั ท่ี 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2549) ทง้ั น้ี กรณบี ณั ฑติ ศกึ ษา อนโุ ลมใหเ้ ปน็ อาจารย์ประจำ� หลักสตู รได้มากท่ีสุดเพียง 2 หลกั สูตรเทา่ น้นั หากมีการเปลี่ยนแปลงอาจารย์ ประจำ� หลกั สูตร ขอให้นำ� เสนอโดยดำ� เนนิ เช่นเดียวกับการ นำ� เสนอหลักสตู รปรับปรุงเล็กนอ้ ย โดยน�ำเสนอ ตอ่ สภาสถาบนั เพอื่ พจิ ารณาอนมุ ตั หิ รอื ใหค้ วามเหน็ ชอบ และเสนอใหค้ ณะกรรมการการอดุ มศกึ ษารบั ทราบ ตามแบบฟอรม์ สมอ. 08 ภายใน 30 วัน ทง้ั น้ี อาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู รทมี่ คี ณุ วฒุ ใิ นสาขาทตี่ รงหรอื สมั พนั ธก์ บั สาขาวชิ าทเี่ ปดิ สอน ใหพ้ จิ ารณาวา่ - คณุ วฒุ ติ รงหรอื สมั พนั ธก์ บั สาขาของหลกั สตู รนน้ั หรอื ไม่ ตามการแบง่ สาขาวชิ าของ ISCED2013 (UNESCO) - กรณมี ตี ำ� แหนง่ ทางวชิ าการใหพ้ จิ ารณาจากผลงานทางวชิ าการและประสบการณก์ ารทำ� งานวจิ ยั ดว้ ย นยิ ามตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู ร ฉบบั พ.ศ.2558 อาจารยป์ ระจำ� หมายถงึ บคุ คลทด่ี ำ� รงตำ� แหนง่ อาจารย์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ในสถาบนั อุดมศกึ ษาที่เปิดสอนหลักสูตรน้ัน ทีม่ หี น้าท่ีรับผดิ ชอบตามพันธกจิ ของการอุดมศึกษาและปฏิบตั ิ หน้าท่เี ต็มเวลา อาจารย์ประจ�ำหลักสูตร หมายถึง อาจารย์ประจ�ำท่ีมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาของหลักสูตร ท่ีเปดิ สอน ซ่ึงมหี น้าทีส่ อนและค้นคว้าวิจัยในสาขาวิชาดังกลา่ ว ทง้ั นี้ สามารถเป็นอาจารย์ประจ�ำหลักสูตร หลายหลกั สตู รไดใ้ นเวลาเดยี วกนั แตต่ อ้ งเปน็ หลกั สตู รทอี่ าจารยผ์ นู้ น้ั มคี ณุ วฒุ ติ รงหรอื สมั พนั ธก์ บั สาขาวชิ า ของหลักสตู ร 38 คู่มือการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หมายถึง อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรท่ีมีภาระหน้าท่ีในการบริหารและพัฒนา หลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแต่การวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผล และการ พัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องอยู่ประจ�ำหลักสูตรน้ันตลอดระยะเวลาท่ีจัดการศึกษา โดยจะเป็นอาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สตู รเกนิ กวา่ 1 หลกั สตู รในเวลาเดียวกนั ไม่ได้ ยกเว้น พหุวิทยาการหรอื สหวทิ ยาการใหเ้ ป็นอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สูตรได้อีกหนึ่งหลักสูตร และเป็นอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร สามารถซำ้� ไดเ้ กนิ 2 คน อาจารย์พเิ ศษ หมายถึง ผสู้ อนทไี่ มใ่ ช้อาจารยป์ ระจำ� ท้งั นี้ หากหลักสูตรใดใช้ค�ำพจิ ารณาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง เกณฑม์ าตรฐานหลักสูตรระดับ ปรญิ ญาตรี และระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ.2558 นยิ ามอาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู รในตวั บง่ ชกี้ ารประกนั คณุ ภาพ ภายในระดบั หลกั สตู รจะหมายถงึ อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รตามความหมายทป่ี รากฏในประกาศกระทรวง ศึกษาธกิ าร เร่อื ง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี และระดบั บณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. 2558 ค่มู อื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 39



บทท่ี 4 ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สตู ร ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สูตร ในการผลติ บณั ฑติ เพอ่ื ใหบ้ ณั ฑติ มคี ณุ ลกั ษณะพงึ ประสงคแ์ ละเปน็ บณั ฑติ ทม่ี คี ณุ ภาพการดำ� เนนิ งาน และการบริหารงานระดับหลักสูตรถือว่าส�ำคัญที่สุด ซ่ึงควรมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สูตร ซง่ึ มหี ลกั การ ดังตอ่ ไปน้ี 1) การประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร เป็นการประกันคุณภาพการจัดการศึกษา ว่าหลักสูตรได้ด�ำเนินการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและเกณฑ์มาตรฐานอ่ืนๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งโดยใหพ้ จิ ารณาองคป์ ระกอบทส่ี ำ� คญั ไดแ้ ก่ การกำ� กบั มาตรฐาน บณั ฑติ นกั ศกึ ษา อาจารย์ หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การประเมนิ ผู้เรียน และส่ิงสนบั สนุนการเรียนรู้ เพือ่ ใหส้ ามารถผลิตบัณฑิตให้มีคณุ ภาพ 2) ในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ให้เช่ือมโยงกับตัวบ่งชี้การด�ำเนินการ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 เพ่ือประโยชน์ในการเผยแพร่หลักสูตร ท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน ซึ่ง สกอ. ได้ก�ำหนดแนวทางการเผยแพร่หลักสูตรไว้ในประกาศคณะกรรมการ การอดุ มศกึ ษา เรื่อง แนวทางการปฏิบตั ิตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 3) ตวั บง่ ช้ีการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั หลกั สูตร เป็นข้อมลู พื้นฐานในสว่ นทเี่ กี่ยวขอ้ ง ตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั อดุ มศกึ ษา และตวั บง่ ชเ้ี ชงิ ปรมิ าณในสว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั คณุ วฒุ ิ ตำ� แหนง่ ทางวิชาการ และผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ส�ำหรบั ตัวบ่งชีเ้ ชงิ คณุ ภาพที่เน้นกระบวนการ จะประเมนิ ในลกั ษณะของพชิ ญพจิ ารณ์ (peer review) ซงึ่ จะมรี ายละเอยี ดของคำ� ถามทจี่ ะเปน็ แนวทางใหแ้ กผ่ ปู้ ระเมนิ เพ่ือให้สามารถน�ำไปพิจารณาตามบริบทของสถาบันได้ และได้ก�ำหนดแนวทางในการให้คะแนนในแต่ละ ระดบั สำ� หรบั ผ้ปู ระเมนิ และผู้รับการประเมนิ ไดใ้ ช้ในการพจิ ารณา 4) สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดท�ำระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร โดยมีการด�ำเนินงานได้ตามมาตรฐานเทียบเคียงกับมาตรฐานของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทัง้ น้ี ทุกระบบตอ้ งไดร้ บั การเห็นชอบจากสภาสถาบนั และเสนอคณะกรรมการประกันคณุ ภาพภายในระดับ อดุ มศกึ ษา พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ และใหม้ กี ารจดั สง่ ผลการประเมนิ พรอ้ มขอ้ มลู พน้ื ฐานใหก้ บั สำ� นกั งาน คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาเพ่ือเผยแพร่ต่อสาธารณะตัวอย่างการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในระดบั หลกั สตู ร ทีเ่ ทียบเคียงได้ เชน่ ผลการประเมนิ หลกั สูตรของ AUN QA ผลการประเมนิ หลักสูตรวิชาชีพท่ีไดร้ ับ การรับรองจากองค์การวชิ าชีพระดบั นานาชาติ เช่น AACSB (ส�ำหรบั หลักสูตรทางด้าน บรหิ ารธรุ กิจ) ABET (ส�ำหรับหลกั สูตรทางด้านวิศวกรรมศาสตร)์ และหลกั สตู รที่ได้รับการตรวจประเมินเปน็ ประจำ� และผ่านการ รบั รองโดยสภาวชิ าชีพ คมู่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 41

กรอบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลักสูตร องคป์ ระกอบ ตัวบ่งช้ี อธิบายกระบวนการหรอื แสดง ในการประกันคณุ ภาพ ผลการดำ�เนินงานในประเด็นท่เี กีย่ วข้อง หลักสูตร 1. การก�ำกบั มาตรฐาน 1.1 การบรหิ ารจัดการหลักสูตร - ผลการบรหิ ารจดั การหลกั สตู รตามเกณฑม์ าตรฐาน ตามเกณฑม์ าตรฐาน หลกั สูตร ฉบบั พ.ศ. 2548 หลักสูตรทกี่ ำ� หนด ปรญิ ญาตรี เกณฑ์ 3 ขอ้ โดย สกอ. บณั ฑิตศึกษา เกณฑ์ 11 ขอ้ - ผลการบริหารจดั การหลกั สูตรตามเกณฑม์ าตรฐาน หลกั สูตร ฉบับ พ.ศ. 2558 ปริญญาตรี เกณฑ์ 5 ข้อ บัณฑิตศึกษา เกณฑ์ 10 ข้อ 2. บัณฑิต 2.1 คณุ ภาพบัณฑิตตามกรอบ - ผลประเมนิ คุณภาพบัณฑติ ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ มาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ อุดมศกึ ษาแห่งชาติ (โดยผู้ใช้บัณฑิต/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ) 2.2 การได้งานทำ� หรือผลงาน - ผลบัณฑติ ปรญิ ญาตรีที่ไดง้ านท�ำหรือประกอบอาชพี อสิ ระ วจิ ัยของผู้สำ� เร็จการศกึ ษา - ผลงานของนกั ศึกษาปริญญาโท/เอก ที่ตีพิมพห์ รอื เผยแพร่ 3. นกั ศกึ ษา 3.1 การรับนกั ศึกษา - การรบั นกั ศึกษา - การเตรยี มความพร้อมก่อนเข้าศกึ ษา 3.2 การส่งเสริมและพัฒนา - การควบคุมการดูแลการให้ค�ำปรกึ ษาวิชาการ นักศึกษา และแนะแนวแกน่ กั ศึกษาในระดับปริญญาตรี - การควบคุมดูแลการใหค�ำปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอสิ ระในระดับบณั ฑติ ศกึ ษา - การพัฒนาศักยภาพนกั ศกึ ษาและการเสริมสร้างทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 3.3 ผลทีเ่ กิดกบั นกั ศึกษา - อัตราการคงอยขู่ องนกั ศกึ ษา - อัตราการสำ� เรจ็ การศกึ ษา - ความพงึ พอใจและผลการจัดการขอ้ รอ้ งเรยี นของนกั ศกึ ษา 4. อาจารย์ 4.1 การบริหารและพัฒนา - การรบั และแตง่ ตัง้ อาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู ร อาจารย์ - การบริหารอาจารย์ - การสง่ เสริมและพฒั นาอาจารย์ 4.2 คุณภาพอาจารย์ - ร้อยละอาจารย์ท่ีมีคณุ วฒุ ิปรญิ ญาเอก - ร้อยละอาจารย์ทม่ี ีตำ� แหนง่ ทางวชิ าการ - ผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ - จำ� นวนบทความของอาจารยป์ ระจำ� หลกั สูตรปริญญาเอก ที่ไดร้ บั การอา้ งองิ ในฐานขอ้ มลู TCI และ Scopus ตอ่ จำ� นวนอาจารยป์ ระจ�ำหลกั สูตร 4.3 ผลทีเ่ กิดกับอาจารย์ - อัตราการคงอยขู่ องอาจารย์ - ความพงึ พอใจของอาจารย์ 42 คมู่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั อุดมศึกษา พ.ศ. 2557

องค์ประกอบ ตวั บง่ ชี้ อธิบายกระบวนการหรอื แสดง ในการประกนั คุณภาพ ผลการดำ�เนินงานในประเด็นทเี่ กยี่ วข้อง หลกั สูตร 5. หลกั สูตร 5.1 สาระของรายวิชาใน - หลกั คิดในการออกแบบหลกั สูตร ขอ้ มูลทใ่ี ช้ในการพฒั นา การเรียนการสอน หลกั สูตร หลักสตู รและวัตถปุ ระสงค์ของหลกั สตู ร การประเมนิ ผ้เู รยี น - การปรบั ปรุงหลกั สูตรให้ทนั สมัยตามความกา้ วหนา้ ในศาสตรส์ าขาน้นั ๆ - การพจิ ารณาอนุมัตหิ ัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นควา้ อสิ ระในระดบั บัณฑิตศกึ ษา 5.2 การวางระบบผูส้ อน - การพิจารณาก�ำหนดผู้สอน และกระบวนการ - การกำ� กบั ตดิ ตาม และตรวจสอบการจัดท�ำ มคอ.3 จดั การเรียนการสอน และมคอ.4 - การแต่งตั้งอาจารย์ทป่ี รกึ ษาวิทยานพนิ ธ์ และการคน้ คว้า อสิ ระในระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา - การกำ� กับกระบวนการเรียนการสอน - การจดั การเรยี นการสอนทม่ี กี ารฝึกปฏิบตั ิในระดับ ปริญญาตรี - การบรู ณาการพันธกิจตา่ งๆ กบั การเรียนการสอนในระดับ ปริญญาตรี - การช่วยเหลอื กำ� กับ ติดตาม ในการท�ำวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอสิ ระและการตีพมิ พ์ผลงานในระดบั บัณฑติ ศึกษา 5.3 การประเมนิ ผเู้ รียน - การประเมนิ ผลการเรยี นรตู้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ - การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรูข้ องนักศกึ ษา - การกำ� กับการประเมนิ การจัดการเรยี นการสอนและ ประเมนิ หลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) - การประเมินวิทยานพิ นธ์และการค้นคว้าอสิ ระ ในระดบั บณั ฑติ ศึกษา 5.4 ผลการดำ� เนินงานหลกั สตู ร - ผลการด�ำเนนิ งานตามตัวบง่ ช้ตี ามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ ตามกรอบมาตรฐาน ระดับอุดมศึกษาแหง่ ชาติ คุณวฒุ ิ ระดบั อดุ มศึกษา แห่งชาติ 6. ส่ิงสนบั สนนุ 6.1 ส่งิ สนับสนุนการเรียนรู้ - ระบบการด�ำเนินงานของภาควชิ า/คณะ/สถาบนั โดยมี การเรียนรู้ สว่ นร่วมของอาจารย์ประจำ� หลกั สตู รเพ่อื ให้มสี งิ่ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ - จ�ำนวนสงิ่ สนับสนนุ การเรียนรู้ทีเ่ พียงพอและเหมาะสมต่อ การจดั การเรียนการสอน - กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ ของนกั ศกึ ษาและอาจารยต์ อ่ ส่ิงสนบั สนุนการเรียนรู้ คู่มอื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 43

องค์ประกอบท่ี 1 การก�ำกบั มาตรฐาน คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษามหี นา้ ทหี่ ลกั สำ� คญั ประการหนงึ่ คอื การพจิ ารณาเสนอนโยบาย แผนพฒั นา และมาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษา แห่งชาติ โดยค�ำนงึ ถงึ ความเป็นอสิ ระและความเปน็ เลิศทางวชิ าการของสถานศึกษา ระดับอุดมศกึ ษา โดย ได้จัดท�ำมาตรฐานการอุดมศึกษาและเกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง เพื่อส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษา ได้พัฒนาด้านวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและยกระดับมาตรฐานในการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษาให้มีความทัดเทียมกันและได้ประกาศใช้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับต่างๆ มาอย่าง ตอ่ เนอื่ ง ซึ่งปจั จบุ ันได้มีประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง เกณฑม์ าตรฐานหลักสูตรระดบั ตา่ งๆ พ.ศ. 2548 และ พ.ศ. 2558 เพ่ือประโยชนใ์ นการรกั ษามาตรฐานวิชาการและวชิ าชพี เปน็ สว่ นหนงึ่ ของเกณฑ์การรับรอง วทิ ยฐานะและมาตรฐานการศกึ ษา โดยสถาบนั อดุ มศกึ ษาทเ่ี ปดิ ดำ� เนนิ การหลกั สตู รใหมห่ รอื หลกั สตู รปรบั ปรงุ ตอ้ งใช้เกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตร พ.ศ. 2548 และ พ.ศ.2558 เป็นหลกั ในการพัฒนาหลักสตู รและด�ำเนินการ ใหเ้ ป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสูตรดงั กล่าว ในการควบคมุ กำ� กบั มาตรฐานจะพจิ ารณาจากการบรหิ ารจดั การหลกั สูตรทกุ หลกั สตู รใหเ้ ปน็ ไปตาม ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง เกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรแี ละบณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2548 และ 2558 ตามที่ไดป้ ระกาศใช้ในขณะนั้น เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่ไดป้ ระกาศใชเ้ มื่อ พ.ศ. 2548 และ พ.ศ. 2558 รวมทั้งกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ตลอดระยะเวลาท่ีมีการ จดั การเรยี นการสอนในหลกั สตู รดงั กลา่ ว โดยหลกั สตู รทเ่ี ปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รทไี่ ดป้ ระกาศใช้ เม่ือ พ.ศ. 2548 ในระดับปริญญาตรีจะพิจารณาตามเกณฑ์ 3 ข้อ และระดับบัณฑิตศึกษาจะพิจารณา ตามเกณฑ์ 11 ข้อ ส�ำหรับหลักสูตรท่ีเป็นไปเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่ได้ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2558 นั้น ในระดับปริญญาตรีจะพิจารณาตามเกณฑ์ 5 ข้อ และหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาจะพิจารณาตามเกณฑ์ 10 ขอ้ โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ 44 คมู่ ือการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557

ตัวบ่งช้ีที่ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 เกณฑก์ ารประเมนิ ตรี โท เอก หมายเหตุ 1. จำ� นวนอาจารย์ ไมน่ ้อยกว่า 5 คน ไม่นอ้ ยกว่า 5 คน ไมน่ อ้ ยกวา่ 5 คน บันทกึ ข้อความที่ ศธ 0506(2)/ว569 ลงวนั ที่ 18 เม.ย. 2549 กำ� หนดวา่ ประจำ� หลกั สตู ร และเป็นอาจารย์ และเปน็ อาจารยป์ ระจำ� และเปน็ อาจารยป์ ระจำ� • อาจารยป์ ระจำ� สามารถเป็นอาจารยป์ ระจ�ำหลักสตู รทเี่ ปน็ หลักสูตร ประจำ� เกินกวา่ เกนิ กวา่ 1 หลักสตู ร เกินกวา่ 1 หลักสูตร พหวุ ิทยาการ (Multidisciplinary) ได้อกี 1 หลกั สตู ร โดยตอ้ งเปน็ หลักสตู ร 1 หลักสูตรไมไ่ ด้ ไมไ่ ด้ และประจ�ำ ไม่ได้ และประจำ� ทีต่ รงหรือสัมพนั ธก์ บั หลกั สูตรทีไ่ ด้ประจำ� อยแู่ ลว้ และประจ�ำหลักสตู ร หลกั สตู รตลอดระยะ หลกั สตู รตลอดระยะ • อาจารยป์ ระจำ� หลักสูตรในระดบั บัณฑติ ศึกษา สามารถเป็นอาจารยป์ ระจำ� ตลอดระยะเวลาท่ี เวลาทจ่ี ัดการศกึ ษา เวลาที่จดั การศกึ ษา หลักสตู รในระดับปรญิ ญาเอกหรือปรญิ ญาโทในสาขาวิชาเดียวกันไดอ้ กี จดั การศกึ ษาตาม ตามหลกั สตู รนัน้ ตามหลักสตู รนั้น 1 หลกั สูตร หลกั สตู รนน้ั บันทกึ ขอ้ ความท่ี ศธ 0506(4)/ว254 ลงวนั ที่ 11 มี.ค. 2557 กำ� หนดวา่ • กรณหี ลกั สูตรปรญิ ญาตรีท่มี แี ขนงวิชา/กลุ่มวิชาชีพ ก�ำหนดให้ตอ้ งมอี าจารย์ ค่มู อื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 45 ประจ�ำหลักสูตรจำ� นวนไมน่ อ้ ยกว่า 3 คน ให้ครบทุกแขนงวชิ า/กล่มุ วชิ าของ หลกั สูตร โดยมคี ณุ วุฒคิ รอบคลมุ แขนงวิชา/กลุ่มวชิ าทเี่ ปิดสอน 2. คุณสมบตั ขิ อง คุณวฒุ ิระดับ มีคุณสมบตั ิเปน็ มคี ุณสมบตั ิเป็น อาจารย์ประจำ� ปรญิ ญาโท อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบ อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบ หลักสูตร หรือเทยี บเทา่ หลักสตู ร หรืออาจารย์ หลกั สตู ร หรอื อาจารย์ หรอื ด�ำรงต�ำแหนง่ ทปี่ รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์ ท่ีปรกึ ษาวิทยานิพนธ์ ทางวชิ าการไมต่ ำ่� กวา่ หรืออาจารย์ผูส้ อบ หรอื อาจารย์ผู้สอบ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ วทิ ยานพิ นธ์ หรอื วทิ ยานพิ นธ์ หรอื ในสาขาที่ตรง อาจารย์ผ้สู อน อาจารย์ผู้สอน หรอื สัมพนั ธ์กับ สาขาวิชาที่เปิดสอน อยา่ งนอ้ ย 2 คน

46 ค่มู ือการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 เกณฑ์การประเมนิ ตรี โท เอก หมายเหตุ 3. คณุ สมบตั ิ คุณวฒุ ไิ มต่ ำ่� กวา่ คุณวุฒิไม่ต่ำ� กวา่ ของอาจารย์ ปริญญาเอก ปริญญาเอก ผรู้ บั ผดิ ชอบ หรือเทียบเทา่ หรอื เทียบเท่า หลักสูตร หรือดำ� รงต�ำแหนง่ หรือดำ� รงต�ำแหน่ง รองศาสตราจารยข์ น้ึ ไป ศาสตราจารย์ข้นึ ไป ในสาขาวิชานนั้ ในสาขาวิชาน้ัน หรอื สาขาวชิ าที่ หรือสาขาวิชาที่ สัมพันธ์กนั จำ� นวน สมั พันธ์กนั จ�ำนวน อยา่ งนอ้ ย 3 คน อย่างนอ้ ย 3 คน 4. คุณสมบตั ิของ 1. อาจารย์ประจ�ำ 1. อาจารยป์ ระจ�ำ หลกั สูตรปรญิ ญาโท ตามบันทกึ ข้อความที่ ศธ 0506(4)/ว867 อาจารยผ์ ู้สอน หรอื ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ หรอื ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ลงวันที่ 18 ก.ค. 2555 ก�ำหนดวา่ ใหอ้ าจารย์ทม่ี คี ุณวฒุ ิระดับปรญิ ญาเอก ภายนอกสถาบัน ภายนอกสถาบนั เป็นอาจารย์ผู้สอนในหลักสูตรระดับปริญญาโทได้ แม้จะยังไม่มีผลงานวิจัย มคี ณุ วฒุ ปิ รญิ ญาโท มคี ณุ วฒุ ปิ รญิ ญาเอก หลงั จากสำ� เรจ็ การศกึ ษา ทงั้ นี้ ภายในระยะเวลา 2 ปี นบั จากวนั ทเี่ รม่ิ สอน หรือด�ำรงต�ำแหนง่ หรือด�ำรงต�ำแหน่ง จะต้องมีผลงานวิจยั จงึ จะสามารถเปน็ อาจารยผ์ สู้ อนในระดับปรญิ ญาเอก ทางวิชาการ ทางวชิ าการ และเป็นอาจารย์ประจำ� หลกั สตู ร อาจารยท์ ่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ และอาจารย์ ไม่ตำ�่ กวา่ ไม่ตำ่� กวา่ ผู้สอบวิทยานิพนธ์ในระดบั ปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอกได้ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชาน้นั ในสาขาวชิ านัน้ หรอื สาขาวิชาที่ หรอื สาขาวชิ าที่ สมั พนั ธก์ ัน และ สมั พันธก์ ัน และ 2. มปี ระสบการณ์ 2. มีประสบการณ์ ดา้ นการสอน และ ด้านการสอน และ 3. มปี ระสบการณใ์ น 3. มปี ระสบการณใ์ น การทำ� วจิ ยั ทไ่ี มใ่ ช่ การท�ำวจิ ยั ทไ่ี ม่ใช่ ส่วนหนง่ึ ของการ สว่ นหนึง่ ของการ ศกึ ษาเพื่อรับ ศกึ ษาเพ่อื รับ ปรญิ ญา ปรญิ ญา

เกณฑก์ ารประเมิน ตรี โท เอก หมายเหตุ 5. คณุ สมบัตขิ อง 1. เปน็ อาจารยป์ ระจำ� 1. เป็นอาจารยป์ ระจ�ำ การพิจารณากรณอี าจารย์เกษียณอายุงานหรือลาออกจากราชการ ดงั นี้ อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา ท่ีมคี ณุ วุฒิ ที่มคี ณุ วฒุ ิ 1) หลักสตู รสามารถจา้ งอาจารยท์ ่ีมีคณุ สมบตั ติ ามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู ร วทิ ยานพิ นธห์ ลกั ปรญิ ญาเอก หรอื ปริญญาเอก หรือ ซง่ึ เกษยี ณอายงุ านหรอื ลาออกจากราชการ กลบั เขา้ มาท�ำงานแบบเตม็ เวลา และอาจารย์ ดำ� รงตำ� แหนง่ ทาง ดำ� รงต�ำแหน่งทาง หรอื บางเวลาไดโ้ ดยใช้ระบบการจา้ งพนักงานมหาวทิ ยาลัย คือมีสญั ญาจา้ ง ท่ปี รกึ ษาการ วิชาการไม่ตำ่� กว่า วชิ าการไม่ต่�ำกวา่ ที่ให้คา่ ตอบแทนเป็นรายเดือนและมกี ารกำ� หนดภาระงานไว้อยา่ งชัดเจน คน้ ควา้ อสิ ระ รองศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ อาจารยด์ งั กล่าวสามารถปฏิบตั หิ น้าที่เปน็ อาจารย์ประจ�ำหลกั สูตร อาจารย์ ในสาขาวิชานั้น ในสาขาวิชานั้น ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลกั อาจารยท์ ี่ปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์ร่วม อาจารย์ผสู้ อบ หรอื สาขาวิชาท่ี หรือสาขาวิชาที่ วทิ ยานิพนธ์ และอาจารย์ผ้สู อนได้ สัมพนั ธ์กนั และ สมั พนั ธก์ นั และ 2) “อาจารย์เกษยี ณอายุงาน” สามารถปฏบิ ัตหิ น้าที่อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา 2. มปี ระสบการณใ์ น 2. มีประสบการณใ์ น วทิ ยานพิ นธ์หลกั ได้ตอ่ ไปจนนกั ศึกษาส�ำเรจ็ การศึกษา หากนักศึกษาได้รบั การท�ำวจิ ยั ท่ไี มใ่ ช่ การท�ำวจิ ัยท่ไี ม่ใช่ อนุมตั โิ ครงร่างวทิ ยานพิ นธก์ อ่ นการเกษยี ณอายุ ส่วนหน่ึงของการ ส่วนหนึ่งของการ ค่มู อื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 47 ศกึ ษาเพอ่ื รบั ปรญิ ญา ศกึ ษาเพอ่ื รบั ปรญิ ญา 6. คุณสมบตั ิของ 1. เปน็ อาจารย์ประจำ� 1. เป็นอาจารย์ประจ�ำ แนวทางบริหารเกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั อดุ มศึกษา พ.ศ. 2548 ขอ้ 7.6 อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา หรือผ้ทู รงคุณวุฒิ หรอื ผทู้ รงคุณวุฒิ ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะ หมายถึง บุคลากรทีม่ คี วามร้คู วามเช่ียวชาญในสาขาวชิ าท่ี วทิ ยานพิ นธร์ ่วม ภายนอกทมี่ คี ณุ วฒุ ิ ภายนอกที่มคี ณุ วฒุ ิ เปดิ สอนเปน็ อยา่ งดี ซง่ึ อาจเปน็ บคุ ลากรทไ่ี มอ่ ยใู่ นสายวชิ าการ หรอื เปน็ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ (ถา้ มี) ปรญิ ญาเอกหรอื ปรญิ ญาเอกหรือ ภายนอกสถาบนั โดยไม่ตอ้ งพิจารณาด้านคณุ วุฒแิ ละต�ำแหนง่ ทางวิชาการ ด�ำรงต�ำแหนง่ ทาง ดำ� รงต�ำแหน่งทาง ผู้เชย่ี วชาญเฉพาะทจ่ี ะเป็นอาจารย์ทปี่ รึกษาวิทยานพิ นธ์หลัก ต้องเปน็ บคุ ลากร วชิ าการไมต่ ่�ำกว่า วิชาการไม่ต่ำ� กวา่ ประจำ� ในสถาบนั เทา่ นั้น สว่ นผู้เชยี่ วชาญเฉพาะทจ่ี ะเปน็ อาจารย์ทป่ี รกึ ษา รองศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ วทิ ยานพิ นธ์ร่วม อาจเป็นบุคคลากรประจ�ำในสถาบันหรือผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอก ในสาขาวชิ านัน้ ในสาขาวิชานนั้ สถาบนั ทม่ี คี วามรู้ ความเชย่ี วชาญและประสบการณส์ ูงในสาขาวชิ านัน้ ๆ เป็นที่ หรอื สาขาวชิ าท่ี หรอื สาขาวชิ าท่ี ยอมรบั ในระดบั หน่วยงานหรอื ระดับกระทรวงหรอื วงการวชิ าชพี ด้านนนั้ เทยี บได้ สัมพนั ธก์ นั และ สมั พนั ธก์ ัน และ ไม่ต่�ำกว่าระดับ 9 ข้นึ ไป ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารทีส่ �ำนักงานคณะกรรมการ 2. มปี ระสบการณใ์ น 2. มปี ระสบการณ์ ขา้ ราชการพลเรอื นและหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้องก�ำหนด การทำ� วิจยั ท่ี ในการทำ� วจิ ัยที่ ในกรณีหลักสูตรปรญิ ญาเอกไมม่ ีอาจารยท์ ป่ี รึกษาวิทยานิพนธร์ ่วม อาจารย์ ไม่ใชส่ ว่ นหน่งึ ไม่ใชส่ ว่ นหนึ่ง ผู้สอบวิทยานพิ นธ์ หรืออาจารย์ผสู้ อน ทีไ่ ด้รับคณุ วุฒปิ ริญญาเอก หรอื ไมเ่ ปน็ ของการศกึ ษา ของการศึกษา ผดู้ �ำรงต�ำแหน่งทางวชิ าการตง้ั แต่รองศาสตราจารย์ขน้ึ ไปในสาขาวชิ าที่เปิด เพอ่ื รับปรญิ ญา เพ่ือรับปรญิ ญา สอน สถาบันอดุ มศกึ ษา อาจแต่งตง้ั ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านแทนเปน็ กรณีๆ ไป โดยความเห็นชอบของสภาสถาบันอุดมศึกษา และต้องแจ้งคณะกรรมการ การอดุ มศกึ ษาใหร้ บั ทราบการแตง่ ตงั้ นน้ั ดว้ ย

48 ค่มู ือการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก หมายเหตุ 7. คุณสมบตั ขิ อง 1. อาจารย์ประจ�ำ 1. อาจารยป์ ระจำ� อาจารยผ์ ้สู อบ และผทู้ รงคุณวฒุ ิ และผู้ทรงคุณวฒุ ิ วิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบนั ภายนอกสถาบัน ทม่ี คี ณุ วุฒิ ทีม่ คี ุณวุฒิ ปริญญาเอก ปริญญาเอก หรือเทยี บเท่า หรือ หรือเทยี บเท่า หรือ ดำ� รงต�ำแหนง่ ทาง ดำ� รงต�ำแหน่งทาง วิชาการไม่ต่�ำกว่า วชิ าการไมต่ ำ่� กวา่ รองศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชาน้ัน ในสาขาวชิ านน้ั หรอื สาขาวิชาที่ หรือสาขาวิชาท่ี สัมพันธ์กัน และ สัมพันธก์ นั และ 2. มปี ระสบการณ์ 2. มีประสบการณ์ ในการท�ำวิจยั ท่ี ในการทำ� วจิ ัยท่ี ไมใ่ ชส่ ่วนหนึง่ ไมใ่ ชส่ ่วนหน่ึง ของการศึกษา ของการศกึ ษา เพอ่ื รบั ปริญญา เพ่ือรับปรญิ ญา 8. การตพี ิมพ์ (เฉพาะแผน ก เทา่ นน้ั ) วารสารหรอื ส่งิ พิมพ์ วิทยานพิ นธ์ซ่ึงเก่ียวขอ้ งกบั สง่ิ ประดษิ ฐ์ การจดทะเบียนสิทธบิ ัตรหรอื อนสุ ิทธบิ ตั ร เผยแพรผ่ ลงาน ต้องเป็นรายงาน วิชาการที่มกี รรมการ สามารถทดแทนการตีพมิ พ์ในวารสารหรือสิง่ พิมพ์ทางวิชาการได้ โดยพิจารณา ของผสู้ ำ� เรจ็ สบื เนอื่ งฉบบั เตม็ ในการ ภายนอกมาร่วม จากปีที่ไดร้ บั สทิ ธิบัตร หรอื อนสุ ิทธบิ ตั ร ไมใ่ ชป่ ีท่ขี อจด การศกึ ษา ประชุมทางวชิ าการ กล่นั กรอง (peer (proceedings) หรอื review) ซึ่งอยู่ใน วารสาร หรอื สง่ิ พิมพ์ รูปแบบเอกสาร วชิ าการ ซึง่ อยใู่ น หรือส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ รปู แบบเอกสาร หรือสื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์

เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก หมายเหตุ 9. ภาระงาน วทิ ยานิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ - ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง เกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา อาจารย์ 1 คน ตอ่ อาจารย์ 1 คน ตอ่ พ.ศ. 2548 ขอ้ 10 กำ� หนดว่า อาจารยป์ ระจ�ำ 1 คน ให้เปน็ อาจารย์ที่ปรึกษาได้ วทิ ยานพิ นธ์ นักศกึ ษา 5 คน นกั ศกึ ษา 5 คน ไม่เกิน 5 คน หากหลักสูตรใดมีอาจารย์ประจำ� ที่มีศกั ยภาพพรอ้ มทีจ่ ะดแู ล และการคน้ คว้า การคน้ ควา้ อิสระ นักศึกษาไดม้ ากกว่า 5 คน ให้อยู่ในดลุ ยพินิจของสถาบันอดุ มศกึ ษาน้ัน แตท่ ง้ั นี้ อิสระในระดับ อาจารย์ 1 คน ตอ่ ตอ้ งไมเ่ กนิ 10 คน เพอ่ื สนบั สนนุ นักวิจยั ทีม่ ศี ักยภาพสงู ทม่ี คี วามพรอ้ มทางด้าน บณั ฑิตศึกษา นกั ศึกษา 15 คน ทนุ วจิ ยั และเครอื่ งมอื วจิ ยั รวมทงั้ ผทู้ ดี่ ำ� เนนิ โครงการวจิ ยั ขนาดใหญอ่ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ในการผลิตผลงาน ค่มู อื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 49 หากเป็นทีป่ รกึ ษาท้งั 2 ประเภท ใหเ้ ทยี บ สัดส่วนนักศึกษาที่ ท�ำวทิ ยานิพนธ์ 1 คน เทยี บเท่ากบั นักศกึ ษา ท่ีคน้ คว้าอสิ ระ 3 คน 10. อาจารย์ ควรมีอยา่ งน้อย ควรมีอยา่ งน้อย เป็นเจตนารมณ์ทป่ี ระสงค์ใหม้ ีการพัฒนางานวิจยั อยา่ งสม�ำ่ เสมอ ที่ปรกึ ษา 1 เรอื่ งในรอบ 5 ปี 1 เรอื่ งในรอบ 5 ปี วทิ ยานพิ นธแ์ ละ โดยนับรวมปีท่ปี ระเมิน โดยนับรวมปีท่ีประเมิน การคน้ ควา้ อสิ ระ ในระดบั บณั ฑิต ศกึ ษามผี ลงาน วจิ ยั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง และสมำ่� เสมอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook