Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ประถม

หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ประถม

Published by somjatewab, 2020-05-28 03:14:43

Description: หนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ระดับประถม

Search

Read the Text Version

1

2 เอกสารสรุปเนื้อหาทต่ี องรู รายวิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษา รหสั พท11001 หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สํานักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ หามจาํ หนาย หนงั สือเรยี นนจ้ี ดั พมิ พดวยเงินงบประมาณแผนดินเพ่อื การศกึ ษาตลอดชีวติ สาํ หรบั ประชาชน ลิขสทิ ธ์ิเปน ของสาํ นกั งาน กศน.สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

3

สารบัญ 4 คํานาํ หนา คาํ แนะนาํ การใชเอกสารสรปุ เนอ้ื หาทตี่ อ งรู บทท่ี 1 การฟง การดู 1 2 เรอ่ื งท่ี 1 หลกั การ ความสาํ คญั ของการฟง และการดู 3 เรื่องท่ี 2 การฟงและการดูเพอ่ื จับใจความสาํ คัญ 3 เรอ่ื งที่ 3 การดูเพื่อจับใจความสําคัญ 4 เรอ่ื งที่ 4 มารยาทในการฟงและการดู กจิ กรรมทา ยบท 5 บทท่ี 2 การพดู 5 เรอ่ื งท่ี 1 การพูดและความสาํ คญั ของการพดู 6 เรื่องท่ี 2 การเตรยี มการพูด 8 เรอ่ื งที่ 3 การพดู ในโอกาสตาง ๆ 9 เรอ่ื งที่ 4 มารยาทในการพดู กิจกรรมทายบท 10 บทท่ี 3 การอาน 12 เรอื่ งท่ี 1 หลกั การ ความสาํ คัญและจุดมงุ หมายของการอาน 12 เรื่องท่ี 2 การอานรอยแกว 12 เรอ่ื งท่ี 3 การอา นรอ ยกรอง 13 เรื่องท่ี 4 มารยาทในการอา นและนิสัยรกั การอา น กิจกรรมทา ยบท 14 บทที่ 4 การเขยี น 15 เร่ืองท่ี 1 หลกั การเขียนและความสําคญั ของการเขียน 15 เรื่องที่ 2 การเขยี นภาษาไทย 15 เรอ่ื งที่ 3 การเขียนสะกดคํา 16 เรอ่ื งท่ี 4 การเขยี นคําคลองจอง 16 เรอ่ื งท่ี 5 การเขียนในรูปประโยค เรอื่ งที่ 6 การเขียนสอ่ื สารในชวี ิตประจาํ วนั

เรอื่ งท่ี 7 การเขยี นเรียงความ ยอความ 5 เรอื่ งท่ี 8 การเขยี นรายงาน การคน ควาและการอางองิ เรื่องท่ี 9 มารยาทในการเขยี นและนสิ ัยรกั การเขยี น หนา กจิ กรรมทายบท 25 บทท่ี 5 หลกั การใชภ าษา 26 เรอื่ งที่ 1 เสียง รูปอกั ษรไทย และไตรยางค 29 เรื่องท่ี 2 ความหมายและหนา ท่ขี องคํา กลุมคาํ และประโยค 29 เรอ่ื งที่ 3 เคร่อื งหมายวรรคตอน และอกั ษรยอ เรอ่ื งที่ 4 หลกั การใชพจนานุกรม คําราชาศัพท และคําสภุ าพ 31 เรอ่ื งท่ี 5 สํานวนภาษา 34 เรื่องที่ 6 การใชท กั ษะทางภาษาเปนเคร่อื งมือการแสวงหาความรู 38 กิจกรรมทา ยบท 42 44 บทที่ 6 วรรณคดแี ละวรรณกรรม 48 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย คณุ คาและประโยชนของนิทานพน้ื บา นและวรรณกรรม 51 เร่อื งท่ี 2 ความหมายของวรรณคดีและวรรณคดีท่ีนาศกึ ษา 54 บทที่ 7 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี 55 เรื่องที่ 1 คณุ คา ของภาษาไทย เรื่องที่ 2 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชพี 56 เรื่องที่ 3 การเพิ่มพูนความรูแ ละประสบการณด า นภาษาไทย 57 เพ่อื การประกอบอาชพี 58 เฉลยกิจกรรมทา ยบท 59 บรรณานกุ รม 69 คณะผูจดั ทาํ 70

6 คําแนะนําการใชเ อกสารสรปุ เนือ้ หาท่ีตองรู เอกสารสรุปเนื้อหาท่ีตองรูรายวิชาภาษาไทยเลมนี้เปนการสรุปเนื้อหาจากหนังสือเรียน สาระความรูพื้นฐานรายวิชาภาษาไทย พท11001 ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2544) เพ่ือใหผูเรียน กศน. ทําความเขา ใจและเรยี นรูใ นสาระสาํ คัญของเนอื้ หารายวิชาสําคัญ ๆ ไดสะดวกและสามารถ เขาถงึ แกนของเนื้อหาไดด ีข้ึน ในการศึกษาเอกสารสรปุ เนอ้ื หาที่ตองรรู ายวิชาภาษาไทยเลมนี้ผเู รยี นควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาภาษาไทยจากหนังสือเรียนสาระความรูพ้ืนฐาน รายวิชา ภาษาไทย พท11001 ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) ใหเ ขาใจกอ น 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของเอกสารสรุปเนื้อหาท่ีตองรูรายวิชาภาษาไทยใหเขาใจ อยางชัดเจนทีละบท จนครบ 7 บท 3. หากตองการศกึ ษารายละเอยี ดเนอื้ หารายวิชาภาษาไทยเพม่ิ เติม ผูเรียน กศน. สามารถ ศกึ ษาหาความรเู พม่ิ เตมิ จากตาํ รา หนงั สือเรียนที่มีอยูตามหองสมุดหรือรานจําหนายหนังสือเรียน หรือครูผูสอน

1 บทที่ 1 การฟง การดู เร่ืองท่ี 1 หลักการ ความสําคญั ของการฟง และการดู 1.1 หลกั การฟงและการดู การฟงและการดู เปนการเรียนรเู รอื่ งราวตาง ๆ จากแหลง เสยี งและภาพ ท้งั จากแหลง จรงิ และผา นส่อื ตา ง ๆ เชน วิทยุ โทรทัศน ภาพยนตร คอมพิวเตอร หนังสือ เปนตน เปนการรับรู ตคี วามและเขาใจสิง่ ท่ีมองเห็นจากการฟงและการดู มหี ลักการดงั นี้ 1. การฟงและการดอู ยางต้ังใจ มีสมาธิ จะไดร บั เนอื้ หาสาระทถ่ี ูกตองและครบถวน 2. มจี ดุ มุงหมายในการฟงและการดู เพื่อจะชวยใหการฟงและการดูมีประโยชนและมี คณุ คา กอ นท่ีจะฟง หรือดู ตอ งต้งั คาํ ถามกบั ตนเองวาเราตอ งการอะไรจากเรอ่ื งที่ฟงและดู 3. จดบันทึกใจความสําคญั ที่ไดจากการฟงและการดู เพือ่ จะไดศึกษาและนํามาทบทวนได 4. ควรมพี นื้ ฐานในเร่ืองท่ีฟงและดูมากอน จะไดชวยใหเขาใจเน้ือหาสาระไดงายและ เรว็ ขึ้น 1.2 ความสําคัญของการฟงและการดู เปนการเพ่ิมความรูและประสบการณที่จะนําไปใชประโยชนใหเกิดความเขาใจ ในการส่อื สารระหวา งกันและปฏิบตั ติ ามได สามารถนําความรูท่ีไดจากการฟงและการดูมาพัฒนา ชีวิตความเปนอยูในชีวิตประจําวันได แตการฟงและการดูจะไดประโยชนท่ีแทจริงตองเห็น ความสาํ คญั และมจี ดุ มุงหมายในการฟงและการดู ดังนี้ 1. เพื่อติดตอสื่อสารในชีวิตประจําวัน เปนการฟงและการดูที่ตองใชสติปญญาและ วจิ ารณญาณ ตลอดจนทักษะในการตัดสินใจการแกปญ หาเฉพาะหนา 2. เพอ่ื ความเพลิดเพลิน สนกุ สนาน ผอนคลาย เชน ฟงและดู ดนตรี นวนิยาย ละคร บทรอ ยกรอง 3. เพือ่ รับความรู เชน ฟงคําอบรมสง่ั สอนของพอแม ฟง ครูอธิบาย ตอ งมีทกั ษะการจับ ใจความ มีการบันทกึ ชว ยจาํ 4. เพ่ือไดค ติชวี ิตและความจรรโลงใจ นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันหรือ นาํ ไปประกอบอาชพี ได

2 เรอื่ งท่ี 2 การฟงและการดเู พื่อจบั ใจความสําคัญ 2.1 การฟง เพื่อจับใจความสําคญั เปนการฟงเพ่ือความรู ผฟู งตอ งตั้งใจฟง ดังน้ี 1. มีสมาธิดี ต้งั ใจฟง ตดิ ตามเรือ่ ง ไมพ ูดคุยกนั 2. ฟงใหเขาใจและลําดับเหตุการณใหดีวา เร่ืองท่ีฟงเปนเรื่องของอะไร ใครทําอะไร ทไ่ี หน อยางไร และเกิดผลอยา งไร 3. ทําความเขาใจเนอ้ื หาสาระ แยกแยะความจรงิ และขอคดิ เหน็ ในเรือ่ งนั้น ๆ 4. ประเมินคาเรื่องทฟ่ี ง วา เนื้อหาท่ถี กู ตองเหมาะสมกับเพศและวัยของกลมุ ผูฟง หรอื ไม 5. บันทึกขอ ความสาํ คัญจากเรอ่ื งทฟ่ี ง ตวั อยา ง การจบั ใจความสาํ คัญจากบทรอ ยแกว ครอบครัวของเราคนไทยสมยั กอ น ผูชายก็ตองเปนหัวหนาครอบครัว ถามาจากตระกูลดีมี วิชาความรูก็มักรับราชการ เพราะคนไทยเรานิยมการรับราชการมีเงินเดือน มีบานเรือนของ ตนเองไดก ็มี เชา เขาก็มี อยูกับบิดามารดากไ็ มนอ ย ไดเ ปนมรดกตกทอดกันก็มี ทรัพยสมบัติเหลานี้ จะงอกเงยหรอื หมดไปกอ็ ยทู ภ่ี รรยาผเู ปน แมบาน (แมศรีเรือน ของทพิ ยวาณี สนทิ วงศ) ใจความสาํ คญั ครอบครวั ไทยสมยั กอ น ผชู ายท่ีมีความรูนิยมรับราชการ ทรัพยสมบัติที่มี จะเพม่ิ ข้นึ หรือหมดไปก็อยูท่ภี รรยา ตวั อยา ง การจับใจความสําคญั จากบทรอ ยกรอง ฟงขอความตอไปนี้แลวจับใจความสาํ คัญ (ครหู รอื นักศึกษาเปน ผูอา น) นางกอดจบู ลูบหลงั แลวสั่งสอน อาํ นวยพรพลายนอยละหอ ยไห พอไปดีศรีสวสั ดก์ิ าํ จดั ภยั จนเตบิ ใหญยิ่งยวดไดบ วชเรยี น ลกู ผชู ายลายมอื นน้ั คอื ยศ เจาจงอุตสาหท ําสม่าํ เสมยี น แลว พาลกู ออกมาขางทาเกวียน จะจากเจียนใจขาดอนาถใจ (กาํ เนดิ พลายงาม ของ พระสนุ ทรโวหาร (ภ)ู ) ใจความสําคัญ การจากกนั ของแมล กู คือ นางวันทองกับพลายงาม นางวันทองอวยพรให โอวาทและจากกันดว ยความอาลยั อาวรณอยา งสดุ ซ้ึง

3 2.2 การดเู พอ่ื จับใจความสําคญั 1. ดูอยา งตงั้ ใจและมสี มาธิในการดู 2. มีจุดมุง หมายในการดู จะทาํ ใหก ารดปู ระสบผลสาํ เร็จได 3. มวี ิจารณญาณในการดู คิดไตรตรองอยา งมเี หตผุ ล 4. นาํ ไปใชป ระโยชน คือ มีการปรบั ใชใหเหมาะสมกับเพศ วัย เวลา และสถานการณ เร่ืองที่ 3 การดเู พ่อื จบั ใจความสําคญั การฟงและการดเู พือ่ สรปุ ความ เปนขนั้ ตอนสุดทายของกระบวนการฟง และการดู การสรุป ความเนนการประมวลเน้อื หาสาระมาใชประโยชนในชวี ิตประจําวัน วธิ ีการสรุปความ ควรทาํ ดังน้ี 3.1 ใชใ นการศกึ ษา 3.2 ใชใ นการเผยแพร โดยการอธิบาย สอน เขยี นเปนเอกสารและตํารา ตัวอยาง การส่ือสารทเ่ี ปนการสรุปความของการฟงและการดู เชน 1. ตองจบั ประเด็นใหไดวา ใครทาํ อะไร ท่ไี หน เม่อื ไร อยา งไร แลว จดบนั ทกึ ไว 2. การโฆษณา การใชภาษาใชเวลานอย คําพูดนอย จะเนนการพูดท่ีสั้น ๆ ใหได ใจความ ดังนัน้ การฟงและการดูจะใชท กั ษะการสรปุ ความและเขา ใจสารนัน้ 3. การฟง และการดูประกาศ จะสรุปความเน้ือหาสาระนั้นมาปฏิบัติโดยจะใชหลัก ประกาศเรอ่ื งอะไร เกี่ยวขอ งกับเราอยางไร และนาํ ไปปฏบิ ตั ิอยา งไร 4. แยกแยะสว นทเ่ี ปนขอ เท็จจรงิ ออกจากสว นทเ่ี ปนความคิดเห็น 5. จดบันทึกขอมูลและเก็บรวบรวมไวใหเปนระบบ เพื่อใหงายตอการนําไปใช ประโยชนใ นโอกาสตอไป เรอื่ งท่ี 4 มารยาทในการฟงและการดู การฟง โดยทั่วไปเปน พฤตกิ รรมทางสังคม เพราะเปนพฤติกรรมท่ีเกิดระหวางผูพูดกับผูฟง ซ่ึงอาจไมใชบุคคลเพียงสองคน แตเปนกลุม บคุ คล เชน ฟง การประชมุ การแสดงปาฐกถา มารยาท ในการฟง และการดจู งึ มคี วามสําคัญตอสมั พันธภาพระหวางผูฟงกบั ผูพ ดู และเกดิ ประสิทธผิ ลได การมีมารยาทในการฟง และการดู ปฏบิ ัติดังน้ี 1. มารยาทในการฟง 1. ตง้ั ใจฟง ไมสง เสยี งดงั รบกวนผอู ่ืน

4 2. ไมร บกวนสมาธิของผูอืน่ 3. ควรใหเ กยี รติวิทยากร ไมค ยุ และไมถ ามเพ่ือทดสอบความรขู องผูพดู 4. เมือ่ ผพู ดู พดู จบ ควรปรบมือ 5. ปด อุปกรณสอื่ สารทกุ ชนิด 6. หากมขี อ สงสัยขณะฟง ควรถามเม่ือมโี อกาส 2. มารยาทในการดู 1. ตัง้ ใจดู ไมพูดคุยเสยี งดัง 2. ไมรบกวนสมาธขิ องผอู ืน่ 3. ไมค วรฉีกหรอื ทําลายภาพเอกสารทด่ี ู 4. ไมค วรวจิ ารณผ ูพดู ในขณะท่แี สดง 5. หากเปนการดูสารจากสื่ออิเล็กทรอนิกส ควรมีความรู ความสามารถในการใชส่ือ ชนิดนนั้ และไมควรจบั จองการใชอยเู พียงผูเดยี ว ผูท มี่ ีมารยาทในการฟง และการดู นอกจากจะไดรับประโยชนจากเร่ืองท่ีฟงและส่ิงท่ีดูแลว ยังไดรบั การยอมรับนับถือ และเปน การใหเ กียรติแกท ีป่ ระชมุ อกี ดวย กิจกรรมทา ยบทที่ 1 กิจกรรมท่ี 1 ขน้ั ที่ 1 ผูสอนแบง กลุม ผูเรียน กลุมละ 3 – 5 คน และเปด วีดทิ ศั นภาพยนตรโฆษณา (ความยาวประมาณ 3 นาที) ใหผ ูเรียนดู (5 คะแนน) ข้ันที่ 2 ผูเรยี นรว มกันสรปุ เนือ้ หาตามหลักการฟง การดู และสงผูแทนกลุม นําเสนอ ขนั้ ที่ 3 ครแู ละผเู รยี นรวมกันสรปุ เนอ้ื หา ตามหัวขอ หลกั การฟง และดู กิจกรรมท่ี 2 ใหผูเรียนบอกประโยชนของการฟงและการดูท่ีสามารถนําความรูไปใชในการ พัฒนาความเปน อยใู นชีวติ ประจําวันได พรอมยกตวั อยา ง (5 คะแนน) กจิ กรรมท่ี 3 ใหผ เู รยี นแบง กลมุ อภิปรายเกี่ยวกับมารยาทในการฟงและมารยาทในการดู และสง ผแู ทนกลมุ นาํ เสนอผลการอภิปราย (5 คะแนน)

5 บทที่ 2 การพดู เรื่องท่ี 1 การพูดและความสําคัญของการพูด 1.1 หลกั การพดู 1. พดู ดวยภาษาและถอ ยคาํ ทส่ี ุภาพใหเกียรติผฟู ง 2. พูดใหตรงประเดน็ และใชภาษาทงี่ ายตอ การเขาใจ 1.2 ความสําคญั ของการพดู 1. ใชใ นการสือ่ สารใหเ ขาใจตรงกัน 2. เพ่ือความรู เพ่ือใหผูฟงมีความรูท่ีหลากหลายและนําไปใชประโยชนใน ชีวติ ประจาํ วันได 3. ไดร ับความเพลิดเพลนิ และแลกเปลยี่ นเนอื้ หาสาระ 1.3 จุดมงุ หมายของการพูด 1. เพ่อื ถา ยทอดความรูส กึ นกึ คดิ 2. เพอื่ แสวงหาคําตอบหรือความรู ความเขาใจในเรอื่ งตาง ๆ 3. เพอ่ื สรา งความสัมพันธอ นั ดีตอกัน 4. เพื่อจรรโลงใจ ทําใหผ ฟู ง มีความสุข สนุกสนาน บันเทิงใจ 5. เพอ่ื โนม นา วใจและจงู ใจใหผูอ่นื คลอ ยตามความคิดและการกระทําของตน เรอ่ื งที่ 2 การเตรยี มการพูด 2.1 ขัน้ ตอนในการเตรยี มการพูด 1. การเลอื กหัวขอ เรือ่ งเหมาะสมกับกลมุ ผฟู งทง้ั วยั เพศ อาชีพ เปน ตน 2. เตรียมสภาพรางกายใหพรอมที่จะพูด ซึ่งผูพูดควรจะทราบกําหนดการลวงหนา และตอ งพรอ มท่จี ะพดู ในวนั น้นั 3. กาํ หนดวัตถุประสงคเ ตรยี มเน้อื หาสาระที่จะพดู ใหถกู ตอ งจากความรูประสบการณ ของตน หากไมเพียงพอตอ งคน ควาเพม่ิ เติม 4. เตรยี มอปุ กรณ เอกสารหรือสิ่งอ่ืน ๆ ที่ใชประกอบการพูดใหเสร็จทันเวลาและอยู ในสภาพพรอมท่จี ะใชงานได 5. แตงกายใหสุภาพเหมาะสมกับวยั เพศ ของผูฟ ง ทัง้ น้ีเพอื่ เปนการใหเ กียรตผิ ฟู ง

6 2.2 ลกั ษณะการพดู ทด่ี ี การพูดที่ใชถอยคําดี ไพเราะ มีหางเสียงไมกระโชกโฮกฮากหรือขูตะคอก พูดให ถูกตอ งตามหลักการใชภาษา มีการแบงวรรคตอน ใชคําควบกลํ้าใหถูกหลัก ไมควรพูดใหใครตอง เสียหาย พูดไปแลว ใหเ กดิ มิตรไมตรีท่ีดีตอกัน ในการพูดตองคํานึงถึงความเหมาะสมกับกาลเทศะ สถานท่ี เพศ วัย สถานะของผูฟง มีศิลปะในการพูด การใชสีหนาทาทาง นํ้าเสียงไมดังหรือเบา เกนิ ไป เนน การใชเ สยี งสงู ตาํ่ ใหเหมาะสม เรื่องท่ี 3 การพดู ในโอกาสตาง ๆ การพูดในโอกาสตาง ๆ ในระดับประถมศึกษา จะเปนการศึกษาการพูดแสดงความรู ความคิด ความรูส กึ ตา ง ๆ ดงั นี้ 1. การพดู อวยพร 2. การพดู ขอบคณุ 3. การพูดแสดงความดใี จและเสียใจ 4. การพูดตอนรบั 5. การพูดรายงาน 6. การกลาวอําลา 1. การพดู อวยพร การพูดอวยพรเปนการพูดแสดงความในใจทีจ่ ะใหพ รผฟู งในโอกาสที่เปน มงคล เชน อวยพรวนั เกดิ อวยพรปใ หม หรอื อวยพรใหกับคูสมรส เปน ตน การพดู อวยพร มีวธิ ีการดังน้ี 1. ใชค ําพูดงาย ๆ ส้นั ไดใ จความ และนํา้ เสยี งสภุ าพนมุ นวล 2. ใชคาํ และขอ ความท่ีมีความหมายทีด่ ี และเหมาะสมกับโอกาสและผูฟง 3. อางสิ่งศักดิส์ ิทธ์ิอวยพรใหผ ูฟงในโอกาสน้ัน ๆ 4. พดู ใหผูฟง ประทบั ใจ 2. การพูดขอบคุณ การพูดขอบคุณเปนการพูดที่จะตอบแทนผูที่ทําประโยชนใหเปนการแสดงความ กตัญู

7 การพูดขอบคุณ มวี ิธกี าร ดังนี้ 1. บอกสาเหตุที่ตองขอบคุณผูนั้น ทานไดชวยเหลือหรือทําประโยชนอะไรใหกับ ผพู ูด 2. พูดดว ยนาํ้ เสยี งทีส่ ุภาพนมุ นวล นาฟง และนา ประทับใจ 3. หากเปนผูแทนของกลุมคน ผูพูดตองเริ่มตนดวย “ในนามของกลุม ผม/ดิฉัน ขอบคณุ ที.่ ..............” โดยตอ งบอกวา ขอบคุณใคร และขอบคุณเรอ่ื งอะไร 4. การพูดขอบคณุ ควรลงทา ย หากมโี อกาสตอบแทนผทู ขี่ อบคณุ บางในโอกาสหนา 3. การพดู แสดงความดีใจและเสยี ใจ การพูดแสดงความดีใจและเสียใจ เปนการพูดเพ่ือแสดงออกทางอารมณแสดง ความรสู กึ ตอผูใ ดผูห นงึ่ ในเร่อื งตา ง ๆ การพดู แสดงความดีใจและเสยี ใจ มีดังนี้ 1. พดู ดวยการแสดงออกอยา งจริงใจ หามแกลงทาํ โดยเด็ดขาด 2. แสดงออกทางสีหนา แววตา และนํ้าเสียง ใหสอดคลองกับการพูดแสดงความดีใจ หรือการพดู แสดงความเสยี ใจ 3. หากเปนการพูดแสดงความดีใจ จะตอดวยการอวยพรใหดียิ่งข้ึน หากเปนการ พดู แสดงความเสยี ใจ จะตอ งปลอบใจและทาํ ใหล ืมเหตุการณน้ันโดยเร็ว 4. การพูดตอ นรับ การพูดตอนรับเปนการพูดยินดีตอสมาชิกใหม หรือยินดีตอนรับผูมาเยี่ยมเยือน ใหผฟู งสบายใจและรสู ึกอบอุนท่ีไดม าสถานท่ีนี้ การพูดตอ นรับ มีวิธกี ารดังนี้ 1. การพูดในนามของ กลุม หนวยงาน องคกรใด จะตองกลาวข้ึนตนดวยวา “ในนามของ............ขอตอ นรับ..........” 2. การพูดดว ยคําท่สี ุภาพนุมนวลและนาประทับใจ 3. กลา วแสดงความดใี จและความรูสึกเปนเกียรตติ อโอกาส 4. อาจมีการแนะนาํ บคุ คล สถานท่ี ใหผมู าไดท ราบหรือรูจัก 5. กลาวแสดงความยินดตี อ นรบั และอํานวยความสะดวก 6. อาจพดู ลงทายดวย ยินดีตอนรบั ในโอกาสหนาอกี 5. การพดู รายงาน การพดู รายงาน เปนการนําเสนอเร่ืองราว ขอมูล สถานการณ หรือความกาวหนา ในการทาํ งาน ความกา วหนาของการศึกษาคนควา

8 การพูดรายงาน มีวธิ กี ารดังนี้ 1. เนื้อหาสาระทีจ่ ะพดู ตองถกู ตอง เชื่อถือได และอา งอิงได 2. การนาํ เสนอเน้อื หาสาระตอ งเหมาะสมกบั ผฟู ง และสถานการณท ่พี ดู 3. ใชภ าษาเปนทางการ เพราะเปนงานวิชาการ 4. อุปกรณ เครื่องมือ หรอื เอกสารประกอบตองเตรยี มใหพรอ ม 5. ควรเปดโอกาสใหผูฟ ง ไดซ ักถามขอ สงสัย หรือใหอธิบายเพม่ิ เติมเพอ่ื ความเขาใจ 6. การกลาวอําลา การกลาวอําลาใชในโอกาสยายที่ทํางาน พนวาระหนาที่ ออกจากสถานศึกษา เพราะสาํ เร็จการศกึ ษาหรอื เดนิ ทางไปประกอบกจิ กรรมในท่ไี กล ๆ การกลา วอําลา มวี ิธกี ารดังน้ี 1. กลา วถงึ ความสมั พันธอันดรี ะหวางกันที่ผา นมา 2. ขอบคุณผรู วมงาน 3. กลาวถึงความจาํ เปน ที่ตองจากไป หรือภาระหนาที่ท่ีจะตอ งไปทํา 4. แสดงความหวงั วาคงจะไดรวมมือกันใหสถาบนั เจรญิ รุดหนารุงเรืองตอ ไป 5. กลา วขอบคณุ ในกรณีที่ไดรับมอบของท่ีระลึก เรือ่ งท่ี 4 มารยาทในการพูด มารยาทในการพดู จะเปน เครอื่ งชว ยเสริมสรา งความเชือ่ ถอื ความนิยมชมชอบใหแกผูฟงได ดงั นนั้ ในการพูดผพู ูดควรมีมารยาทในการพดู ดงั น้ี 1. แตง กายใหส ภุ าพเหมาะสมกบั โอกาสและสถานท่ี 2. เลือกใชค ําพูดทีส่ ภุ าพเหมาะสมกบั ผูฟง เวลา สถานที่ โอกาส และเรือ่ งทจ่ี ะพูด 3. ไมค วรพูดเรอื่ งของตนเองมากเกนิ ไป พดู ใหต รงประเด็น อาจออกนอกเร่ืองบาง พอผอน คลายอารมณ 4. มาถึงสถานท่พี ดู ใหตรงเวลาหรือกอนเวลาเล็กนอ ย 5. ไมพ ดู ใหผ ูอื่นเดือดรอ น และทาํ ลายผูอ ื่น 6. พดู ใหด ังพอไดย ินทัว่ กัน และไมพูดเกนิ เวลาทก่ี าํ หนด 7. ควรเปดโอกาสใหผ อู ื่นไดพูดบา ง ไมค วรผกู ขาดการพูดเพยี งผเู ดียว 8. ปฏิบตั ติ ามธรรมเนียมการพูด เชน กลา วคําขนึ้ ตน คําลงทาย และกลาวขอบคณุ เปน ตน

9 กจิ กรรมทายบทที่ 2 กิจกรรม ใหผ ูเรียนแบงกลุม เพื่อเตรียมการพูดในโอกาสตา ง ๆ ดงั น้ี (5 คะแนน) 1. การพูดอวยพร 2. การพดู ขอบคณุ 3. การพูดแสดงความดใี จและเสยี ใจ 4. การพดู ตอ นรับ 5. การพดู รายงาน 6. การกลา วอาํ ลา

10 บทที่ 3 การอา น เรอ่ื งท่ี 1 หลักการ ความสาํ คัญ และจุดมงุ หมายของการอา น 1.1 หลักการอา น การอา นออกเสียงคํา เปนการแสดงความหมายของคําไปสูผูอานและผูฟง เพ่ือให เกิดความเขาใจกันในการอานคําในภาษาไทยมีปญหาอยูมาก เพราะนอกจากคําไทยแลวยังมี ภาษาตางประเทศปนอยูหลายภาษา คําบางคําอานอยางภาษาไทย บางคําอานตามลักษณะของ ภาษาเดิม การอานคําในภาษาไทยจึงตองศึกษาหลักเกณฑและเหตุผลประกอบเปนคําไป มีหลกั การอาน ดังนี้ 1. การอา น ร ล ตองอานตัว ร และ ล ใหถูกตอง ไมอาน ร เปน ล หรือ ล เปน ร เพราะถาอา นผดิ กจ็ ะทําใหค วามหมายผิดไป เชน ถนนลาดยาว กว ยเตยี๋ วราดหนา เขาลอดบว ง เขารอดชวี ิต เธอเปนโรคราย โลกนค้ี อื ละคร 2. การอานคําควบกล้ํา คําควบกล้ํา (อักษรควบ) หมายถึง พยัญชนะสองตัวเขียนเรียงกันอยู ตนพยางคแ ละใชสระเดยี วกนั เวลาอา นออกเสียงควบกลา้ํ เปนพยางคเ ดยี วกนั เสียงวรรณยุกตของ พยางคน้ันจะผันไปตามเสียงพยัญชนะตัวหนา คือ เสียงพยัญชนะตน ก ข ค ต ป ผ พ ท่เี ขียนควบพยญั ชนะ ร ล ว ออกเสียงควบกลาํ้ กนั เชน โกรธ กรอง ปลา กลม กลํ้า กวาง แกวง ขวาง 1.2 ความสําคัญของการอาน ชีวิตของแตละคนยอมตองเก่ียวของผูกพันกับสังคม คือ กลุมคนอยางหลีกเล่ียง ไมได ไมมีใครที่จะอยูไดโดยปราศจากสังคม และการอยูรวมกับคนอื่น ซ่ึงจะตองมีความเขาใจ ซ่ึงกันและกัน มีการแลกเปล่ียนความรู ความคิด ความเขาใจ เพื่อใหสังคมเกิดความสงบสุขและ พัฒนาไปขางหนาอยางแทจริง ดังนั้น การติดตอส่ือสารจึงเขามาเปนสวนสําคัญในการเชื่อมโยง มนุษยทุกคนเขาดวยกัน สามารถทํากระทั่งการพบปะส่ือสารดวยการสนทนาและอานขอเขียน ของกันและกนั สําหรับสงั คมปจ จุบันจงึ เปนสงั คมใหญท ่ีเจริญเตบิ โตและเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว

11 การตดิ ตอกันโดยวิธีพบปะสนทนายอ มเปนไปไดในวงจาํ กัด ดังน้ัน การสื่อสารกันโดยการอานจึงมี ความสําคัญมาก นอกจากน้ันผูอานจํานวนมากยังตองการอาน และแสวงหาความรูและความ บนั เทิงจากหนังสอื อีกดวย 1.3 จุดมุงหมายของการอาน มดี ังนี้ 1. อานเพื่อความรู ไดแก การอานจากหนังสือ ตําราทางวิชาการ สารคดีทาง วิชาการ การวิจัยประเภทตาง ๆ ผูเรียนควรอานอยางหลากหลาย เพราะความรูในวิชาหน่ึงอาจ นาํ ไปชว ยเสรมิ ในอีกวิชาหนงึ่ ได 2. อานเพื่อความบันเทิง ไดแก การอานจากหนังสือประเภทสารคดีทองเที่ยว นวนยิ าย เรอ่ื งส้ัน การต นู 1.4 การอานออกเสียงและอานในใจ การออกเสียงเปนการอานใหมีเสียงดัง เปนการอานเพ่ือส่ือสารใหผูฟงไดเขาใจ เรื่องท่ีอา นหรือเปนการฝก การอานออกเสียงดวย ซึ่งมีวธิ กี ารอานออกเสียง ดังน้ี 1. การอานออกเสียงพยัญชนะ เชน ช ซ ร ล เปน ตน 2. การอานออกเสยี งควบกลํา้ ร ล ว 3. การอานออกเสียงวรรณยุกต ไดแก เสียงสามัญ เสียงเอก (  ) เสียงโท (  ) เสยี งตรี (  ) เสยี งจตั วา (  ) เชน คําวา จา จา จา จา จา , ไก ไก ไก ไก ไก 4. การอานออกเสียงคําพองรูป หมายถึง คําท่ีเขียนเหมือนกันแตอานตางกัน ความหมายก็ตางกัน ผูเรียนจะตองเขาใจความหมายของคําที่อานและตองอาศัยการตีความจาก ความหมายในประโยคดวย เชน เพลาเกวียนหกั เมอ่ื เพลาเชา เพลา คาํ แรกอา น พอ - ลอ - เอา เพลา คาํ หลัง อานวา เพ - ลา เขาหวงแหน จอกแหนในบอ น้ํา แหน คําแรกอาน หอ - แอ - นอ แหน คาํ หลงั อา นวา หอ - นอ - แอ 5. การอา นออกเสยี งตัวการันต เมือ่ อา นคําท่มี ตี วั การันตไ มตอ งออกเสียงตัวการันต นั้น เชน จนั ทร อา นวา จนั รักษ อา นวา รัก อาจารย อา นวา อา - จาน 6. การอานออกเสียงเวนวรรคตอน การอา นเวน วรรคตอนเปนส่ิงสําคัญในการอาน คําอานเวนวรรคผิด ความหมายก็ผิดไปดวย เชน น้ําเย็นหมดแลว อานวา น้ํา เย็นหมดแลว หมายความวา นํ้าทร่ี อ นอยูเย็นหมดแลว หรอื น้าํ เยน็ หมดแลว หมายความวา นํ้าเย็น หมดแลว การอานในใจเปนการอานที่ผูอานตองการจะจับใจความอยางรวดเร็ว ถูกตอง โดยไมใชอ วัยวะท่ีชวยในการออกเสียง เคล่ือนไหวเลย และผูอา นจะรูเรือ่ งราวแตเ พียงผเู ดยี ว

12 วิธีการอานในใจ มีดงั น้ี 1. ผอู านจะตอ งกวาดสายตามองตัวอักษรใหไ ดป ระมาณ 5 - 6 ตัว เปนอยางนอย 2. ตองฝก อตั ราความเรว็ ของตาและสมอง 3. การอานจะตอ งอา นจากซา ยไปขวาโดยตลอด ไมค วรอา นยอนไปยอนมา 4. มีการทดสอบตนเองหลังจากอานในใจเรื่องน้ันจบ โดยตั้งคําถามถามตนเอง เพ่ือเปนการสรุปเร่อื งราว เร่ืองท่ี 2 การอานรอ ยแกว คําวา รอยแกว หมายถึง ขอความทเี่ ขียนขนึ้ โดยไมไดคํานงึ ถึงการสัมผัส เชน หนงั สอื เรยี น ขาว ประกาศ นวนิยาย บทสนทนา เร่อื งส้นั บทความ เปน ตน การอานรอยแกว เปนการอานจับใจความสําคัญใหไดวาเรื่องที่อานคืออะไร กลาวถึงใคร เกดิ ขนึ้ ทไี่ หน เม่ือไร และมผี ลอยางไร ซง่ึ จะอานไดท ง้ั ออกเสียงและอา นในใจ เร่ืองที่ 3 การอานรอยกรอง คําวา รอยกรอง หมายถงึ ถอ ยคาํ ทีผ่ ูประพนั ธ (เขียน) ขน้ึ โดยมีการสมั ผัสใหคลอ งจองกัน การอานรอ ยกรอง สามารถอานได 2 แบบ คอื 1. อานออกเสียงธรรมดา เปนการอานออกเสียงพูดตามปกติเหมือนกับอาน รอยแกว แตม ีจงั หวะ วรรคตอน 2. อานเปนทํานองเสนาะ เปนการอานมีสําเนียงสูง ตํ่า หนัก เบา ยาว สั้น เปนทํานอง เหมือนเสยี งดนตรี มกี ารเอ้ือนเสียงเนน สัมผสั ตามจังหวะ ลีลาและทวงทํานองตามลักษณะบังคับ ของบทประพันธใ หชดั เจนและเหมาะสม เรอื่ งที่ 4 มารยาทในการอานและนิสัยรักการอาน คําวา มารยาท หมายถึง ความประพฤติที่เหมาะสมที่ควรยอมรับและยกยอง มารยาท ในการอา นอาจจะถอื วา เปน เรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ ที่ผูอานบางคนอาจจะไมรูสึก และคิดวาไมสําคัญ แตผ ูเ รียนกไ็ มควรมองขา ม ฉะน้ัน มารยาทในการอานจงึ มีดงั นี้ 1. ไมควรอา นเร่อื งสว นตัวของผูอ่ืน 2. ไมค วรชะโงกไปอา นหรือแยง อานในขณะท่ีผูอ่ืนกําลังอาน 3. ไมอานออกเสียงดงั ในขณะท่ผี ูอื่นตองการความสงบ 4. ไมทาํ ลายหรอื ขีดฆาขอ ความในหนังสือทไี่ มใชของตนเอง

13 ในชีวิตประจําวันคนเราตองรับรูขาวสารเร่ืองราวตาง ๆ อยูตลอดเวลา การอานเปน วิธีการแสวงหาความรูวิธีหน่ึง การสรางนิสัยรักการอานไดนั้น ผูอานไดรับความรูหรือมีประโยชน เห็นคณุ คา วธิ กี ารสรา งแรงจงู ใจเพื่อใหเกิดนิสัยรักการอาน เชน การใหรางวัล การใหเห็นคุณคาของ การอา นและโทษของการไมอ าน การอา นควรเรมิ่ อานจากเร่อื งท่ตี นเองอยากรู หรอื สนใจทจี่ ะรู กจิ กรรมทา ยบทท่ี 3 กิจกรรม ใหผูเรียนอานบทรอยกรองตอไปน้ีแลวสรุปเปนรอยแกวใหไดความหมายท่ีสมบูรณ (5 คะแนน) รกั กันอยู ขอบฟา เขาเขียว เสมออยูหอ แหงเดียว รวมหอง ชังกนั บ แลเหลียว ตาตอ กันนา เหมอื นขอบฟา มาปอ ง ปาไมมาบัง โครงโลกนติ ิ สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเธอกรมพระยา เดชาดศิ ร

14 บทที่ 4 การเขียน เรอื่ งที่ 1 หลักการเขียนและความสําคัญของการเขยี น 1.1 หลักการเขยี น การเขียน คือ การสื่อสาร ถายทอดขอมูล ขาวสาร ความคิด เร่ืองราวออกมา เปนตวั อักษร เพื่อสอ่ื ความรู ความคิด ประสบการณและอารมณ ความรูสึกจากผูเขียนไปสูผูอาน โดยมีหลกั การเขยี นดังนี้ เนอื่ งจากหลักการเขียนเปนทักษะที่ตอ งมกี ารฝกฝนอยา งจริงจัง เพ่ือใหเกิดความรู ความชํานาญ และปอ งกนั ความผดิ พลาด ผูเขียนจําเปนตอ งใชหลกั ในการเขียนดงั ตอ ไปนี้ 1. มีความถูกตอ ง ใชภ าษาและมขี อมูลถูกตองเหมาะสมตามกาลเทศะ 2. มีความชัดเจน ใชภาษาหรือคําที่มีความหมายชัดเจน เพ่ือใหผูอานเขาใจได ตรงตามจุดประสงค 3. มคี วามกระชับ ไมใ ชค าํ ฟุม เฟอ ย เพอื่ ไมทําใหผ อู านเกดิ ความเบ่ือหนาย 4. มีความประทับใจ มีการใชคํา เพ่ือใหเกิดอารมณ จินตนาการหรือความรูสึก ประทบั ใจ ชว ยใหต ิดตามอานตอไป 1.2 ความสาํ คัญของการเขยี น สิ่งสาํ คญั ในการที่จะเปนนกั เขยี น คอื การรกั การอาน มีความอยากที่จะเขียน และ พัฒนา ฝกฝนอยางสมํ่าเสมอ งานเขียนที่ผูเขียนเขียนข้ึนมาและมีเนื้อหาถูกตอง มีความทันสมัย ไมวาจะเปนงานเขียนประเภทใดก็ยอมมีประโยชนตอผูอื่นและยังมีความสําคัญตอตนเองและ ประเทศชาติอีกดว ย ไดแก 1. ชว ยใหมีหนังสือประเภทตา ง ๆ ออกมาสทู องตลาดและแหลงคนควาทางความรู เชน หอ งสมุด หนงั สือบางเลม สามารถใชเ ปน แหลง ขอ มูลในการอา งองิ ไดอีกดวย 2. ชวยใหค นในชาติมีความรู มกี ารศึกษา รเู ทาทันเหตกุ ารณต าง ๆ 3. ชวยใหผูเขียนเกิดความรูและประสบการณในการสรางผลงานเขียนใหเปนท่ี ยอมรบั แกผ อู า นได 4. เปนความภาคภูมิใจในงานเขียนดี ๆ ที่ผูเขียนสรางสรรคไว ถึงแมวาหนังสือ บางเลมผเู ขยี นอาจจะเสียชีวิตไปแลว แตผ ลงานเขยี นยงั คงอยู

15 5. เปนการสรางรายได หาเลี้ยงชพี ได หากหนังสอื เลมนัน้ ขายได ขายดี หรือผลงาน เขียนดี 6. เปนการใชเวลาวา งใหเ กิดประโยชน เรอ่ื งที่ 2 การเขยี นภาษาไทย อักษรไทย เปนอักษรท่ีใชเขียนภาษาไทย มีพยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยุกต 4 รปู และเคร่ืองหมายอ่ืน ๆ อีกจํานวนหนึ่ง พยัญชนะไทยจะเรียงตัวไป ตามแนวนอน จากซายไปขวา สวนสระจะอยูหนา บน ลาง และหลังพยัญชนะ ประกอบคําแลวแตชนิดของสระ เรอ่ื งท่ี 3 การเขยี นสะกดคาํ การเขียนสะกดคํา หมายถึง การเรียงลําดับพยัญชนะ สระ วรรณยุกตให ถูกตองตามหลักภาษา และเปนคาํ ท่มี คี วามหมาย เชน คาํ พยญั ชนะ สระ ตวั สะกด วรรณยกุ ต แม ม แ -  มีความหมายวา หญงิ ผูใหก ําเนดิ บตุ ร แม ม แ - - มีความหมายวา เคีย้ ว ด่ืม ทาํ ใหห มดไป เร่อื งที่ 4 การเขยี นคาํ คลองจอง คําคลองจองหรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา คําสัมผัส หมายถึง คําที่ใชสระหรือ พยญั ชนะเสยี งเดียวกนั และถามีตัวสะกดจะตอ งมีตัวสะกดในมาตราเดียวกัน คําคลองจองมีหลายลักษณะในท่ีนี้จะขอกลาวถึงคําคลองจองตั้งแต 2 คํา หรือ 3 คํา เชน ช่ัวนา ตาป คอขาด บาดตาย รูมาก ยากนาน หมูไป ไกมา ยุใหรํา ตําใหร่ัว ขงิ กร็ า ขา กแ็ รง

16 เรื่องที่ 5 การเขียนในรูปประโยค ประโยค หมายถงึ การนาํ เอาคาํ หลาย ๆ คาํ มาเรียงตอกันเปนกลุมคํา และสื่อ ความหมายไดใจความท่ีสมบรู ณ ประโยคแตละประโยคจะประกอบดวยสองสวนเปน อยา งนอย คือ ภาคประธาน ภาคแสดง ดังน้ี ภาคประธาน ภาคแสดง ตวั อยาง ฉนั กนิ ขา ว ประธาน (ฉัน) กริยา (กนิ ขาว) แมวกัดหนู ประธาน (แมว) กรยิ า + กรรม (แมวกัดหนู) เรอื่ งท่ี 6 การเขยี นส่ือสารในชีวิตประจาํ วัน การเขียนเพ่ือติดตอสื่อสารเปนการนําความรูไปใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวัน จําเปน ตอ งฝกฝนใหเกดิ ความรู ความชาํ นาญ สามารถเขยี นเพื่อตดิ ตอ ไดถูกตอ งทงั้ รปู แบบ และถอ ยคาํ สํานวน เพื่อใหการส่อื สารเปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ การเขยี นเพอื่ ติดตอสื่อสาร อาจเขยี นไดในรูปแบบของ 1. การเขียนจดหมาย 2. การเขยี นประกาศ แถลงการณ 1. การเขียนจดหมาย การเขียนจดหมายชวยใหสามารถติดตอส่ือสารกันไดอยางสะดวกและประหยัด การเขียนจดหมายมีรูปแบบการเขียนที่แตกตางกันตามประเภทของจดหมาย สวนภาษาสําหรับ เขียนลงไปในจดหมายควรกระทัดรัด สละสลวย ใชคําสุภาพ และควรใชคําขึ้นตน คําลงทาย ตลอดจนใชส รรพนาม (คําท่ใี ชเรยี กแทน คน สัตว สง่ิ ของ) ใหถ ูกตองเหมาะสม กลวธิ ีในการเขยี นจดหมาย 1. เขียนดวยถอยคําตรงไปตรงมา แตไมหวน เพ่ือใหผูรับจดหมายไดทราบเร่ือง อยางรวดเร็ว การเขียนแบบน้ีมักใชในการเขียนจดหมายกิจธุระ และจดหมายธุรกิจ รวมท้ัง จดหมายราชการ 2. เขยี นเชิงสรางสรรค ควรเลือกเฟนถอยคําใหนาอาน เขียนดวยความระมัดระวัง การเขียนแบบน้ีใชกับจดหมายสว นตัว

17 มารยาทในการเขยี นจดหมาย 1. เลือกกระดาษและซองที่สะอาด ถาเปนกระดาษสคี วรใชส ีสภุ าพ 2. ไมเขียนดวยดินสอดําหรือหมึกสีแดง ไมขีดฆา ขูดลบ หรือเขียนทับลงไป พยายามเขียนใหช ัดเจน กะระยะใหข อความอยใู นทพ่ี อเหมาะกับหนากระดาษ 3. จดหมายท่ีเขียนติดตอเปนทางการตองศึกษาวาควรจะสงถึงใครใหถูกตอง ตามตําแหนงหนาทีแ่ ละสะกดช่ือ นามสกลุ ยศ ตาํ แหนง ของผนู ัน้ ใหถกู ตอง 4. การเขียนจดหมายตอ งแสดงความสาํ รวมใหม ากกวา การพูด 5. ใชค าํ ขึน้ ตน และคาํ ลงทายใหเหมาะสมแกผ ูร บั ตามธรรมเนียม 6. พับจดหมายใหเรียบรอย บรรจุซองและจาหนาซองใหชัดเจนที่มุมบนดาน ซา ยมอื ของซองจดหมายดวย 7. เม่ือไดรับจดหมายจากผูใดจะตองตอบรับโดยเร็วที่สุด การละเลยไมตอบ จดหมายเปน การเสยี มารยาทอยา งย่งิ ประเภทของจดหมาย แบงเปน 1. จดหมายสว นตัว : เปน จดหมายถึงเพื่อน ญาตพิ น่ี อง 2. จดหมายกิจธุระ : เปน จดหมายตดิ ตอ ธุระ 3. จดหมายธุรกิจ : เปนจดหมายตดิ ตอเพ่อื ประโยชนทางธุรกจิ การคา 4. จดหมายราชการ : เปนจดหมายหรอื เอกสารทใ่ี ชในการติดตอกับราชการ

18 1. ตัวอยา งจดหมายสว นตัว 25/5 ต.สม โอหวาน อ.ขาวสารขาว จ.ลกู สาวสวย 23000 16 กันยายน 2556 สวสั ดีจะดาวเพ่ือนรกั สบายดีหรือเปลาจะ สวนเดือนสบายดีจะ บานใหมของดาวหนาตาเปนยังไงนะ จะสวยเหมือนบานเกาของดาวหรือเปลา เดือนยังจําไดนะ วันท่ีดาวชวนเดือนไปเก็บมังคุด ท่ีบานวันน้ันเราเก็บกินกันสด ๆ เลยนะ นึกถึงยังสนุกไมหายโดยเฉพาะตอนท่ีเด็ดออกมา จากตน นะ ตอนนี้เดือนใกลจะเปดเทอมแลว เมื่อวานแมพาเดือนไปซ้ือชุดนักเรียนและอุปกรณ การเรยี นท่ีจําเปน แลวดาวละใกลเปดเรียนหรือยัง จะวาไปแลวชวงเวลาปดภาคเรียนนี่ชาง ผานไปรวดเร็วจริง ๆ เรายังไมไดไปเที่ยวที่ไหนเลยเพราะคุณพอคุณแมไมวาง แลวดาวละ ตอนปดภาคเรียนไปเที่ยวท่ีไหนบาง เขียนจดหมายมาเลาใหเดือนฟงบางนะ รวมท้ังเรื่องที่ โรงเรยี นดว ยเดอื นจะรออาน จดหมายของดาวนะจะ รกั เพอื่ นมากจะ เดือน

19 2. ตวั อยางจดหมายกิจธรุ ะ 86/35 หมู 11 ต.คูคต อ.ลําลกู กา จ.ปทุมธานี 12130 17 มกราคม 2557 เร่ือง ขอใชอาคารอเนกประสงค เรยี น นายก อบต.คคู ต สง่ิ ทีส่ งมาดวย ตารางการอบรม เนื่องดวยกลุมเยาวชนของหมูบานชอแกว จะจัดอบรมเก่ียวกับการใชรถใชถนน ใหกับเยาวชนในหมูบาน ระหวางวันท่ี 27 - 29 มกราคม 2557 แตยังขาดสถานที่ในการ อบรม ดังน้ัน ประธานกลุมเยาวชนหมูบานชอแกว จึงขออนุญาตใชสถานที่อาคาร อเนกประสงค ของ อบต.คูคต เพ่ือจัดกิจกรรมดังกลาว และหวังเปนอยางยิ่งวาคงจะไดรับ ความอนเุ คราะหจากทา นดว ยดี จึงเรยี นมาเพือ่ โปรดพิจารณา ขอแสดงความนับถือ (ลายเซน็ ต) หญิงลี สวยเสมอ (นางสาวหญงิ ลี สวยเสมอ) ประธานกลมุ เยาวชนหมูบานชอแกว โทร. 02 2177878

20 3. ตวั อยา งจดหมายธรุ กจิ โรงเรียนลาํ ปางกลั ยาณี ถนนพหลโยธนิ อ.เมือง จ.ลําปาง 52000 24 กันยายน 2556 เรยี น ผจู ดั การวสั ดุการศกึ ษา จํากดั ดวยทางโรงเรียนลําปางกัลยาณี มีความประสงคจะซ้ือสไลดประกอบการสอนวิชา ภาษาไทย ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน ตามรายการตอ ไปนี้ 1. ชุดความสนกุ ในวดั เบญจมบพิตร จํานวน 1 ชุด 2. รามเกียรตต์ิ อนศึกไมยราพ จํานวน 1 ชุด 3. แมศรีเรือน จาํ นวน 1 ชุด 4. ขอ คดิ จากการบวช จํานวน 1 ชุด 5. หนังตะลุง จาํ นวน 1 ชดุ ตามรายการท่ีสั่งซอื้ มาขา งตน ดฉิ ันอยากทราบวา รวมเปน เงนิ เทา ไร จะลดไดกี่เปอรเซ็นต และถาตกลงซื้อจะจดั สง ทางไปรษณยี ไดห รอื ไม หวงั วา ทา นคงจะแจง เกีย่ วกบั รายละเอียดใหทราบโดยดวน จึงขอขอบคุณมาในโอกาสนี้ ขอแสดงความนับถือ (ลายเซ็นต) สมใจ หย่ิงศักดิ์ (นางสาวสมใจ หย่ิงศักด)์ิ ผชู ว ยพสั ดหุ มวดวิชาภาษาไทย

21 4. ตวั อยา งจดหมายราชการ ท่ี ศธ 0210.06/1221 ศูนยเ ทคโนโลยีทางการศึกษา กรมการศึกษานอกโรงเรียน ถนนศรอี ยุธยา กทม. 10400 11 มกราคม 2556 เรยี น ขอเชญิ เปนวิทยากร เรยี น ผูช วยคณบดคี ณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกาํ แพงแสน ดวยศนู ยเทคโนโลยีทางการศึกษา กรมการศึกษานอกโรงเรียน กําลังดําเนินการจัด และผลิตรายการโทรทัศนเสริมหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน วิชาวิทยาศาสตร ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน เพื่อออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศนเพ่ือการศึกษาทางไกลไทยคม ชองการศึกษา 1 ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาจึงขอเรียนเชิญ อาจารยประสงค ตันพิชัย อาจารยป ระจําภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร ซึ่งเปนผูมีความรูและประสบการณ เรื่องเทคโนโลยีในการขยายพันธุพืชเปนวิทยากรบรรยายเร่ืองดังกลาว โดยจะบันทึกเทป ในวนั อังคารที่ 31 มกราคม 2556 จึงเรียนมาเพอ่ื ขอความอนุเคราะห และขอขอบคุณมาเปน อยางสงู มา ณ โอกาสน้ี ขอแสดงความนับถอื (ลายเซน็ ต) นายโกศล ชูชวย (นายโกศล ชูชว ย) ผูอ ํานวยการศูนยเ ทคโนโลยีทางการศึกษา ฝา ยผลติ รายการโทรทศั นเ พ่ือการศกึ ษาในระบบโรงเรียน โทร. 2461115 - 21

22 2. การเขียนประกาศและแถลงการณ มีจุดประสงคเดียวกัน คือ ตองการแจงขาวสาร ใหสาธารณชนทราบทางหนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน ปายประกาศ การเขียนมีการใชภาษาที่เปน แบบแผน และมีขัน้ ตอนการเขียนจะเริ่มตนบอกเหตุผลที่ตองแจง โดยลําดับเนื้อความวาใครหรือ หนวยงานใด มีแนวปฏิบัติอยา งไร เมื่อไร พรอ มวัน เวลา สถานที่ อยา งชดั เจน แตถาจะเปรียบเทียบกันแลว การเขียนประกาศจะมีตั้งแตเรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ ไปจนถึงเรื่องใหญ เชน ประกาศผไู ดรับรางวลั ประกาศภาวะฉกุ เฉินจากเหตุการณน ้ําทวม ฯลฯ แถลงการณ หมายถึง บรรดาขอความท่ีทางราชการแถลงเพื่อทําความเขาใจใน กจิ การของทางราชการหรือเหตุการณห รือกรณใี ด ๆ ใหทราบชดั เจนโดยทวั่ ไป 1. ตัวอยา งประกาศ

23 2. ตวั อยา งแถลงการณ

24 นอกจากการเขียนเพื่อติดตอส่ือสารโดยการเขียนจดหมาย การเขียนประกาศ แถลงการณแลว ผเู รียนควรจะเรยี นรวู ิธกี ารจดบนั ทึก การจดบันทึก หมายถึง การจดขอความ เร่อื งราว เหตุการณ เพื่อชวยความทรงจํา หรือเพื่อเปนหลกั ฐาน การจดบันทึก นับวา เปนทักษะในการเรียนทสี่ ําคัญและจําเปน มากสําหรับการเรียน ดว ยตนเอง เพราะในแตละภาคการเรียน ผูเรยี นจะตอ งเรยี นหลายวชิ า ซึ่งมีเนอ้ื หาสารหลากหลาย จาํ นวนมาก หากไมม ีเทคนคิ หรือเครือ่ งมือชว ยในการจาํ ท่ดี ีจะทําใหเกิดความสับสน และเม่ือตอง มกี ารทบทวนกอนสอบ บันทึกยอที่ทําไวจะเปนประโยชนอยา งยิง่ การจดบนั ทกึ แบงออกเปน 3 ประเภท คือ 1. การจดบนั ทึกจากการฟง 2. การจดบันทึกจากการอาน 3. การทําบันทกึ ยอจากบันทึกการฟงและบนั ทึกการอาน 1. การจดบันทกึ จากการฟง กอนจะบันทึกแตละคร้ังควรจดหัวขอที่จะบรรยาย ช่ือผูบรรยาย ผูสอน วิทยากร วัน เดือน ป ทุกคร้ัง ในระหวางที่ฟงคําบรรยาย อาจจะจดไมทันทุกคําพูด ผูจดบันทึก อาจจะตองใชคํายอ สัญลักษณที่จดจําไดงาย และสิ่งสําคัญหากจดบันทึกไมทันไมควรหยุดจด ใหสอบถามเพื่อน ๆ และจดตอไปจนจบการบรรยาย จากนั้นใหทบทวนส่ิงที่จดบันทึกไวทันที เพอื่ ชว ยใหไมลืมหรอื ลืมนอ ยลง 2. การจดบนั ทึกจากการอา น กอนจดบันทึกผูเรียนจะตองอานขอความ เร่ืองราว ท่ีจะจดบันทึกและจับ ใจความสําคัญของเรื่องใหไดวาวัตถุประสงคของขอเขียนน้ันคืออะไร มีคติหรือขอคิดท่ีผูอานสนใจ ก็ใหจดบันทึกไว นอกจากนั้นจะตองมีการเขียนอางอิงวาเอกสารหนังสือท่ีบันทึกช่ือหนังสืออะไร ใครเปนผูแ ตง แตงเมื่อใด 3. การทําบันทึกยอจากบันทึกการฟงและบันทึกการอาน คือ การสรุป สาระสําคัญของบันทึกคําบรรยาย บันทึกจากการอาน เน้ือหาจึงส้ัน กะทัดรัดมีใจความสําคัญ ครบถวน อานงา ย บนั ทกึ ยอ เปนสิง่ ทผ่ี ูเรียนควรจะทาํ เปน อยางยิ่ง ผูเรียนจะไดประโยชนจากการ บนั ทกึ ยอ ดังตอ ไปน้ี 1. ฝกทักษะในการจับประเดน็ สําคญั 2. สะดวกในการใชเมอื่ มเี วลาจาํ กัด เชน อานทบทวนกอนสอบ

25 3. มโี อกาสในการฝก ฝนความคดิ การใชส าํ นวนภาษา เม่อื มีการจดบนั ทึก อยา งสม่ําเสมอ เร่อื งท่ี 7 การเขียนเรยี งความ ยอ ความ 7.1 การเขียนเรียงความ การเขียนเรียงความ เปนการเขียนท่ีตองการถายทอดเร่ืองราว ความรู ความคิด หรือทัศนคติในเรือ่ งใดเร่ืองหนึ่งดว ยถอ ยคาํ สาํ นวนท่ีเรยี บเรยี งอยา งมีลาํ ดับขนั้ และสละสลวย องคประกอบของการเขียนเรียงความ มี 3 สวนใหญ ๆ คือ 1. คํานํา เปนสวนแรกของเรียงความ ทําหนาที่เปดประเด็นดึงดูดความสนใจ ใหผ อู า นสนใจอานท้ังเร่ือง 2. เนื้อเรอ่ื ง เปนสวนท่ีสําคัญและยาวท่ีสุดของเรียงความจะประกอบดวยความรู ความคิด และขอมูลที่ผูเรียนคนควาและเรียบเรียงอยางเปนระบบระเบียบ ในการเขียนอาจจะมี การยกตวั อยา ง การอธิบาย หรอื ยกโวหารตาง ๆ มาประกอบดว ยโดยอาจจะมหี ลายยอหนา กไ็ ด 3. สรุป เปนสวนสุดทายหรือยอหนาสุดทายในการเขียนเรียงความ ผูเขียนจะ ทิ้งทายใหผูอานเกิดความประทับใจ เชน ฝากขอคิด ชักชวนใหปฏิบัติตาม ต้ังคําถามใหผูอาน คิดหาคําตอบ 7.2 การยอ ความ การยอความ คือ การเก็บเนื้อความหรือใจความสําคัญในเรื่องใดเร่ืองหนึ่งอยางถูกตอง ครบบริบูรณต ามตวั เรอ่ื ง แลว นาํ มาเรียบเรยี งใหม เปน ขอความส้นั กะทัดรัด โดยไมใหความหมาย เปล่ียนแปลงไปจากเดมิ หลกั การเขยี นยอ ความ มีดังน้ี 1. อา นเรือ่ งที่จะยอความใหจบอยางนอย 2 ครั้ง เพื่อใหทราบวาเรื่องนั้นกลาวถึง ใคร ทาํ อะไร ทไี่ หน อยา งไร เม่ือไร และผลเปนอยา งไร 2. บันทึกใจความสําคญั ของเร่ืองท่ีอาน แลวนํามาเขียนเรียบเรียงใหมดวยสํานวน ของตนเอง

26 รูปแบบการเขียนยอความ 1. การยอนิทาน นิยาย ใหบอกประเภท ชื่อเรื่อง ผูแตง ที่มาของเร่ืองเทาที่ทราบ เชน ยอนิทานเร่อื ง ............................. ของ ............................ จาก ........................... ความวา ........................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................... 2. การยอคําสอน คํากลาวปาฐกถา ใหบอกประเภท ชื่อเรื่อง เจาของเร่ือง ผูฟง สถานท่ี และเวลา เทาท่ีจะทราบได เชน ยอ คําสอนเรือ่ ง ............................. ของ ........................... จาก .......................... หนา ..................................... ความวา ......................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3. การยอ บทความ ใหบอกประเภท ช่อื เรอื่ ง เจา ของเร่ือง ทีม่ าของเร่อื ง เชน ยอ ความเรอื่ ง ................................ ของ ......................... จาก ........................... ฉบับท่ี .......................... หนา ........................ ความวา .............................................................. ..................................................................................................................................................... เรื่องท่ี 8 การเขียนรายงาน การคนควา และการอา งองิ 8.1 การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน คือ การเขียนเลาถึงส่ิงที่ไดพบเห็นหรือไดกระทํามาแลว เชน การคน ควา การไปศกึ ษานอกสถานท่ี การไปประชมุ การประสบเหตุการณท ส่ี ําคญั เปนตน ลักษณะของรายงานคลายยอความ แบบการเขียนรายงานไมมีขอกําหนดตายตัว แตเทา ท่ีศกึ ษาคนความาสรปุ ไดวา การเขียนรายงานควรมี 3 สว น ดังน้ี 1. สวนหนา ประกอบดวย หนาปก ใบรองปกหนา (กระดาษเปลา) หนาปกใน หนา คํานาํ หนา สารบญั 2. สว นกลาง ประกอบดวย เนอ้ื เร่ือง เชงิ อรรถ (การอา งอิงขอ มูล) 3. สวนทาย ประกอบดวย บรรณานุกรม ภาคผนวก ใบรองปกหลัง (กระดาษเปลา) ปกหลัง

27 ตวั อยา งสวนประกอบของรายงาน 1. หนาปก ควรใชกระดาษหนาพิเศษ และมขี อ ความดังตอไปนี้ ชอ่ื เรอื่ ง ชอ่ื ผทู ํารายงาน ช่อื วชิ า ช่ือสถานศกึ ษา ภาคการเรยี น ปการศกึ ษา ตวั อยา ง เรอ่ื ง การเลีย้ งไก เสนอ อาจารยก บ กนิ งาย นําเสนอโดย หญงิ ลี สวยเสมอ ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2554 รายงานน้ีเปนสวนหนงึ่ ของวิชาเกษตร โรงเรยี นวดั สาวชะโงก 2. หนาปกใน วางอยตู อ จากหนา ปก ใชกระดาษบาง มขี อความคลายกับหนาปก 3. คํานํา วางอยหู นาถัดจากหนา ปกใน เปนขอความกลาวเกริ่นนําเพื่อใหผูอานเขาใจ ขอบเขตและท่มี าของการทํารายงานน้ัน ๆ บางรายงานอาจจะกลาวงถงึ การขอบคุณผูใหความรวมมือ ในการเขียนรายงานน้นั ๆ ใหสาํ เร็จ ควรลงชอ่ื และวนั ท่ีเขียนคํานําดว ย คํานาํ การเล้ียงสัตวเปนการทําการเกษตรอยางหน่ึงที่ ..................................................................................... ..................................................................................... หญงิ ลี สวยเสมอ 28 มกราคม 2557

28 4. สารบญั เปนสวนท่ีบอกวา ตาํ แหนงของขอ มูลหรอื เรอ่ื งราวตาง ๆ วางอยูหนาใด ของรายงาน เพ่อื ใหง ายตอการพลิกหาขอ มูลในรายงานฉบับนั้น ๆ สารบัญ หนา เรื่อง 1 บทนํา .............................................. 2 การเล้ียงสัตว ................................... 3 การเกษตร ....................................... 5 ข้ันตอนการเลย้ี ง .............................. 15 สรปุ ................................................. 5. เนื้อหา 6. สรุป 7. อา งอิง หรอื บรรณานกุ รม 8.2 การคน ควา การคนควา หมายถึง การแสวงหาความรูที่อยูรอบตัวเรามิใชมีเพียงในตํารา หรือ คําบรรยายเทาน้ัน ดังน้ันการเขียนรายงานจากการคนควาจึงเปนเรื่องที่ใกลเคียงกัน น่ัน หมายความวา หลงั จากทไ่ี ดขอมลู จากการคน ความาแลวก็นํามาเขียนเปน รายงาน หลังจากท่ีไดขอมูลในการเขียนรายงานแลว ผูเขียนรายงานจะตองมีการเขียน อา งอิงขอ มลู ท่ีไดจ ากการศกึ ษาคนควาและนาํ มาเขยี นเปนรายงาน ทําใหผ ลงานนาเช่ือถือ เปนการ ใหเ กยี รติผเู ขียน 8.3 การอางองิ การอา งอิง หมายถงึ การบอกแหลงท่ีมาของขอความที่ใชอางอิงในเน้ือหาท่ีนํามาเขียน เรยี บเรียง เชน วีระศกั ด์ิ จงสวู วิ ฒั นว งศ (2549) พบวา .................................................................. ........................................................................................................................................................

29 เรอื่ งที่ 9 มารยาทในการเขียนและนสิ ัยรักการเขียน 9.1 มารยาทในการเขียน มดี งั นี้ 1. รักษาความสะอาดเปน ระเบยี บเรยี บรอ ยในการเขยี นทกุ ครัง้ 2. เขียนใหอ า นงาย ชัดเจน อยาเขียนใหอ านหวดั จนเกนิ ไป 3. เขียนใหถ กู หลักการเขียน มียอหนา เวนวรรค ชองไฟใหเ หมาะสม 4. ใชถ อ ยคํา สํานวนสุภาพ เหมาะสม ไมใ ชสํานวนหยาบโลน หรอื เขยี น เพ่ือมุงเนน ทําลายผูอน่ื 5. เขียนสะกดการนั ต วรรณยกุ ตใ หถกู ตอง 6. ผูเขียนตองรบั ผิดชอบในขอ ความทน่ี ําเสนอ 7. ไมค วรเขียนเลอะเทอะตามผนงั กําแพง เสาไฟฟา หรอื ทส่ี าธารณะตาง ๆ 8. ไมควรเขียนโดยปราศจากความรูเก่ียวกับเร่ืองน้ัน ๆ เพราะอาจจะเกิดความ ผดิ พลาด 9.2 การสรา งนิสยั รกั การเขยี น ผูเรียนจะเขียนไมได ถาไมตั้งเปาหมายในการเขียนไวลวงหนาวาจะเขียนอะไร เขียนทําไม การศึกษาคนควารวบรวมขอมูลอยูสมํ่าเสมอ จะทําใหผูเขียนมีความสนใจท่ีจะเขียน เพราะมีองคความรูท่ีพรอมในการท่ีจะเขียน ฉะน้ัน การสรางนิสัยรักการเขียนตองเร่ิมจากเปน ผหู มั่นแสวงหาความรู มีใจรกั ทจี่ ะเขยี น เหน็ ประโยชนข องการเขยี นและหมั่นฝก ฝนการเขยี นบอย ๆ กิจกรรมทายบทที่ 4 กจิ กรรมที่ 1 ใหผ ูเรียนเตมิ คาํ คลอ งจองในชองวา งใหไดประโยคที่สมบูรณ (5 คะแนน) ปูนา _ _ รมู าก _ _ ยใุ หรํา _ _ _ พอ ของฉัน _ _ _ ชอบเร่ืองราว _ _ _ ไปตลาด _ _ _ อยากพบพาน _ _ _ ขิงกร็ า _ _ _ ไมข ดั แยง _ _ _

30 กจิ กรรมที่ 2 การบันทกึ จากการอาน ใหผูเรียนอานบทความตอไปนี้ แลวดําเนินการจดบันทึกการอานตามหลักการ จดบนั ทึกใหถ ูกตอ ง (5 คะแนน) “ขนุนเพชรเนอื้ ทอง” ยางนอยอรอยราคาดี ขนุนชนิดน้ี เกิดจากการเอาเมล็ดของขนุนสายพันธุท่ีดีท่ีสุด แตไมระบุวาช่ือพันธุอะไร จาํ นวนหลายเมลด็ ไปเพาะเปนตนกลา แลวแยกตนไปปลูกเลี้ยงจนตนโต มีดอกติดผล ซ่ึงมีอยูตน หนึง่ ลักษณะตนและรูปทรงของผลแตกตางจากพันธุแมด้ังเดิมอยางชัดเจน เมื่อนําเอาผลสุกผาดู เนอ้ื ใน ปรากฏวาทง้ั ผลแทบไมมยี างตดิ มอื เลย หรือหากมกี น็ อ ยมาก เนอื้ สุกเปนสีเหลืองเขมหรือสี เหลืองทอง เนื้อมีความหนาระหวาง 0.5-1.2 ซม. เน้ือกรอบไมน่ิมหรือเละ มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว เมล็ดกับไสกลางเลก็ วดั ความหวานของเนือ้ ไดประมาณ 24-28 องศาบริกซ รับประทานอรอยมาก ผลโตเต็มที่มีน้ําหนักเฉลี่ย 13-20 กโิ ลกรัม เจาของผูเ พาะขยายพนั ธุเชื่อวาเปนขนุนกลายพันธุหรือ เปนขนุนพันธใุ หม จึงขยายพนั ธปุ ลกู ทดสอบความนิ่งของสายพันธุอยูหลายวิธี และเปนเวลานาน ทุกอยางยังคงทไ่ี มเปลี่ยนแปลงไดกลายพันธุแบบถาวรแลว เลยนําเอาพันธุไปขอจดทะเบียนพันธุ พรอมตั้งชอื่ วา “ขนุนเพชรเน้ือทอง” ดังกลาว และไดสงเขาประกวด ไดรับรางวัลชนะเลิศในงาน เกษตรของ จ.ปราจีนบรุ ี การนั ตีถึง 2 ปซ อน ขอ มูลจากหนงั สอื พิมพไ ทยรฐั วันพทุ ธที่ 16 ธนั วาคม พ.ศ.2558 กิจกรรมที่ 3 ใหผูเรียนเขียนเรียงความ เรื่อง “แนวทางการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง” มีความยาวไมเ กนิ 1 หนา กระดาษ (10 คะแนน) กิจกรรมที่ 4 ใหผูเรียนบอกมารยาทในการอานและการสรางนสิ ยั รกั การอา น (5 คะแนน)

31 บทท่ี 5 หลกั การใชภาษา เรื่องที่ 1 เสยี ง รูปอักษรไทย และไตรยางค 1.1 เสยี งพยญั ชนะ เสยี งพยญั ชนะมี 21 เสียง และมรี ปู พยัญชนะ ดังน้ี เสียงพยัญชนะ รูปพยญั ชนะ ก - กอ ก ค - คอ ง - งอ ขฃคฅฆ จ - จอ ง ช - ชอ จ ซ - ซอ ด - ดอ ชฌฉ ต - ตอ ซสศษ ท - ทอ น - นอ ดฎ บ - บอ ตฏ ฟ - ฟอ ทธฑฒถฐ พ - พอ นณ ฝ - ฝอ บ ม - มอ ฟ ย - ยอ พ ภผ ร - รอ ฟฝ ล - ลอ ม ว - วอ ย ฮ - ฮอ ร อ – ออ ล ว ฮห อ

32 พยัญชนะตนของคําบางคํามีการนําพยัญชนะมารวมกันแลวออกเสียงพรอมกัน เรียกวา “เสยี งควบกลาํ้ ” มที ใ่ี ชกนั เปนตวั อยางไดด ังน้ี 1. กว เชน แกวง / ไกว 2. กร เชน กรอบ / กรุง 3. กล เชน กลอง / กลบั 4. คว เชน ควาย / ควา 5. คร เชน ใคร / ครวญ 6. คล เชน คลอย / เคลิ้ม 7. พร เชน พระ / โพรง 8. พล เชน พลอย / เพลง 9. ปร เชน ปราบ / โปรด 10. ปล เชน ปลกุ / ปลอบ 11. ตร เชน ตรวจ / ตรอก 12. ทร เชน จันทรา / ทรานซิสเตอร 13. ฟร เชน เฟรน / ฟรี 14. ฟล เชน ฟลุก / แฟลต 15. บล เชน บล็อก / เบลอ 16. ดร เชน ดราฟท

33 1.2 เสียงสระ มี 24 เสยี ง โดยแบงเปนเสียงสั้นและเสียงยาว สระเสียงสัน้ สระเสียงยาว อะ อา อิ อี อึ อื อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ สระเสียงสน้ั สระเสียงยาว เอาะ ออ เออะ เออ เอยี ะ เอีย เออื ะ เอือ อวั ะ อวั 1.3 เสียงวรรณยกุ ต มี 5 เสยี ง คอื เสยี งสามัญ เชน กา เสยี งเอก เชน กา เสยี งโท เชน กา เสียงตรี เชน กา เสยี งจตั วา เชน กา คาํ ไทยทุกคํามีเสยี งวรรณยุกต แตอ าจไมม รี ปู วรรณยุกต เชน ขอ หนู หู ตงึ ขอ มเี สียงจัตวา หนู มเี สียงจัตวา หู มีเสียงจตั วา ตึง มีเสยี งสามัญ 1.4 ไตรยางค คอื อักษร 3 หมู ซงึ่ แบงตามเสียง ดังนี้ 1. อักษรสงู มี 11 ตวั คือ ข ข ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห 2. อกั ษรกลางมี 9 ตวั คอื ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ 3. อักษรตํา่ มี 24 ตัว คือ ค ฃ ฆ ง ช ซ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ นพฟภมยรลวฬฮ

34 ตัวอยา งการผนั วรรณยกุ ต อกั ษร 3 หมู เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสยี งจตั วา กา กา กา อกั ษรกลาง กา กา กะ กะ - ขา - ขา - กะ - - คา คา - อกั ษรสูง - ขา คะ คะ - - อกั ษรต่ํา คา - -- เร่ืองท่ี 2 ความหมายและหนา ทขี่ องคาํ กลุมคํา และประโยค 2.1 คํา หมายถึง เสียงท่ีเปลงออกมาแลวมีความหมาย จะมีก่ีพยางคก็ได เชน ไก ขนม นาฬิกา เปน ตน พยางค หมายถึง เสียงที่เปลงออกมาคร้ังหนึ่ง จะมีความหมายหรือไมมีก็ได เสียงท่ี เปลงออกมา 1 ครั้งก็นับวา 1 พยางค เชน นาฬิกา มี 3 พยางค แตมี 1 คํา แมนํ้า มี 2 พยางค แตม ี 1 คํา มคี วามหมายวา ลาํ นา้ํ ใหญ ซง่ึ เปน ทร่ี วมของลาํ ธารท้ังปวง 2.2 ชนิดของคํา คําท่ีใชในภาษาไทยมี 7 ชนิด คือ คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คาํ วเิ ศษณ คาํ บพุ บท คาํ สนั ธาน และคําอทุ าน ซง่ึ คาํ แตละชนดิ มีหนา ท่แี ตกตางกันดังนี้ 1. คํานาม คือ คําที่ใชเรียกชื่อ คน สัตว สิ่งของ สถานท่ี และคําที่บอกกิริยา อาการหรอื ลกั ษณะตาง ๆ ทาํ หนา ที่เปนประธานหรือกรรมของประโยค ตวั อยาง คาํ ทเ่ี รยี กช่อื ทั่วไป เชน เรียกชือ่ สตั วว า แมว ชา ง หมู เปนตน เรยี กชื่อส่ิงของวา ดินสอ พัดลม โตะ เปนตน คาํ เรียกชื่อบคุ คล เขน สมศักดิ์ พรทิพย สุดา เปน ตน คาํ เรยี กชอ่ื สถานที่ เชน กรุงเทพมหานคร สาํ นักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี เปน ตน คําท่ีเรียกการรวมกันเปนหมู กลุม (สมุดนาม) เชน ฝูง พวก กรม กอง โขลง เปนตน คําที่ใชบ อกอาการ (อาการนาม) จะมีการหรือความนําหนา เชน การเรียน การพูด ความดี ความรกั เปน ตน

35 คําที่ใชบอกลักษณะ (ลักษณะนาม) ของคําถามนั้น ๆ เชน นาฬิกา 3 เรือน วัว 3 ตัว บาน 3 หลัง ชาง 3 เชอื ก ป 3 เลา หนังสอื 10 เลม เปน ตน 2. คาํ สรรพนาม คือ คําท่ใี ชแ ทนคํานามทก่ี ลาวมาแลว เพือ่ ไมตอ งการกลาวซํา้ ตัวอยาง สรรพนามแทนผูพูด เชน ขา ขา พเจา ผม เรา ฉัน เราเปน นกั ศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา เราตองมาเรียนทุกครั้ง ขาพเจาเรียนจะจบ แลว เปน ตน สรรพนามแทนผูฟ ง เชน ทาน เอ็ง เธอ เชน ทา นจะไปไหน เปน ตน สรรพนามแทนผูท่ีกลาวถงึ เชน เขา มัน เชน เขายังไมมา มันเปน ใคร เปน ตน สรรพนามที่บอกใหทราบความใกล ไกล เชน นี่ โนน นั่น เชน น่ีเปนหนังสือ ของพวกเขา หนงั สือของพวกเราอยูน น่ั เปน ตน สรรพนามท่ีใชเปนคําถาม เชน ใคร อะไร ท่ีไหน อันไหน เชน ใครมา ทา นทําอะไร เธอจะไปไหน สมดุ เลม ไหนเปนของเธอ เปนตน 3. คํากิริยา คอื คาํ ที่บอกการกระทาํ เชน กนิ นอน นง่ั เดนิ แสดงการกระทํา ของคาํ นามน้นั ๆ โดยอยตู อจากประธานของประโยค คํากริยาท่ีตองมีกรรม (สกรรมกริยา) มารับขางทายจึงจะมีใจความสมบูรณ เชน ผูเรียนอา นหนงั สือ เราทาํ รายงานสง อาจารย พวกเขากาํ ลังทาํ งานกลุม อาทิตยหนาพวกเราจะ ทบทวนบทเรียนกันกอ นสอบ คํากรยิ าที่ไมตองมีกรรมมารับขางทาย (อกรรมกริยา) ประโยคนี้ก็ไดใจความแลว เชน นกรอ ง เราวิ่ง พวกเขาเดินเรว็ เปนตน คํากริยาท่ีตองมีสวนเติมเต็มจึงจะมีใจความสมบูรณ เชน ฉันเปนแมบาน เธออยูภเู ก็ต เราคือเธอ เปนตน 4. คําวิเศษณ คือ คําที่ใชประกอบคํานาม คําสรรพนาม และคํากริยา เพ่ือบอก ลกั ษณะหรอื รายละเอยี ดของคาํ นน้ั ๆ คําวิเศษณสว นมากจะวางอยูหลังคําที่ตองการบอกลักษณะ หรอื รายละเอียด ตวั อยา ง คําวเิ ศษณ ไดแ ก สงู ต่ํา ดาํ ขาว แก รอ น เยน็ เลก็ ใหญ ฯลฯ เขาใสเ สอ้ื สีแดง ขา วรอ น ๆ สกั จาน จม๋ิ เรียนหนังสอื เกง บานหลงั ใหญแตร ถคันเลก็ คนตวั สงู วิง่ เร็ว คนอว นเดนิ ชา

36 5. คําบุพบท คือ คําท่แี สดงความสมั พันธร ะหวา งประโยคหรือคําหนา กับประโยค หรอื คาํ หลงั ตัวอยา ง บอกสถานท่ี เชน ใน นอก บน ลา ง ใต ใกล ไกล เปน ตน เสื้อผา อยูในตู เกาอ้อี ยใู ตโตะ นกเกาะบนตนไม บา นเราอยใู กลโรงเรยี น เปนตน 6. คําสนั ธาน คอื คําท่ีเชือ่ มขอ ความหรือประโยคใหเปน เร่ืองเดยี วกนั ตวั อยาง เช่ือมความขัดแยง กนั เชน แต พไ่ี ปโรงเรียนแตน องอยูบาน กวา ..........ก็ กวา ถัว่ จะสุกงากไ็ หม ถงึ ............ก็ ถึงใคร ๆ จะบอกวาฉันเกง ฉันกอ็ านหนังสือทกุ วนั เช่ือมความทคี่ ลอยตามกนั เชน กบั พอ กับแมไปเยีย่ มยาย พอ...........ก็ พอฝนหยดุ ตกทองฟากแ็ จมใส คร้นั .........ก็ คร้นั พายมุ าฝนกต็ ามมา เชื่อมความทเ่ี ปน เหตุผลกนั เชน เพราะ เพราะฉันต้งั ใจเรียนจึงทําขอสอบได เน่อื งจาก..........จงึ เนอ่ื งจากผมตอ งการมคี วามรเู พิ่มเตมิ จงึ มาเรียน กศน. ฉะนั้น เรามาเรยี นแลว ฉะนั้นตองต้งั ใจเรยี น 7. คําอุทาน คือ คาํ ทเี่ ปลงออกมา แสดงถึงอารมณหรือความรูสึกของผูพูด มักอยู หนา ประโยคและใชเ ครื่องหมายอัศเจรีย ( ! ) กํากบั หลงั คําอุทาน ตวั อยา ง คาํ อทุ าน ไดแก โธ! อยุ ! เอา! อา! 2.3 กลุมคําหรือวลี คือ คําท่ีเรียงกันต้ังแต 2 คําขึ้นไป บอกความหมายแตไมสมบูรณ ครบถวน ไมเ ปน ประโยค เชน ไปโรงเรยี น ตื่นแตเ ชา ดอกกุหลาบสแี ดง บานหลงั ใหญ เปนตน 2.4 ประโยค คอื ถอ ยคําท่เี รยี บเรียงข้ึนไดใจความสมบูรณ ใหรูวา ใคร ทําอะไร อยางไร ในประโยคอยางนอ ยตองประกอบดวยประธานและกริยา 2.5 โครงสรา งของประโยค ประโยคจะสมบูรณได จะตองประกอบดวย 2 สวน คือ สวนที่เปนภาคประธาน และสว นทเ่ี ปนภาคแสดง สว นทีเ่ ปนภาคประธาน แบง ออกเปน ประธาน และสวนขยาย สว นทเี่ ปน การแสดง แบง ออกเปน กริยา สว นขยาย กรรม สวนขยาย

37 ตัวอยา ง ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง ประธาน สว นขยาย กรยิ า สว นขยาย กรรม สวนขยาย เดก็ เดิน เดก็ - เดนิ - - - พอกินขา ว พอ - กนิ - ขาว - พี่คนโตกินขนม พ่ี คนโต กนิ - ขนม - แมของฉนั ว่งิ ทุกเชา แม ของฉัน วง่ิ ทุกเชา - - ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง ประธาน สว นขยาย กรยิ า สว นขยาย กรรม สวนขยาย สุนขั ตัวใหญไ ลก ัด สนุ ขั ตัวใหญ ไล กดั สุนขั ตัวเล็ก สนุ ัขตวั เลก็ นกั เรยี น หญิง เลน - ดนตรี ไทย นักเรยี นหญงิ เลน ดนตรีไทย การใชป ระโยคในการส่ือสาร ประโยคท่ีใชใ นการสื่อสารระหวา งผูสื่อสาร (ผูพูด) กับผูร ับสาร (ผูฟ ง , ผูอานและผูดู) เพ่อื ใหมีความเขาใจตรงกันนั้น จําเปน ตองเลือกใชป ระโยคใหเหมาะสมกับการสื่อสาร ซึ่งจําแนก ไดด ังน้ี 1. ประโยคบอกเลา เปน ประโยคท่ีบอกเร่ืองราวตาง ๆ ใหผูอ่ืนทราบวา ใคร ทําอะไร ทีไ่ หน เมือ่ ใด ทาํ อยางไร เชน คุณพอชอบเลนฟตุ บอล นองชายเรียนหนังสือเกง ผมทํางานทุกวัน 2. ประโยคปฏิเสธ เปนประโยคทม่ี ใี จความไมต อบรับ มักมีคําวา ไม ไมใ ช ไมไ ด มิได เชน ฉันไมช อบเดินกลางแดด บานนี้ไมใชของสมชาย เราไมไดชวนเขาไปเท่ียว ครูมิไดกลาวโทษ นักเรยี น 3. ประโยคคําถาม เปน ประโยคที่มีใจความเปนคําถามซึ่งตอ งการคําตอบ มักจะมีคําวา ใคร อะไร เมื่อไร เหตุใด เทา ไร วางอยูตนประโยคหรือทายประโยค เชน ใครขโมยปากกาไป ปลาชอ นตัวนม้ี นี า้ํ หนกั เทา ไร

38 4. ประโยคแสดงความตอ งการ เปนประโยคท่ีมีใจความที่แสดงความอยากได อยากมี หรืออยากเปน มักจะมีคําวา อยาก ตองการ ปรารถนา เชน นักเรียนไมอยากไปโรงเรียน หมอ ตองการรกั ษาคนไขใหห ายเร็ว ๆ เราปรารถนาเรียนตอ มัธยมศึกษาจนจบ 5. ประโยคขอรอง เปน ประโยคที่มีใจความ ชักชวน ขอรอ ง มักจะมีคําวา โปรด วาน กรุณา ชว ย เชน โปรดใหค วามชว ยเหลอื อีกคร้ัง ชว ยยกกลอ งนีไ้ ปดว ย 6. ประโยคคําสั่ง เปน ประโยคท่ีมีใจความท่ีบอกใหท ําสิ่งใดสิ่งหน่ึง หรือหา มทํา ไมใหท ํา เชน นายสมศกั ดิต์ องไปจงั หวดั ระยอง บุคคลภายนอกหามเขา เด็กทุกคนอยา เลน เสียงดงั เรือ่ งท่ี 3 เคร่อื งหมายวรรคตอนและอกั ษรยอ 3.1 เคร่อื งหมายวรรคตอน การใชเครื่องหมายในภาษาไทย นอกจากจะเขา ใจในเร่ืองการเวนวรรคตอนแลว ยงั มเี คร่อื งหมายอ่ืน ๆ อีกมากทงั้ ท่ใี ชแ ละไมคอ ยไดใช ไดแก ลําดับ เครอื่ งหมาย วิธีการใช 1.  จุลภาค ใชค่ันระหวางคํา หรือคั่นกลุมคํา หรือค่ันช่ือเฉพาะ เชน ดี , เลว 2.  มหพั ภาค ใชเขียนจบขอความประโยค และเขียนหลังตัวอักษรยอหรือ ตวั เลขหรือกํากบั อกั ษรขอ ยอย เชน มี.ค. , ด.ช. , 1. นาม , ก. คน ข.สตั ว , 10.50 บาท , 08.20 น. 3. ? ปรัศนี ใชกับขอ ความทเี่ ปน คําถาม เชน ปลาตัวนร้ี าคาเทา ไร? 4. ! อัศเจรยี  ใชกบั คําอุทาน หรือขอความทีแ่ สดงอารมณตาง ๆ เชน อุย ตา ย ตาย! พุทธโธเ อย! อนิจจา! 5. ( ) นขลิขิต ใชค น่ั ขอ ความอธิบายหรือขยายความขา งหนาใหแจมแจง เชน นกมหี หู นมู ีปก (คา งคาว) ธ.ค. (ธันวาคม) 6. ___ สญั ประกาศ ใชข ีดใตขอความสําคัญ หรือขอ ความที่ใหผูอานสังเกตุเปน พิเศษ เชน งานเร่ิมเวลา 10.00 น. 7. “ ” อัญประกาศ ใชสาํ หรับเขียนครอมคาํ หรือขอความ เพอื่ แสดงวาขอ ความน้นั เปนคําพูดหรอื เพอื่ เนนความนัน้ ใหเดนชัดขึน้ เชน “พูดไปสองไพเบ้ีย นงิ่ เสียตาํ ลึงทอง”

39 ลําดบั เครอื่ งหมาย วธิ ีการใช 8. – ยตั ภิ งั ค ใชเขียนระหวางคําที่ เขียนแยกพยางคกันเพ่ือใหรูพยางคหนา กับพยางคหลังนน้ั ตดิ กันหรือเปนคําเดียวกัน คําที่เขียนแยกนั้น จะอยูในบรรทัดเดียวกันหรือตางบรรทัดกันก็ได เชน ตัวอยาง คําวา ฎีกา ในกรณีคําอยูในบรรทัดเดียว เชน คําวา สัปดาห อา นวา สับ - ดา 9. ..... เสน ไขป ลา ใชแสดงชอ งวา งเพื่อใหเติมคําตอบ หรือใชละขอความ ที่ไมต หรอื องการเขียน เชน ไอ .......า ! หรือละขอความที่ยกมาเพียง เสน ปรุ บางสวนหรอื ใชแสดงสว นสมั ผัสทไ่ี มบ ังคับของคาํ ประพันธ 10. ๆ ไมยมก ใชเ ขียนเพ่ือซ้ําคํา ซํ้าวลี ซ้ําประโยคสั้น ๆ เชน ดํา ๆ แดง ๆ วนั หนง่ึ ๆ ทลี ะนอ ย ๆ พอ มาแลว ๆ 11. ฯลฯ ไปยาลใหญ ใชล ะขอความตอนปลายหรือตอนกลาง เชน สตั วพ าหนะ ไดแ ก (เปยยาลใหญ) ชาง มา วัว ควาย ฯลฯ 12. ฯ ไปยาลนอย ใชล ะบางสวนของคําที่เนนช่ือเฉพาะและรูจักกันดีแลว เชน (เปยยาลนอ ย) อุดรฯ กรงุ เทพฯ 13. ” บุพสัญญา ใชเ ขยี นแทนคาํ ทตี่ รงกันกับคาํ ขางบน เชน ซ้อื มา 3 บาท ขายไป 5” 14. ๏ ฟองมัน ใชเ ขยี นข้ึนตน บทยอยของคํารอยกรอง ปจ จบุ นั ไมนยิ มใช 15. มหรรถสัญญา ขน้ึ บรรทัดใหมใหตรงยอหนาแรก หรอื ยอ หนา 16. เวน วรรค ใชแ ยกคําหรือความที่ไมต อเน่ืองกัน ซ่ึงแบง เปน เวนวรรคใหญ จะใชก ับขอ ความท่ีเปน ประโยคยาว หรือประโยคความซอน และเวน วรรคนอยใชก ับขอ ความที่ใชต ัวเลขประกอบหนาหลัง อักษรยอหรือยศ ตาํ แหนง

40 3.2 อกั ษรยอ อักษรยอ หมายถึง พยัญชนะท่ีใชแทนคําหรือขอความยาว ๆ เพ่ือประหยัดเวลา เนื้อที่ และสะดวกตอการเขียน การพูด ประโยชนข องการใชค ํายอ จะทําใหส ื่อสารไดส ะดวก รวดเร็ว แตก ารใชจะตอ ง เขา ใจความหมายและคําอา นของคํานั้น ๆ คํายอแตละคําจะตอ งมีการประกาศเปน ทางการ ใหทราบท่วั กนั เพอื่ ความเขา ใจทีต่ รงกัน ปจจุบนั มีมากมายหลายคําดวยกนั วธิ ีการอา นคํายอ จะอานคํายอหรือคาํ เตม็ กไ็ ดแลวแตโอกาส ตัวอยาง 1. อักษรยอ ของเดือน ม.ค. ยอมาจาก มกราคม อา นวา มะ-กะ-รา-คม ก.พ. ยอ มาจาก กุมภาพนั ธ อานวา กุม-พา-พนั มี.ค. ยอมาจาก มนี าคม อานวา ม-ี นา-คม 2. อักษรยอ จังหวัด กบ. ยอมาจาก กระบี่ กทม. ยอ มาจาก กรุงเทพมหานคร ลย. ยอมาจาก เลย 3. อักษรยอลาํ ดับยศ ทหารบก พล.อ. ยอมาจาก พลเอก อา นวา พน-เอก พ.ต. ยอมาจาก พันตรี อานวา พนั -ตรี ร.ท. ยอมาจาก รอ ยโท อานวา รอย-โท ทหารอากาศ พล.อ.อ. ยอมาจาก พลอากาศเอก อา นวา พน-อา-กาด-เอก น.ท. ยอมาจาก นาวาอากาศโท อานวา นา-วา-อา-กาด-โท ร.ต. ยอ มาจาก เรืออากาศตรี อา นวา เรอื -อา-กาด-ตรี ทหารเรือ พล.ร.อ.......ร.น. ยอมาจาก พลเรือเอก....แหงราชนาวี อา นวา พน-เรอื -เอก-แหง -ราด-ชะ-นา-วี น.ท....ร.น. ยอมาจาก นาวาโท....แหงราชนาวี ร.ต.....ร.น. ยอ มาจาก เรอื ตร.ี .....แหงราชนาวี

41 ตาํ รวจ พล.ต.อ ยอมาจาก พลตาํ รวจเอก พ.ต.ท. ยอ มาจาก พนั ตํารวจโท ร.ต.ต. ยอมาจาก รอ ยตาํ รวจตรี 4. อกั ษรยอวุฒิทางการศกึ ษา กศ.ม. ยอมาจาก การศกึ ษามหาบัณฑิต กศ.บ. ยอ มาจาก การศึกษาบัณฑติ ป.กศ. ยอ มาจาก ประกาศนียบัตรวชิ าการศึกษา อานวา ประ-กา-สะ-น-ี ยะ-บดั -ว-ิ ชา-กาน-สกึ -สา ปวส. ยอมาจาก ประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้ันสูง ปวช. ยอมาจาก ประกาศนยี บตั รวิชาชพี 5. อักษรยอมาตรา ช่งั ตวง วัด กก. ยอ มาจาก กโิ ลกรัม (มาตราช่งั ) ก. ยอ มาจาก กรัม ล. ยอมาจาก ลิตร (มาตราดวง) กม. ยอ มาจาก กโิ ลเมตร ม. ยอ มาจาก เมตร มาตราวดั ซม. ยอ มาจาก เซนติเมตร 6. อกั ษรยอบางคําที่ควรรู ฯพณฯ ยอ มาจาก พณหวั เจา ทาน อา นวา พะ-นะ-หัว-เจา-ทาน โปรดเกลาฯ ยอมาจาก โปรดเกลา โปรดกระหมอ ม ทูลเกลาฯ ยอมาจาก ทูลเกลาทลู กระหมอ ม นอมเกลา ฯ ยอมาจาก นอ มเกลา นอ มกระหมอ ม

42 เรอ่ื งท่ี 4 หลักการใชพจนานุกรม คําราชาศัพทและคาํ สภุ าพ 4.1 การใชพ จนานกุ รม การใชภ าษาไทยใหถ กู ตอ งทั้งการพูด การอานและการเขียน เปนส่ิงท่ีคนไทย ทุกคนควรกระทํา เพราะภาษาไทยเปน ภาษาประจําชาติ แตบ างครั้งเราอาจสับสนในการใช ภาษาไทย ไมถูกตอง เชน อาจจะเขียนหรอื อา นคําบางคาํ ผิด เขา ใจความหมายยาก สิ่งหนงึ่ ที่จะ ชวยใหเรา ใชภาษาไทยไดถ ูกตองก็คือ พจนานุกรม พจนานุกรมเปนหนังสือท่ีใชคน ควาความ หมายของคําและการเขียนคาํ ใหถ ูกตอง ซ่ึงเรียงลําดับตัวอักษรและสระ ผูเ รียนควรมีพจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานไวใชแ ละควรเปนฉบับลา สุด วิธใี ชพ จนานกุ รม การใชพจนานกุ รมมหี ลกั กวาง ๆ ดังนี้ 1. การเรยี งลาํ ดบั คาํ 1.1 เรียงตามลําดับพยัญชนะ ก ข ค ง.......ฮ 1.2 เรียงลําดบั ตามรปู สระ เชน ะ ั า ิ ี ึ ุ ู เ แ โ ใ ไ 1.3 วรรณยุกต     และ ็ (ไมไตคู) กับ  (ไมท ัณฑฆาต) ไมไ ดจ ัด เปน ลําดบั พจนานกุ รม 2. การพจิ ารณาอกั ขรวิธี ในพจนานุกรมจะบอกการพจิ ารณาอักขรวิธโี ดยละเอียด เชน กรณีท่ีตัวสะกดมีอักษรซ้ํากัน หรือตัวสะกดที่มีอักษรซอนกัน ตลอดจนบอกถึงหลักการ ประวิสรรชนีย ฯลฯ 3. การบอกเสยี งการอา น คาํ ทม่ี ีการสะกดตรง ๆ จะไมบ อกเสียงอาน แตจะบอก เสยี งอา นเฉพาะคาํ ที่อาจมปี ญ หาในการอาน 4. การบอกความหมาย ใหค วามหมายไวห ลายนัย โดยจะใหค วามหมายท่ีสําคัญ หรือเดนไวก อ น 5. บอกประวัติของคาํ และชนดิ ของคํา ในเร่ืองประวัติของคําจะบอกที่มาไวท าย คําโดยเขียนเปน อักษรยอ ไวใ นวงเล็บ เพื่อรูวา คําน้ันมาจากภาษาใด และเพ่ือใหรูว าคําน้ันเปน คาํ ชนดิ ใดในพจนานกุ รมจะมีตัวอกั ษรยอเลก็ ๆ หลงั คาํ นัน้ เชน ก. = กริยา บ. = บุพบท เปนตน เพื่อใหผ ูเ รียนไดรับประโยชนเ ต็มที่จากการใชพจนานุกรม ผูเ รียนควรอา นวิธีใช พจนานกุ รมโดยละเอียดกอ นจะใช

43 ประโยชนของพจนานุกรม พจนานุกรมชวยใหอา นและเขียนภาษาไทยไดอยา งถูกตองและเขาใจภาษา ไดอ ยางลึกซึ้ง ทําใหเปนคนท่ีมีความสามารถในการใชภาษาไดอ ยางดีและมั่นใจเมื่อตองติดตอ ธุรกิจการงานหรอื ส่ือความหมายกบั บุคคลตา ง ๆ 4.2 คําราชาศพั ท คาํ ราชาศพั ท หมายถึง คาํ ทใ่ี ชก บั พระมหากษตั ริย พระบรมวงศานุวงศ ขาราชการ และพระสงฆ ตัวอยางคาํ ราชาศัพท 1. คาํ นามราชาศพั ท คําราชาศพั ท คาํ แปล พระราชบิดา พระชนกนาถ พอ พระราชมารดา พระราชชนนี แม สมเดจ็ พระเจา ลกู ยาเธอ พระราชโอรส ลูกชาย สมเด็จพระเจา ลูกเธอ พระราชธดิ า ลูกสาว พระตําหนัก ท่ีพกั พระบรมฉายาลกั ษณ รูปภาพ 2. กริยาราชาศัพท 2.1 กริยาไมต องมีคาํ “ทรง” นํา คําราชาศัพท คาํ แปล ตรัส พูด ประทับ อยู น่ัง รบั สั่ง สง่ั เสด็จ ไป 2.2 คาํ กรยิ าที่เปน ภาษาธรรมดา เมอ่ื ตองการใหเปน ราชาศพั ท ตอ งเติม “ทรง” ขา งหนา เชน ฟง เปน ทรงฟง ทราบ เปน ทรงทราบ เปนตน 2.3 คํากริยาสําหรบั บุคคลทัว่ ไปใชกับพระเจาแผนดิน คาํ ราชาศัพท คาํ แปล ถวายพระพร ใหพ ร ขอพระราชทาน ขอ เฝาทูลละอองธุลพี ระบาท ไปหา หรอื เขาพบ

44 2.4 คํากริยาเกีย่ วกบั พระสงฆ คาํ แปล คําราชาศัพท เชญิ อาราธนา ไหว นมสั การ ปว ย อาพาธ ให ถวาย 4.3 คําสุภาพ คําที่ใชพูดหรือเขียนกับสุภาพชนโดยท่ัวไป และควรใชใหเหมาะสมกับฐานะ กาลละเทศะของบคุ คล คําสามญั คาํ สภุ าพ คาํ สามญั คาํ สภุ าพ กลวยไข กลวยกระ , กลวยเปลอื กนาง ขี้ อจุ จาระ ขนมขี้หนู ขนมทราย ขีผ้ งึ้ สผี งึ้ ถ่ัวงอก ถวั่ เพาะ ข้ีเหลก็ ดอกเหลก็ ผกั กระเฉด ผกั รนู อน ฟกทอง ฟกเหลือง ผกั ตบ ผกั สามหาว ไมใ ช หามไิ ด ผกั บงุ ผกั ทอดยอด ไสเดอื น รากดนิ ออกลูก คลอดลูก หวั ศรษี ะ หมา สนุ ัข หมู สกุ ร เร่ืองท่ี 5 สํานวนภาษา สํานวนภาษา หมายถึง ถอ ยคําที่มีลักษณะพิเศษ ใชเพื่อรวบรัดความที่ยาว ๆ หรือ เพ่อื เปรียบเทยี บ เปรยี บเปรย ประชดประชนั หรอื เตือนสติ ทาํ ใหมคี วามหมายลึกซง้ึ ย่งิ กวา ถอยคํา ธรรมดา สํานวนภาษามีความหมายคลา ยกับโวหาร ซึ่งรวมถึงอุปมาและอุปไมย บางครั้งจะเรียก ซอนกันวา สาํ นวนโวหาร คนไทยใชสํานวนหรือสํานวนภาษามานานจนถงึ ปจจุบนั 5.1 สํานวน คือ สํานวนภาษาท่ีใชเพื่อเปนการรวบรัดตัดขอ ความที่ตอ งพูดหรืออธิบาย ยาว ๆ ใหส้นั เขา ใชเ พียงสน้ั ๆ ใหก นิ ความหมายยาว ๆ ได เชน ปลากระด่ีไดน้ํา หมายถงึ แสดงกิริยาทา ทางดีดดิ้นราเรงิ ท่เี ทา แมวดิน้ ตาย ท่ดี นิ หรือเนอ้ื ท่ีเพยี งเล็กนอย ไมพ อจะทาํ ประโยชนอ ะไรได


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook