Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Play learn and grow together

Play learn and grow together

Published by thidarat_katai, 2022-04-10 07:27:20

Description: เล่นเรียนรู้และเติบโตไปด้วยกัน

Search

Read the Text Version

Play learn and grow together คำนำ เล่นเรยี นร้แู ละเติบโตไปด้วยกนั หนังสืออิทรอนิกส์ (E-Book) เล่มนี้จัดทำ โดย นางสาวธิดารัตน์ เสวตวงศ์ ข้ึนเพื่อประกอบกำรเรียนรำยวิชำศำสตร์กำรสอนกับ รหสั นักศึกษา 649197204 กำรจดั กำรเรยี นรยู้ คุ ใหม่ รหสั วิชำ (1026301) ปร ะ กอบ ด้วย เนื้ อหำ 3 ส่วน ดัง น้ี 1. Active Learning 2. กำรยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลำง (student-centered) 3.ทฤษฎีกำรสร้ำงควำมรู้ด้วย ตนเอง (Constructivism) ขอขอบพระคุณ รศ.ดร.สริตำ บัวเขียว และ ผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกๆท่ำน ที่กรุณำให้คำปรึกษำชี้แนะ แนวทำงในกำรจัดทำหนังสืออิทรอนิกส์ฉบับน้ี ทำให้ สำมำรถสร้ำงสรรคผ์ ลงำนทำงวชิ ำกำรให้สำเร็จลุล่วงไป ด้วยดี ธดิ ำรตั น์ เสวตวงศ์ ผู้จดั ทำ

สารบัญ สารบัญ(ตอ่ ) Play learn and grow together 2. กำรยึดผเู้ รียนเปน็ ศูนย์กลำง student-centered เล่นเรยี นร้แู ละเติบโตไปดว้ ยกัน 1.Active Learning 1.1 Active Learning หมายถงึ อะไร 1 2.1 แนวคดิ และลกั ษณะของการจดั การเรียนการสอน 8 3 โดยยดึ ผู้เรยี นเป็นศนู ย์กลาง 1.2 การบวนการเรยี นรู้ Active Learning 4 2.2 องคป์ ระกอบของการเรยี นรทู้ ี่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 10 1.3 ลกั ษณะของการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning 2.3 หลักสาคญั ของการจัดการเรียนการสอนแบบเน้น 14 ผู้เรียนเปน็ สาคญั 1.4 บทบาทของครูผู้สอนในการจัดกจิ กรรม 6 2.4 เทคนคิ การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ 15 การเรียนร้ตู ามแนวทางของ Active Learning

สารบญั (ตอ่ ) 1 1. Active Learning 3.ทฤษฎกี ำรสรำ้ งควำมรู้ด้วยตนเอ(Constructivism) 1.1 Active Learning หมายถงึ อะไร 3.1 การจัดการเรียนการสอนตามแนว Constructivism 17 Active Learning คือกระบวนการจัดการ เรียนรู้ท่ีผู้เรียนได้ลงมือกระทาและได้ใช้กระบวนการ คิด 3.2 วิธีการสอน 21 เกี่ยวกับส่ิงท่ีเขาได้กระทาลงไป (Bonwell, 1991) เป็น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้สมมติฐานพ้ืนฐาน 2 3.3 ลักษณะการพฒั นารูปแบบ Constructivism) 22 ประการคือ 1) การเรียนรู้เป็นความพยายามโดย 23 ธรรมชาติของมนุษย์, และ 2) แต่ละบุคคลมีแนวทางใน 3.4 ข้ันตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 27 การ เรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน (Meyers and Jones, 1993) โ ด ย ผู้ เ ร ยี น จ ะ ถู ก เ ป ลี่ ย น บ ท บ า ท จ า ก ผู้ รั บ ค ว า ม รู้ 3.5 การสร้างสรรคอ์ งค์ความรู้ดว้ ยปัญญา (receive) ไปสู่การมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ (Constructivism) (co-creators) (Fedler and Brent, 1996)

2 3 กระบวนการเรยี นรู้ Active Learning ทาให้ 1.2 การบวนการเรยี นรู้ Active Learning ผู้เรียนสามารถรักษาผลการเรียนรู้ให้อยู่คงทนได้มากและ นานกว่ากระบวนการเรียนรู้ Passive Learning เพราะ  การให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และ กระบวนการเรียนรู้ Active Learning สอดคล้องกับ การ เรียนรู้อยา่ งมีปฏิสมั พนั ธ์จนเกดิ ความรู้ ความเข้าใจ ทางานของสมองที่เกี่ยวข้องกับความจา โดยสามารถเก็บ นาไปประยุกต์ใช้สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจาสง่ิ ที่ผูเ้ รียนเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม มีปฏิสัมพันธ์ กับ ประเมินค่าหรือ สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ และพัฒนา เพื่อน ผ้สู อน สง่ิ แวดล้อม การเรียนรู้ได้ผ่านการปฏิบัติจริง ตนเอง เต็มคว ามสามารถ รว มถึงการจั ด จะสามารถเก็บจาในระบบความจา ระยะยาว (Long ประสบการณ์การเรียนรู้ให้เขาได้มีโอกาสร่วม Term Memory) ทาให้ผลการเรียนรู้ ยังคงอยู่ได้ใน อภิปรายใหม้ ีโอกาสฝึก ทักษะการสื่อสาร ทาให้ผล ปรมิ าณทม่ี ากกวา่ ระยะยาวกวา่ ซึ่ง อธบิ ายไว้ ดังรูป การเรยี นรู้เพม่ิ ขึน้ 70%  การนาเสนองานทางวิชาการ เรียนรู้ในสถานการณ์ จาลอง ท้ังมีการฝึกปฏิบัติ ในสภาพจริง มีการ เชื่อมโยงกับสถานการณ์ ต่างๆ ซ่ึงจะทาให้ผลการ เรียนร้เู กดิ ขนึ้ ถึง 90%

4 5 1.3 ลักษณะของการจดั การเรียนการสอนแบบ  เปน็ กจิ กรรมการเรียนการสอนเน้นทกั ษะการคิดขน้ั สงู Active Learning  เป็นกิจกรรมท่เี ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนบรู ณาการข้อมลู ,  เป็นการเรยี นการสอนท่พี ัฒนาศักยภาพทางสมอง ไดแ้ ก่ ข่าวสาร, สารสนเทศ, และหลกั การสู่การสร้าง การคิด การแก้ปญั หา การนาความรไู้ ป ประยกุ ต์ใช้ ความคดิ รวบยอดความคิดรวบยอด  ผสู้ อนจะเป็นผูอ้ านวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้  เป็นการเรียนการสอนทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รียนมีสว่ นร่วม เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนเปน็ ผู้ปฏิบัติดว้ ยตนเอง ในการเรยี นรู้  ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองค์ความรู้ และการสรปุ ทบทวนของผูเ้ รยี น  ผเู้ รยี นสร้างองคค์ วามรู้และจัดระบบการเรียนรดู้ ้วย ตนเอง  ผู้เรยี นมีส่วนรว่ มในการเรยี นการสอน มีการสรา้ งองค์ ความรู้ การสร้างปฏิสัมพนั ธ์รว่ มกัน และร่วมมือ กนั มากกว่าการแขง่ ขัน  ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรคู้ วามรบั ผิดชอบรว่ มกนั การมีวนิ ัยใน การทางาน และการแบ่งหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ  เป็นกระบวนการสรา้ งสถานการณใ์ ห้ผูเ้ รยี นอ่าน พูด ฟัง คิด

6 7 1.4 บทบาทของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรม 5. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาส การเรยี นรู้ตามแนวทางของ Active Learning ผู้เรยี นได้รับวธิ กี ารสอนทีห่ ลากหลาย 6. วางแผนเก่ียวกับเวลาในจัดการเรียนการสอนอย่าง 1. จัดใหผ้ ู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลางของการเรียนการสอน กจิ กรรม ชดั เจน ท้งั ในสว่ นของเนือ้ หา และกจิ กรรม ต้องสะท้อนความต้องการในการพฒั นา ผเู้ รยี นและเน้นการ 7. ครูผู้สอนต้องใจกว้าง ยอมรับในความสามารถในการ นาไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ จริงของผเู้ รยี น แสดงออก และความคดิ เของท่ผี ู้เรยี น 2. สรา้ งบรรยากาศของการมสี ่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบที่ ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมีปฏสิ ัมพนั ธท์ ีด่ ีกบั ผสู้ อน และเพอื่ นในชัน้ เรียน 3. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวัต ส่งเสริมให้ผู้เรียน มีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมรวมทั้งกระตุ้นให้ ผู้เรียนประสบ ความสาเร็จในการเรียนรู้ 4. จดั สภาพการเรียนรู้แบบร่วมมือ ส่งเสริมให้เกิดการร่วมมือใน กลุม่ ผเู้ รยี น

8 9 2. การยึดผเู้ รยี นเป็นศูนยก์ ลาง student-centered กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ซึ่งทิศนา 2.1 แนวคิดและลักษณะของการจดั การเรยี น แขมมณี (2555, หน้า 120-121) ได้อธิบายว่าผู้เรียนเป็น การสอนโดยยึดผูเ้ รียนเปน็ ศูนย์กลาง ศูนย์กลางก็คือผู้เรียนเป็นสาคัญนั่นเอง หมายถึงการคานึงถึง ประโยชนท์ ผ่ี ูเ้ รียนจะได้รับให้มากท่ีสุดในกระบวนการเรียนการ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สอน ซ่ึงจะเกิดขึ้นได้เมื่อผู้เรียนต้องมีส่วนร่วมอย่างเต็มท่ีหรือมี ศูนย์กลาง เป็นแนวคิดที่ได้รับการกล่าวถึงในวงการศึกษามา ส่วนร่วมอย่างตื่นตัวทั้งทางกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม อย่างยาวนาน จากแนวคิดของ ดิวอี นักการศึกษาคนสาคัญ บทบาทการมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมกระบวนการเรียนรู้ทั้ง 4 ด้าน ของอเมริกาท่ีเสนอแนวคิดเรื่อง การพัฒนากระบวนการ ของผู้เรียนมีมากกว่าผู้สอน และผู้เรียนส่วนใหญ่มีส่วนร่วมใน เรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยให้นักเรียนได้พัฒนา กิจกรรมการเรียนรู้อย่างตื่นตัว การจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนเป็น ประสบการณ์การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ ซึ่งโรงเรียนใน สาคัญน้ัน ต้องอาศัยบทบาทของครูและบทบาทของนักเรียน ประเทศไทยก็ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดนี้ แต่การจัดการ ร่วมกัน ดังนั้นบทบาทที่จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของบุคคลท้ัง เรียนรทู้ ี่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญได้รับการกล่าวถึงมากขึ้น เมื่อมี สองฝ่าย จึงควรเป็นไปตามตัวบ่งช้ีที่สานักงานคณะกรรมการ ก า ร ป ฏิ รู ป ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ต่ อ ม า ไ ด้ ก า ห น ด ไ ว้ ใ น การศกึ ษาแหง่ ชาติ (2542, หน้า 3-4) ได้กาหนดไว้ ดังนี้ตัวบ่งชี้ พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 (แก้ไขเพ่ิมเติม การเรียนรขู้ องผเู้ รียน ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545) โดยระบุไว้ในแนวการจัดการศึกษาให้ ถอื วา่ ผู้เรยี นมีความสาคัญทสี่ ดุ

10 11 1. การกาหนดเป้าหมายในการพัฒนาท่ีมีจุดเน้นการพัฒนา 2.2 องค์ประกอบของการเรียนรู้ท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ คณุ ภาพนกั เรยี นอยา่ งชัดเจน 2. การกาหนดแผนยุทธศาสตร์สอดคล้องกบั เปา้ หมาย การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา 3. การกาหนดแผนการดาเนินงานในทุกองค์ประกอบของ แ ห่ ง ช า ติ พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 4 2 แ ล ะ ฉ บั บ แ ก้ ไ ข เ พิ่ ม เ ติ ม โ ร ง เ รี ย น ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ เ ป้ า ห ม า ย แ ล ะ เ ป็ น ไ ป ต า ม แ ผ น พุทธศักราช 2545 มุ่งให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยมีเป้าหมาย ยทุ ธศาสตร์ ผู้เรียนเป็นคนเก่ง ดี และมีความสุข ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยปัจจัย 4. การจัดให้มรี ะบบประกันคณุ ภาพภายใน หลายประการ ได้แก่ ด้านบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้ 5. การจัดทารายงานประจาปีเพ่ือรายงานผู้เกี่ยวข้องและ และด้านการเรยี นร้ขู องผูเ้ รียน มรี ายละเอียด ดงั นี้ สอดคลอ้ งกบั แนวทางการประกนั คุณภาพจากภายนอก 2 การจัดการเรียนรู้ องค์ประกอบด้าน “การ 1 การบริหารจัดการ การบริหารจัดการนับว่าเป็น จัดการเรียนรู้” นับว่าเป็นองค์ประกอบหลักท่ีแสดงถึงการ องค์ประกอบที่สนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีสาคัญ เรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม ประกอบด้วย ความเข้าใจเกี่ยวกับ โดยเฉพาะการบริหารจัดการของโรงเรียนที่เน้นการพัฒนาท้ัง ความหมายท่ีแท้จริงของการเรียนรู้ บทบาทของครู และ ระบบของโรงเรียนการพฒั นาทัง้ ระบบของโรงเรียน หมายถึง การ บทบาทของผู้เรียนการจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนเป็น ดาเนินงานในทุกองค์ประกอบของโรงเรียนให้ไปสู่เป้าหมาย สาคัญจะทาได้สาเร็จเมื่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการ เดียวกันคือ คุณภาพของนักเรียนตามวิสัยทัศน์ที่โรงเรียนกาหนด สอน ได้แก่ ครู และผู้เรียน มีความเข้าใจตรงกันเก่ียวกับ ดั ง นั้ น ตั ว บ่ ง ชี้ ที่ แ ส ด ง ถึ ง ก า ร พั ฒ น า ท้ั ง ร ะ บ บ ข อ ง โ ร ง เ รี ย น ความหมายของการเรยี นรู้ ประกอบด้วย

12 13 ดังสาระที่ ทิศนา แขมมณี (2544) ได้กล่าวไว้ดงั นี้ 4. การเรียนรู้เป็นกิจกรรมที่สนุกสนาน เป็น 1. การเรียนรู้เป็นงานเฉพาะบุคคล ทาแทนกันไม่ได้ ครูท่ี ความรู้สึกเบิกบาน เพราะหลุดพ้นจากความไม่รู้ นาไปสู่ ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ต้องเปิดโอกาสให้เขาได้มี ความใฝ่รู้ อยากรู้อีก เพราะเป็นเรื่องน่าสนุก ครูจึงควรสร้าง ประสบการณ์การเรยี นรู้ด้วยตวั ของเขาเอง ภาวะท่ีกระตุ้นให้เกิดความอยากรู้หรือคับข้องใจบ้าง ผู้เรียน 2. การเรยี นรูเ้ ป็นกระบวนการทางสติปัญญาท่ีต้องมีการใช้ จะหาคาตอบเพื่อให้หลุดพ้นจากความข้องใจ และเกิด กระบวนการคดิ สรา้ งความเข้าใจ ความหมายของส่ิงต่างๆ ความสุขข้นึ จากการไดเ้ รยี นรู้ เมอ่ื พบคาตอบดว้ ยตนเอง ดังนั้นครูจึงควรกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดทา ความเข้าใจสง่ิ ตา่ งๆ 5. การเรียนรู้เป็นงานต่อเน่ืองตลอดชีวิต ขยายพรมแดนความรู้ได้ไมม่ ีที่สนิ้ สุด ครูจึงควรสร้างกิจกรรม 3. การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสังคม ทก่ี ระตุน้ ใหเ้ กดิ การแสวงหาความรู้ไม่รูจ้ บ เพราะในเรื่องเดียวกัน อาจคิดได้หลายแง่ หลายมุมทาให้ เกิดการขยาย เติมเต็มข้อความรู้ ตรวจสอบความถูกต้อง 6. การเรยี นรู้เป็นการเปลี่ยนแปลง เพราะได้รู้ ของการเรียนรู้ตามที่สังคมยอมรับด้วย ดังน้ันครูท่ี มากขึ้นทาให้เกิดการนาความรู้ไปใช้ในการเปลี่ยนแปลงสิ่ง ปรารถนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จะต้องเปิดโอกาสให้ ตา่ งๆ เป็นการพฒั นาไปสูก่ ารเปล่ยี นแปลงที่ดีขึ้น ครูควรเปิด ผเู้ รียนมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับบุคคลอ่ืนหรือแหล่งข้อมูล โอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดร้ บั รผู้ ลการพัฒนาของตวั เขาเองด้วย อ่นื ๆ

14 15 2.3 หลกั สาคัญของการจัดการเรียนการ 2.4 เทคนคิ การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั สอ1น.แจบดั บตเานมน้ คผวเู้ ารมยี สนนเปใจน็ สควาาคมัญสามารถ ต้ังแต่  การเรียนท่ีใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem-based การร่วมกาหนดวัตถปุ ระสงค์ เนอื้ หา กจิ กรรม Learning) การเรียนการสอน สอ่ื และการประเมินผล  การเรยี นท่ีใชก้ ารวิจัยเปน็ ฐาน (Research–based 2. จดั ใหผ้ เู้ รียนไดล้ งมอื ทากิจกรรม ปฏบิ ตั ิ Learning) แก้ปัญหาหรือศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง จากสอื่ เพือ่ น และครู  การเรียนแบบโครงงาน (Project-based Learning) 3. จัดใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีโอกาสฝกึ ทกั ษะตา่ งๆ เชน่  การจัดการเรียนการสอนแบบสบื ค้น (Inquiry ทักษะทางการคดิ วิเคราะห์ การสังเกต การทดลองคน้ ควา้ การจดบนั ทึกตลอดจนการสงั เคราะหก์ ารสรุปขอ้ ความร้ตู ่างๆ Instruction) ของตนเอง  การเรยี นแบบร่วมมอื (Cooperative/Collaborative 4. จดั ใหผ้ ูเ้ รยี นได้มีโอกาสนาความรทู้ ีไ่ ด้ไปใชใ้ ห้ Learning) เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน  การใชบ้ ทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน (CAI) หรือสือ่ เพ่อื 5. จดั ใหผ้ ู้เรยี นได้มีโอกาสสรา้ งความสัมพันธ์ การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง แลกเปลยี่ นความรู้ ความคดิ กับเพ่อื นๆจากการทากิจกรรม ตา่ ง ๆ

16 17 3.ทฤษฎีการสร้างความรดู้ ้วยตนเอง (Constructivism)  การใชเ้ คร่ืองมือทางปญั ญา (Cognitive Tools)  เทคนิคการใช้ Concept Mapping ทฤษฎกี ารเรียนรู้ Constructivism  เทคนิคการใช้ Learning Contracts รูปแบบการเรียนรู้ตามแนวคิดของเพียเจท์  เทคนคิ บทบาทสมมติ (Role Playing Model)  เทคนคิ หมวก 6 ใบ (Jean Piaget) เป็นการเรียนรู้แบบเดิมที่เราใช้กันมา  เทคนคิ การเรยี นการสอนแบบจิ๊กซอร์(Jigsaw) ฯลฯ นาน คือ การจัดการเรียนรู้ที่ครูเป็นผู้ให้ข้อมูลและ นักเรียนเป็นผู้รับข้อมูล ครูยิ่งให้ข้อมูลมากเท่าไร สรุปการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น นักเรียนก็ย่ิงรับข้อมูลได้มากเท่านั้น ซ่ึงเสนอในรูป สาคัญได้ดังน้ี การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สมการลูกศรทางเดยี วได้ดงั นี้ หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ให้ความสาคัญกับ ผู้เรียน เน้นให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการ คิดริเร่ิม S (Stimulant) คือ แรงกระตุ้น อาจเปน็ ครู ผู้สอน หรือ แสวงหา วิเคราะห์ จัดการความรู้ และลงมีปฏิบัติ ส่งิ แวดลอ้ มทีจ่ ะไปกระตุ้นนกั เรียนหรือผเู้ รียน กิจกรรมต่างๆ ด้วยตัวเองตามความต้องการและความ สนใจ และสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชวี ิตประจาวนั ได้

18 19 O (Organism) คือ ผู้ที่ถูกกระตุ้น คือ นักเรียน หรือผู้เรียน ทฤษฎี constructivism หรือทฤษฎีการเรียนรู้ จากสมการขา้ งต้น ผูเ้ รยี นจะเป็นผทู้ อ่ี ยู่น่ิงๆ (passive) หรือเป็น แบบใหม่ คือ การสอนให้เด็กเรียนรู้เอง คิดเอง เด็กและครูจะ ผู้ท่ีถูกกระทา ซ่ึงผู้เรียนจะต้องพึ่งพาสิ่งท่ีมากระตุ้นก็คือครู เกดิ การเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทั้ง 2 ฝ่าย โดย ผู้เรียนจะเรียนรู้ได้จากการท่ีครูเป็นผู้ให้ความรู้และผู้เรียนเป็น ท่ีต่างฝ่ายต่างเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน ตามทฤษฎีการเรียนรู้ ผู้รับความรู้อย่างเดียว หรือพูดอีกอย่างหน่ึงก็คือ ผู้เรียน constructivism ผู้เรียนจะมีความสัมพันธ์กับผู้สอนดีกว่าการ เปรียบเสมือนกล่องเก็บของว่างๆ และครูจะเป็นผู้นาข้อมูล เรียนรู้รูปแบบเดิม เพราะมีการแลกเปล่ียนกันระหว่างผู้เรียน ความรตู้ ่างๆ มาใสใ่ ห้ นีค่ อื การเรยี นรู้แบบเดิม และผทู้ าหนา้ ท่ีสอน ซงึ่ จะเสนอในรปู สมการลูกศรสองทางดังน้ี สาหรบั การเรียนรู้ตามทฤษฎี Constructivism หรือการสร้างองค์ความรูด้ ้วยตัวเอง มองว่าการเรียนรแู้ บบเดมิ ไม่ใช่การเรียนรู้ท่ถี ูกต้อง เพราะไมใ่ ช่การสอนใหเ้ ดก็ เรยี นรู้ เดก็ ไม่ได้เรยี นรู้เอง ไมไ่ ด้คดิ เอง เราพบวา่ การพฒั นาศกั ยภาพสมอง ไม่ใชก่ ารให้เดก็ เปน็ ผู้รับอย่างเดียวเท่านน้ั แต่ตอ้ งใหเ้ ดก็ และครู เกิดการเรยี นรู้จากการมปี ฏิสมั พนั ธซ์ ง่ึ กนั และกันท้งั 2 ฝา่ ย โดย ทตี่ ่างฝ่ายตา่ งเรยี นรู้ซงึ่ กนั และกัน

20 21 จากสมการ O คอื ตวั นกั เรียนหรอื ผู้เรียนที่ 3.1 การจดั การเรยี นการสอนตามแนว Constructivism เป็นตัวหลักที่มีส่ิงกระทาต่อตัว S คือ ครูหรือผู้สอนด้วย โดยมีลักษณะเป็นลูกศรสองทาง กล่าวคือ การเรียนรู้จะ ไ ด้ ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ว่ า เ น้ น เกิดขึ้นเม่ือมีกิจกรรมเกิดข้ึนตลอดเวลา ไม่ใช่อยู่นิ่งๆ กระบวนการท่ีนักเรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเองเป็นสาคัญ เหมือนกับในสมการแรกท่ีเป็นการเรียนรู้แบบเดิม หรือ ครูผู้สอนจะเป็นเพียงผู้ทาหน้าท่ีจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ พูดง่ายๆ คือ ครูหรือผู้สอนและส่ิงแวดล้อมไม่ใช่สิ่งที่ ศึกษาดว้ ยตนเองมากกว่าที่จะเป็นผู้บอกเล่าให้นักเรียนจดจา กระตุ้นหรือสิ่งท่ีกระทาต่อผู้เรียนเพียงอย่างเดียว แต่ ทงั้ นี้ ตอ้ งคานงึ ถึงวุฒิภาวะประสบการณ์เดิมและสิ่งแวดล้อม ผเู้ รียนก็มีการกระทาต่อครหู รือผู้สอนด้วย น่ันคือผู้เรียนมี ท่ีนักเรียนไดร้ บั มาแล้วก่อนเขา้ สหู่ อ้ งเรยี น การพัฒนาแนวคิด ปฏิสัมพนั ธก์ ับครู มกี ารสัมพันธ์อย่าง ไมอ่ ยู่นิ่งทงั้ สองฝา่ ย หลักของเด็ก จะเกิดข้ึนในสมองของนักเรียน ซึ่งอาจ เพือ่ ที่จะใหเ้ กดิ การเรียนรู้ สอดคลอ้ งหรอื ขัดแยง้ กบั ความเขา้ ใจและข้อเท็จจริงได้

22 23 3.2 วิธีการสอน 3.3 ลักษณะการพัฒนารูปแบบ Constructivism) สาหรบั วิธีการเรยี นการสอนแบบการเรยี นรู้จาก 1.เน้นความสาคัญของกระบวนการเรียนรู้ กล่มุ นนั้ มหี ลากหลาย เชน่ Jigsaw,Teams-Games- ของผเู้ รียน และความสาคัญของความรู้เดิม Tournament (TGT) , Student Teams-Achievement Division (STAD) , Team Assisted Individualization (TAI) , 2.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเป็นผู้แสดงความรู้ได้ Learning Together (LT) , Group Investigation (GI) ,Think- ด้วยตนเอง และสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเองได้ ผู้เรียน Pair-Square , Think-Pair-Share Pair Check , Three-Step- จะเป็นผู้ออกไปสังเกตสิ่งท่ีตนอยากรู้ มาร่วมกันอภิปราย Interview , Number Head Together ฯลฯ โดยมีวธิ ที ีน่ ิยมใช้ สรุปผลการค้นพบ แล้วนาไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจาก อยู่ 6 วิธี คอื เอกสารวิชาการ หรือแหล่งความรู้ท่ีหาได้ เพื่อตรวจ ความรทู้ ีไ่ ด้มา และเพม่ิ เตมิ เป็นองคค์ วามรู้ท่สี มบูรณ์ต่อไป 3.การเรียนรู้ต้องให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริง ค้นหาความรู้ด้วยตนเอง จนค้นพบความรู้และรู้จักสิ่งที่ คน้ พบ เรยี นรวู้ เิ คราะห์ต่อจนรู้จริงว่า ลึก ๆ แล้วส่ิงน้ันคือ อะไร มีความสาคัญมากน้อยเพียงไร และศึกษาค้นคว้าให้ ลกึ ซ้ึงลงไป จนถึงรแู้ จ้ง

24 25 3.4 ข้ันตอนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 3.ขน้ั ปรบั เปลี่ยนความคิด (turning restructuring of ideas) ขน้ั ตอนของการจัดการเรียนรู้ทเ่ี น้นผเู้ รียนสร้าง นั บ เ ป็ น ขั้ น ต อ น ท่ี ส า คั ญ ห รื อ เ ป็ น หั ว ใ จ ส า คั ญ ต า ม แ น ว Constructivism ข้ันนปี้ ระกอบด้วยข้นั ตอนยอ่ ย ดงั น้ี ความรูต้ ามแนว Constructivism ไดรเวอรแ์ ละเบลล์ (Driver and Bell, 1986 อ้างถึงใน Matthews, 1994) ได้กาหนด 1. ทาความกระจา่ งและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ข้ันตอนไว้ ดงั น้ี และกนั (clarification and exchange of ideas) ผูเ้ รยี นจะเข้าใจ ได้ดีข้ึน เม่ือได้พิจารณาความแตกต่างและความขัดแย้งระหว่าง 1. ขัน้ นา (orientation) เป็นข้ันทีผ่ ู้เรียนจะรับรูถ้ ึงจดุ ม่งุ หมาย ความคิดของตนเองกับของคนอื่น ผู้สอนจะมีหน้าที่อานวยความ และมีแรงจูงใจในการเรยี นบทเรียน สะดวก เช่น กาหนดประเดก็ กระตุ้นใหค้ ดิ 2.ข้นั ทบทวนความร้เู ดิม (elicitation of the prior 2.การสร้างความคิดใหม่ (Construction of new knowledge) เป็นขน้ั ท่ีผู้เรียนแสดงออกถงึ ความร้คู วามเข้าใจ ideas) จากการอภิปรายและการสาธติ ผู้เรียนจะเห็นแนวทางแบบ เดิมท่ีมีอยู่เกย่ี วกับเรือ่ งทีจ่ ะเรยี น วิธีการให้ผู้เรียนแสดงออก วิธีการท่ีหลากหลายในการตีความปรากฏการณ์ หรือเหตุการณ์ อาจทาได้โดยการอภิปรายกลุ่ม การให้ผู้เรียนออกแบบโปสเตอร์ แล้วกาหนดความคดิ ใหม่ หรอื ความรู้ใหม่ หรอื การให้ผเู้ รยี นเขียนเพ่ือแสดงความรคู้ วามเขา้ ใจทีเ่ ขามีอยู่ 3. ประเมินความคิดใหม่ (evaluation of the new ideas) โดยการทดลองหรือการคิดอย่างลึกซึ้ง ผู้เรียนควรหา แนวทางท่ีดีที่สุดในการทดสอบความคิดหรือความรู้ในขั้นตอนนี้ ผู้เรียนอาจจะรู้สึกไม่พึงพอใจความคิดความเข้าใจที่เคยมีอยู่ เนือ่ งจากหลักฐานการทดลองสนบั สนนุ แนวคิดใหมม่ ากกว่า

26 27 4.ขน้ั นาความคิดไปใช้ (application of ideas) เป็นขั้นตอน 3.5 การสรา้ งสรรค์องค์ความรู้ดว้ ย ที่ผ้เู รียนมโี อกาสใช้แนวคดิ หรอื ความรคู้ วามเขา้ ใจที่พัฒนาข้ึนมา ปัญญา(Constructivism) ใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ ท้ังท่ีคุ้นเคยและไม่คุ้นเคย เป็นการ แสดงว่าผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย การเรียนรู้ที่ไม่ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ค ว า ม รู้ ด้ ว ย ปั ญ ญ า นิ ย ม มีการนาความรูไ้ ปใชเ้ รยี กว่า เรยี นหนังสอื ไมใ่ ช่เรยี นรู้ (Constructivism) อยู่บนฐานของการอ้างอิงหลักฐานในสิ่งที่ 5.ขั้นทบทวน (review) เป็นข้ันตอนสุดท้าย ผู้เรียนจะได้ พวกเราสร้างขึ้น แสดงให้ปรากฏแก่สายตาของเราด้วยตัวของ ทบทวนว่า ความคิด ความเข้าใจของเขาได้เปล่ียนไป โดยการ เราเอง และอยู่ บนฐานประสบการณ์ ของแต่ละบุคคล และ เปรียบเทียบความคิดเมอ่ื เร่มิ ตน้ บทเรียนกับความคิดของเขาเมื่อ โครงสร้างองค์ความรู้ภายในแต่ละบุคคลอีกด้วย การเรียนรู้ใน ส้ินสุดบทเรียน ความรู้ที่ผู้เรียนสร้างด้วยตนเองน้ันจะทาให้เกิด ลักษณะนี้อยู่บนฐานของการแปลความหมายและการให้ โครงสร้างทางปัญญา (cognitive structure) ปรากฏในช่วง ความหมายประสบการณ์ต่างๆ ของผู้เรียนเขา / เธอในแต่ละ ความจาระยะยาว (long-term memory) เป็นการเรียนรู้อย่าง บุคคลว่าเป็นอย่างไร การท่ีผู้เรียนลงมือกระทาการอย่างว่องไว มีความหมาย ผู้เรียนสามารถจาได้ถาวรและสามารถนาไปใช้ได้ ในกระบวนการสร้างสรรค์ ความหมายจากประสบการณ์ต่าง ๆ ในสถานการณ์ต่าง ๆ เพราะโครงสร้างทางปัญญาคือกรอบของ ของเขาหรือเธอ องค์ความรู้จะถูกสร้างขึ้นโดยผู้เรียน และโดย ความหมาย หรือแบบแผนท่ีบุคคลสร้างข้ึน ใช้เป็นเคร่ืองมือใน เหตุผลท่ีทุกคนต่างมีชุดของประสบการณ์ต่างๆ ของการเรียนรู้ การตีความหมาย ให้เหตุผลแก้ปัญหา ตลอดจนใช้เป็นพื้นฐาน จึงมี สาหรบั การสรา้ งโครงสรา้ งทางปัญญาใหม่ นอกจากนี้ยังทบทวน เกี่ยวกับความรู้สึกที่เกิดขึ้น ทบทวนว่าจะนาความรู้ไปใช้ได้ อย่างไร และยังมเี รื่องใดที่ยงั สงสยั อยู่อีกบ้าง

28 29 ลักษณะเฉพาะตน และมีความแตกต่างกันไปในแต่ละคน การ บรรณานกุ รม เรียนรู้จะเกิดปรากฏข้ึนในห่วงแห่งความคิดเมื่อได้มีการกระทา การภายในบุคคลน้ัน ๆ ทฤษฎีในแนวนี้ถูกใช้เพื่อเน้น การ ไชยยศ เรอื งสวุ รรณ.(2553) (รองศาสตราจารย์ ดร.) คณะศกึ ษาศาสตร์ เตรียมการผู้เรียนในการตัดสินใจ แบบจาลองทางจิตใจของเขา มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ในการจัดรวบรวมประสบการณ์ใหม่ต่างๆ และการแก้ปัญหา ไชยยศ เรืองสวุ รรณ. (2553). เทคโนโลยกี ารศกึ ษา : ทฤษฎแี ละการวจิ ยั . สถานการณ์ปญั หาตา่ งๆ ท่ีกากวมน่าสงสัย กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร์ อาภรณ์ ใจเท่ยี ง.[online]http://www.sut.ac.th/tedu/ ทฤษฎี Constructionism จึงให้ความสาคัญกับ news/Teaching.htm .การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ โอกาสและวัสดุท่ีจะใช้ในการเรียนการสอนที่ผู้เรียนสามารถ เน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั . นาไปสร้างความรู้ให้เกิดข้ึนภายในตัวผู้เรียนเองได้ ไม่ใช่มุ่งการ ยาเบ็น เรอื งจรญู ศร.ี [online]http://www.kroobannok. สอนที่เป็นการป้อนความรู้ให้กับผู้เรียน แต่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ com/blog/39847 .การจัดการเรยี นรทู้ ี่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั . จากการลงมือทาผู้สอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ดาเนิน สมใจ ฤทธสิ นธี [online] http://www.src.ac.th/web2/jurnal/ กิจกรรมการเรียนด้วยตนเองมีทางเลือกที่มากข้ึนโดยการลงมือ issu2/center.htm ปฏิบัติหรือสร้างงานที่ตนเองสนใจ และสร้างองค์ความรู้ขึ้นมา หนว่ ยส่งเสริมและพัฒนาวชิ าการ.(2553). งานบริการการศกึ ษา เองโดยการผสมผสานระหวา่ งความรู้เดิมกบั ความรใู้ หม่ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook