Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัตว์ป่าสงวน

สัตว์ป่าสงวน

Published by NaraSci, 2021-11-23 01:52:07

Description: ✍️

Search

Read the Text Version

สตั วป์ า่ สงวน 19 ชนิด ตามพระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ้ ครองสัตว์ปา่ พ.ศ. 2562



พฤตกิ รรมและทอ่ี ยู่อาศัย : อาศยั อยตู่ ามป่ าจูด ป่ ากก ป่ าหญา้ ในบริเวณเขตหา้ มล่าสตั วป์ ่ าบึงบอระเพด็ จ.นครสวรรค์ เป็นนกท่ีค่อนขา้ งเช่ือง ไม่ปราดเปรียว มกั เกาะน่ิงเฉยอยบู่ นพ้นื ดิน อาหาร : กินแมลงเป็ นอาหาร มักจะจับเหยื่อโดยการโฉบจับในอากาศ หลังจากการสังเกตทางกายภาพเบ้ืองต้น มีการสนั นิษฐานวา่ นกชนิดน้ีอาจหากินท้งั ในเวลากลางวนั และกลางคืน การสืบพนั ธ์ุ : ยงั ไม่ทราบรายละเอียดเกี่ยวกบั การสืบพนั ธุ์ของนกเจา้ ฟ้าหญิงสิรินธรอยา่ งแน่ชดั พืน้ ทที่ คี่ ้นพบ : ยงั ไม่ทราบสถานภาพที่แทจ้ ริงของนกชนิดน้ี อาจจะเป็ นนกประจำ� ถิ่นหรือนกท่ีอพยพมายงั ประเทศไทย ในช่วงฤดูหนาว แต่หาพบได้ยากมาก หรืออาจจะสูญพันธุ์ไปแล้ว สถานที่ที่มีรายงานว่าพบนกชนิดน้ี คือ บงึ บอระเพด็ จ.นครสวรรค์ เกรด็ ความรู้ : การทูลเกล้าฯ ขอพระราชทานช่ือ “ช่ือชนิด” เป็ นคำ� ท่ีมาจากพระนาม “สมเด็จพระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟ้าหญิงสิรินธร” คร้ังดำ� รงพระยศเดิม ของ “สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกมุ ารี” เป็นการเฉลิมพระเกียรติแดพ่ ระองค์ ซ่ึงทรงสนพระทยั ในธรรมชาติศึกษามาต้งั แต่เยาวว์ ยั ชื่อไทย : นกเจา้ ฟ้าหญิงสิรินธร / นกนางแอ่นตาพอง ช่ือสามญั : White-eyed River Martin ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Eurochelidon sirintarae (Kitti, 1968) Kingdom : Animalia Phylum : Chordata Subphylum : Vertebrata Class : Aves Order : Passeriformes Family : Hirundinidae Genus : Eurochelidon Species : Eurochelidon sirintarae



พฤตกิ รรมและทอ่ี ยู่อาศัย : ชอบป่ าดงดิบ พ้ืนที่ราบต่ำ� ท่ีช้ืน และมีแหล่งน้ำ� อุดมสมบูรณ์ นอกจากน้นั แรดชวามีนิสยั ชอบนอนแช่ปลกั โคลน เป็นเวลานาน ๆ แสดงอาณาเขตท่ีอยอู่ าศยั ดว้ ยการถูตวั กบั ตน้ ไม้ ปัสสาวะ และกล่ินตามรอยตีน อาหาร : จำ� พวกใบไม้ ตน้ อ่อนของพชื ตน้ หญา้ พืชผกั ท่ีเป็นตน้ เต้ีย ๆ รวมท้งั พืชที่ข้ึนริมน้ำ� และผลไมท้ ี่หล่นบนพ้ืนดิน การสืบพนั ธ์ุ : แรดชวาสามารถผสมพนั ธุ์ไดต้ ลอดท้งั ปี ช่วงการาต้งั ทอ้ งจะใชร้ ะยะเวลา 16-18 เดือน ตกลูกคร้ังละ 1 ตวั ลูกแรดชวาหนกั ประมาณ 50 กก. ปัจจยั คุกคาม : 1) การบุกรุกป่ าเพือ่ การเกษตร การบุกรุกป่ าจากการทำ� ไมแ้ ละการถางป่ าเพอื่ ทำ� การเกษตร ทำ� ใหแ้ รดชวาสูญเสีย พ้ืนท่ีอาศยั และหากิน ส่งผลใหจ้ ำ� นวนประชากรของแรดชวา “สูญพนั ธุ์ จากถ่ินที่อยอู่ าศยั ในประเทศไทย” 2) การล่าเพ่ือเอา “นอ” มีความเชื่อผดิ ๆ วา่ “นอ แรด” สามารถเอาไปทำ� ยาเสริมสมรรถภาพทางเพศของคนได้ หรือเอาไปทำ� เป็นเคร่ืองรางของขลงั วตั ถุมงคล เคร่ืองประดบั 3) พฤติกรรมที่เชื่องชา้ เน่ืองจากแรดชวามีนิสยั ชอบนอนแช่ปลกั โคลน ถ่ายมูลท่ีเดิมประจำ� และไม่ค่อยมีศตั รู ตามธรรมชาติ จึงเป็นสตั วท์ ี่เช่ืองชา้ ไม่ปราดเปรียว จึงทำ� ใหถ้ ูกพบตวั และถูกล่าไดง้ ่าย ช่ือไทย : แรดชวา ชอ่ื สามญั : Javan Rhinoceros ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Rhinoceros sondaicus (Desmarest, 1822) Kingdom : Animalia Phylum : Chordata Subphylum : Vertebrata Class : Mammalia Order : Perissodactyla Family : Rhinocerotidae Genus : Rhinoceros Species : Rhinoceros sondaicus



พฤตกิ รรมและทอ่ี ยู่อาศัย : เป็นสตั วห์ ากินตวั เดียว (ยกเวน้ ช่วงฤดูสืบพนั ธุ)์ กระซู่ตวั เมียมีพ้นื ท่ีครอบครองอยา่ งชดั เจน ส่วนตวั ผไู้ มม่ ีอาณาเขต ท่ีแน่นอน อาศยั อยไู่ ดใ้ นป่ าดงดิบหรือท่ีราบที่มีแหล่งน้ำ� ลำ� ธาร ชอบแช่ปลกั โคลน อาหาร : กินพชื อาหารหลกั คือ ใบไม้ตน้ หญา้ พชื ผกั ตน้ ออ่ นของพชื หรือตน้ ไมข้ นาดเลก็ รวมท้งั พชื ท่ีข้ึนริมน้ำ� และผลไม้ การสืบพนั ธ์ุ : กระซู่ตวั เมียสืบพนั ธุ์ไดเ้ ม่ืออายุ 4 ปี ข้ึนไป ส่วนตวั ผูส้ ืบพนั ธุ์ไดเ้ มื่อเขา้ สู่ปี ท่ี 7 กระซู่ตวั เมียต้งั ทอ้ งประมาณ 14-17 เดือน คลอดลูกคร้ังละ 1 ตวั หลงั จากคลอดลูกแลว้ จะทิ้งช่วงประมาณ 4 ปี จึงจะต้งั ทอ้ งอีก ปัจจยั คุกคาม : 1) การบุกรุกป่ า การบุกรุกตดั ไมใ้ นพ้นื ที่มีกระซู่อาศยั อยู่ทำ� ใหก้ ระซู่สูญเสียพ้นื ท่ีอาศยั และหากินส่งผลใหจ้ ำ� นวน ของกระซู่ในประเทศไทยลดลงจนสูญพนั ธุ์จากถิ่นอาศยั 2) การล่าเพื่อเอา “นอ” มีความเช่ือผิด ๆ ว่า สามารถเอาไปทำ� ยาเสริมสมรรถภาพทางเพศของคนไดห้ รือ เอาไปทำ� เป็นเครื่องรางของขลงั 3) พฤติกรรมที่เชื่องชา้ เน่ืองจากกระซู่มีนิสยั ชอบนอนแช่ปลกั โคลนถ่ายมูลท่ีเดิมประจำ� และไม่ค่อยมีศตั รูตาม ธรรมชาติจึงเป็นสตั วท์ ี่เช่ืองชา้ ไม่ปราดเปรียวจึงทำ� ใหถ้ ูกล่าไดง้ ่าย ชอ่ื ไทย : กระซู่ / แรดสุมาตราตะวนั ตก ชือ่ สามัญ : Sumatran Rhinoceros ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Dicerorhinus sumatrensis Kingdom : Animalia Phylum : Chordata Subphylum : Vertebrata Class : Mammalia Order : Perissodactyla Family : Rhinocerotidae Genus : Dicerorhinus Species : Dicerorhinus sumatrensis



พฤตกิ รรมและทอ่ี ยู่อาศัย : ชอบใชเ้ ขาขวดิ ตน้ ไม้ กิ่งไมต้ ามเสน้ ทางที่เดินผา่ น หรือใชค้ ุย้ ดินเพือ่ หาน้ำ� หรือดินโป่ งกินตามป่ าโปร่ง อาหาร : หญา้ ชนิดต่า งๆ โดยมกั หากินปะปนกบั ฝงู สตั วเ์ ค้ียวเอ้ืองชนิดอ่ืน ๆ การสืบพนั ธ์ุ : ฤดูผสมพนั ธุ์อยู่ในช่วงเดือน เมษายน ระยะต้งั ทอ้ งประมาณ 9 เดือน ออกลูกคร้ังละ 1 ตวั ช่วงใกลค้ ลอด กปู รีแม่ลูกอ่อนจะแยกตวั ออกจากฝงู เพื่อคลอดลูก และเล้ียงลูกตามลำ� พงั ประมาณ 1 เดือนจึงจะพาลูกกลบั เขา้ ฝงู ปัจจยั คุกคาม : 1) สภาวะสงคราม ( ในอดีต ) เน่ืองจากพ้ืนท่ีท่ีกปู รีอาศยั เป็นรอยต่อของชายแดน 3 ประเทศ 2) การบุกรุกพ้ืนที่ป่ า ( ทำ� ใหก้ ปู รีเสียถิ่นอาศยั และหากิน ) 3) การล่าสตั วป์ ่ า ( นำ� ชิ้นส่วนไปบริโภค และอุปโภค ) ชื่อไทย : กปู รี / โคไพร ชอ่ื สามญั : Kouprey ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bos sauveli (Urbain, 1937) อาณาจักร : Animalia ไฟลัม : Chordaata ซับไฟลมั : Vertebrata ช้นั : Mammalia ล�ำดับ : Cetartiodactyla วงศ์ :Bovidae วงศ์ย่อย Bovinae สกุล : Bos ชนิด : Bos sauveli



พฤตกิ รรมและทอี่ ยู่อาศัย : นิสยั ดุร้าย มีความปราดเปรียว วอ่ งไว มีการสงั เกตและรู้ถึงอนั ตรายท่ีเขา้ ใกลไ้ ดร้ วดเร็ว ตวั ผแู้ ละตวั เมียที่ยงั ไม่ โตเตม็ วยั จะอาศยั รวมอยรู่ วมกนั เป็นฝงู ใหญ่ ส่วนตวั ผทู้ ่ีโตเตม็ วยั มกั จะอาศยั อยตู่ ามลำ� พงั ดามป่ าทุ่ง ป่ าโปร่ง พ้ืนที่ท่ีมี หนองบึงและลำ� หว้ ยลำ� ธาร อาหาร : ออกหากินในเวลาเชา้ และเยน็ อาหารไดแ้ ก่ หญา้ ต่าง ๆ ใบไม้ หน่อไม้ และลูกไมต้ ่าง ๆ หลงั จากกินอาหารอ่ิม แลว้ ควายป่ าจะนอนเค้ียวเอ้ืองตามพมุ่ ไม้ หรือ พงหญา้ สูง ๆ มกั นอนแช่ปลกั โคลนตอนกลางวนั เพ่อื ใหโ้ คลนติดตาม ตวั เพ่ือป้องกนั ความร้อนและแมลง การสืบพนั ธ์ุ : ควายป่ าตวั ผจู้ ะกลบั เขา้ มาอาศยั รวมฝงู กบั พวกควายป่ าตวั เมียเพ่ือผสมพนั ธุ์ในช่วงเดือน (ตุลาคม-พฤศจิกายน) ถา้ ในฝงู มีตวั ผทู้ ี่ขนาดใหญ่มากกวา่ 1 ตวั จะมีการต่อสูเ้ พ่อื แยง่ ชิงตวั เมีย ระยะต้งั ทอ้ งประมาณ 10 เดือน ปัจจยั คุกคาม : 1) การบุกรุกพ้ืนที่ป่ า 2) การปลอ่ ยสตั วเ์ ล้ียง โดยเฉพาะววั และควายเขา้ มาหากินในพ้นื ท่ีป่ าอนุรักษอ์ ยา่ งอิสระ ซ่ึงววั และควายเป็นสตั วท์ ่ี อยใู่ นวงศเ์ ดียวกบั ควายป่ า หากผเู้ ล้ียงขาดการควบคุมโรคระบาด ววั และควายท่ีเขา้ มาอาจนำ� โรคระบาดมาติดควายป่ าได้ 3)สูญเสียลกู เกิดใหม่ควายป่ าที่อาศยั อยใู่ นเขตรักษาพนั ธุส์ ตั วป์ ่ าหว้ ยขาแขง้ มีจำ� นวนประชากรไมม่ ากนกั เน่ืองจาก ลูกของควายป่ าที่เกิดใหม่ตกเป็นเหยอื่ ของเสือโคร่ง หรือจมน้ำ� เมื่อเกิดน้ำ� ท่วมฉบั พลนั ในพ้นื ที่ ชอื่ ไทย : ควายปา่ / มหิงสา ชื่อสามญั : Wild Water Buffalo ช่ือวิทยาศาสตร์ : Bubalus arnee Kingdom : Animalia Phylum : Chordata Subphylum : Vertebrata Class : Mammalia Order : Cetartiodactyla Family : Bovidae Genus : Bubalus Species : Bubalus arnee



พฤตกิ รรมและทอี่ ยู่อาศัย : ชอบอยกู่ นั เป็นฝงู ใหญ่ตามป่ าเตง็ รัง ป่ าโปร่ง หรือทุ่งหญา้ ใกลๆ้ หนองน้ำ� ตอนกลางวนั จะหลบอยใู่ ตร้ ่มไม้ หรือ แช่ปลกั โคลนเพราะแดดร้อน ตวั ผไู้ ม่ชอบอยใู่ นป่ าทึบเน่ืองจากเขาของมนั มนั ขดั กบั กิ่งไม้ อาหาร : กินหญา้ และลูกไมต้ ่าง ๆ ตามทุ่งหญา้ โล่ง การสืบพนั ธ์ุ : ช่วงเดือน กมุ ภาพนั ธ์ - เมษายน ระยะต้งั ทอ้ งประมาณ 240 - 244 วนั ออกลูกคร้ังละ 1 ตวั ลูกแรกเกิดจะมีจุดลาย สีขาว ๆ ตามลำ� ตวั ซ่ึงจะจางหายไปตอนโต แต่ตวั เมียจะยงั คงมีลายใหเ้ ห็น วยั เจริญพนั ธุ์ตวั ผู้อายุ 1 ปี ข้ึนไป ส่วนตวั เมีย อายุ 2 ปี ข้ึนไป ปัจจยั คุกคาม : 1) การบุกรุกเพอ่ื การเกษตร 2) การลกั ลอบคา้ สตั วป์ ่ า ** ละอง/ละมง่ั ท่ีพบในไทยมีอยู่ 2 สายพนั ธุ์ คือ ละอง/ละมง่ั พนั ธุ์ไทย C.e.siamensis และพนั ธุ์พม่า C.e.thamin ชื่อ ละอง/ละมง่ั ชอ่ื สามัญ : Eld’s Deer ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Rucervus eldii (M’Clelland, 1842) Kingdom : Animallia Family : Cervidae Phylum : Chordata Subphylum : Vertebrata Genus : Rucervus Class : Mammalia Species Rucervus eldii Order : Cetartiodactyla



พฤตกิ รรมและทอ่ี ยู่อาศัย : ชอบอยรู่ วมกนั เป็ นฝูงเลก็ ๆ หากินและอาศยั เฉพาะพ้ืนท่ีทุ่งโล่ง ทุ่งโล่งใกลแ้ ม่น้ำ� หรือพ้ืนท่ีราบลุ่มริมแม่น้ำ� ในช่วงเยน็ ค่ำ� ถึงช่วงเชา้ ตอนกลางวนั มกั หลบแดด และซ่อนตวั ในป่ าละเมาะหรือพงหญา้ สูง ๆ อาหาร : เลม็ หญา้ ตามพ้ืนท่ีทุ่งโล่ง ชอบกินหญา้ โดยเฉพาะหญา้ อ่อน ผลไม้ ยอดไม้ และใไมบ้ หลายชนิด การสืบพนั ธ์ุ : สมนั จะอยเู่ ป็นฝงู เลก็ ๆ โดยเฉพาะช่วงฤดูผสมพนั ธุ์ ประกอบดว้ ย ตวั ผู้ 1 ตวั ตวั เมียและลูก 2-3 ตวั หลงั จาก หมดฤดูผสมพนั ธุ์แลว้ ตวั ผจู้ ะแยกออกมาอยโู่ ดดเด่ียว ปัจจยั คุกคาม : 1) การเปล่ียนแปลงสภาพพ้ืนที่ 2) การล่าเพื่อบริโภค 3) การล่าเพอ่ื ขายซาก ** สมนั เป็นกวางพ้นื เมืองเฉพาะถ่ิน พบในไทยแห่งเดียวในโลก ชื่อไทย : สมัน / เนื้อสมนั ชือ่ สามญั : Schomburgk’s Deer ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Rucervus schomburgki Kingdom : Animalia Phylum : Chordata Subphylum : Vertebrata Class : Mammalia Order : Cetartiodactyla Family : Cervidae Genus : Cervus Species : Rucervus schomburgki



พฤตกิ รรมและทอี่ ยู่อาศัย : อาศยั อยตู่ ามภเู ขาท่ีมีหนา้ ผาสูงชนั อยตู่ ามเขตภเู ขา ซ่ึงปกคลมุ ไปดว้ ยป่ าทึบ สามารถปรับตวั อยใู่ นพ้นื ท่ีหลายแบบ เช่น ป่ าดิบแลง้ ป่ าดิบเขา ป่ าเบญจพรรณ รวมท้งั ป่ าดิบช้ืน อาหาร : หากินตวั เดียว เวน้ แต่ในช่วงฤดูผสมพนั ธุแ์ ละช่วงเล้ียงลูกอ่อน อาจพบอาศยั อยรู่ วมกนั เป็นฝงู ออกหากินตอนเยน็ และเชา้ มืด เลียงผาชอบกินใบอ่อน เปลือกไม้ หน่อไม้ โดยเฉพาะรากไมท้ ี่มีกล่ินหอม การสืบพนั ธ์ุ : เลียงผาตวั เมียสามารถเริ่มสืบพนั ธุ์ เม่ืออายตุ ้งั แต่ 3 ปี ระยะต้งั ทอ้ ง 200 - 300 วนั ตกลูกคร้ังละ 1 ตวั ลูกอาศยั อยู่ กบั แม่จนกระทง่ั อายุ 1 ปี ปัจจยั คุกคาม : 1) สภาพแวดลอ้ มของป่ าท่ีเป็นท่ีอาศยั ท่ีเปล่ียนไปดว้ ยมลภาวะต่าง ๆ ส่งผลใหส้ ัตวป์ ่ าเปล่ียนแปลงท่ีอาศยั อาจ ทำ� ใหจ้ ำ� นวนของเลียงผาลดลงไปตามสภาพแวดลอ้ ม 2 การบุกรุกป่ าเพอ่ื เปล่ียนแปลงพ้ืนท่ีเกษตรทำ� ใหเ้ ลียงผาถูกไล่ตอ้ นใหอ้ ยตู่ ามภูเขาสูง นอกจากน้ีการทำ� ลายถิ่นที่ อยอู่ าศยั บริเวณเขาหินปูนทำ� ใหพ้ ้ืนที่หากินลดลง และถูกล่าไดง้ ่ายข้ึน 3) การล่าเลียงผา เลียงผาถูกล่าเป็นจำ� นวนมาก เน่ืองจากมีความเชื่อผดิ ๆ วา่ ส่วนประกอบของเลียงผาน้นั สามารถ เอาไปใชใ้ นการทำ� ยารักษาโรคได้ ชอื่ ไทย : เลยี งผา เยอื ง กรู �ำ โครำ� ชื่อสามญั : Sumatran Serow ช่ือวิทยาศาสตร์ : Capricornis sumatraensis Kingdom : Animalia Phylum : Chordata Subphylum : Vertebrata Class : Mammalia Order : Cetartiodactyla Family : Bovidae Genus : Capricornis Species : Capricornis sumatraensis



พฤตกิ รรมและทอี่ ยู่อาศัย : อาศยั อยเู่ ดี่ยว ๆ ตามลำ� พงั หรือบางช่วงจะอาศยั อยกู่ นั เป็นคู่หรือกลุ่มเลก็ ๆ (2-6 ตวั ) หากินในช่วงเชา้ และเยน็ ในที่โล่งตามทุ่งหญา้ ที่ลาดชนั นอ้ ย ส่วนช่วงกลางวนั มกั จะนอนพกั ผอ่ นบนลานหินตามหนา้ ผา ชะง่อนหิน อาหาร : กินยอดไม้ และกินหญา้ เป็น ส่วนอาหารหลกั น้นั ส่วนใหญ่จะเป็นหญา้ รองลงมาเป็นไมล้ ม้ ลุก ผลไม้ ยอดไมแ้ ละ ใบไมพ้ มุ่ เต้ีย ๆ อาหารโปรดของกวางผา คือยอดอ่อนของหญา้ ระบดั การสืบพนั ธ์ุ : กวางผาเขา้ สู่วนั เจริญพนั ธุ์ตอนอายุ 2-3 ปี ผสมพนั ธุ์ในช่วงเดือน พฤศจิกายน-ธนั วาคม ระยะเวลาในการต้งั ทอ้ ง ประมาณ 6 - 7 เดือน ปัจจยั คุกคาม : 1) การบุกรุกพ้ืนท่ีป่ า การบุกรุกถางป่ าเพื่อทำ� ไร่เล่ือนลอยทำ� ใหก้ วางผาสูญเสียถ่ินที่อยอู่ าศยั 2) การปล่อยสตั วเ์ ล้ียง โดยเฉพาะววั ควาย ซ่ึงเป็นสตั วท์ ่ีอยใู่ นวงศเ์ ดียวกบั กวางผา จะสามารถนำ� มาซ่ึงโรคระบาด ท่ีสามารถติดกวางผาได้ 3) การล่ากวางผา 4) ภาวะเลือดชิด (inbreeding) ช่ือไทย : กวางผา, มา้ เทวดา ชื่อสามัญ : Burmese Goral ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Naemorhedus evansi Kingdom : Animalia Phylum : Chordata Subphylum : Vertebrata Class : Mammalia Order : Cetartiodactyla Family : Bovidae Genus : Naemorhedus Species : Naemorhedus evansi



พฤตกิ รรมและทอี่ ยู่อาศัย : พบในป่ าดงดิบช้ืนหากินส่วนใหญ่ตามพ้ืนดิน เมื่อมีส่ิงรบกวนหรือมีภยั จะกระโดดเขา้ หลบซ่อนตวั ตามพมุ่ ไม้ ถา้ หากจวนตวั จริง ๆ จะบินหนีแต่บินในระยะที่ไม่ไกล และระดบั ไม่สูงมาก อาหาร : ไสเ้ ดือน และแมลงเลก็ ๆ การสืบพนั ธ์ุ : จะอยใู่ นช่วงฤดูฝน ออกไข่คร้ังละ 3-4 ฟอง ลูกนกจะอยใู่ นรังกบั พอ่ แม่ 8-14 วนั ขณะที่ขนข้ึนกจ็ ะออกตามพอ่ แม่ ไปหาอาหาร และจะไม่กลบั รังอีกเลย ปัจจยั คุกคาม : 1) การบุกรุกพ้ืนที่ป่ าเพอ่ื การเกษตร 2) การลบั ลอบคา้ สตั ว์ 3) ภยั จากนกั ท่องเท่ียว 4) ภยั จากศตั รูตามธรรมชาติ ไดแ้ ก่ งูแสห้ างมา้ ชื่อไทย : นกแตว้ แลว้ ทอ้ งด�ำ หรอื นกแต้วแร้วทอ้ งด�ำ ชื่อสามญั : Gurney’s Pitta ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Hydrornis gurneyi Kingdom : Animalia Phylum : Chordata Subphylum : Vertibrata Class : Aves Order : Passeriformes Family : Pittidae Genus : Hydronis Species : Hydrornis gurneyi



พฤตกิ รรมและทอี่ ยู่อาศัย : ดำ� รงชวี ิตอยู่เปน็ คู่ บางครัง้ พบอยู่รวมกันเป็นฝูง หากินตอนกลางวนั อย่ตู ามชายน�ำ้ หนอง บงึ ทะเลสาบ ทุง่ นา ทุ่งหญ้าทม่ี นี ้ำ� ขัง หรอื ทุง่ หญ้าโลง่ ๆ อาหาร : กินท้งั พืชและสตั วเ์ ป็นอาหาร ไดแ้ ก่ ธญั พชื เมลด็ หญา้ ราก และตน้ อ่อนของพืช หนอน แมลง หอย ปู ปลา กบ เขียด สตั วเ์ ล้ือยคลานตวั เลก็ ๆ เช่น งูน้ำ� เป็นตน้ การสืบพนั ธ์ุ : แสดงพฤติกรรมเก้ียวพาราสีเพศตรงขา้ มดว้ ยการส่งเสียงร้องดงั กงั วาน และกางปี กชูคอข้นึ แหงนหนา้ และกระโดด ไปมาคลา้ ยเตน้ ร�ำ เม่ือผสมพนั ธุ์แลว้ ท้งั ตวั ผูแ้ ละตวั เมียจะช่วยกนั สร้างรังบนพ้ืนดิน ลกั ษณะรังทำ� ดว้ ยหญา้ แห้งและ ใบไมน้ ำ� มาสุมรวมกนั ดูคลา้ ยกบั กระจาดขนาดใหญ่ ในรังอาจมีไข่ประมาณ 1-3 ฟอง ไข่มีลกั ษณะรี ยาว ๆ ขนาดของไข่ เฉล่ีย ยาว 104 มม. กวา้ ง 64 มม. น้ำ� หนกั 238 กรัม ปัจจยั คุกคาม : 1) การใชส้ ารเคมีหรือยาฆ่าแมลงในพ้ืนที่เกษตรกรรม 2) ไข่มกั ถูกนำ� ไปจากรัง หรือถูกทำ� ลาย โดยสตั วช์ นิดอ่ืน และมนุษย์ ช่อื ไทย : นกกระเรียนพนั ธุ์ไทย / นกกระเรียนอนิ โดจนี ช่ือสามญั : Eastern Sarus Crane ช่อื วิทยาศาสตร์ : Grus antigone sharpii Kingdom : Animalia Phylum : Chordata Subphylum : Vertebrata Class : Aves Order : Gruiformes Family : Gruidae Genus : Grus Species : Grus antigone



พฤตกิ รรมและทอี่ ยู่อาศัย : นิสัยคอ่ นขา้ งดุรา้ ยออกหากินทง้ั ในเวลากลางวัน และกลางคนื มคี วามว่องไว และปนี ต้นไมเ้ กง่ มกั อาศัยอยู่ใน ป่าดบิ ชืน้ ปา่ ดบิ เขา และป่าเบญจพรรณ อาหาร : เป็นสตั วก์ ินเน้ือ ไดแ้ ก่ กระแต กระรอก ลิงลม และลิงขนาดเลก็ ตลอดจนนก สตั วส์ ะเทินน้ำ� สะเทินบก การสืบพนั ธ์ุ : จากการศึกษาในกรงเล้ียง แมวลายหินอ่อนต้งั ทอ้ งนานประมาณ 81 วนั ออกลูกคร้ังละ 1-4 ตวั ลูกแมวแรกเกิด หนกั ประมาณ 100-115 กรัม หูเริ่มต้งั เม่ืออายไุ ด้ 5 วนั ลืมตาไดเ้ ม่ืออายุ 14 วนั เมื่ออายไุ ด้ 21 เดือนกเ็ ขา้ สู่วยั เจริญพนั ธุ์ แมวลายหินอ่อนในกรงเล้ียงท่ีอายยุ นื ท่ีสุดมีอายุ 12 ปี ปัจจยั คุกคาม : 1) สภาพแวดลอ้ ม ป่ าท่ีอยอู่ าศยั เปลี่ยนไปดว้ ยมลภาวะต่าง ๆ ส่งผลใหส้ ตั วป์ ่ าเปลี่ยนแปลงที่อยอู่ าศยั ทำ� ใหจ้ ำ� นวน ของแมวลายหินอ่อนลดลงไปตามสภาพเสื่อมโทรมของป่ า 2)การบกุ รุกป่ าเพอ่ื ลกั ลอบตดั ไมเ้ ถอื่ นการถางป่ าเพอื่ การเกษตรการเผาป่ าส่งผลใหแ้ มวลายหินออ่ นสูญเสียที่อาศยั 3) การลกั ลอบล่าสตั ว์ ช่อื ไทย : แมวลายหนิ อ่อน ชอ่ื สามัญ : Marbled Cat ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Pardofelis marmorata Kingdom : Animalia Phylum : Chordata Subphylum : Vertebrata Class : Mammalia Order : Carnivora Family : Felidae Genus : Pardofelis Species : Pardofelis marmorata



พฤตกิ รรมและทอี่ ยู่อาศัย : อาศัยอยู่โดดเดี่ยวตามล�ำพัง ในป่าดงดิบ ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง และป่าผสมผลัดใบ แต่จะอยู่เปน็ ค่ใู นช่วงฤดูผสมพันธุ์ อาหาร : ออกหากินเวลากลางวันและกลางคืน ใช้จมูกดมกล่ิเพื่อค้นหาอาหารจ�ำพวก ใบไม้อ่อน ยอดไม้ท่ีแตกก่ิงใหม่ หรอื ผลไม้ มกั ชอบเดินเล็มกนิ ยอดไมข้ องพืชแตล่ ะชนดิ เพยี งเล็กนอ้ ย ไปเร่อื ย ๆ สลบั กนั ไป การสืบพนั ธ์ุ : ระยะต้งั ทอ้ งประมาณ 390-407 วนั สมเสร็จตวั เมีย ตกลูกคร้ังละ 1 ตวั ทุก 2 ปี ลูกที่เกิดใหม่มีขนสีน้ำ� ตาลมีลาย แถบสีขาวเป็ นแนวตามยาวลำ� ตวั คลา้ ยลายแตงไทยลายตามตวั จะหายไปและเปลี่ยนเป็ นสีดำ� สลบั ขาวเหมือนพ่อแม่ เม่ืออายุ 6-8 เดือน ปัจจยั คุกคาม : 1) สภาพแวดลอ้ ม สภาพของป่ าเปล่ียนไปดว้ ยมลภาวะต่าง ๆ ส่งผลใหส้ ตั วป์ ่ าเปลี่ยนแปลงที่อยอู่ าศยั อาจทำ� ให้ จำ� นวนของสมเสร็จลดลงไปตามสภาพแวดลอ้ ม 2) การบุกรุกป่ า 3) การลกั ลอบล่าสตั วป์ ่ า เนื่องจากสมเสร็จมีรูปร่างท่ีน่าสนใจอาจทำ� ใหม้ ีผตู้ อ้ งการครอบครองซากหรือตวั เป็น ๆ จึงทำ� ใหม้ ีการลกั ลอบ ดกั หรือล่าสมเสร็จ นำ� มาขายอยเู่ สมอ ชอ่ื ไทย : สมเสร็จ ชอ่ื สามัญ : Malayan Tapir ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Topirus indicus Kingdom : Animalia Phylum : Chordata Subphylum : Vertebrata Class : Mammalia Order : Perissodactyla Family : Tapiridae Genus : Tapirus Species : Tapirus indicus



พฤตกิ รรมและทอ่ี ยู่อาศัย : ชอบอาศยั อยเู่ ดย่ี ว ๆ ลำ� พงั ในปา่ ดงดบิ บนทร่ี าบสงู หรอื ภเู ขา มอี าณาเขตครอบครอง ประมาณ 10 ตารางกโิ ลเมตร อาหาร : ออกหากินเวลากลางวัน กินยอดไม้ และกินหญ้า ใบไม้อ่อน ยอดไม้ เปลือกไม้ ยอดหญ้า หน่อไม้อ่อน และหญา้ ระบัด การสืบพนั ธ์ุ : เกง้ หมอ้ จะอยเู่ ป็นคูช่ ่วงฤดูผสมพนั ธุ์ ต้งั ทอ้ งประมาณ 6 เดือน ตกลกู คร้ังละ 1 ตวั ลกู เกง้ หมอ้ จะมีจุดสีขาวตามลำ� ตวั ปัจจยั คุกคาม : 1) สภาพแวดลอ้ ม สภาพของป่ าเปล่ียนไปดว้ ยมลภาวะต่าง ๆ ส่งผลใหส้ ตั วป์ ่ าเปลี่ยนแปลงท่ีอยอู่ าศยั อาจทำ� ให้ จำ� นวนของสมเสร็จลดลงไปตามสภาพแวดลอ้ ม 2) การบุกรุกป่ า และการสร้างเขื่อน อไทย : เก้งหม้อ เกง้ ดำ� กวางเขาจกุ ช่ือสามญั : Fea’s Muntjac ชื่อวิทยาศาสตร์ : Muntiacus feae Kingdom : Animalia Phylum : Chordata Subphylum : Vertebrata Class : Mammalia Order : Cetartiodactyla Family : Cervidae Genus : Muntiacus Species : Muntiacus feae



พฤตกิ รรมและทอี่ ยู่อาศัย : เปน็ สัตว์ที่ต่นื ตกใจงา่ ย ดำ� น้ำ� ไดล้ ึกถงึ 39 เมตร แต่ส่วนใหญจ่ ะด�ำนำ�้ อยูใ่ นระดับ 10 เมตร พะยูนต้องขน้ึ มา หายใจบนผิวน�้ำทุก ๆ 2-3 นาที โดยโผล่จมูกขึ้นมาเหนือผิวน�้ำเล็กน้อย บางคร้ังอาจจะโผล่ส่วนหลังและหาง ว่ายนำ�้ ไดเ้ รว็ ระดับ 1.8-2.2 กม/ชม. อาศยั บรเิ วณพนื้ ที่ท่ีมีแนวหญา้ ทะเล ในทะเลเขตร้อน และทะเลเขตกึ่งรอ้ น อาหาร : หญา้ ทะเลชนิดต่าง ๆ ใชช้ ีวิตส่วนใหญ่ในการกิน และจะอาศยั อยใู่ กล้ ๆ บริเวณที่มีหญา้ ทะเลข้ึนอุดมสมบูรณ์ สามารถกินอาหารไดต้ ลอดเวลา เน่ืองจากการมองเห็นท่ีไม่ชดั เจนนกั เท่าไหร่ พะยนู จะใชจ้ มูกดมกล่ินในการหาอาหาร และใชห้ นวดในการสมั ผสั สิ่งรอบ ๆ ตวั การสืบพนั ธ์ุ : เขา้ สู่วยั เจริญพนั ธุ์ประมาณอายุ 9-10 ปี พะยนู ตวั เมียต้งั ทอ้ งนาน 13-14 เดือน ออกลูกคร้ังละ 1 ตวั และทิ้งระยะ ในการต้งั ทอ้ งนาน 3-7 ปี ปัจจยั คุกคาม : 1) การสร้างมลพษิ ทางทะเล โดยเฉพาะ ขยะพลาสติก 2) อนั ตรายจากเรือประมง 3) การล่าพะยนู ช่ือไทย : พะยนู พยนู พยูร ดูหยง ตหู ยง หมูทะเล หมนู �้ำ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Dugong dugon (Müller, 1776) อาณาจักร : Animalia ไฟลัม : Chordata ช้ัน : Mammalia อนั ดบั : Sirenia วงศ์ : Dugongidae Gray, 1821 วงศย์ ่อย : Dugonginae Simpson, 1932 สกลุ : Dugong Lacépède, 1799 สปชี ีส์ : D. dugon



• วาฬบรูดา้ เป็ นหน่ึงในสัตวป์ ่ าสงวน พระราชบญั ญตั ิสงวนและคุม้ ครองสัตวป์ ่ า พ.ศ. 2562 พบวาฬชนิดน้ี แพร่กระจายอยทู่ ว่ั โลก โดยเฉพาะในเขตร้อนและเขตก่ึงร้อน ในเขตละติจูด 40 องศาเหนือถึงใต้ ไม่พบการอพยพ ยา้ ยถิ่นฐานเป็นระยะทางไกล • ในประเทศไทยมีรายงานการพบวาฬบรูดา้ ท้งั ฝั่งอ่าวไทย และอนั ดามนั พบหากินในบางฤดูบริเวณเกาะสุรินทร์ จ.พงั งา และนอกชายฝั่งทบั ละมุ จ.พงั งา ซ่ึงพบห่างจากฝ่ังเพียงแค่ 4-30 กิโลเมตร และประชากรที่พบในอ่าวไทย จดั เป็นวาฬประจำ� ถิ่น • มีบนั ทึกขอ้ มูลการเกยต้ืนแบบยงั มีชีวติ ที่ อ่าวสิเกา จ.ตรัง และท่ี จ.สตูล และพบซากเกือบทุกจงั หวดั ชายทะเล ท้งั สองฝ่ัง ส่วนฝั่งอ่าวไทยพบแพร่กระจายเกือบตลอดท้งั ปี ในอ่าวไทยตอนบน ในพ้ืนที่ชายทะเลของ จ.ชลบุรี สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา กรุงเทพฯ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และเพชรบุรี และเคยพบเขา้ มาหากินใกลฝ้ ่ัง ที่บา้ นบ่อนอก จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ ---- สถานภาพการอนุรักษ์ ---- • สถานภาพการอนุรักษใ์ นระดบั โลก โดยการจดั อนั ดบั ของ IUCN (2018) คือ Least Concern (LC) หรือ ไม่ถูก คุกคาม/สถานภาพยงั ไม่น่าเป็นกงั วลเท่าที่ควร • สถานภาพการอนุรักษใ์ นประเทศไทย เป็นสตั วป์ ่ าสงวนตามพระราชบญั ญตั ิสงวนและคมุ้ ครองสตั วป์ ่ า พ.ศ.2562 ช่อื ไทย : วาฬบรูดา้ ชอื่ สามัญ : Bryde’s whale, Eden’s whale ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Balaenoptera edeni อาณาจักร: Animalia ไฟลัม: Chordata ชั้น: Mammalia อันดับ: Artiodactyla วงศ:์ Balaenopteridae สกุล: Balaenoptera สปชี ีส:์ B. edeni



• เป็นวาฬสายพนั ธ์ทุ ่ีหายากที่มีความคลา้ ยคลงึ กับวาฬบรดู า้ แตม่ ีความแตกตา่ งกันตรงโดยวาฬโอมูระนน้ั มี ขนาดเล็กกวา่ แตม่ รี อบจบี ใต้คอมีจำ� นวนมากกวา่ มีครบี หลงั ท่สี ูงกว่าและมคี วามโคง้ ทน่ี ้อยกวา่ วาฬบรูดา้ • สว่ นใหญพ่ บการกระจายในมหาสมุทรแปซิฟิก ส�ำหรบั ในประเทศไทยมรี ายงานการพบวาฬโอมูระทั้งฝงั่ อา่ ว ไทย และอันดามัน ---- สถานภาพการอนรุ ักษ์ ---- • สถานภาพการอนุรกั ษใ์ นระดบั โลก โดยการจดั อันดบั ของ IUCN (2018) คือ Data Dificient (DD) หรอื ยังมีขอ้ มลู ไมเ่ พียงพอต่อการจัดอันดบั • สถานภาพการอนรุ กั ษใ์ นประเทศไทย เปน็ สตั วป์ า่ สงวน ตามพระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ้ ครองสัตวป์ ่า พ.ศ. 2562 ช่อื ไทย : วาฬโอมูระ ชื่อสามญั : Omura’s whale ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Balaenoptera omurai อาณาจักร: Animalia ไฟลัม: Chordata ชัน้ : Mammalia อนั ดับ: Artiodactyla Parvorder: Mysticeti วงศ์ใหญ่: Balaenopteroidea วงศ:์ Balaenopteridae สกลุ : Balaenoptera สปีชีส์: ‘B. omurai’



• เตา่ มะเฟอื ง จดั เปน็ สตั วท์ ะเลหายากและใกลส้ ญู พนั ธท์ุ ไ่ี ดร้ บั ความสำ� คญั จากนานาประเทศ เนอ่ื งจากการอพยพ ยา้ ยถิน่ ระยะไกล จึงมแี หลง่ อาศัยในพ้ืนทที่ างทะเลระหว่างประเทศ จัดเปน็ ทรพั ยากรรว่ มของภมู ภิ าคและระดบั โลก • เป็นเต่าทะเลท่ีมีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์สูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับเต่าทะเลท่ีมีอยู่ 7 ชนิดทั่วโลก จ�ำนวน ประชากรพ่อแม่พันธุ์เต่ามะเฟืองท่ีมาผสมพันธุ์และวางไข่ในประเทศไทย ลดลงอย่างต่อเนื่อง “เหลือเพียงปีละไม่ถึง 10 ตวั ในปจั จุบนั ” • ท�ำให้ต้องมีการทบทวนแนวทางการอนุรักษ์เต่ามะเฟือง เพื่อเพ่ิมความเข้มข้นในการคุ้มครองเต่าทะเลท่ีมี ขนาดใหญ่ท่ีสุดของโลกชนิดนี้ ให้เป็นสตั ว์สงวนแห่งพระราชบัญญตั ิสงวนและคุ้มครองสตั วป์ ่า พ.ศ. 2562 ---- ภยั คกุ คาม ---- • ไม่พบการล่าจับเต่ามะเฟืองในน่านน้�ำไทยเพื่อการใช้ประโยชน์ทางการค้า แต่พบการติดเครื่องมือประมง โดยบังเอิญ ซึ่งอาจน�ำไปสกู่ ารสง่ ออกเพอ่ื ขายส�ำหรับการอุปโภคและบริโภคในตลาดต่างประเทศ • การลกั ลอบเกบ็ ไขเ่ ต่ามะเฟอื งเพื่อการบริโภค และลักลอบขาย • ถูกรบกวนจากกิจกรรมในทะเล • การสูญเสยี สภาพชายหาดทีเ่ หมาะสมตอ่ การวางไข่ • ถกู รบกวนจากกจิ กรรมบนชายฝั่ง • ขยะทะเล ชอ่ื ไทย : เต่ามะเฟอื ง ชือ่ สามัญ : Leatherback, Leatherback Sea Turtle, Leathery Turtle, Luth,Trunkback Turtle, Trunk Turtle, Coffin-back, Leatherback Turtle ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Dermochelys coriacea (Vandelli, 1761) อาณาจักร: Animalia ไฟลมั : Chordata ชั้น: Reptilia วงศ:์ Dermochelyidae



• เปน็ ปลาทม่ี ขี นาดใหญท่ ส่ี ุดในโลก จัดเปน็ ปลากระดกู ออ่ น • อาศยั อยใู่ นทะเลเขตรอ้ นและเขตอบอุ่น ตามแนวปะการังท่คี วามลกึ ไม่เกิน 700 เมตรสำ� หรับในประเทศไทย มรี ายงานการพบปลาฉลามวาฬทง้ั ฝ่งั อ่าวไทย และอันดามัน • สาเหตทุ ท่ี ำ� ใหฉ้ ลามวาฬลดจ�ำนวนลง เหตุหนง่ึ ทีท่ ำ� ให้ฉลามวาฬลดจ�ำนวนลงคอื จากการทำ� การประมง แม้วา่ ตวั ฉลามวาฬเองจะไม่ใช่เป้าหมายหลกั แต่มันกต็ ดิ เครอ่ื งมือประมงบ่อยและครีบของมันกม็ ีขนาดใหญ่และราคาดี อกี สาเหตหุ น่ึงคือการนยิ มดำ� นำ�้ ดฉู ลามวาฬซงึ่ ท�ำใหเ้ รอื เข้าไปใกล้ฉลามวาฬและถูกเรือชนเป็นประจำ� • นอกจากนแี้ ลว้ ปัญหาเรือ่ งไมโครพลาสติกทีต่ ดิ มากับแพลงก์ตอน นักวิทยาศาสตร์เชอื่ ว่าสารพิษท่สี ะสมอยใู่ น ไมโครพลาสติกจะสง่ ผลกระทบตอ่ กระบวนการทางชวี ภาพ และสง่ ผลเสียตอ่ ชีววิทยาการสบื พันธ์ขุ องฉลามวาฬได้ ---- สถานภาพการอนุรักษ์ ---- • สถานภาพการอนุรักษ์ในระดับโลก โดยการจัดอันดับของ IUCN (2018) คือ Endangered (EN) หรือ ใกลส้ ูญพนั ธ์ุ • สถานภาพการอนุรักษใ์ นประเทศไทย เปน็ สตั วป์ ่าสงวน ตามพระราชบัญญตั ิสงวนและคมุ้ ครองสตั ว์ปา่ พ.ศ. 2562 ชอื่ ไทย : ฉลามวาฬ ชอ่ื สามญั : whale shark ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Rhincodon typus อาณาจกั ร: Animalia ไฟลมั : Chordata ช้นั : Chondrichthyes อนั ดับ: Orectolobiformes วงศ์: Rhincodontidae สกุล: Rhincodon สปีชสี :์ ‘R. typus’

สำ� นกั อนรุ กั ษส์ ตั วป์ า่ กรมอทุ ยานแแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธ์พุ ชื https://www.facebook.com/DNP.Wildlife


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook