Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการอบรมการเขียนผลงานวิเคราะ

เอกสารประกอบการอบรมการเขียนผลงานวิเคราะ

Published by nipaporn.ka, 2022-08-15 04:50:25

Description: เอกสารประกอบการอบรมการเขียนผลงานวิเคราะ

Search

Read the Text Version

101



103



เทคนิคการเขียน 105 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ • ทาตารางไว้ก่อน ว่าต้องการข้อมลู อะไรบ้าง • เมื่อทาตารางเสร็จแล้ว ให้อธิบายใต้ตาราง โดยบรรยาย 3 สิง่ คือ • 1. มากที่สดุ • 2. รองลงมา • 3. น้อยทีส่ ุด























117 ตวั อย่าง วิเคราะห์งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจาปี 2554

118

119

120

121

122

123 3,847.7325

บทที่ 5 124 สรุปผลการวิเคราะห์และ ขอ้ เสนอแนะ ในบทที่ 5 จะมี 2 หัวข้อใหญ่คือ... สรุปผลการวิเคราะห์ • ข้อเสนอแนะ – ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิเคราะห์ไปใช้ – ข้อเสนอแนะในการวิเคราะห์ครั้งต่อไป

125 การเขียนสรปุ ผลการวิเคราะห์ ในบทนี้เป็นการสรปุ ผลการศึกษาวิเคราะหโ์ ดยย่อ ในสิง่ ทีพ่ บในบทที่ 4 โดยการสรุปรายละเอียดที่เราพบให้ เหลือเพียง 2-3 หนา้

การเขียนขอ้ เสนอแนะ 126 หลังจากการวิเคราะห์เสร็จ ก็จะเจอกับปัญหาอุปสรรคต่างๆ เราก็มาแยกว่า แต่ละปญั หา ถ้าเกิดแล้วจะส่งผลกระทบอย่างไร และมีผลกระทบมากในระดบั ไหน สุดท้ายก็เสนอแนะวิธีการแก้ไข หรือเสนอข้อคิดเห็นเก่ียวกับทางออกของ ปัญหาน้ัน ส่วนข้อดีไม่ต้องเอามาเสนอ การเสนอแนะจะทาก็ต่อเมื่อเจอข้อที่ควร ปรับปรงุ หรือต้องการให้เกิดสง่ิ ทีดแี ละเหมาะสมกวา่ และให้ข้อเสนอแนะ ว่าจะนาผลการศึกษาวิเคราะห์น้ไี ปใช้ประโยชน์ในการพัฒนา งานงาน หรือปรับปรุงงานได้อย่างไร? ต้องทาอะไร? เตรยี มอะไร? มีข้อปฏิบตั ิ อย่างไร? และถา้ จะศกึ ษาวิเคราะห์ในครั้งตอ่ ไป ควรจะเป็นเรื่องใด?และทาในลักษณะใด?

127 การเขียนข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัย/วิเคราะห์ในคร้ัง ต่อไป เป็นการนาเสนอว่า ถ้าจะมีการวิจัย/วิเคราะห์ต่อไป ควรคานึงถึงอะไรบ้าง หรือควรทาเรื่องอะไรบ้าง หรือ ควรจะ เพิ่มตัวแปรอะไรบ้าง ควรปรับปรุงวิธีดาเนินการอย่างไร เครือ่ งมือในการวิจัย/วิเคราะห์ควรใช้แบบไหน ให้เสนอแนะว่าใคร หน่วยงานใด ควรจะดาเนินการอะไร ต่อไป ข้อเสนอแนะต้องเป็นข้อเสนอที่ได้จากการวิจัย/ วิเคราะห์ ไม่ใช่ข้อเสนอแนะในเชิงทฤษฏี ที่ไม่ได้มาจากข้อ ค้นพบในการวิจัย/วิเคราะห์ และต้องเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ เรือ่ งทีว่ ิจยั /วิเคราะห์

128 ในบทท่ี 4 นาเสนอผลไว้ 2 ตอน (สถานภาพทวั่ ไป, สาเหตกุ ารพน้ สภาพ) ตาราง 1 ตาราง 6

129 ในบทท่ี 4 นาเสนอผลไว้ 2 ตอน (สถานภาพทวั่ ไป, สรปุ เพอ่ื นาไปสู่ สาเหตกุ ารพน้ สภาพ) การแกป้ ญั หา หรอื ใชไ้ ดจ้ รงิ นาเสนอใหเ้หน็ แป้ง ไข่ กะทิ นา้ ตาล ของนสิ ติ สาขา บรหิ ารธุรกจิ ตาราง 9

130 ตาราง 9 ตาราง 23, 58 ตาราง 28, 58

131 ตาราง 28, 59

132

133 การเขียนขอ้ เสนอแนะ หลังจากการตรวจสอบ หรือการวิจัย/วิเคราะห์เสร็จ ก็จะเจอกับปัญหาอุปสรรค ต่างๆ แล้วต้องมานั่ง สรุป ปัญหาท้ังหมด เมื่อสรุปปัญหาท้ังหมดแล้วเราก็ก็ เสนอแนะวิธีการแก้ไข หรือเสนอข้อคิดเห็นเกี่ยวกับ ทางออกของปัญหาน้ัน ส่วนข้อดีไม่ต้องเอามาเสนอ การ เ ส น อ แ น ะ จ ะ ท า ก็ ต่ อ เ มื่ อ ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ เ กิ ด สิ่ ง ที่ ดี แ ล ะ เหมาะสมกว่า

134



136

137 การเขียนข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัย/วิเคราะห์ในครั้ง ต่อไป เป็นการนาเสนอว่า ถ้าจะมีการวิจัย/วิเคราะห์ต่อไป ควร คานึงถึงอะไรบ้าง หรือควรทาเรื่องอะไรบ้าง หรือ ควรจะเพิ่มตัว แปรอะไรบ้าง ควรปรับปรุงวิธีดาเนินการอย่างไร เครื่องมือใน การวิจยั /วิเคราะห์ควรใช้แบบไหน ให้เสนอแนะว่าใคร หน่วยงานใด ควรจะดาเนินการ อะไรต่อไป ข้อเสนอแนะต้องเป็นข้อเสนอที่ได้จากการ วิจัย/วิเคราะห์ ไม่ใช่ข้อเสนอแนะในเชิงทฤษฏี ที่ไม่ได้มา จากข้อค้นพบในการวิจัย/วิเคราะห์ และต้องเป็นเรื่องที่ เกีย่ วข้องกับเรื่องที่วิจยั /วิเคราะห์

138

139 การเขียนบรรณานกุ รม โดยแยกบรรณานกุ รมสิง่ พิมพ์ภาษาไทยและ บรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ภาษาต่างประเทศ และแต่ละภาษาน้นั ให้เรียงตามลาดับอกั ษร แบบพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิต สถาน และ พจนานุกรมภาษาอังกฤษทว่ั ไป การเขียนบรรณานุกรม ให้ยึดแนวทางตามคู่มือการ จัดทาปริญญา วิทยานิพนธ์ ของแต่ละมหาวิทยาลยั

140

บทสรปุ เปน็ การเขียนเฉพาะสาระสาคญั ทีค่ รอบคลุมเรื่องราว ในการวิเคราะห์ท้ังหมด เพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นภาพสรุป ของส่วนต่างๆ ก่อนที่จะเปิดอ่านในเล่ม ได้แก่ ความ เป็นมา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขต วิธีการ วิเคราะห์ ผลของการวิเคราะห์ และข้อสรุป ท้ังหมด ขา้ มไป

สรปุ ความคดิ รวบยอด (ใหค้ นอน่ื อา่ น และวิเคราะหว์ า่ เขา้ ใจหรอื ไม่?

ขอ้ เสนอแนะ



การเผยแพร่งานวิเคราะห์ ทาได้โดยการ สาเนาเล่ม ไปยงั หน่วยงานต่างๆ และมีแบบ ตอบรบั เปน็ หลักฐาน หรือนาเสนอในงาน ประชุมวิชาการต่างๆ

146

ระดบั คุณภาพ ระดบั ดี เป็นเอกสารแสดงการแยกแยะองค์ประกอบต่างๆ ของเรื่องอย่างมรี ะบบ มีการศึกษาในแต่ละองค์ประกอบและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ เพื่อพัฒนา งานในหน้าทีห่ รืองานในหน่วยงานหรือมหาวิทยาลยั และเพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องนั้นๆ ซึง่ เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานหรือมหาวิทยาลยั และสามารถนาไปใชเ้ ปน็ แหล่งอา้ งองิ หรือนาไปปฏิบตั ิได้ ระดับดีมาก ใช้เกณฑเ์ ดยี วกบั ระดบั ดี และต้อง 147 1. ก่อให้เกดิ ความรู้ใหมห่ รือเทคนิควิธีการใหม่ 2. เปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบหรือมาตรฐานของงาน ระดบั ดีเด่น ใช้เกณฑเ์ ดยี วกบั ระดบั ดมี าก และต้อง 1. มีลักษณะเปน็ งานบุกเบิกความรใู้ หม่ในเรื่องใดเรื่องหนึง่ 2. มีการกระตุ้นใหเ้ กิดความคิดและค้นคว่าอย่างต่อเนื่อง เป็นทีเ่ ชือ่ ถือและยอมรบั ในวงวิชาชีพ

เทคนิคการทาผลงานวิเคราะห์ -กาหนดตัวแปรทีจ่ ะวิเคราะห์ -ทาสารบัญตาราง -ปรบั ขอบเขตของการวิเคราะห์ -หาคาตอบเรื่องทีจ่ ะวิเคราะห์ไว้ ล่วงหน้า

149 คาถาม??? มีขอ้ สงสัย หรือต้องการปรึกษา E-mail : [email protected] line : nuknuk21 โทรศพั ท์ 081-4799953

150 ผลงานทางวิชาการ ที่จะส่งให้ตรวจ/ขอคาแนะนา 1. ชือ่ สกลุ 2. ตาแหนง่ ระดับ 3. หน่วยงานและมหาวิทยาลยั 4. สง่ ครง้ั ละ 1 บท 5. เบอร์โทร e-mail


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook