Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore BOT พระสยาม MAGAZINE

Description: BOT พระสยาม MAGAZINE

Search

Read the Text Version

เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๕ พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๐ ทรงพระเจริญ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ขา้ พระพทุ ธเจา้ คณะผู้บรหิ าร และพนกั งานธนาคารแหง่ ประเทศไทย

เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๖๕ พรรษา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ทรงพระเจริญ Long Live The King ดว้ ยเกลา้ ด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้บริหาร และพนกั งานธนาคารแห่งประเทศไทย

Editor’s ทา่ มกลางกระแสของการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมและเศรษฐกจิ ทซี่ บั ซอ้ นและรนุ แรงมากขนึ้ การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื กลายเปน็ โจทยท์ า้ ทายรว่ มกนั ของทกุ ประเทศทตี่ า่ งหนั มาใหค้ วามสำ� คญั Welcome หลกั คดิ หนงึ่ ทส่ี ะทอ้ นแนวทางการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี กค็ อื “หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ซง่ึ เปน็ องคค์ วามรทู้ พี่ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระราชทาน เจา้ ของ : แกป่ วงชนชาวไทย ผา่ นกระบวนการทดสอบจากการปฏบิ ตั จิ รงิ มาตลอดชว่ งรชั สมยั ของพระองค์ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย รวมถงึ ไดท้ รงงานพฒั นาไวเ้ ปน็ ตน้ แบบ ทพี่ วกเราทกุ คนสามารถนอ้ มนำ� มาปฏบิ ตั เิ พอ่ื ยกระดบั ทป่ี รกึ ษากิตตมิ ศกั ดิ์ : คณุ ภาพชวี ติ สงั คม และประเทศ ใหเ้ กดิ ความมนั่ คงและยง่ั ยนื ดร.วิรไท สนั ติประภพ ท่ปี รึกษา : BOT พระสยาม MAGAZINE ฉบบั ท่ี 4/2560 นำ� เสนอเรอื่ งราวดว้ ย Theme “หลกั ปรชั ญา จนั ทวรรณ สจุ รติ กลุ เศรษฐกจิ พอเพยี ง (Sufficiency Economy Philosophy)” เรม่ิ ดว้ ยคอลมั น์ “Cover Story” บรรณาธิการ : นำ� เสนอเรอ่ื งธนบตั รทรี่ ะลกึ ดว้ ยสำ� นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ อนั หาทส่ี ดุ มไิ ดแ้ หง่ พระบาทสมเดจ็ สพุ ัฒน์พงษ์ นาวารัตน์ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท่ีธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้รับพระราชทาน กองบรรณาธิการ : พระราชานญุ าตจากสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ ลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู ใหจ้ ดั พมิ พธ์ นบตั ร ขจร ธนะแพสย์, ประกอบ ตอสวุ พรรณ, ที่ระลึกฯ เพ่ือเป็นการถวายความอาลัยและน้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ วีระพล เทียนงามสจั , สรุ พล ฟกั ทอง, แห่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยจะออกใช้เป็นธนบัตรหมุนเวียน รชั นี พวั ศริ ริ ตั นส์ กุล, พมิ พ์วรยี ์ กติ ตสิ ารกลุ , 5 ชนิดราคา และภาพด้านหลังธนบัตร ได้เชิญภาพพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ ศรุต รัตนวิจติ ร, ปยิ ะนุช ปฐมศริ ,ิ รวมถงึ โครงการพระราชดำ� ริ ทสี่ ะทอ้ นเรอื่ งราวตลอดชว่ งรชั สมยั ของพระองคท์ า่ นในแตล่ ะชว่ ง นฤพนธ์ รกั ษ์พงษ์ พระชนมพรรษา ทำ� ใหไ้ ดย้ อ้ นรำ� ลกึ ถงึ พระมหากษตั รยิ ผ์ เู้ ปน็ ทรี่ กั ยงิ่ ของประชาชน ออกแบบและจดั ทำ� : บริษัท จเี อ็ม มัลตมิ ีเดีย กรุป๊ จ�ำกดั (มหาชน) ในดา้ นการนำ� หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชก้ บั การดำ� เนนิ งานของธนาคารกลางนนั้ คำ� ถามทนี่ า่ สนใจคอื ธปท. สามารถนำ� หลกั คดิ ดงั กลา่ ว มาปรบั ใชใ้ นการทำ� หนา้ ทรี่ กั ษาเสถยี รภาพ เศรษฐกจิ ของประเทศ ใหส้ ามารถดำ� เนนิ ไปไดอ้ ยา่ งสมดลุ และมกี ารสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ใหส้ อดคลอ้ ง กบั สภาพแวดลอ้ มในโลกทผ่ี นั ผวน ไมแ่ นน่ อน ซบั ซอ้ น และไมช่ ดั เจน ไดอ้ ยา่ งไร รว่ มคน้ หา คำ� ตอบจาก ดร.วริ ไท สนั ตปิ ระภพ ผวู้ า่ การ ธปท. และ ดร.ศริ กิ ลุ เลากยั กลุ ผเู้ ชย่ี วชาญ ทางดา้ นการสรา้ งแบรนดต์ ามแนวทางหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไดใ้ นคอลมั น์ “Conversation with the Governor” สำ� หรบั คอลมั น์ “Relax @ Reun Pae” ไดร้ บั เกยี รตอิ ยา่ งสงู จาก ดร.สเุ มธ ตนั ตเิ วชกลุ เลขาธกิ ารมลู นธิ ชิ ยั พฒั นา มายอ้ นรำ� ลกึ ถงึ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร- มหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งทรงเป็น “ครูของแผ่นดิน” โดยท่านจะมาถ่ายทอดบทเรียนและ ประสบการณต์ รงอนั ทรงคณุ คา่ มากมายเพอื่ สง่ ตอ่ ใหค้ นไทยใชเ้ ปน็ หลกั ยดึ ในการทำ� งานและการ ใชช้ วี ติ ตอ่ ไป สดุ ทา้ ยน้ี กองบรรณาธกิ าร BOT พระสยาม MAGAZINE ขออญั เชญิ พระบรมราโชวาท องคห์ นงึ่ ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทเ่ี ปน็ คำ� สรปุ ทส่ี น้ั ลกึ ซงึ้ และ สะทอ้ นหวั ใจสำ� คญั ของการดำ� เนนิ งานของ ธปท. ในการรกั ษาเสถยี รภาพเศรษฐกจิ ของประเทศ ใหม้ กี ารพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื และทว่ั ถงึ ตลอดระยะเวลา 75 ปี ไดอ้ ยา่ งชดั เจนทส่ี ดุ “คำ� วา่ พอสมควร นเ้ี ปน็ คำ� ทสี่ ำ� คญั ทส่ี ดุ แลว้ อาจเปน็ ใจกลางของการปฏบิ ตั ทิ กุ อยา่ ง”1 1 พระบรมราโชวาทพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระราชทานแกน่ กั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ในโอกาสเสดจ็ ฯ ไปทรงดนตรี ณ หอประชมุ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ มนี าคม 2517

Contents 4 In Remembrance of King Rama IX “ในหลวง ร.๙” ในความทรงจำ� ม.ร.ว.ดศิ นัดดา ดิศกลุ “๗๐ ปี ทพี่ ระองค์ท่านไมเ่ คยทง้ิ พระปฐมบรมราชโองการ” 8 Cover Story ธนบตั รทีร่ ะลึก 38 ด้วยสำ� นกึ ในพระมหากรุณาธคิ ุณอันหาทส่ี ุดมิได้ 42 แหง่ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช 14 Conversation with the Governor 50 “เศรษฐกิจพอเพยี ง” เพอื่ การเตบิ โตอยา่ งยงั่ ยืนของเศรษฐกจิ ไทย 18 The Knowledge ธปท. ปรบั เกณฑค์ ุมสนิ เชื่อบัตรเครดิตและสินเชอื่ สว่ นบคุ คล ม่งุ ดแู ลการกอ่ หน้ภี าคครัวเรอื น โสมรัศม์ิ จันทรัตน์ Research Driven Policy ที่ดำ� เนินรอยตามความเปน็ นักวิจยั ผยู้ งิ่ ใหญ่ ของในหลวงรชั กาลที่ 9 BOT Leadership Boot Camp 14 ASEAN at 50 The Regional Platform for Cooperation 34 Our Pride & Heritage The Treasure : เรือนแพ 50 Payment Systems 36 Special Scoop e-Money เงนิ ยุคใหม่ ตราสญั ลกั ษณแ์ ห่งความภาคภูมิ สะดวก ปลอดภยั ไร้กังวล “75 ปี ธนาคารแหง่ ประเทศไทย” 54 Financial Wisdom 38 Relax @ Reun Pae โครงการครูพอเพียง ปลอดหน้ี ชวี ีสมดลุ ถอดบทเรยี นจาก “ครแู หง่ แผ่นดนิ ” 56 BOT Moments ผ่านความประทบั ใจจาก “ลกู ศิษย์แห่งพระราชา” ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล องอาจ สุขุมาลวรรณ์ เตรียมความพรอ้ มเพื่อรบั มอื กับจุดเปลยี่ น 42 Alumni’s Wisdom อุดมทรพั ย์ สนุ ทรมนกู จิ 31 ปี ในองค์กรที่ใฝฝ่ นั นวพร เรืองสกลุ 58 Bestination สร้างหนว่ ยงานกระดาษใหเ้ ป็นองคก์ รที่มีชวี ิต Creative Spaces Inspiration 46 Smart Generations 60 Wordbook Financial Future with Smart Technology อนาคตความทา้ ทายของเทคโนโลยีทางการเงิน

4 BOT MAGAZINE In Remembrance of King Rama IX

“ในหลวง ร. ” ในความทรงจ�ำ ม.ร.ว.ดศิ นดั ดา ดศิ กุล “๗๐ ปี ทพี่ ระองค์ท่านไม่เคยทิง้ พระปฐมบรมราชโองการ” แม้จะไม่ได้ถวายงานรับใช้ใต้เบ้ืองพระยุคลบาท พระบาทสมเด็จ ปี 2489 รัชกาลที่ 9 ทรงเผชิญกับความทุกข์ยากอย่างมหาศาล 5 BOT MAGAZINE In Remembrance of King Rama IX พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยตรง แต่ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ท้ังความยากล�ำบากจากสงครามโลกครั้งท่ี 2 ความทุกข์พระทัย ดิศกุล ก็เป็นอีกบุคคลหนึ่งที่ได้เห็น และรับทราบถึงพระราชจริยวัตร จากเหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลท่ี 8 โรคระบาดอย่างหนักใน อันประเสริฐอย่างใกลช้ ดิ เมืองไทยเมื่อปี 2493 และการขยายอิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์ ทที่ ำ� ใหค้ นไทยตอ่ สกู้ นั เอง ฯลฯ จะเหน็ ไดว้ า่ เมอ่ื ทรงราชยแ์ ลว้ กไ็ มไ่ ด้ ม.ร.ว.ดิศนัดดา หรือ “คุณชาย” ได้รับพระบรมราชโองการ ทรงพระเกษมส�ำราญตามท่ีพระเจ้าแผ่นดินควรจะเป็น แต่กลับ โปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงงานอยา่ งหนกั เพือ่ แก้ไขปัญหาของประเทศ” ให้ด�ำรงต�ำแหน่งราชเลขานุการในพระองค์ สมเด็จพระศรีนคริน- ทราบรมราชชนนี หรือ “สมเดจ็ ย่า” ตอ่ จากบดิ าต้งั แต่ปี 2510 กระท่ัง ม.ร.ว.ดิศนัดดา ขยายความว่า ขณะที่กษัตริย์ส่วนใหญ่ในโลก สวรรคตในปี 2538 จากน้ัน จึงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็น มีบทบาทเชิงสัญลักษณ์ รัชกาลที่ 9 กลับเสด็จพระราชด�ำเนินไป ผู้สืบสานแนวพระราชปณิธานของสมเด็จย่าต่อไป จึงกล่าวได้ว่า ทั่วประเทศ เพ่ือแก้ไขปัญหาของประชาชน ต้ังแต่วันแรกจนถึง คุณชายมีโอกาสรับทราบถึงการทรงงานอย่างหนักของท้ังสองพระองค์ วันสุดท้ายท่ีทรงราชย์ จึงมีโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ เพื่อพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด เกิดขึ้นเป็นพันโครงการ เพื่อแก้ปัญหาของประเทศในช่วงน้ัน ๆ อีกท้ังยังมี “โครงการหลวง” เพ่ือแก้ปัญหาฝิ่นและยาเสพติดตาม BOT พระสยาม MAGAZINE ได้รับเกียรติจาก ม.ร.ว.ดิศนัดดา แนวชายแดน ซ่ึงเป็นการผสมผสานการแก้ปัญหายาเสพติดและ ดิศกุล ประธานกรรมการมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ การเกษตรสมัยใหม่ โดยยึดคนเป็นศูนย์กลาง และกลายมาเป็น มาถ่ายทอดความทรงจ�ำเก่ียวกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา- เกษตรทฤษฎีใหม่ ที่สร้างประโยชน์ให้กับคนไทยท้ังประเทศ ภูมิพลอดุลยเดช พร้อมท้ังกระตุ้นให้ทุกฝ่ายร่วมแรงร่วมใจส�ำนึกใน อยา่ งไรกต็ าม รชั กาลที่ 9 ไดท้ รงทดลองศกึ ษาและทำ� “เกษตรทฤษฎี พระมหากรุณาธิคุณ ด้วยการน้อมน�ำพระราชด�ำริไปปฏิบัติจริง ใหม”่ หรอื “การเกษตรแบบปราณตี ” อยา่ งเปน็ ระบบภายใน “บา้ น” เพื่อพัฒนาตนเองและสร้างโอกาสให้ผู้ท่ีมีน้อยกว่า ซ่ึงในที่สุดก็คือ ของพระองค์ก่อน (พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน) เมื่อส�ำเร็จจน การสร้างความม่นั คงและยง่ั ยืนใหป้ ระเทศชาติน่นั เอง แนพ่ ระทยั แลว้ จงึ พระราชทานใหห้ นว่ ยราชการต่าง ๆ ไปขยายผล สงิ่ ประทบั ใจที่สดุ คือ พระปฐมบรมราชโองการ ส่ปู ระชาชน เชน่ ปลานลิ เพ่ือเปน็ แหลง่ โปรตนี ทถี่ ูกทีส่ ดุ ใหค้ นไทย เป็นตน้ พระตำ� หนกั จติ รลดาฯ จงึ กลายเปน็ แหลง่ เรยี นรทู้ ส่ี ำ� คญั มาก ๆ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน แหง่ หนง่ึ ชาวสยาม” ดังน้ัน บทเรียนและประสบการณ์อันเกิดจากการศึกษาอย่าง นคี่ อื พระปฐมบรมราชโองการ เนือ่ งในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก เป็นระบบ และลงมือปฏิบัติจริง เพื่อแก้ไขปัญหาของประชาชน เมอ่ื วนั ศกุ รท์ ี่ 5 พฤษภาคม 2493 คนไทยแทบทกุ คนคนุ้ หกู บั ประโยคนี้ ตลอดพระชนม์ชีพ จึงเป็นองค์ความรู้ท่ีมีพ้ืนฐานจากความเป็นจริง แต่มนี ้อยคนนักท่นี �ำประโยคนี้มาวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์อยา่ งลกึ ซึ้ง เปน็ เหตุเป็นผล ปฏบิ ัตไิ ด้จริง และมาจากพระราชปณธิ านท่ีต้องการ ใหป้ ระชาชนอยดู่ ีมีสขุ และพึ่งตนเองได้ ทงั้ หมดน้ที ี่เรียกวา่ “ศาสตร์ “ส่ิงที่ผมประทับใจ ‘ในหลวง ร.9’ มากท่ีสุด คือ พระปฐม พระราชา” จึงสามารถนำ� ไปสกู่ ารพัฒนาสังคมไทยไดอ้ ย่างยงั่ ยนื บรมราชโองการ เพราะสะทอ้ นวา่ ทรงนกึ ถงึ ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน เป็นส�ำคัญ และไม่มีส่ิงอื่นใดส�ำคัญกว่าน้ัน นับต้ังแต่ทรงราชย์ใน

6 BOT MAGAZINE In Remembrance of King Rama IX คุณชาย ย้�ำว่า ทุกอย่างท่ีทรงท�ำก็เพ่ือประโยชน์สุข ร.9 ไมเ่ คยสง่ั ใหเ้ ราทำ� อะไร แตจ่ ะทรงทำ� ใหด้ ู เรยี กวา่ ทงั้ สองพระองค์ ของประชาชนอย่างแท้จริง ดังจะเห็นได้จากพระราชด�ำรัสที่ ‘พาทำ� ’ เมอ่ื ผมถกู ‘พาทำ� ’ จนเขา้ ไปในสายเลอื ด ผมจงึ นำ� สง่ิ ทเี่ รยี นรนู้ ไ้ี ป ถ่ายทอดถึงพระบรมวงศานุวงศ์โดยท่ัวกันว่า “การเป็นกษัตริย์ ท�ำกบั หนว่ ยงานต่าง ๆ ท่ีผมได้มีโอกาสเขา้ ไปเกีย่ วข้อง” นั้น ถ้าท�ำให้ประชาชนมีความสุขไม่ได้ ก็นับเป็นความล้มเหลว” จึงกล่าวได้ว่า “ตลอด 70 ปีที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร- คุณชายยกตัวอย่างว่า ในการเสด็จลงพื้นที่ต่างจังหวัด จะมี มหาภูมิพลอดุลยเดชทรงราชย์มา ทรงไม่เคยท้ิงพระปฐม ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ผู้น้อย และเจ้าหน้าท่ีท้องท่ีท้องถ่ินจ�ำนวนมาก บรมราชโองการ แม้แตว่ ินาทเี ดยี ว” ตามเสด็จด้วยทุกครั้ง นั่นเป็นกุศโลบายในการ “พา (ข้าราชการ) เรียนรจู้ ากการ “พาท�ำ” ของสองพระองค์ “นักพัฒนา” ท�ำ” และเอกชนดว้ ยเปน็ ครง้ั คราว เพอ่ื ใหเ้ หน็ ทง้ั หลกั คดิ หลกั ปฏบิ ตั ิ กระบวนการ และเทคนิควิธีการท�ำ รวมท้ังยังมีนัยส�ำคัญ คือ “ท�ำอย่างไรอย่าให้คนลืมแม่” คือพระราชด�ำรัสของพระบาท การพยายามปิดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน และการลดความ สมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชตอ่ คณุ ชาย หนา้ พระบรมโกศ เหล่ือมล�้ำในสังคมไทย เช่น การที่พระองค์ทรงนง่ั พับเพยี บท่ามกลาง ของสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนใี นปี 2538 และกลายเปน็ ประชาชน นบั เปน็ ภาพสะทอ้ นทช่ี ดั เจนทสี่ ดุ ถงึ การไมม่ ชี อ่ งวา่ งระหวา่ ง แรงบันดาลใจ ตลอดจนรากฐานการท�ำงานของคุณชายและมูลนิธิ ชนชน้ั ซึง่ ถอื เป็นอีกหนึ่งสง่ิ ท่พี ระองคท์ ่านทรง “พาท�ำ” แม่ฟ้าหลวงฯ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ด้วยการน�ำหลักคิดและ แนวพระราชด�ำริของสมเด็จย่าไปปฏิบัติจริงในพื้นที่ห่างไกล เพื่อ “ภาพท่ีเราเห็นชาวบ้านนั่งต่อหน้าพระพักตร์ หมายความว่า แก้ไขปัญหาความยากจนและการขาดโอกาส อันเป็นรากเหง้าของ ชาวบา้ นคอื พระอาจารยข์ องพระองค์ แมพ้ ระองคจ์ ะทรงศกึ ษาจากตำ� รา ปัญหาตา่ ง ๆ ในสงั คม โดยไม่จ�ำกดั สัญชาติ เชอื้ ชาติ หรือศาสนา จากข้าราชการ และผูม้ คี วามรสู้ งู แล้ว พระองค์ยงั เสด็จฯ ไปทรงรบั ฟงั จากชาวบ้านด้วย เพราะไม่มีใครรู้พื้นท่ีดีเท่าชาวบ้านท่ีอาศัยอยู่ ซึ่ง “ตลอดระยะเวลากว่า 28 ปีที่ได้รับใช้ใกล้ชิด ‘สมเด็จย่า’ นี่คือส่ิงส�ำคัญท่ีผมเรียนรู้และซึมซับจากท้ังสองพระองค์ และน้อมน�ำ ท่านเรียบง่าย พระทัยเย็น มีเหตุผล ทรงมองการณไ์ กล มีวสิ ยั ทศั น์ ไปใช้ในการทำ� งานพัฒนา นน่ั คือ การรับฟงั และเรียนรู้จากชาวบา้ น” คดิ ลว่ งหนา้ กอ่ นทคี่ นอนื่ จะคดิ เชน่ ทรงเหน็ ความสำ� คญั ของปา่ และ ขา้ ราชการควรนอ้ มน�ำ “หลักบรู ณาการ” เป็นหลกั ปฏิบัติ การ Reuse Recycle เพอื่ แกป้ ญั หาภาวะโลกรอ้ น (Global Warming) ตวั อยา่ งเชน่ ทรงน�ำกระป๋องทใ่ี ชแ้ ลว้ มาทำ� พมิ พข์ นมปงั เป็นต้น ซึง่ ตลอดเวลาหลายสิบปีท่ีถูก “พาท�ำ” ม.ร.ว.ดิศนัดดา เล่าว่า คนมักมองว่าทรงเป็นคนมัธยัสถ์ แต่อันที่จริง ทรงพยายามแก้ไข สิ่งส�ำคัญที่ได้เรียนรู้จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล ปญั หาภาวะโลกรอ้ นในทกุ ๆ ทางทท่ี รงทำ� ได้ และทสี่ ำ� คญั สมเดจ็ ยา่ อดลุ ยเดช คอื “ทำ� จากเลก็ ไปหาใหญ”่ คดิ ถงึ ผอู้ นื่ กอ่ นพระองคเ์ อง และคดิ ทจี่ ะชว่ ยเหลอื คนทม่ี โี อกาสนอ้ ยกวา่ อยเู่ สมอ สง่ิ เหลา่ นีซ้ ึมซับเขา้ ไปในตัวผม ทำ� ให้กลายเป็นคนทคี่ ดิ ถงึ “หลายสิ่งหลายอย่างพระองค์ทรงท�ำให้เห็นเป็นตัวอย่าง รวมถึง เรอ่ื งชมุ ชน และมงุ่ มน่ั ทำ� สงิ่ ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม เพราะไดเ้ รยี นรู้ การใชช้ วี ติ ตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง แตห่ ลายคนเรยี น แตไ่ มร่ ู้ บา้ งกร็ ู้ จากทงั้ สองพระองคท์ กุ ๆ วนั จนเปน็ อตั โนมตั ิ สมเดจ็ ยา่ และในหลวง แต่ไม่น�ำไปปฏิบัติ ซึ่งถ้าทุกคนน�ำสิ่งที่เรียนรู้จากพระองค์ไปพัฒนา ตัวเอง แล้วขยายไปยังครอบครัว ไปยังกลุ่มของตัวเอง ไปสู่ชุมชน ในที่สุดก็จะขยายไปทั้งประเทศ ส่งผลให้เกิดความมั่นคงท้ังทาง

“ตลอด 70 ปที พี่ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร- เจริญก้าวหน้าและมีเสถียรภาพ และ (2) การก�ำกับดูแลสถาบัน 7 BOT MAGAZINE In Remembrance of King Rama IX มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงท�ำมา พระองค์ การเงินและตลาดการเงินให้ท�ำหน้าท่ีอย่างมีประสิทธิภาพและ ไม่เคยทิ้งพระปฐมบรมราชโองการ แม้แต่ มคี วามมัน่ คง วินาทีเดียว” “จะเห็นว่า เป้าประสงค์ทั้ง 2 ด้านมีความขัดแย้งและคานกัน เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม ความสขุ และความยงั่ ยนื ” ด้านหน่ึงต้องการการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ขณะที่อีกด้านหน่ึง นอกจากนี้ การท�ำงานของมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ ยังต้องยึดหลัก ต้องดูแลเร่ืองเสถียรภาพและความมั่นคง ดังนั้น ในสถานการณ์ เช่นนี้ ‘ความสมดลุ ’ ถือเปน็ เรื่องสำ� คัญอย่างยิง่ ยวด เพราะถา้ เน้น ส�ำคัญ คือ “ท�ำจากล่างข้ึนบน” โดยมีกุญแจส�ำคัญอยู่ท่ีการฟังและ ความมนั่ คงหรอื เสถยี รภาพมากเกนิ ไป กจ็ ะคมุ เขม้ มาก จนอาจทำ� ให้ เรียนรู้จากชาวบ้านถึงปัญหาและความต้องการของพวกเขา โดย เศรษฐกจิ โตช้า แตถ่ า้ ผอ่ นคลายเกนิ ไป อาจทำ� ให้เกิดวิกฤตเิ หมือน ชาวบา้ นในที่น้ี ไมใ่ ชแ่ คก่ ำ� นัน ผใู้ หญ่บ้าน หรือกรรมการหม่บู ้าน แต่ ปี 2540 ดังน้ัน จะทำ� อยา่ งไรใหเ้ กิดสมดุล ไมต่ ึงเกินไป หรอื หยอ่ น คือชาวบ้านในชุมชนทุกหลังคาเรือน ซึ่งปัญหาหรือความต้องการใด เกินไป แต่ท้ังน้ีต้องดูความเป็นไปของโลกด้วย เพราะมีส่วนที่มา ทีช่ าวบ้านกว่า 75% ของชุมชนเหน็ พ้องกัน จึงจะหยบิ ยกขึ้นมาพฒั นา กระทบกบั เราอย่างมาก แม้เราไมไ่ ด้เป็นผสู้ รา้ งข้ึนกต็ าม” เป็นโครงการส�ำหรับชุมชนนั้น ขณะเดียวกันก็ต้องยึดหลัก “ท�ำจาก บนลงลา่ ง” กล่าวคือ ทงั้ รัฐบาล หนว่ ยงานด้านนโยบายระดับประเทศ คุณชายสรุปหนักแน่นว่า หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ หน่วยงานระดบั จังหวดั ตลอดจนหนว่ ยงานทอ้ งท่ที ้องถิ่น อย่างก�ำนนั ค�ำตอบ และเป็นหัวใจส�ำคัญในการด�ำเนินนโยบายท้ัง 2 ด้าน ผใู้ หญ่บ้าน อบต. ฯลฯ และทีส่ ำ� คญั คือ ชาวบา้ นอย่างน้อย 75% ของ ของธนาคารกลาง พร้อมกับอธิบายว่า แม้ว่า ธปท. จะขึ้นชื่อว่า ชุมชนนัน้ ต้องเห็นด้วยกับโครงการดงั กล่าว เป็นแหล่งรวมผู้มีความรู้ด้านเศรษฐกิจดีท่ีสุดและมีจ�ำนวนมากที่สุด แห่งหน่ึงในประเทศไทย โดยคนกลุ่มน้ีต่างก็ตั้งใจเข้ามาท�ำหน้าที่ “สิ่งท่ีมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ และมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ท�ำได้ เพอ่ื ประเทศชาติ แตว่ กิ ฤตเิ ศรษฐกจิ ปี2540 นบั เปน็ อทุ าหรณท์ เี่ ตอื นวา่ ดีที่สุด คือ การประสาน ‘ว่ิงขึ้น-วิ่งลง’ เราต้องประสานท้ังหมด ความรู้และคุณธรรมไม่เพียงพอทีจ่ ะทำ� หน้าทีธ่ นาคารกลาง ทั้งแนวดงิ่ (Vertical) เพอ่ื ให้เกิดความเขา้ ใจตรงกัน และขยับงานได้ และแนวนอน (Horizontal) เพอ่ื สลาย ‘ไซโล (Silo)’ หรือการทำ� งาน “การทำ� หน้าทีข่ อง ธปท. ยังตอ้ งอาศยั ‘หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ เป็นแท่ง ๆ หน่วยงานใดก็หน่วยงานนั้น เพ่ือให้แน่ใจว่าการท�ำงาน พอเพียง’ ซ่ึงมีองค์ประกอบส�ำคัญ 3 ข้อ คือ ความพอประมาณ ที่เก่ียวข้องกันสอดคล้องกันได้อย่างดี ไม่ทับซ้อน สร้างความ ความมเี หตมุ ผี ล และการสร้างภมู ิคุม้ กัน ซง่ึ ทงั้ 3 องค์ประกอบ คอื เสียหายกับหนว่ ยงานอนื่ และทีส่ ำ� คัญ คือ ไม่ทำ� ให้ส่วนรวมเสยี หาย หลักในการบริหารจัดการความเสย่ี งทุกประเภท” นั่นคือ ต้องรู้จัก ‘บูรณาการ’ ค�ำน้ีมีอยู่ แต่ไม่ค่อยปฏิบัติกัน แต่ ‘หลักบูรณาการ’ นี้ เป็นส่ิงที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร- ทง้ั นี้ ม.ร.ว.ดศิ นดั ดา ไดฝ้ ากความหวงั ไวก้ บั ธปท. ในการนำ� พา มหาภมู พิ ลอดุลยเดชทรงยึดถือและทรงปฏบิ ตั มิ าตลอด และปรบั เศรษฐกจิ ไทยไปสู่ระบบใหม่ (Paradigm Shift) และรว่ มกับ หนว่ ยงานอนื่ ๆ แกไ้ ขปญั หาและพฒั นาประเทศตอ่ ไปบนพนื้ ฐานของ ล�ำพังผมก็คงท�ำได้แค่หยิบมือเดียว ดังนั้น สิ่งท่ีผมพยายามท�ำ ความใสใ่ จและการแบง่ ปัน “Care & Share” โดยมีศาสตร์พระราชา มากทส่ี ดุ ทกุ วนั นี้ คอื พยายามกระตกุ ตอ่ มคดิ เปลยี่ นวธิ คี ดิ (Mindset) เปน็ เขม็ ทศิ เพอื่ ใหป้ ระเทศของเรากา้ วตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งมนั่ คงและยงั่ ยนื ของข้าราชการ ชาวบ้าน และเอกชน และผลักดันให้น�ำ ‘ศาสตร์ พระราชา’ ไปเป็นหลักปฏิบัติในภารกิจตามปกติของหน่วยราชการ “ระบบทุนนิยม (Capitalism) สังคมนิยม (Socialism) และ องค์กรเอกชน และภาคประชาชน” คอมมวิ นิสต์ (Communism) รวมถงึ ประชาธปิ ไตย (Democracy) ท่เี ป็นอยู่ทุกวนั นล้ี ม้ เหลวโดยสน้ิ เชงิ ดังจะเห็นได้จากความอดอยาก “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” คอื “หวั ใจ” การทำ� หนา้ ทธี่ นาคารกลาง ยากจน คนรวยกับคนจนห่างกันมากข้ึน ๆ และความเหลื่อมล�้ำ ในมุมมองของ “คุณชายนักพัฒนา” ธนาคารแห่งประเทศไทย ก็มากขึ้น ๆ ทั่วโลก ผมจึงเช่ือว่า ต้องมี ‘ism’ ใหม่เกิดข้ึนใน ศตวรรษท่ี 21 แต่ผมไม่ใช่นกั วิชาการ จึงไมอ่ าจรู้ไดว้ า่ ‘ism’ ใหม่น้ี (ธปท.) มีหน้าท่ีส�ำคัญมากมาย แต่หน้าท่ีหลักมีอยู่ 2 ด้าน คือ คอื อะไร แตผ่ มเชอื่ เหลอื เกนิ วา่ ตอ้ งมหี ลกั คดิ แบบตะวนั ออกเปน็ หวั ใจ (1) การด�ำเนินนโยบายการเงินของประเทศ เพ่ือให้ระบบเศรษฐกิจ สำ� คัญ ดังจะเหน็ ไดจ้ ากเปา้ หมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ของสหประชาชาติ สง่ิ ทผี่ มอยากบอก กค็ อื รชั กาลที่ 9 ทรงทำ� เรอื่ งการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื มากวา่ 50 ปแี ลว้ ” คุณชายนักพัฒนาวัย 78 ปี กล่าวท้ิงท้ายอย่างหนักแน่นว่า “วันนี้ใครจะให้ผมเป็นอะไร ผมไม่เป็นท้ังนั้น ผมจะท�ำในสิ่งท่ีผม เชือ่ มั่นใน ‘ศาสตร์พระราชา’ จนกว่าชีวิตจะหาไม”่

8 BOT MAGAZINE Cover Story เรือ่ ง : สายออกบัตรธนาคาร ธนบตั รทร่ี ะลกึ ดว้ ยสำ� นึกในพระมหากรุณาธิคุณอนั หาทส่ี ดุ มไิ ด้ แหง่ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช เพื่อแสดงความอาลัยถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ธนาคารแห่งประเทศไทยได้รับ พระราชทานพระราชานญุ าตจากสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู ใหจ้ ดั พมิ พ์ “ธนบตั รทรี่ ะลกึ ดว้ ยสำ� นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ อนั หาทสี่ ดุ มไิ ดแ้ หง่ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช” โดยมแี นวคดิ หลกั ในการออกแบบเพอื่ นอ้ มรำ� ลกึ ถงึ พระมหากษตั รยิ ผ์ ทู้ รงเปน็ ทรี่ กั และเทดิ ทนู ยง่ิ ของประชาชนชาวไทย พระมหากษตั รยิ ท์ ท่ี รง ทมุ่ เทพระวรกาย บำ� เพญ็ พระราชกรณยี กจิ เพอื่ บำ� บดั ทกุ ขบ์ ำ� รงุ สขุ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และยงั ความรม่ เยน็ มาสปู่ ระชาชน ชาวไทย ตลอดระยะเวลาทที่ รงครองสริ ริ าชสมบัติ

10 BOT MAGAZINE Cover Story ้ดานห ้นา ด้านห ัลง

ธนบัตรชดุ นี้มี 5 ชนดิ ราคา ไดแ้ ก่ 20 บาท 50 บาท 100 บาท 500 บาท และ 1000 บาท โดยทกุ ชนิดราคามีขนาดและลักษณะ ธนบัตรด้านหนา้ เช่นเดียวกับธนบตั รแบบ 16 ท่ีใชห้ มุนเวียนอยใู่ นปัจจบุ ัน แตป่ รบั เปลีย่ นภาพธนบัตรด้านหลัง โดยเชญิ พระบรมฉายา- สาทสิ ลกั ษณพ์ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ เดชในแตล่ ะชว่ งพระชนมพรรษาเปน็ ภาพประธาน และมภี าพประกอบเปน็ ภาพ พระราชประวัติ พระราชกรณยี กิจ และภาพโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำ� ริ รวมท้ังภาพต่าง ๆ ที่นำ� มาร้อยเรยี งเรอื่ งราวในธนบตั ร ชุดส�ำคัญนี้เป็นภาพท่ีประชาชนชาวไทยคุ้นตา ภาพที่ล้วนสะท้อนถึงพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้จากพระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็น ที่รกั ยง่ิ และจะจารึกอยู่ในดวงใจของปวงชนชาวไทยตราบนิรนั ดร์ ธนบัตรชนิดราคา 100 บาท เชิญพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ ที่ทร ในพ้ืนที่ห่างไกล ทรงเสด็จพระราชด�ำเนินในพ้ืนที่ต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาคุณภ พรอ้ มสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ิพ์ ระบรมราชินนี าถในรัชกาลที่ 9 พระราชโอรส 11 BOT MAGAZINE Cover Story ธนบตั รชนดิ ราคา 20 บาท เชญิ พระบรมฉายาสาทสิ ลักษณ์ ขณะประทับ ณ ประเทศสวิตเซอรแ์ ลนด์ พระบรมฉายาสาทสิ ลกั ษณ์ ธนบัตรชนิดราคา 500 บาท เชิญพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ ขณะทรง ท่ีทรงฉายพร้อมพระบรมราชชนก พระบรมราชชนนี พระเชษฐภคินีและพระเชษฐา รวมท้ัง พระราชอิริยาบถส่วนพระองค์ ในช่วงที่ ภาพพระราชกรณียกจิ ท่ีเก่ยี วเนอื่ งกบั โครงการพฒั นาด้านทรัพยากรดิน นำ�้ ทรงพระเยาว์ เร่ืองพระมหาชนก ท่สี ะท้อนถึงพระอจั ฉรยิ ภาพในทุก ๆ ดา้ น ธนบัตรชนิดราคา 50 บาท เชิญพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ขณะทรงงาน ณ พระต�ำหนักวิลล่าวัฒนา ในระหว่างท่ีทรงศึกษาต่อ ธนบัตรชนิดราคา 1000 บาท เชิญพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ เมื่อค ณ มหาวทิ ยาลัยโลซาน และพระบรมฉายาสาทิสลักษณใ์ นพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พระราชพธิ ีราชาภเิ ษกสมรส พระราชพิธที รงผนวช ณ พระต�ำหนักจติ รลดารโหฐาน และเม่อื ครั้งเสด็จออกมหาสมาคม ณ สหี และการเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ เยือนนานาประเทศเพ่อื เจริญสมั พนั ธไมตรใี ห้แน่นแฟ้นยง่ิ ข้นึ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี รวมทง้ั ภาพโครงการตา่ ง ๆ ที่สะท้อนถงึ ความ

รงทุ่มเทพระวรกายขณะทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเย่ียมราษฎร 13 BOT MAGAZINE Cover Story ภาพชีวิตของประชาชน และพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ท่ีทรงฉาย ส และพระราชธิดาเมอื่ ครัง้ ทรงพระเยาว์ ภาพเรืองแสงภายใต้รงั สีเหนอื มว่ งลกั ษณะต่อตา้ นการปลอมแปลงที่ไดจ้ ัดทำ� ขึน้ เป็นพเิ ศษ งปฏิบัติพระราชกรณียกิจตรวจเย่ียมโครงการพัฒนาพื้นท่ีทุรกันดาร ธนาคารแหง่ ประเทศไทย แถลงขา่ วธนบัตรที่ระลกึ ฯ ซึง่ มกี �ำหนดออกใชเ้ ปน็ ธนบตั รหมุนเวียนทั่วไป การเกษตร การแกป้ ัญหาอุทกภยั และภาพจากบทพระราชนพิ นธ์ คร้ังเสด็จพระราชด�ำเนินออกจากโรงพยาบาลศิริราชกลับไปประทับ โดยจะเรมิ่ ออกใช้ต้งั แต่วันที่ 20 กนั ยายน 2560 หบญั ชรพระท่ีนงั่ อนนั ตสมาคม พระราชวังดุสติ เนอ่ื งในพระราชพธิ ี มหว่ งใยของพระองค์ในการบำ� บัดทกุ ข์บำ� รุงสขุ ให้แก่พสกนกิ ร

14 BOT MAGAZINE Conversation with the Governor “เศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อการเติบโตอย่าง ย่ังยืนของเศรษฐกิจไทย ดร.ศิริกลุ เลากัยกุล ผ้เู ชย่ี วชาญดา้ นการสรา้ งแบรนด์ ดร.วิรไท สนั ติประภพ ผวู้ ่าการธนาคารแห่งประเทศไทย

“หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ที่พระบาทสมเด็จ ซ่ึงเป็นเรื่องการหาดุลยภาพหรือความสมดุลอย่างเหมาะสมภายใต้ 15 BOT MAGAZINE Conversation with the Governor พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานให้ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด วิชาเศรษฐศาสตร์เริ่มต้นบนพื้นฐาน คนไทยเพ่ือเป็นหลักการด�ำเนินชีวิต ปัจจุบันได้รับ ทวี่ า่ ทรพั ยากรมอี ยอู่ ยา่ งจำ� กดั และทกุ อยา่ งไมม่ คี ำ� วา่ “ฟร”ี ดงั นนั้ การยอมรับในระดับสากลว่าเป็นหนึ่งในแนวทาง เราจะใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งเหมาะสมจากทรพั ยากรทมี่ จี ำ� กดั ไดอ้ ยา่ งไร ท่ีจะช่วยให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน โดยคำ� นงึ ผลขา้ งเคยี งตา่ ง ๆ ทอี่ าจจะเกดิ ขน้ึ ดว้ ย แตห่ ลายคนอาจ ดงั ทสี่ หประชาชาติ(UN)เคยไดน้ อ้ มเกลา้ ฯถวายรางวลั เข้าใจคลาดเคล่ือนว่า เศรษฐศาสตร์เป็นเรื่องของ Maximization ใหก้ บั พระองคท์ า่ น ในฐานะกษตั รยิ น์ กั พฒั นา หรือการหาประโยชนใ์ ห้ได้มากทีส่ ดุ ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และบริบทโลกที่เปล่ียนแปลงอย่าง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมี 3 องค์ประกอบส�ำคัญ คือ รวดเรว็ มคี ำ� ถามทนี่ า่ สนใจวา่ เราจะสามารถประยกุ ต์ “หลกั ปรชั ญา ความสมเหตุสมผล ความพอประมาณ และการสร้างภูมิคุ้มกัน เศรษฐกิจพอเพียง” มาใช้ในการบริหารธุรกิจ และการจัดการ ซ่ึงท้ัง 3 เรื่องนี้เป็นองค์ประกอบส�ำคัญของการหาดุลยภาพที่ เศรษฐกิจมหภาคของประเทศ เพ่ือให้เกิดการพัฒนาอย่างย่ังยืน เหมาะสม หรือ Optimization ดังนั้น จะเห็นได้ว่าหลักปรัชญา ไดอ้ ย่างไร เศรษฐกิจพอเพียงและหลักเศรษฐศาสตร์ ไม่ได้ขัดแย้งกัน เพราะ การหาดุลยภาพที่เหมาะสมภายใต้ทรัพยากรที่มีอย่างจ�ำกัด ต้อง BOT พระสยาม MAGAZINE ฉบับนี้ ได้รบั เกียรตจิ าก ดร.ศริ กิ ลุ อาศัยความรู้ความเข้าใจ รวมทั้ง การคิดและการกระท�ำภายใต้ เลากัยกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างแบรนด์และการวางกลยุทธ์ของ ข้อจ�ำกัดอย่างสมเหตุสมผล นอกจากน้ี หลักปรัชญาเศรษฐกิจ ธรุ กจิ อย่างยัง่ ยืนให้กับบริษัทช้ันนำ� ของประเทศ อาสามาชวนคุยและ พอเพียงไม่ได้มองแค่ประโยชน์ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง แต่มองไกล คน้ หาคำ� ตอบในประเดน็ นก้ี บั ดร.วริ ไท สนั ตปิ ระภพ ผวู้ า่ การธนาคาร ไปถงึ อนาคต ฉะนน้ั จงึ ตอ้ งมคี วามพอประมาณ กลา่ วคอื อาจตอ้ ง แหง่ ประเทศไทย (ธปท.) ยอมสละผลประโยชน์ในวันน้ีเพื่อประโยชน์ในอนาคต ขณะที่การ สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั กเ็ ปน็ การมองในระยะยาว ซงึ่ หลกั วชิ าเศรษฐศาสตร์ “หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง” จะพูดถึงการหาสมดุลระหว่างประโยชน์ของคนรุ่นนี้และคนรุ่น คือหลักเศรษฐศาสตร์ที่ว่าด้วยการหาดลุ ยภาพ ตอ่ ไป (Inter-generation Optimization) หรอื การจดั สรรทรพั ยากร ท่เี หมาะสม (Optimization) ในวันน้ีอย่างเหมาะสม เพ่ือไม่ให้เบียดเบียนลูกหลานหรือตนเอง ในวันหน้า ดร.ศิริกุล : หนึ่งในศาสตร์ของพระราชาท่ีมีการกล่าวถึงกัน มากทส่ี ดุ คอื หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งซง่ึ คนไทยทกุ คนรจู้ กั แต่ นอกจากน้ี การบริหารความเส่ียงซ่ึงเป็นหัวใจส�ำคัญของการ จะมสี กั กค่ี นทเ่ี ขา้ ใจ เขา้ ถงึ และนำ� ไปปฏบิ ตั จิ รงิ จงึ อยากเรยี นถาม บรหิ ารธรุ กจิ และการบรหิ ารเศรษฐกจิ มหภาค ถอื เปน็ หนง่ึ ในวธิ สี รา้ ง ทา่ นวา่ แกน่ ของ “หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” คอื อะไร และคำ� วา่ ภูมิคุ้มกันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้น ถ้ามองตาม “ความพอเพยี ง” กบั “เศรษฐกจิ ” ทงั้ สองคำ� ดจู ะขดั แยง้ กนั เชน่ เดยี ว หลกั วชิ าเศรษฐศาสตรท์ วี่ า่ ดว้ ยการหาดลุ ยภาพจากการใชท้ รพั ยากร กบั หลกั เศรษฐศาสตร์ บางคนมองวา่ เปน็ การใชท้ รพั ยากรใหเ้ หมาะสม ท่ีมีจ�ำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด (Optimization) ส�ำหรับบุคคล ท่ีสุด (Optimization) บ้างก็มองว่าเป็นการใช้ประโยชน์สูงสุด สงั คม ประเทศ หรอื แมแ้ ตร่ ะดบั โลก ทง้ั ในวนั นแ้ี ละวนั หนา้ จะเหน็ (Maximization) แตพ่ อใสค่ ำ� วา่ “พอเพยี ง” เขา้ ไป จะเกดิ อะไรขนึ้ ไดช้ ดั วา่ สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งทพ่ี ระองคท์ า่ น พระราชทานให้พวกเราอยา่ งยิง่ ผู้ว่าการวิรไท : เป็นค�ำถามท่ีส�ำคัญมากครับ เพราะคนที่ ไม่ได้ศึกษาเรื่องนี้อาจไม่เข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั หลายคนตีความไปว่า “หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นเร่ือง การท�ำหน้าทขี่ องธนาคารกลาง ของเศรษฐกิจพอมีพอกิน ไม่ต้องค้าขาย ไม่ต้องลงทุนขยายธุรกิจ อยู่แค่ “พอ” เท่าน้ัน แต่ถ้ามองในฐานะนักเศรษฐศาสตร์ ดร.ศิริกุล : ท่านผู้ว่าการได้น�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักคิดท่ีมีความหมาย พอเพียง มาประยุกต์ใช้ในการก�ำหนดนโยบาย หรือใช้ในการ กวา้ งไกลมาก เป็นหลกั ปรชั ญาท่สี ามารถนำ� มาปฏิบตั ิได้ต้งั แต่ระดับ ท�ำหนา้ ท่ีธนาคารกลางบา้ งหรอื ไม่ ปัจเจกบุคคล ธุรกิจ สังคม ประเทศ ไปถึงระดับโลก อย่างเร่ือง การพัฒนาอย่างยัง่ ยนื (Sustainable Development) ตามแนวทาง ผู้ว่าการวิรไท : หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงถือเป็น ของสหประชาชาติ ก็สามารถน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป “หัวใจ” ในการท�ำหน้าที่ธนาคารกลางของทุกประเทศ ไม่ใช่แค่ ประยกุ ต์ได้ ประเทศไทยเท่านัน้ เพราะว่าหน้าทห่ี ลักของธนาคารกลาง คือการ รกั ษาเสถยี รภาพของระบบเศรษฐกิจซง่ึ จะเอือ้ ใหเ้ ศรษฐกจิ สามารถ ค�ำว่า Optimization ถือเป็นหัวใจของหลักเศรษฐศาสตร์ เตบิ โตไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพในระยะยาว ในทางตรงกนั ขา้ ม ถา้ เศรษฐกจิ

16 BOT MAGAZINE Conversation with the Governor ขาดเสถยี รภาพ ไมว่ า่ จะเปน็ มติ เิ สถยี รภาพดา้ นราคาหรอื เสถยี รภาพ หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ระบบสถาบนั การเงนิ เศรษฐกจิ จะชะลอลง หรอื อาจจะถอยหลงั ได้ “แนวทางใหม”่ ในการบริหารธุรกจิ กระทบกับคุณภาพชีวิตของคนทุกคน ซ่ึงวิกฤติเศรษฐกิจไทยปี 2540 เปน็ ตวั อยา่ งทชี่ ดั เจนของการขาดเสถยี รภาพของทงั้ เศรษฐกจิ ดร.ศริ ิกลุ : ปัญหาหนง่ึ ทพ่ี บเวลาไปเปน็ ท่ปี รึกษาให้ลูกคา้ ท่เี ปน็ มหภาคและระบบสถาบนั การเงนิ ปลอ่ ยให้เกิดจดุ เปราะบางทเ่ี ปน็ บริษัทจดทะเบยี น คอื เขามักจะบอกว่าเวลาอยใู่ นตลาดห้นุ บริษทั ความเสยี่ งนำ� ไปส่วู กิ ฤตเิ ศรษฐกิจ มหี นา้ ที่ตอบผู้ถอื ห้นุ วา่ ท�ำกำ� ไรไดข้ นาดไหน ถา้ อยู่ ๆ จะน�ำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ พวกเขาก็ไม่รู้จะอธิบายผู้ถือหุ้น ค�ำว่า “เสถียรภาพ” เป็นค�ำใหญ่และมีความหมายมาก อย่างไร ท่านมคี ำ� แนะน�ำเรอ่ื งนอ้ี ยา่ งไร เป็นการมองโดยชั่งน�้ำหนักผลประโยชน์ในวันนี้เทียบกับ ผลประโยชนข์ องวนั ขา้ งหนา้ ดงั นน้ั ในการทำ� หนา้ ทรี่ กั ษาเสถยี รภาพ ผวู้ า่ การวริ ไท : นับตัง้ แต่วิกฤติเศรษฐกิจโลกปี 2009 เราเห็น เศรษฐกิจของธนาคารกลาง จึงต้องเร่ิมจาก ความสมเหตุสมผล ความเปล่ียนแปลงในต่างประเทศ กลา่ วคือ นกั ลงทุนใหค้ วามสำ� คญั กลา่ วคอื ตอ้ งเขา้ ใจความเชอื่ มโยงของระบบการเงนิ ระบบเศรษฐกจิ กับเร่อื งระยะยาว หรอื ความยั่งยืนมากข้ึน ตวั อย่างเช่น การพยายาม และการเปล่ียนแปลงเชิงโครงสร้างต่าง ๆ ตลอดจนสามารถ ใหบ้ รษิ ทั ปฏบิ ัตติ าม Dow Jones Sustainability Index หรือการที่ พิจารณาและตัดสินใจ (Trade-off) นโยบายอย่างสมเหตุสมผล กองทนุ หลายแหง่ เลอื กลงทนุ เฉพาะบรษิ ทั ทม่ี เี กณฑแ์ ละวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ บนฐานของความร้จู รงิ รู้รอบ รลู้ ึก เพือ่ ประโยชน์ของส่วนรวมและ งานทีจ่ ะนำ� ไปส่คู วามยั่งยนื ซง่ึ จริง ๆ แลว้ หลักความย่งั ยืนถือเปน็ ตอบโจทย์ในภาพใหญข่ องประเทศ หลักส�ำคัญที่สอดคล้องกับการน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ สำ� หรบั ความพอประมาณ นน้ั ในแวดวงธนาคารกลาง เรามกั เปรียบเทียบว่า ในงานเลี้ยงที่คนส่วนใหญ่เริ่มเมาและสนุกสนาน ผมชอบแนวคิดของมูลนิธิม่ันพัฒนา เรื่อง “ความพอเพียงเพ่ือ จนเกนิ พอดี หนา้ ทขี่ องธนาคารกลางคอื ไปเกบ็ ขวดเหลา้ เพอื่ ไมใ่ ห้ ความยง่ั ยนื ” หรอื “S4S (Sufficiency for Sustainability)” ซงึ่ ภาคธรุ กจิ คนเมาสนุกแบบเกินพอดีจนเกิดปัญหาตามมา ความพอประมาณ สามารถนำ� ไปใชไ้ ด้ โดยเฉพาะธรุ กิจขนาดใหญ่ โลกทุกวนั นใี้ ห้ความ ถือเป็นหัวใจส�ำคัญของการรักษาเสถียรภาพ ธนาคารกลางต้อง สนใจมิติความยั่งยืนมากข้ึน การท�ำธุรกิจไม่สอดคล้องกับแนวทาง ยึดหลักความพอประมาณท้ังในวันนี้และวันหน้า การเติบโตของ ความย่งั ยนื อาจนำ� มาซง่ึ ความเส่ยี งส�ำคญั 2 ด้าน ไดแ้ ก่ ความเสย่ี ง เศรษฐกิจท่ีเร่งเกินไปก็จะสร้างความเปราะบางได้ หลายนโยบาย ดา้ นชอื่ เสยี ง (Reputation Risk) และความเสย่ี งเชงิ กลยทุ ธ์ (Strategic ทที่ ำ� ในวนั น้ี อาจทำ� ใหเ้ กดิ ผลขา้ งเคยี งในระยะยาว ฉะนนั้ ธนาคารกลาง Risk) ดังน้ัน ผมเชือ่ วา่ แนวคดิ เรื่อง S4S จะเปน็ แนวคิดทีไ่ ดร้ บั ความ ตอ้ งใชแ้ ละคำ� นงึ ถงึ หลกั ของความพอประมาณอยตู่ ลอดเวลา สำ� คัญมากขนึ้ ในภาคธุรกิจในระยะตอ่ ไป หลักการข้อสุดท้าย การสร้างภูมิคุ้มกัน ถือเป็นเร่ืองส�ำคัญ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อย่างยิ่ง โดยเฉพาะในโลกที่ผันผวน ไม่แน่นอน ซับซ้อน และ คือหลักทีส่ รา้ งความมน่ั คงในการด�ำเนินชวี ติ คาดเดาได้ยาก หนึ่งในหน้าท่ีส�ำคัญของธนาคารกลาง คือ การ ทำ� ใหแ้ น่ใจวา่ ระบบเศรษฐกิจมีภูมิคมุ้ กนั ท่ีดี ในการดแู ลเศรษฐกิจ ดร.ศริ กิ ลุ : นอกเหนือจากภาคธุรกิจ ท่านคิดว่าคนไทยทั่วไป มหภาค ธนาคารกลางต้องสร้างภูมิคุ้มกันในหลายมิติ เช่น จะน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ด้วยได้หรือไม่ รวมถึง การด�ำรงเงินส�ำรองระหว่างประเทศให้เพียงพอกับความต้องการ จะนำ� ไปใชส้ รา้ งสมดุลในชวี ติ ประจ�ำวันไดอ้ ย่างไร ใชเ้ งนิ ตราตา่ งประเทศ หรอื การกำ� หนดใหส้ ถาบนั การเงนิ มสี ดั สว่ น ของเงินกองทุนมากพอที่จะรองรับเหตุการณ์ที่คาดไม่ถึงซึ่งอาจ ผวู้ า่ การวริ ไท: หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลกั ปฏบิ ัตทิ ่ี กระทบกับความมน่ั คงของสถาบันการเงิน เป็นตน้ ใชไ้ ดใ้ นทกุ ระดบั และทสี่ ำ� คญั ตอ้ งเรมิ่ จากระดบั ปจั เจกบคุ คล หลาย ปัญหาในสังคมไทย อาทิ ปญั หาหนคี้ รวั เรือน หรอื การก่อหนี้เกนิ ตวั การท�ำหน้าที่ธนาคารกลางในการรักษาเสถียรภาพของระบบ สะท้อนให้เหน็ ถงึ การขาดความพอเพียงของคนในสงั คม ตรงกนั ขา้ ม เศรษฐกิจ เปรียบเหมือน “ระบบกันโคลง” ในเรือ ขณะที่ ถา้ ทกุ คนนำ� เอาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นการดำ� เนนิ ชวี ติ “เรอื เศรษฐกจิ ไทย” กำ� ลงั แลน่ ไปขา้ งหนา้ เพอื่ ใหธ้ รุ กจิ และเศรษฐกจิ เริม่ จากการคิดอยา่ งสมเหตสุ มผล การตดั สินใจอย่างพอประมาณให้ เตบิ โต ธนาคารแหง่ ประเทศไทยมหี นา้ ทดี่ แู ลใหม้ นั่ ใจวา่ เรอื มรี ะบบ เหมาะสมกับฐานะและรายได้ และการสร้างภมู ิคมุ้ กนั สำ� หรบั อนาคต กันโคลงที่ดี เพื่อพร้อมรับมือกับพายุหรือคลื่นลมท่ีจะมากระทบ ด้วยการออม หลักเหล่านี้จะช่วยให้ชีวิตของแต่ละคนมีความมั่นคง ไมใ่ หค้ นบนเรอื โคลงเคลงหรอื ถกู แรงปะทะมากไป การจะทำ� หนา้ ท่ี เพมิ่ ข้นึ ดังกล่าวได้ดี ต้องมีท้ังความสมเหตุสมผล ความพอประมาณ และการสร้างภูมิคุ้มกัน รวมทั้ง ต้องต้ังอยู่บนฐานของความรู้ ก่อนหน้าน้ี ผมเคยสงสัยว่าท�ำไมพระบาทสมเด็จพระปรมินทร และหลักคุณธรรมที่ถูกต้อง ซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญของหลักปรัชญา มหาภูมพิ ลอดุลยเดช จึงทรงใชช้ ื่อ “หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง” เศรษฐกิจพอเพียง ทา่ นผใู้ หญท่ า่ นหนง่ึ ไดเ้ ลา่ ใหฟ้ งั วา่ ทงั้ 3 องคป์ ระกอบสำ� คญั ของหลกั ปรชั ญานี้ ลว้ นตอ้ งเรมิ่ จาก “ความพอเพยี งทใี่ จ” ถา้ เราทกุ คนสามารถ

“การรจู้ กั ‘พอ’ในวนั น้ีและการสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั สำ�หรับอนาคต จึงถือเป็นเรื่องที่สำ�คัญ มากข้ึนส�ำ หรับการใชช้ วี ติ อยู่ในโลกยคุ ใหม่” สร้างความพอเพียงให้เกิดทใ่ี จได้ ทกุ ข้อ ก็จะตามมาอัตโนมตั ิ ไมว่ ่า พอ ฉะนัน้ คำ� วา่ “พอ” จึงถอื เปน็ คำ� ทย่ี งิ่ ใหญ่ เพราะไมไ่ ด้เปลี่ยน 17 BOT MAGAZINE Conversation with the Governor จะเปน็ ความสมเหตสุ มผล ความพอประมาณ และการสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั แคร่ ปู แบบการทำ� ธรุ กจิ (Business Model) แตย่ งั สามารถเปลยี่ นโลก สังคมโลกจะดขี ึ้นได้ เมอ่ื ทุกหวั ใจรู้จัก “พอ” ผู้ว่าการวิรไท : ค�ำว่า “พอ” จะส�ำคัญมากข้ึนเรื่อย ๆ โดยเฉพาะในโลกยคุ ใหมท่ ผ่ี นั ผวน ไมแ่ นน่ อน ซบั ซอ้ น และคาดเดา ดร.ศริ กิ ลุ : ถา้ พดู ภาษาชาวบา้ น คอื แคเ่ ราควบคมุ ความโลภและ ไดย้ ากขนึ้ และไม่ใช่แค่โลกการเงินเทา่ นน้ั แตย่ งั รวมถึงโลกการคา้ รจู้ กั “จดุ พอ” ของชวี ติ ตรงนกี้ ถ็ อื เปน็ ความยง่ิ ใหญใ่ นการดำ� เนนิ ชวี ติ โลกเทคโนโลยี และโลกของส่งิ แวดล้อมดว้ ย ดังนนั้ การรู้จัก “พอ” ซง่ึ การทคี่ นจะมจี ติ ใจเขม้ แขง็ พอทจ่ี ะบอกวา่ “เทา่ นคี้ อื พอ” ตอ้ งอาศยั ในวันน้ี และการสร้างภูมิคุ้มกันส�ำหรับอนาคต จึงถือเป็นเร่ืองที่ ทงั้ สติ สมาธิ และปญั ญา ตอ้ งถอื วา่ คนไทยโชคดมี ากทมี่ กี รอบความคดิ ส�ำคัญมากข้นึ สำ� หรบั การใช้ชีวติ อยใู่ นโลกยุคใหม่ ถา้ คนไทยทกุ คนสามารถทำ� ใจใหเ้ พยี งพอได้ แลว้ “ระเบดิ จากขา้ งใน” ทำ� เชน่ นจ้ี นเปน็ พฤตกิ รรม เราจะไมเ่ พยี งแคช่ ว่ ยประเทศไทย แตย่ งั จะ ดร.ศริ กิ ลุ : เวลาพูดกนั ว่าทกุ คนควรรู้จักคำ� วา่ “พอ” อยาก ชว่ ยโลกใหอ้ ยอู่ ย่างยั่งยืนไดด้ ว้ ย ใหเ้ ข้าใจตรงกันว่า สำ� หรับ “คนทย่ี งั มไี มพ่ อ” กต็ อ้ งพฒั นาตัวเอง ใหเ้ ปน็ “คนท่มี พี อ” ไม่ใชร่ อคนอนื่ ช่วยอย่างเดียว ส่วน “คนท่ีมี ผวู้ า่ การวริ ไท : ทา่ นดาไล ลามะ มักจะถามค�ำถามหนงึ่ คอื จนเกินพอ” ก็ตอ้ งรู้จกั ทจ่ี ะให้ ร้จู ักแบ่งปัน สงั คมจงึ เกิดสมดุลและ “Need or Greed?” ถา้ เราใชถ้ ามตวั เอง จะชว่ ยตอบโจทยเ์ รอ่ื งความ เดนิ หน้าไปไดด้ ว้ ยดี พอเพียงได้ดี เพยี งถามตวั เองบอ่ ย ๆ วา่ สง่ิ ทเ่ี ราอยากไดน้ น้ั เปน็ ไป เพ่ือความจ�ำเป็นหรือความโลภ ผมเชื่อว่า จะช่วยให้เราตัดสินใจ ผวู้ า่ การวริ ไท : เห็นดว้ ยอย่างยง่ิ ครบั ได้อยา่ งเหมาะสม ไม่เบียดเบียนทั้งตวั เองและคนอ่ืน ทั้งวนั น้แี ละใน อนาคต ถา้ คนสว่ นใหญน่ ำ� หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ต์ ดร.ศริ กิ ลุ เลากยั กลุ ใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั ผมเชอ่ื วา่ จะทำ� ใหส้ งั คมไทยมคี วามสขุ มากยงิ่ ขน้ึ Brand Strategist & Sustainability Advisor บริษัท ทกุ วนั น้ี เวลาท่ีเราเหน็ น้ำ� ครงึ่ แกว้ หลายคนอาจมองว่านำ้� พรอ่ ง ท่ีปรึกษาแบรนด์บีอิ้ง จ�ำกัด เป็นท่ีรู้จักกันดีในฐานะ ไปคร่ึงแก้ว (Half Empty) ขณะท่ีบางคนมองว่ามีน้�ำอยู่ตั้งครึ่งแก้ว “ผู้เช่ียวชาญทางด้านการสร้างแบรนด์” และเป็นผู้บรรยาย (Half Ful) ถ้าเราใช้ชีวิตบนหลกั พอเพยี งและพอประมาณ มีโอกาส ที่ได้รับเชิญจากมหาวิทยาลัยและพูดในท่ีสาธารณะมากที่สุด ที่มมุ มองหรอื ทศั นคติของเราจะเปลี่ยนไปในทาง Half Ful มากกว่า ท่านหนึ่ง ดร.ศิริกุลเป็นผู้เขียนเรื่องการสร้างแบรนด์ Half Empty และถ้าคนสว่ นใหญใ่ นสังคมเข้าใจความพอเพยี ง ชืน่ ชม ซ่ึงเป็นหนังสือ How-to เล่มแรก ๆ ท่ีพูดถึงเร่ืองอะไร ในสง่ิ ทต่ี นมี ผมเชอ่ื วา่ สงั คมไทย รวมถงึ สงั คมโลกจะดขี น้ึ มาก ในทาง และอย่างไรในการสร้างแบรนด์ โดยหนังสือท่ีเขียนไว้ ตรงกันข้ามหลายปญั หาที่เกดิ ขึ้นในวนั นี้ และความเห็นทร่ี มุ่ รอ้ นตาม เล่มลา่ สุดคือ “Sufficiency Branding: Sustainable Brand” โลกโซเชยี ลมเี ดีย มกั เกดิ จากการมีมมุ มองแบบ Half Empty แทนท่ี ด้วยประสบการณ์กว่า 20 ปี ปัจจุบัน ดร.ศิริกุลเป็น จะมองแบบ Half Ful ทปี่ รกึ ษาในดา้ นการสรา้ งแบรนดแ์ ละการวางกลยทุ ธข์ องธรุ กจิ อย่างยั่งยืนใหก้ บั บริษัทช้ันนำ� หลายบริษัท สังคมแหง่ การแบ่งปัน เริ่มตน้ ที่ทกุ คนรู้จกั “พอ” ชมการสัมภาษณใ์ นรปู แบบวีดิทัศน์ ดร.ศิริกุล : ถ้าเราน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ไดท้ างแอปพลเิ คชัน BOT MAGAZINE จะทำ� ใหค้ น ๆ หนง่ึ อยไู่ ดอ้ ยา่ งมน่ั คงยง่ั ยนื และพรอ้ มทจี่ ะดแู ลตวั เอง และสงั คม ตลอดจนร้จู กั แบง่ ปนั ซงึ่ การจะแบง่ ปนั ไดก้ ต็ อ่ เมอ่ื เรารจู้ กั

18 BOT MAGAZINE The Knowledge คณุ ฤชุกร สิริโยธิน รองผวู้ า่ การ ดา้ นเสถียรภาพสถาบนั การเงิน และคณุ สมบรู ณ์ จติ เป็นธม ผชู้ ว่ ยผู้ว่าการ สายนโยบายสถาบนั การเงิน แถลงข่าวมาตรการการดูแลสนิ เชอื่ บัตรเครดติ และสนิ เช่ือส่วนบุคคลภายใต้การก�ำกับ ธปท. ปรับเกณฑค์ ุม สนิ เช่ือบัตรเครดิตและสินเช่ือสว่ นบคุ คล มงุ่ ดูแลการก่อหน้ีภาคครัวเรือน ในสถานการณท์ ่ีหนค้ี รวั เรอื นยังอยใู่ นระดบั สงู อาจส่งผลกระทบตอ่ ภาคครัวเรอื นและภาพรวมเศรษฐกิจไทยในระยะยาว ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ตระหนักถึงความสำ�คัญของปัญหา และเร่งดำ�เนินนโยบายเพื่อส่งเสริมการให้ความรู้ ทางการเงินแก่ประชาชนอย่างต่อเนื่อง รวมถึงสนับสนุนโครงสร้างพ้ืนฐานในการแก้ปัญหาหน้ีอย่างเป็นระบบภายใต้ โครงการแก้ไขปัญหาหน้ีส่วนบุคคลท่ีไม่มีหลักประกัน (คลินิกแก้หน้ี) ล่าสุด ธปท. ได้ปรับปรุงแนวทางการกำ�กับดูแล สนิ เชอื่ บัตรเครดติ และสินเช่อื สว่ นบคุ คลภายใต้การก�ำ กับ มุง่ เน้นประชาชนกลมุ่ ทม่ี คี วามเปราะบาง ซ่ึงอาจก่อหนี้จนเกนิ ความสามารถในการช�ำ ระหนี้

คุณฤชกุ ร สิริโยธิน รองผู้ว่าการ ด้านเสถียรภาพสถาบันการเงนิ สำ� หรับชว่ งวัยท่ีก�ำลงั กอ่ หนี้ การปรบั ปรงุ แนวทางการก�ำกับดแู ล 19 BOT MAGAZINE The Knowledge ธปท. กลา่ ววา่ หนค้ี รวั เรอื นในชว่ งไตรมาสแรกของปี 2560 อยทู่ ร่ี ะดบั สินเชื่อบัตรเครดิตและสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การก�ำกับของ ธปท. 78.6% ต่อ GDP ซึง่ หากจ�ำแนกลงรายละเอยี ดพบวา่ คนไทยเป็นหน้ี เป็นอีกแนวทางหน่ึงที่จะช่วยดูแลการก่อหน้ีสินของภาคครัวเรือน ตง้ั แต่อายยุ งั นอ้ ย โดย 50% ของคนไทยกลุ่มอายุ 30 ปีมีหนี้ และ ให้เหมาะสมข้ึน เนื่องจากประชาชนเข้าถึงสินเชื่อประเภทนี้ได้ง่าย 1 ใน 5 ของกลมุ่ อายุ 29 ปี เปน็ หนเี้ สยี ไม่สามารถชำ� ระหนีไ้ ด้ ในเชิง และเปน็ สนิ เชอ่ื ทไ่ี มม่ หี ลกั ประกนั นอกจากนนั้ หนเี้ สยี ของสนิ เชอื่ สอง ปรมิ าณการกอ่ หน้ี เทยี บขอ้ มลู ปี 2552 กบั ปี 2559 สดั สว่ นประชากรทม่ี ี ประเภทนก้ี ็มแี นวโนม้ เพ่ิมสงู ข้นึ เปน็ ล�ำดบั หนเ้ี พมิ่ สงู ขนึ้ จากระดบั 20% เปน็ 30% และมลู คา่ หนกี้ ป็ รบั สงู ขนึ้ จาก ปรับวงเงนิ ใหมส่ ัมพนั ธฐ์ านรายได้ 70,000 บาทต่อคนในปี 2552 เพิ่มเปน็ 150,000 บาทตอ่ คนในปี 2559 ธปท. ไดก้ ำ� หนดมาตรการสนิ เชอ่ื บตั รเครดติ ใหม่ โดยกำ� หนดวงเงนิ จากขอ้ มลู พบวา่ มคี นไทยจำ� นวน 21 ลา้ นคนเปน็ หนี้ และคนไทย แก่ผู้ขอมีบัตรเครดิตให้เหมาะสมกับความสามารถในการช�ำระหนี้ จำ� นวน 3 ล้านคน หรือ 16% ของกลมุ่ คนทมี่ ีหน้ี ถูกจัดเปน็ หนี้เสยี ตามรายไดต้ อ่ เดอื น โดยผมู้ รี ายไดต้ ำ�่ กวา่ 30,000 บาท ใหไ้ ดร้ บั วงเงนิ หรอื มีหนี้ค้างช�ำระเกนิ 90 วัน ไมเ่ กนิ 1.5 เทา่ ของรายได้ รายไดต้ ง้ั แต่ 30,000 ถงึ 50,000 บาท วงเงนิ ไมเ่ กนิ 3 เทา่ ของรายได้ และรายไดต้ งั้ แต่ 50,000 บาทขน้ึ ไป วงเงนิ ไม่ “จากความเปราะบางของภาระหนคี้ รวั เรอื นของประเทศไทย ธปท. เกนิ 5 เทา่ ของรายได้ และไดป้ รบั ลดเพดานอตั ราดอกเบย้ี บตั รเครดติ และอีกหลายหน่วยงานจึงให้ความส�ำคัญในการดูแลแก้ไขปัญหาเชิง ลงเหลอื รอ้ ยละ 18 จากร้อยละ 20 ใหส้ อดคลอ้ งกับภาวะเศรษฐกจิ โครงสรา้ งน้ี สง่ิ ทเ่ี ราดำ� เนนิ การ คอื กอ่ นทค่ี นจะเขา้ สวู่ ยั กอ่ หนี้ เราตอ้ ง การเงนิ ในปัจจุบนั ท่ีต้นทุนทางการเงนิ ต่ำ� ลง ใหค้ วามรู้ประชาชน เชน่ นกั ศึกษามหาวิทยาลยั ที่ควรไดร้ บั ความรู้ เก่ียวกบั การวางแผนการเงนิ การออม การใชเ้ งนิ ของตัวเอง รวมถงึ คณุ สมบรู ณ์ จติ เปน็ ธม ผชู้ ว่ ยผวู้ า่ การ สายนโยบายสถาบนั การเงนิ ความร้เู ก่ียวกับบริการทางการเงินและเครอื่ งมอื ตา่ ง ๆ แกป่ ระชาชน ธปท. กล่าวว่า “ถา้ เทยี บของเดมิ ใครกต็ ามทจ่ี ะขอมบี ัตรเครดิตต้อง ทัว่ ไป” คุณฤชุกร กลา่ ว มีรายได้ข้ันต�่ำที่ 15,000 บาท และสามารถขอวงเงินบัตรเครดิตได้ 5 เท่า ทีน้ีจะท�ำอย่างไรให้วงเงินมีความสัมพันธ์ต่อความสามารถ สถานการณห์ นี้ครัวเรอื นไทย ในการจ่ายชำ� ระหนี้ เราจึงออกมาตรการใหม่ก�ำหนดวงเงินเทียบกับ ฐานรายไดข้ องผทู้ จ่ี ะขอมบี ตั รเครดติ เพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ หม้ กี ารกอ่ หนจ้ี น “เยอะขึน้ ...มากข้นึ ” เกนิ ตัว หรือเกินก�ำลังความสามารถในการจ่ายช�ำระหน”ี้ คนไทยมีหนี้ เยอะขึน้ มาตรการสินเช่ือบัตรเครดิต สดั สว่ นประชากรทมี่ หี น้ี >20% >30% ลดเพดานอตั ราดอกเบยี้ บัตรเครดิต : ใช้กับลกู คา้ เก่า* และใหม่ ปี 2559 ปี 2552 20% 18ให%ม่เนือ่ งจากตน้ ทนุ ของผูป้ ระกอบการลดลง ค่ากลาง (Median) และเพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกับภาวะเศรษฐกจิ ปจั จุบัน ปรมิ าณหนีต้ ่อหัว 15ป0ี 2,505900 เดิม 7ป0ี 2,055020 บาท บาท 3 ล้านคนจากคนไทย 21 ล้านคน ทีเ่ ป็นหน้ี หรือ 16% *ไม่ใชบ้ ังคบั สำ� หรับการใชจ้ ่ายผา่ นบัตรเครดิต มหี นีค้ า้ งชำ� ระเกนิ 90 วัน ทมี่ กี ารกำ� หนดระยะเวลาการผ่อนช�ำระท่ีชดั เจนก่อนหน้านี้ = เปน็ หน้ีเสีย

20 BOT MAGAZINE The Knowledge ส�ำหรับมาตรการสนิ เช่ือสว่ นบุคคลภายใตก้ ารกำ� กับ ธปท. ได้ ด�ำรงชีพ ธปท. จึงอนุญาตให้ผู้ประกอบธุรกิจท้ังสินเชื่อบัตรเครดิต ปรบั วงเงินสินเชอ่ื แก่ผูม้ ีรายไดต้ ่�ำกวา่ 30,000 บาทต่อเดอื น วงเงิน และสินเช่ือส่วนบุคคลภายใต้การก�ำกับสามารถให้วงเงินชั่วคราว อนุมัติไม่เกิน 1.5 เท่าของรายได้ และให้ได้รับวงเงินสินเช่ือส่วน ในกรณดี งั กลา่ วได้ และใหก้ ำ� หนดการจา่ ยชำ� ระคนื ตามความสามารถ บคุ คลจากผปู้ ระกอบธรุ กจิ สนิ เชอื่ สว่ นบคุ คลภายใตก้ ารกำ� กบั ไมเ่ กนิ ในการชำ� ระหน้ีของลูกหนอ้ี ยา่ งเหมาะสม 3 ราย ส�ำหรับผูม้ ีรายไดต้ อ่ เดือนเกิน 30,000 บาทข้ึนไป ก�ำหนด วงเงินอนุมตั ิไม่เกิน 5 เทา่ ของรายได้ แตไ่ ม่จ�ำกัดจำ� นวนผู้ประกอบ คุณสมบูรณ์ อธิบายเพ่ิมเติมว่า “ถา้ ลูกคา้ เกดิ มี Life Events เพ่ือ ธุรกิจสินเช่ือส่วนบุคคลภายใต้การก�ำกับที่จะให้สินเชื่อแก่ผู้บริโภค การดำ� รงชพี เกดิ กรณจี ำ� เปน็ ฉกุ เฉนิ เปน็ ครง้ั คราว กใ็ หผ้ ปู้ ระกอบการ แต่ละราย โดยยังคงเพดานอัตราดอกเบี้ยสูงสุดที่ผู้ประกอบธุรกิจ บตั รเครดติ ใหว้ งเงนิ พเิ ศษไดเ้ ปน็ ครงั้ ๆ ไป แตต่ รงนก้ี ใ็ หผ้ ปู้ ระกอบการ สินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การก�ำกับจะเรียกเก็บได้ เพ่ือให้สามารถ บัตรเครดิตพิจารณาตามความเหมาะสม และมีหลักเกณฑ์ท่ีชัดเจน ใหบ้ รกิ ารสนิ เชอื่ แกผ่ บู้ รโิ ภคกลมุ่ ตา่ ง ๆ ใหเ้ ขา้ ถงึ สนิ เชอ่ื ในระบบได้ ซงึ่ ตอ้ งโยงกบั ศกั ยภาพและเงอื่ นไขในการจา่ ยชำ� ระหนค้ี นื และวงเงนิ ทีอ่ นมุ ัติ” คณุ สมบรู ณ์ เสรมิ วา่ จากขอ้ มลู พบวา่ ระหวา่ งสนิ เชอ่ื สว่ นบคุ คล Trade-off การดแู ลหนคี้ รวั เรือน กบั สนิ เชอื่ บตั รเครดติ ลกู คา้ สองกลมุ่ มคี วามแตกตา่ งกนั สนิ เชอื่ สว่ น กบั การเข้าถงึ บรกิ ารทางการเงนิ บคุ คลจะเปน็ กลมุ่ ทม่ี รี ายไดน้ อ้ ยกวา่ ลกู คา้ สนิ เชอื่ บตั รเครดติ ทำ� ให้ ต้องดูแลกลุ่มลูกค้าสินเช่ือส่วนบุคคลเพิ่มขึ้น “ถ้าเทียบของเดิม ในภาพรวมของการปรบั ปรงุ หลกั เกณฑแ์ ละการกำ� กบั ดแู ลสนิ เชอื่ สินเชอ่ื สว่ นบุคคล วงเงนิ ได้ 5 เทา่ เกณฑ์ใหม่เราพยายามออกแบบ บตั รเครดติ และสนิ เชอ่ื สว่ นบคุ คลภายใตก้ ารกำ� กบั คณุ ฤชกุ ร กลา่ ววา่ ให้สัมพันธ์กับรายได้และความสามารถในการจ่ายช�ำระคืน” ธปท. ได้มีการ Trade-off อยา่ งรอบคอบและรดั กุมระหวา่ งการดูแล คุณสมบรู ณ์ กลา่ ว เรอ่ื งหน้ีครัวเรอื นกับการเข้าถงึ บรกิ ารทางการเงินของประชาชน อยา่ งไรกต็ าม ธปท. ตระหนกั ถงึ ความจำ� เปน็ ทผ่ี บู้ รโิ ภคอาจตอ้ ง “ในส่วนของสินเช่ือส่วนบุคคล กลุ่มคนท่ีมีรายได้มากกว่า มชี อ่ งทางเขา้ ถงึ สนิ เชอ่ื ในกรณที มี่ เี หตจุ ำ� เปน็ ฉกุ เฉนิ ทส่ี ำ� คญั ตอ่ การ 3 หม่ืนบาทข้ึนไป เราไม่ได้จ�ำกัดจ�ำนวนของผู้ประกอบการที่เขาจะ มาตรการสินเชือ่ บตั รเครดิต วงเงินบัตรเครดติ เดมิ ใหม่ - เงินเดอื นข้ันต่�ำ : 15,000 บาท - เงินเดือนขั้นต่ำ� : 15,000 บาท - วงเงินสงู สุด : ≤ 5 เท่าของรายได้ - วงเงนิ สูงสดุ : สะท้อนตามรายไดข้ องลูกค้า รายได ้ วงเงินอนมุ ตั ิ B < 30,000 บาท ≤ 1.5 เทา่ ของรายได้ < 50,000 บาท ≤ 3 เทา่ ของรายได้ > 50,000 บาท ≤ 5 เท่า ของรายได้ ใชเ้ ฉพาะผูส้ มคั รบตั รใหม่ สามารถขอเพม่ิ วงเงินชั่วคราว เพื่อใช้ยามฉกุ เฉินได้ ผ้ถู ือบัตรเดิมจะไมไ่ ดร้ บั ผลกระทบ (ตามความสามารถในการชำ�ระหน้ขี องลกู คา้ ) มีผลบงั คับใชต้ งั้ แต่วนั ท่ี 1 กันยายน 2560

เดมิ B มาตรการสนิ เชื่อส่วนบคุ คล - เงินเดอื นขน้ั ตำ่� : ไมก่ ำ� หนด - วงเงินสูงสดุ : ≤ 5 เทา่ ของรายได้ มผี ลบงั คับใช้กับ...สนิ เชือ่ ส่วนบคุ คล ท่ีไม่มีหลักประกนั เทา่ นน้ั ใหม่ เช่น บตั รกดเงินสด - เงนิ เดือนขนั้ ตำ่� : ไม่ก�ำหนด - วงเงนิ สูงสดุ : สะทอ้ นตามรายไดข้ องลูกค้า มาตรการน้ีไมร่ วมถงึ ... รายได ้ วงเงินอนุมัติ < 30,000 บาท ≤ 1.5 เท่าของรายได้ ตอ่ ผู้ให้บรกิ ารไมเ่ กนิ 3 ราย ≥ 30,000 บาท สูงสดุ ไม่เกนิ 5 เท่า ของรายได้ NEW สนิ เชอ่ื สว่ นบคุ คลอน่ื ท่ีมหี ลกั ประกัน 21 BOT MAGAZINE The Knowledge เชน่ สนิ เช่ือเพ่อื ทอ่ี ยู่อาศยั / รถยนต์ / รถจกั รยานยนต์ ใช้เฉพาะลกู ค้าใหม่ สามารถขอวงเงินฉกุ เฉนิ ได้ และสินเชอ่ื สว่ นบคุ คลที่ไมม่ ีหลกั ประกันประเภทอ่ืน ไดแ้ ก่ สนิ เชอื่ เพื่อการศึกษา / สินเชอ่ื เพื่อการเดนิ ทาง ลกู ค้าเดิมจะไม่ได้รบั ผลกระทบ ไม่เกนิ 5 เท่า ของผู้ให้บริการแตล่ ะราย ไปทำ�งานตา่ งประเทศ / สินเช่อื เพอ่ื สวัสดิการพนักงาน มผี ลบังคบั ใช้ตง้ั แต่วันท่ี 1 กันยายน 2560 เขา้ ถงึ เราจำ� กัดจ�ำนวนผใู้ หบ้ ริการเฉพาะในกล่มุ ทเ่ี ปราะบางจรงิ ๆ นอกจากน้ี เพ่ือเป็นการดูแลผู้บริโภค ธปท. ได้เน้นย้�ำให้ ที่เราพบว่า เขามีโอกาสที่จะก่อหน้ีเกินตัว อีกเร่ืองหน่ึงที่เราไม่ได้ ผู้ประกอบธุรกิจบัตรเครดิตและสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การก�ำกับ ปรบั เปลยี่ น คอื อตั ราดอกเบย้ี ของPersonalLoan เนอ่ื งจากกลมุ่ ลกู คา้ ต้องให้ทางเลือกแก่ผู้บริโภค ในกรณีที่ไม่ต้องการให้ติดต่อเพื่อ ทเ่ี ข้าถงึ Personal Loan จะมีความเสยี่ งท่ีแตกตา่ งกนั เพราะฉะน้นั เสนอขายผลติ ภณั ฑท์ างการเงนิ โดยตอ้ งมกี ระบวนการและดแู ลให้ ลูกคา้ ทีม่ คี วามเสยี่ งสูงกจ็ ะเขา้ ใชบ้ รกิ ารได้ โดยเพดานอัตราดอกเบ้ีย เป็นไปตามความประสงค์ของลูกค้า รวมถึงกรณีมีข้อร้องเรียน ไมเ่ ปน็ อปุ สรรค คดิ วา่ คงไมก่ ระทบและไมท่ ำ� ใหล้ กู คา้ ตอ้ งไปใชบ้ รกิ าร เกยี่ วกบั การเรยี กเกบ็ เงนิ ทผ่ี ดิ พลาดของบตั รเครดติ ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ทางการเงินนอกระบบ” คุณฤชกุ ร อธิบาย บตั รเครดติ ต้องให้สิทธทิ างเลอื กแกผ่ ถู้ ือบตั รเครดิต ท่ีจะขอรับเงนิ คนื ผา่ นช่องทางอืน่ นอกเหนอื จากการคนื เงินเขา้ บัญชบี ัตรเครดิต แนวทางการก�ำหนดวงเงินสินเช่ือบัตรเครดิตและสินเชื่อ ส่วนบุคคลที่กล่าวข้างต้น จะมีผลใช้บังคับกับผู้ขอมีบัตรเครดิตหรือ และนี่คือหน่ึงในมาตรการส�ำคัญในการดูแลการก่อหนี้ของ ผขู้ อสนิ เชอ่ื สว่ นบคุ คลรายใหม่ ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 กนั ยายน 2560 เปน็ ตน้ ไป ภาคครัวเรือนไทย เพื่อให้ตอบโจทย์และช่วยแก้ไขปัญหาการก่อ เกณฑ์ใหม่ของ ธปท. จึงไม่กระทบกับลูกค้าบัตรเครดิตและ หน้ีสินจากสนิ เช่ือบัตรเครดติ และสนิ เช่อื ส่วนบคุ คลใหเ้ หมาะสมขน้ึ สินเช่ือส่วนบุคคลเดิม ส�ำหรับเพดานอัตราดอกเบ้ียบัตรเครดิตก็มี เพื่อลดความเปราะบางของภาระหนี้ครัวเรือนของประเทศ และ ผลบงั คบั ใชต้ ้ังแต่ 1 กนั ยายน 2560 เชน่ กนั โดยจะมีผลใช้บังคับกับ เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคการเงินและเศรษฐกิจไทย ผ้มู บี ตั รเครดติ ท้งั รายเดมิ และรายใหม่ ในระยะยาวให้เตบิ โตอยา่ งยัง่ ยนื

22 BOT MAGAZINE The Knowledge ดร.โสมรัศมิ์ จนั ทรัตน์ หัวหนา้ กล่มุ งานวจิ ยั ด้านระบบการเงนิ สถาบันวิจยั เศรษฐกจิ ป๋วย องึ๊ ภากรณ์

โสมรศั มิ์ จนั ทรตั น์ Research Driven Policy ทีด่ �ำเนินรอยตามความเป็นนกั วจิ ยั ผู้ย่งิ ใหญ่ ของในหลวงรัชกาลที่ 9 กระบวนการก�ำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ ขในอหงลสวถงาบร.นั 9วติจัย้นเแศบรบษงฐากนจิวปิจัย๋วยฯ 23 BOT MAGAZINE The Knowledge จ�ำเป็นต้องมีพ้ืนฐานจากการศึกษาวิจัยอย่างถ่องแท้และ รอบด้าน เพื่อให้การก�ำหนดนโยบายตอบโจทย์ความต้องการ เม่ือสังเกตจากโครงการตามพระราชด�ำริกว่า 4,000 โครงการ ที่แท้จริงของประเทศ ซึ่งสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ และสิทธิบัตรในพระปรมาภิไธยกว่า 10 ช้ิน จะเห็นได้ว่า (Puey Ungphakorn Institute for Economic Research: พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงเปน็ นกั วจิ ยั PIER) ได้ก่อต้ังข้ึนเพ่ือสร้างงานวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์ส�ำหรับ ตวั ยง และทรงเป็นแรงบันดาลใจให้นักวิจัยไทยในหลาย ๆ ด้าน การเผยแพร่งานวิจัยที่มีคุณภาพ และเป็นอิสระ เพื่อส่งเสริม ซึ่งสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วยฯ และ ดร.โสมรัศม์ิ ก็ได้น�ำหลักการ การก�ำหนดนโยบายที่ตั้งอยู่บนพ้ืนฐานการวิเคราะห์วิจัย ทรงงานเหล่าน้ีมาเป็นต้นแบบในการท�ำงานวิจยั ด้วยเชน่ เดยี วกนั ทางวิชาการอย่างรอบด้าน งานวิจัยในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ดร.โสมรศั ม์ิ จนั ทรตั น์ เปน็ นกั เศรษฐศาสตรก์ ารพฒั นาทเ่ี ขา้ มา นนั้ มี 4 มติ ิ นนั่ คอื ลกึ รอบดา้ น เนน้ ทดลองใหเ้ หน็ จรงิ และถา่ ยทอด รบั ตำ� แหนง่ หวั หนา้ กลมุ่ งานวจิ ยั ดา้ นระบบการเงนิ สถาบนั วจิ ยั เศรษฐกจิ อยา่ งมีสว่ นรว่ มเพอ่ื ใหค้ นนำ� งานวจิ ยั ไปใชไ้ ด้ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้กว่าขวบปี งานวิจัยส่วนใหญ่ของ ดร.โสมรัศมิ์ มุ่งเข้าใจกลไกการพัฒนา มิตแิ รก คือ วิจัยเชิงลกึ พระองค์ทรงเพียรพยายามศกึ ษาอยา่ ง ทางเศรษฐกจิ แบบยง่ั ยนื และทว่ั ถงึ ซง่ึ สามารถนำ� ไปใชใ้ นการกำ� หนด ถอ่ งแท้แมจ้ ะใช้เวลามากกต็ าม ยกตวั อยา่ งเรอื่ งฝนหลวง พระองค์ นโยบายไดจ้ รงิ ใชเ้ วลาเกนิ 10 ปี เพอ่ื พฒั นาใหเ้ กดิ กอ้ นเมฆเทยี มและมฝี นตกลงมา ได้ ในอีกมุมหนึ่งพระองค์ใช้เวลาในการเข้าใจชุมชนที่จะไปพัฒนา “เอกลักษณ์ในการท�ำงานวิจัยของตัวเองได้รับแรงบันดาลใจมา ลงพนื้ ท่เี พ่ือศึกษาวิถคี นและวิถชี มุ ชน จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช น่ันคือเรา อยากจะเห็นงานวิจัยของเราถูกน�ำไปใช้ งานวิจัยแต่ละชิ้นจึงล้วน มติ ทิ สี่ อง คอื วจิ ยั อยา่ งรอบดา้ น พระองคแ์ กป้ ญั หาแบบองคร์ วม ริเร่ิมมาจากค�ำถามเชิงนโยบาย งานวิจัยส่วนใหญ่จึงมุ่งเน้นเอาไป ไม่ได้แก้เพียงจุดเดียว และยังใช้หลายศาสตร์ หรือท่ีเรียกว่า ใช้ประโยชนใ์ นทางนโยบายได้โดยตรง” Multidisciplinary เพราะไม่มศี าสตรใ์ ดเพยี งศาสตรเ์ ดยี วท่ีสามารถ ตอบคำ� ถามไดค้ รบทงั้ หมด

24 BOT MAGAZINE The Knowledge “งานของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วยฯ มีตั้งแต่ จากข้อมลู เชงิ ลึกขนาดใหญท่ ีม่ ีในประเทศไทยในหลาย ๆ แหลง่ ซึ่ง ‘งานสรา้ ง’ คอื การสรา้ งงานวจิ ยั ทเ่ี ปน็ องคค์ วามรู้ อาจจะยงั ไมเ่ คยมคี นนำ� มาใชม้ ากอ่ น และพยายามจะสรา้ งหลกั ฐาน ใหม่ ๆ ของประเทศอย่างไม่หยุดนิ่ง...รวมไปถึง เชงิ ประจกั ษ์ ซงึ่ จะนำ� ไปสกู่ ารออกแบบนโยบายในอนาคต รวมไปถงึ ‘งานเช่ือมโยงและถ่ายทอด’ คือ...สร้างพ้ืนท่ี ‘งานเชื่อมโยงและถ่ายทอด’ คือ เรามุ่งสร้างเครือข่ายนักวิจัยทาง ทางวิชาการให้นักวิจัยมีปฏิสัมพันธ์เพื่อต่อยอด เศรษฐศาสตรไ์ ทย สรา้ งพน้ื ทท่ี างวชิ าการใหน้ กั วจิ ยั มปี ฏสิ มั พนั ธเ์ พอ่ื งานวิจัยและเป็นตัวกลางถ่ายทอดงานวิจัยของ ตอ่ ยอดงานวจิ ยั กนั ได้ และเปน็ ตวั กลางถา่ ยทอดงานวจิ ยั ของนกั วจิ ยั นักวิจัยไทย ออกไปให้ผู้ก�ำหนดนโยบายได้หยิบ ไทย ออกไปใหผ้ กู้ �ำหนดนโยบายไดห้ ยิบไปใช้” ไปใช”้ สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วยฯ มีการถ่ายทอดผลงานวิจัย “ยกตัวอย่างโครงการบริหารจัดการน�้ำ พระองค์ทรงศึกษา หลากหลายรปู แบบ ไปสผู่ รู้ บั หลายระดบั ตงั้ แตใ่ นรปู แบบทใ่ี ชส้ อื่ สาร ใหร้ แู้ จง้ ในวทิ ยาศาสตรก์ ารไหลของนำ�้ ไหลมาจากไหนตง้ั แตต่ น้ นำ�้ ไปสู่นักวิจัยได้เรียนรู้ซ่ึงกันและกัน ในรูปแบบ Discussion Paper ไปจนถึงปลายน้�ำ ซ่ึงเท่าน้ันยังไม่เพียงพอ เมื่อจะท�ำโครงการ ไปจนถงึ บทความ aBRIDGEd ซง่ึ เปน็ การสงั เคราะหง์ านวจิ ยั ใหง้ า่ ยขนึ้ ต่าง ๆ ต้องมีการเวนคืนที่ดินของชาวบ้าน ซึ่งตามหลักเพียงแค่ ว่างานวิจัยน้ีจะน�ำไปใช้ผลักดันนโยบายได้อย่างไร ไปจนถึงระดับ ไปบอกชาวบ้านว่าท่ีดินตรงนี้ต้องถูกเวนคืนก็ใช้ได้แล้ว แต่การจะ การส่ือสารไปยังบุคคลทั่วไปที่ไม่ต้องมีความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ให้ ไปเจรจาให้ชาวบ้านเข้าใจและยอมให้เวนคืนแต่โดยดี จะต้องใช้ สามารถเข้าใจได้ โดยจัดท�ำเป็นบทความที่กลั่นกรองจากงานวิจัย หลักสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมมาท�ำความเข้าใจ ฉบบั เตม็ ในคอลมั น์ “เศรษฐศาสตรเ์ ขา้ ทา่ ” บนเวบ็ ไซต์ ThaiPublica น่เี ป็นตวั อยา่ งท่พี ระองคท์ รงใชห้ ลายศาสตรเ์ ข้ามาแก้ไขปัญหา” ตลอดจนจัด Press Brief ทุกเดือน เพื่อเชิญผู้ส่ือข่าวมาร่วมรับฟัง งานวจิ ัยและไดซ้ ักถาม โดยมเี ปา้ หมายเพอ่ื ใหผ้ สู้ อื่ ข่าวมีความเขา้ ใจ มิติท่ีสาม คือ เน้นการทดลองให้เห็นผลเป็นท่ีประจักษ์เพื่อน�ำ งานวจิ ยั แตล่ ะชนิ้ มากขน้ึ และสามารถนำ� เสนอใหก้ บั ประชาชนทว่ั ไป ไปใชเ้ พือ่ การพัฒนา คือทดลองให้เห็นผลก่อนวา่ ท�ำไดห้ รือท�ำไม่ได้ รับรมู้ ากกวา่ แคเ่ รือ่ งตัวเลข ถ้าท�ำได้จึงค่อยน�ำออกไปใช้จริง เราจะเห็นการที่พระองค์ทรงใช้ วงั จติ รลดาเปน็ สนามทดลองนวตั กรรมและการบรหิ ารจดั การองคก์ ร Fงาinนaวnิจcัยeทaีว่ n่าdด้วDยevelopment ภาคเกษตรตา่ ง ๆ เช่น การจดั การสหกรณ์โคนม และการทดลอง แปลงตน้ แบบในสภาวะแวดล้อมจรงิ ทแ่ี ตกตา่ งกันไปในศนู ย์ศกึ ษา ในฐานะหัวหน้ากลมุ่ งานวจิ ัยด้านระบบการเงนิ ดร.โสมรศั มิ์ ได้ การพฒั นาทัว่ ประเทศ นำ� เอาขอ้ ไดเ้ ปรยี บจากประสบการณท์ ำ� งานวจิ ยั ทคี่ อ่ นขา้ งหลากหลาย ทัง้ จากการท�ำงานกับธนาคารโลก และอาจารย์ประจําท่ี Australian มิติสุดท้ายคือ นอกจากใช้ได้จริงแล้ว ขั้นตอนท่ียากท่ีสุด คือ National University มาทำ� งานวจิ ยั ทส่ี ถาบนั วจิ ยั เศรษฐกจิ ปว๋ ยฯ โดย การเน้นการถ่ายทอดผลการทดลองให้กับทุกภาคส่วนได้เรียนรู้ เนน้ การนำ� ความรทู้ างเศรษฐศาสตรก์ ารเงนิ และการพฒั นามาชว่ ยให้ อย่างมีส่วนร่วม โดยพระองค์มีวิธีให้ผู้เรียนรู้ได้มีส่วนร่วม เช่น เขา้ ใจการเขา้ ถงึ ดา้ นการเงนิ พฤตกิ รรมการใชผ้ ลติ ภณั ฑท์ างการเงนิ โครงการชั่งหวั มนั หรอื โครงการพัฒนาตามพระราชด�ำริ ทั้ง 6 แห่ง และเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ การเงนิ ของภาคครวั เรอื น โดยมแี นวคดิ ท่ัวประเทศ เป็นแหลง่ ศกึ ษาทดลองทแี่ สดงใหเ้ หน็ ว่า วธิ กี ารพฒั นา หลัก คือ การเข้าถงึ ดา้ นการเงนิ ล้วนจะท�ำให้เกดิ การพฒั นาไดจ้ ริง มีความเหมาะสมสอดคล้องและท�ำได้จริงในสถานท่ีจริง และเป็น แต่ตอ้ งตงั้ อยู่ในพน้ื ฐานของความพอดีตอ่ ศกั ยภาพ แนวทางต้นแบบให้แก่พ้ืนที่อื่น ๆ ได้เข้าไปศึกษาและน�ำไปใช้ ซึ่งสถาบนั วิจัยเศรษฐกิจปว๋ ยฯ ได้มุ่งเนน้ งานวิจยั ทางเศรษฐศาสตร์ “ถ้าคนที่มีศักยภาพสามารถเข้าถึงแหล่งทุนได้ เขาจะสามารถ ทเี่ ปน็ เบอ้ื งลกึ และมคี ณุ ภาพตามแนวทางการวจิ ยั ในพระบาทสมเดจ็ น�ำไปลงทุน เสริมความรู้ ซึ่งจะท�ำให้เกิดความเจริญเติบโตทาง พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชทุกประการ เศรษฐกิจได้ ถ้าคนเข้าถึงการออม การประกันภัยทีเ่ หมาะสม กจ็ ะ ท�ำให้เขาเกิดภูมิคุ้มกัน ซ่ึงท้ังหมดน้ีจะท�ำให้เกิดความเจริญที่ยั่งยืน “งานของสถาบนั วจิ ยั เศรษฐกจิ ปว๋ ยฯ มตี งั้ แต่ ‘งานสรา้ ง’ คอื การ แต่กลับกันหากคนเข้าถึงหน้ีสินที่เกินพอดี เกินศักยภาพ ก็อาจก่อ สรา้ งงานวิจัยทเี่ ปน็ องคค์ วามรใู้ หม่ ๆ ของประเทศอยา่ งไม่หยุดนิง่ ให้เกิดความเปราะบางตอ่ ท้ังครัวเรอื นและระบบเศรษฐกิจได”้ งานวจิ ยั ของเราเปน็ การศกึ ษาเชงิ ลกึ และมงุ่ พฒั นาและใชป้ ระโยชน์ กอ่ นทจี่ ะเขา้ มาทำ� งานทสี่ ถาบนั วจิ ยั เศรษฐกจิ ปว๋ ยฯ ดร.โสมรศั มิ์ เคยท�ำงานกับธนาคารโลก และเป็นหน่ึงในนักวิจัยหลักในโครงการ วิจัยขนาดใหญ่ ท่ีน�ำเอาเทคโนโลยีภาพถ่ายดาวเทียมร่วมกับ

นวัตกรรมทางการเงนิ เข้าไป ทดลองพฒั นาระบบการประกันภัยพชื ผล มาศึกษาปัญหาและนยั ส�ำคญั เชิงนโยบายของหนีค้ รัวเรือนไทย 25 BOT MAGAZINE The Knowledge ให้กับเกษตรกร จนปัจจุบันได้กลายเป็นนโยบายที่ประเทศเคนย่าและ (2) การเก็บขอ้ มลู พกิ ัดเกือบแสนจดุ ของผู้ใหบ้ ริการทางการ เอธิโอเปียได้น�ำไปใช้จริงกับเกษตรกรทั่วประเทศ และได้ท�ำงานวิจัย ใหก้ บั ธนาคารโลกเรอ่ื ยมา โดยโจทยว์ ิจยั หลกั ๆ กค็ อื การสร้างระบบ เงินเกือบทุกแหล่ง ไม่ว่าจะเป็นในระบบ เช่น สาขาธนาคาร สินเชื่อและประกันภัยที่ท่ัวถึงและยั่งยืนในหลายประเทศในเอเชียและ เอทีเอ็ม กึ่งนอกระบบ เช่น สหกรณ์ โรงรับจ�ำน�ำ หรือ แอฟริกา นอกระบบ เช่น กองทุนหมู่บ้าน และองค์การการเงินในชุมชน โดยน�ำมาผนวกเข้ากับข้อมูลเชิงพื้นที่ต่าง ๆ เพ่ือน�ำมาศึกษา ซง่ึ ประสบการณ์งานวจิ ัยดงั กลา่ ว ไดถ้ กู สะสมและต่อยอดมาจนถึง นัยเชิงนโยบายในการพัฒนาการเข้าถึงบริการทางการเงินให้ การทำ� งานในปจั จบุ นั โดยสถาบนั วจิ ยั เศรษฐกจิ ปว๋ ยฯ กำ� ลงั จะรว่ มมอื ทำ� ท่วั ถึง และลด Inefficiency ของระบบการเงินและการช�ำระเงนิ วจิ ยั กบั สำ� นกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ (กระทรวง ในปจั จบุ นั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย)ี และสมาคมประกนั วนิ าศภยั เพอ่ื นำ� ขอ้ มลู ภาพถา่ ยดาวเทยี มต่าง ๆ ของประเทศไทย มาเช่ือมโยงขอ้ มูลกิจกรรม (3) อีกหนึ่งโครงการวิจัยท่ีเพิ่งเริ่มวางแผน คือการใช้ การเพาะปลกู และเศรษฐกจิ สงั คมในระดบั เกษตรกร เพอ่ื สรา้ งฐานขอ้ มลู เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม (Behavioral Economics) ร่วมกับ ความเส่ียงของเกษตรกร และน�ำมาสร้างระบบประกันภัยพืชผลและ การลงพ้ืนที่เพ่ือท�ำการทดลอง เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ในเร่ือง ราคา และระบบสนิ เชอ่ื ทย่ี ง่ั ยนื ใหก้ บั เกษตรกรผปู้ ลกู พชื เศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ พฤติกรรมทางการเงินของครัวเรือนไทย ไม่ว่าจะเป็นท้ังการ ทง้ั หมดนจี้ งึ เปน็ กา้ วทส่ี ำ� คญั ของสถาบนั วจิ ยั เศรษฐกจิ ปว๋ ยฯ ซงึ่ ไดส้ ะทอ้ น ใชจ้ า่ ย การออม การทำ� ประกนั ภยั หรอื การชำ� ระเงนิ ตลอดจน ตวั อย่างของงานวจิ ยั ทสี่ ามารถตอบโจทยแ์ ละน�ำไปใชไ้ ดจ้ รงิ โดยตรง การศึกษา พัฒนาและทดลองนวัตกรรมและนโยบายส่งเสริม แรงจูงใจต่างๆ (Nudges) ท่ีจะช่วยท�ำให้ครัวเรือนไทยมีวินัย นอกจากน้ี ดร. โสมรศั มิ์ และทมี วจิ ยั ยงั ตง้ั เป้าหมายท่ีจะพฒั นา ทางการเงนิ มากขึน้ ด้วย องค์ความรู้ใหม่ ๆ เพ่ือสะท้อนอุปสรรคของการเข้าถึงและการ ใช้ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน และสร้างนัยส�ำคัญไปสู่นโยบายระบบ งานวิจัยที่ได้กล่าวมาข้างต้น ล้วนแต่มุ่งเน้นที่จะสร้าง การเงินภาคครวั เรือนและธรุ กจิ โดยเนน้ การใช้ขอ้ มูลเชิงลกึ ขนาดใหญ่ องคค์ วามรใู้ หม่ ๆ เพอ่ื ทจ่ี ะนำ� ไปออกแบบและประเมนิ นโยบาย ท่ีครอบคลมุ ทง้ั ระบบ เช่น ระบบการเงนิ ไทย งานทุกชิ้นเกิดจากแรงบันดาลใจและปณิธาน ทจ่ี ะดำ� เนนิ รอยตามความเปน็ นกั วจิ ยั ผยู้ ง่ิ ใหญข่ องพระบาทสมเดจ็ (1) การใช้ขอ้ มลู เชิงสถิตจิ ากบริษัท ข้อมลู เครดติ แหง่ ชาติ จ�ำกัด ที่ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทง้ั สน้ิ ครอบคลมุ กวา่ 87% ของหนค้ี รวั เรอื นไทยในระบบทง้ั หมด รว่ มกบั ขอ้ มลู ส�ำรวจเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนไทยที่มีในประเทศไทยท้ังหมด

26 BOT MAGAZINE The Knowledge เรื่อง : สถาบันพฒั นาบคุ ลากร 3ท0ี่มาปีwดwอwยต.mุงaจeาfaกhเขluาaหnัวgโล.o้นrgสู่ผืนป่าอดุ มสมบูรณ์ BOT Leadership Boot Camp การเดินทางเพ่ือเรียนร้เู รอื่ งผู้น�ำ จากการลงมอื ท�ำภารกิจในสถานการณ์จำ� ลอง ผ่านการถอดบทเรียนจากโครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นทท่ี รงงาน) อันเนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ จ.เชยี งราย เมอ่ื พูดถงึ Boot Camp เรามกั จะนกึ ถึงการท่ีกลุม่ คนที่ไปกิน อยู่ และพกั แรมรว่ มกนั ในสถานท่ีใดสถานที่หนง่ึ เพือ่ ฝึกฝน พัฒนาทักษะบางอย่างที่เข้มข้น โดยเฉพาะการเข้าค่ายฝึกทหาร ปัจจุบันคำ�ว่า Boot Camp ถูกนำ�ไปประยุกต์ใช้กับ การฝกึ ฝนพัฒนาในเรื่องต่าง ๆ อยา่ งเฉพาะเจาะจงตามทแี่ ต่ละกลุ่มสนใจ

ท�ำ ไมจงึ ตอ้ งเป็น Boot Camp ที่ดอยตุง พื้นท่ีดอยตงุ ในอดตี ทม่ี า www.maefahluang.org 27 BOT MAGAZINE The Knowledge BOT Leadership Boot Camp เป็นหลักสูตรที่สถาบันพัฒนา ประการที่สอง คือ พ้ืนทด่ี อยตงุ ท่ใี นอดีตคือภูเขาหวั โลน้ เป็น บุคลากร ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) พัฒนาข้ึนโดยความ พ้ืนทีป่ ลกู ฝ่ินและเส้นทางค้ายาเสพตดิ ได้ถูกพลกิ ฟ้นื ให้กลบั กลาย รว่ มมอื กบั มลู นธิ แิ มฟ่ า้ หลวง และอาจารยอ์ ำ� นาจ ทศั นยี กลุ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จาก มาเป็นพืน้ ทเี่ ขยี วขจดี ้วยพืชเศรษฐกิจและพนั ธุ์ไม้นานาชนดิ ซง่ึ ใน ความตงั้ ใจท่ีอยากให้ผบู้ รหิ ารระดับผู้อำ� นวยการ (อาวโุ ส) ของ ธปท. ปัจจุบัน ถอื เปน็ แหล่งท่องเที่ยวเชงิ ธรรมชาตทิ ส่ี วยงาม มที ีพ่ กั และ จำ� นวน 100 คนเศษ จาก 40 กวา่ สว่ นงาน ไดม้ โี อกาสละจากงาน เส้นทางเดินทางที่เอื้อต่อการเข้าไปสัมผัสกับผู้คนถึงในหมู่บ้านบน ออกจากความคนุ้ ชนิ เดมิ ๆ ไปใชช้ วี ติ รว่ มกนั นอกสถานท่ี เพอื่ เรยี นรู้ ดอยสูง หรือในพ้ืนท่ีโครงการพฒั นาต่าง ๆ จึงท�ำให้การออกแบบ และพัฒนาการเป็นผู้น�ำ และได้มีโอกาสท�ำความรู้จักกันมากย่ิงขึ้น กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ในด้านผู้น�ำ สามารถท�ำได้อย่างเหมาะสม นอกเหนอื จากในการทำ� งาน โดยครง้ั นเี้ ราเลอื กจดั กจิ กรรมทโ่ี ครงการ และลงตวั พัฒนาดอยตงุ ดว้ ยเหตุผลสองประการ ประการแรก คือ พื้นท่ีแห่งน้ีถือเป็นแหลง่ เรยี นรู้และมอี งค์ความรู้ ที่ยอดเย่ียม เราจะสามารถเรียนรู้ได้จากแนวพระราชด�ำริ หลักการ ทรงงาน และพระราชกรณยี กจิ ในโครงการพฒั นาตา่ ง ๆ ทยี่ งั คงพฒั นา ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเดจ็ ย่า ทที่ รงเร่มิ พระราชดำ� ริทวี่ ่า “ฉันจะปลูกป่าบนดอยตุง” และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากสถานท่ี ทรงงานจริงของพระองค์ ไม่ว่าจะเป็นในการเรียนรู้ด้านภาวะผู้น�ำ การพฒั นา และการสรา้ งความเปลย่ี นแปลงทเี่ ปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งยงั่ ยนื ทง้ั ตอ่ คน สังคม และสภาพแวดล้อม ฐานทหาร ณ พรมแดนไทย-พม่า ดอยชา้ งมูบ

feel the fear and do it anyway 28 BOT MAGAZINE The Knowledge เดินทางเข้าหมูบ่ ้านบนดอย ปลูกกล้า เพือ่ ปลูกป่า รLูปeaแบdบerกsาhรipเรBยี นooร้ขูt อCงamp ของโครงการฯ การแลกเปลย่ี นเรียนรกู้ ับผู้คน ตา่ งรุ่น ตา่ งวยั และ การเข้าไปสัมผัสกับพื้นท่ีอยู่อาศัย การประกอบอาชีพ และสภาพ ธปท. มีการพัฒนาด้านผู้น�ำ (Leadership Development แวดลอ้ มของคนบนดอย Program) ให้กับผู้บริหารในทุกระดับ โดยผ่านกระบวนการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ และสะท้อนบทเรียนจากหลักคิด ทฤษฎีด้าน 2. การเรียนร้จู ากกจิ กรรมกลมุ่ “Learning Journey” ทผ่ี ู้เรยี น ผู้น�ำของกูรูและนักคิดที่ได้รับการยอมรับ ส่วนใหญ่เป็นการเรียนรู้ จะตระหนกั และเรยี นรบู้ ทเรยี นสำ� คญั ๆ ดา้ นภาวะผนู้ ำ� ไดด้ ว้ ยตนเอง ในห้องเรียนท้ังในและต่างประเทศ โดยผ่านตัวอย่างและ จากการลงมือท�ำภารกิจที่เป็นเป้าหมาย ณ จุดต่าง ๆ และที่เป็น ประสบการณข์ องผนู้ �ำทป่ี ระสบความส�ำเร็จ เปา้ หมายใหญโ่ ดยรวมใหส้ ำ� เรจ็ ภายใตเ้ งอ่ื นไขและเวลาทก่ี ำ� หนด โดย ใช้เส้นทางในสวนแม่ฟา้ หลวง Leadership Boot Camp เป็นหน่ึงในหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นการ พัฒนาดา้ นผนู้ �ำท่ี ธปท. ตง้ั ใจจัด 2 รนุ่ ในปี 2560 โดยเป็น Part ไมว่ า่ จะเปน็ สะพานยอดไม้(TreeTopWalk)1 พชื พนั ธไ์ุ มน้ านาชนดิ ที่จัดรูปแบบการเรียนรู้อยู่นอกห้องเรียน ด้วยการออกนอกสถานที่ กลว้ ยไมร้ องเทา้ นารี หมบู่ า้ นชาวเขา เขาวงกต ประตมิ ากรรมกลาง แบบไปเขา้ แคมป์ ซ่งึ มรี ปู แบบการเรียนรู้ 2 ลักษณะหลัก ๆ คอื สวนสวย สงิ่ กอ่ สรา้ งทเี่ ปน็ แลนดม์ ารค์ รา้ นคา้ ผลติ ภณั ฑข์ องดอยตงุ รวมถงึ ผคู้ น ทงั้ ทม่ี าทอ่ งเทยี่ วและเจา้ หนา้ ทใี่ นสวน ถกู นำ� มาออกแบบ 1. การเรียนรู้ผ่านการศึกษาและถอดบทเรียนจากโครงการ เปน็ โจทย์ เปน็ ปรศิ นา เปน็ ภารกจิ ใหผ้ บู้ รหิ ารไดเ้ รยี นรจู้ ากการลงมอื ทำ� พัฒนาดอยตุง โดยการศึกษาและถอดบทเรียนจากองค์ผู้น�ำ แบบ Learning by Doing ทเ่ี นน้ ใหเ้ กดิ การเรยี นรใู้ นบรรยากาศทมี่ ี ตน้ แบบ ท้งั สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเดจ็ ความสนกุ เพลดิ เพลนิ (Play+Learn) พรอ้ ม ๆ ไปกบั การทำ� กจิ กรรม พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช และราชสกลุ มหดิ ล จากหอแหง่ กลางแจง้ ทอ่ี าจตอ้ งเจอแดด เจอฝน เจอความเฉอะแฉะ ความขรขุ ระ แรงบนั ดาลใจ การรบั ฟงั การบรรยายและเยยี่ มชมโครงการสำ� คญั ๆ ลาดชนั ของเสน้ ทางเดนิ และความสงู ทตี่ อ้ งปา่ ยปนี ตอ้ งใชค้ วามพรอ้ ม 1Doi Tung Tree Top Walk : โปรเจกต์ทางเดนิ ต้นไมช้ า่ งคิดแห่งสวนแม่ฟา้ หลวง www.adaymagazine.com/articles/draft-18

ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดศิ กุล ประธานมลู นธิ ิแมฟ่ า้ หลวงฯ พูดคยุ อย่างเปน็ กันเองกบั ผบู้ รหิ าร ธปท. ใน Leadership Boot Camp 29 BOT MAGAZINE The Knowledge ของร่างกาย ใช้ใจที่อดทน และการขยับเขยื้อนท้ังใจและกายเพื่อ 1. ดา้ นการดำ� เนนิ ชวี ติ : สงิ่ ยง่ิ ใหญเ่ รมิ่ จากจดุ เลก็ ๆ คอื ตวั เราเอง ออกจากสภาพหรอื กจิ วตั รเดมิ ๆ ทค่ี นุ้ ชนิ ความดที ำ� ไดไ้ มจ่ ำ� กดั วยั (สมเดจ็ ยา่ พระองคท์ า่ นเรมิ่ ทรงงานทด่ี อยตงุ ตอนพระชนมายุ 87 พรรษา) บทเรียนและแรงบนั ดาลใจที่ผู้บรหิ ารไดร้ ับ จากการเข้าร่วมกิจกรรม Boot Camp 2. ด้านการทำ� งาน : ทเ่ี ห็นไดช้ ัดเจนคือ หัวใจอยทู่ ค่ี น (ทุกคนท่ี เกยี่ วขอ้ งกบั งาน) ผนู้ ำ� ตอ้ งเขา้ ใจความตอ้ งการ ขอ้ จำ� กดั และแนวทาง การเรียนรู้ของผู้บริหารเกิดข้ึนมากมายในทุกกิจกรรม ตลอด จดั การขอ้ จำ� กดั ไมม่ สี ง่ิ ใดเปน็ ไปไมไ่ ด้ เปลย่ี นจาก “Impossible” เปน็ ระยะเวลาการกนิ อยู่ พักแรม 3 วัน 2 คืน ณ ดอยตงุ และเกดิ ขึ้นใน “I’mpossible” ทสี่ ำ� คญั คอื ทำ� ดว้ ยใจรกั และศรทั ธาในคนอนื่ และสง่ิ ทท่ี ำ� หลากหลายแง่มมุ โดยขอยกบทเรียนและแรงบันดาลใจของผบู้ ริหาร ตอ้ งทำ� อยา่ งจริงจัง ตอ่ เน่ือง “ทำ� ให้สำ� เรจ็ ไม่ใช่แคเ่ สรจ็ ” กลมุ่ หน่ึงทไ่ี ดเ้ กบ็ มาฝากเพื่อน ๆ น้อง ๆ ทง้ั ทาง Facebook และ การบอกเลา่ ตอ่ เมอื่ กลบั ไปทำ� งานในวนั แรก ถงึ สง่ิ ทพี่ วกเขาไดร้ บั ดงั นี้ 3. ด้านการเปน็ ผูน้ ำ� (Leadership ไมใ่ ช่ Boss) : คุณสมบตั ขิ อง ผนู้ ำ� ทด่ี เี หน็ ไดจ้ ากองคผ์ นู้ ำ� ตน้ แบบทเ่ี ปน็ แรงบนั ดาลใจใหต้ วั เรา ผนู้ ำ� กจิ กรรม Boot Camp ที่ดีต้องเร่ิมจากความรักและเมตตา การนึกถึงคนอ่ืน การให้โอกาส ให้อภัย อดทนต่ออุปสรรค กล้าก้าวข้ามความกลัวและกล้า เปล่ียนแปลง ท�ำตัวเป็นแบบอย่าง (Role Model) ท�ำงานเป็นทีม เชื่อมนั่ ในความสำ� เร็จ และสอ่ื สารอยา่ งสร้างสรรค์ แม้ว่ากจิ กรรมใน BOT Leadership Boot Camp ถกู ออกแบบให้ ผบู้ รหิ ารได้พบเจอกับส่ิงใหม่ ๆ ความท้าทาย อปุ สรรค และความ เหน็ดเหนื่อย ซึ่งไม่น้อยไปกว่ากิจกรรมการเรียนรู้ในบรรยากาศที่ สนกุ สนาน แตเ่ สยี งสะท้อนกลับจากผ้บู ริหารทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการกลบั พดู เป็นเสยี งเดยี วกนั ว่า บทเรยี นจาก Boot Camp คร้ังนี้จะเป็นการ เรยี นรทู้ ส่ี รา้ งแรงบนั ดาลใจครง้ั สำ� คญั ทผ่ี บู้ รหิ าร ธปท. จะนำ� ไปเรม่ิ ตน้ กับตนเอง ส่งตอ่ และสรา้ งสรรค์สูก่ ารเปลยี่ นแปลงที่ยง่ั ยนื

30 BOT MAGAZINE The Knowledge ASEAN at 50 The Regional Platform for Cooperation กดแลรรร.ะสมอุทกดศั าีตนรรธ์อนเงศาเรลคษขาฐารบ์ธแุญิกหา่งสรปรอร้าาะงเเซทียศนไทย

ในวาระครบรอบ 50 ปี ของการก่อต้ังสมาคมประชาชาติ ประกาศวิสยั ทศั น์อาเซยี น (ASEAN Vision 2020) โดย ดร.สทุ ศั น์ 31 BOT MAGAZINE The Knowledge แห่งเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ (Association of Southeast เปน็ ผู้มสี ว่ นส�ำคญั ในการจัดทำ� เป้าหมาย ก�ำหนดให้ภายในปี 2563 Asian Nations: ASEAN) หรอื อาเซียน ในปี 2560 จงึ นบั อาเซียนจะเป็น (1) วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - เป็นโอกาสดีท่ีจะมองย้อนหลังถึงประวัติศาสตร์อาเซียน A Concert of Southeast Asian Nations (2) หุ้นสว่ นเพ่ือการ บทบาทของประเทศไทย ความส�ำ เรจ็ รวมถงึ ความทา้ ทาย พัฒนาอย่างมีพลวตั - A Partnership in Dynamic Development ในอนาคตของอาเซยี นทา่ มกลางบรบิ ทเศรษฐกจิ การเมอื ง (3) มุ่งปฏสิ มั พนั ธก์ ับประเทศภายนอก - An Outward-looking โลกท่ีเปลยี่ นแปลงไป ASEAN และ (4) ชมุ ชนแหง่ สงั คมท่เี อ้ืออาทร - A Community of Caring Societies อาเซยี นเปน็ องคก์ รระหวา่ งประเทศระดบั ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออก เฉียงใต้ เพือ่ ส่งเสรมิ ความรว่ มมอื ดา้ นการเมือง เศรษฐกจิ และสงั คม 4. ชว่ งปี 2541 - 2550 เปน็ ชว่ งเวลาทีอ่ าเซียนเริม่ ปรบั ตัว การ แรกเร่ิมอาเซียนประกอบด้วย 5 ประเทศสมาชิก คือ อินโดนีเซีย เติบโตทางเศรษฐกิจเร่ิมฟื้นตัวกลับมาดีขึ้น เข้มแข็งมากข้ึน และ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ต่อมาอาเซียนได้สานสร้าง มกี ารพฒั นาดา้ นตา่ ง ๆ จากนน้ั ในปี 2550 อาเซยี นไดป้ รบั เปา้ หมาย ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับประเทศอ่นื ๆ ในภูมภิ าค โดยได้ ของการจดั ต้งั ประชาคมอาเซยี น (ASEAN Community) จากเดมิ ขยายจ�ำนวนประเทศสมาชิกเป็น 10 ประเทศในปัจจุบัน (ประเทศ ท่ีก�ำหนดไว้ในปี 2563 เป็นปี 2558 เพื่อให้ทันกับสถานการณ์ สมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ กมั พชู า บรไู น พม่า ลาว และเวียดนาม) เศรษฐกจิ โลกทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป โดยประชาคมอาเซยี น ประกอบดว้ ย 3 เสาหลัก ได้แก่ (1) ประชาคมการเมืองและความมน่ั คงอาเซยี น ดร.สุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง กรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย (ASEAN Political-security Community) (2) ประชาคมเศรษฐกิจ และอดีตรองเลขาธิการอาเซียน เล่าย้อนว่า ในช่วงเวลาก่อนก�ำเนิด อาเซยี น (ASEAN Economic Community) และ (3) ประชาคม อาเซยี นเปน็ ยคุ ของสงครามเยน็ เกดิ ปญั หาความขดั แยง้ ทางการเมอื ง สงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น (ASEAN Socio-cultural Community) ระหวา่ งประเทศและปญั หาชายแดน บรรยากาศเตม็ ไปดว้ ยความตงึ เครยี ด ทำ� ใหป้ ระเทศในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ 5 ประเทศไดร้ ว่ มมอื กนั 5. ชว่ งปี 2551 - ปจั จบุ นั จากเหตกุ ารณว์ กิ ฤตกิ ารเงนิ โลกใน กอ่ ตงั้ อาเซยี นขน้ึ มา เมอ่ื วนั ที่ 8 สงิ หาคม 2510 อาเซยี นมพี ฒั นาการมา ปี 2551 อาเซียนมีการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับประเทศอื่น ๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดย ดร.สทุ ศั น์ แบง่ อาเซยี นออกเปน็ 5 ชว่ ง ไดแ้ ก่ นอกอาเซยี นมากขน้ึ มสี ถาบนั ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื ง เกดิ ขน้ึ ซง่ึ ประชาคมอาเซยี นถอื เปน็ ความสำ� เรจ็ ทส่ี ำ� คญั เปน็ การสรา้ ง 1. ชว่ งปี 2510 - 2519 เปน็ ชว่ งเวลาของการแกไ้ ขปญั หาและเรม่ิ เวทคี วามรว่ มมอื ทำ� ใหม้ คี วามเชอื่ มโยงกบั ประเทศอนื่ ๆ ในโลกได้ วางรากฐานการพฒั นาดา้ นเศรษฐกจิ มคี วามรว่ มมอื ดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ การเกษตร การเงิน และมีการสร้างกลไกท่ีจะท�ำให้ไม่เกิดสงคราม “ผมเชื่อว่าเศรษฐกิจจะเติบโตได้ ก็ต่อเม่ือการเมืองมีความ ดร.สทุ ศั น์ กลา่ ววา่ “ขอ้ ตกลงแรกทส่ี ำ� คญั ทสี่ ดุ ของอาเซยี น คอื เราจะ มั่นคง (Stable) และการจะอยู่ร่วมกันได้ในระยะยาวอย่างยั่งยืน ไมท่ ำ� สงครามกนั ปญั หาทกุ อยา่ งจะใชว้ ธิ พี ดู คยุ กนั และกพ็ ดู คยุ กนั มา สังคมต้องรวมตัวกันอย่างเข้มแข็งด้วย นั่นคือหัวใจของบทเรียน จนถงึ ปจั จบุ นั นค่ี อื ความสำ� เรจ็ สำ� คญั ทสี่ ดุ อนั หนง่ึ ของอาเซยี น” จากพัฒนาการของอาเซียน” ดร.สุทศั น์ กล่าว 2. ชว่ งปี2520-2529 เปน็ ชว่ งเวลาของการวางรากฐานความรว่ มมอื Strength or Weakness ด้านเศรษฐกิจ มีการลงทุนและความร่วมมือทางเศรษฐกิจมากขึ้น มีความร่วมมือทางด้านอุตสาหกรรม (ASEAN Industrial Project) ทผี่ า่ นมาอาเซยี นถกู วจิ ารณใ์ นแงม่ มุ ตา่ ง ๆ อาทิ การไมส่ ามารถ นอกจากน้ัน ตลาดในภูมิภาคเร่ิมรวมตัวกันและมีการค้าขายกันเอง แกไ้ ขปญั หาความขดั แยง้ ในประเดน็ ทะเลจนี ใต้ (South China Sea) เพ่มิ ขึ้น การสง่ ออกจากอาเซยี นกเ็ ร่มิ ขยายตวั สงู ขน้ึ ที่จีนมีปัญหากับหลายประเทศในอาเซียนจากการอ้างกรรมสิทธิ์ เหนอื พ้นื ที่บางสว่ นในน่านน�้ำทะเลจนี ใต้ เป็นต้น 3. ช่วงปี 2530 - 2540 จัดเปน็ ยคุ ทองของอาเซยี นในการพฒั นา อุตสาหกรรม โดยมีการต้ังหลักของหลายอุตสาหกรรมกระจายตัว “แม้อาเซียนจะถูกวิจารณ์ว่ามีจุดอ่อนในประเด็นต่าง ๆ เช่น อยใู่ นภมู ภิ าค อาทิ สง่ิ ทอ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ยานยนตแ์ ละชน้ิ สว่ น ซงึ่ ทงั้ ไม่สามารถมจี ดุ ยืนรว่ มกนั เรอ่ื งทะเลจนี ใต้ และเร่อื งอนื่ ๆ รวมท้ัง 3 อตุ สาหกรรมน้ี ยงั เปน็ พระเอกของการสง่ ออกของอาเซยี นมาจนถงึ การประชุมเพื่อแก้ไขปัญหาก็ไม่เกิดผล แต่ท่ีส�ำคัญ ต้องไม่ลืม ปจั จบุ นั “การเตบิ โตของเศรษฐกจิ ในชว่ งนนั้ สงู กวา่ 12% ตอ่ ปี แตต่ อ่ มา ผลลัพธ์ท่ีเป็นรูปธรรม คือ ประเทศสมาชิกอาเซียนก็ไม่เคยมี เกิดวิกฤติเศรษฐกิจในปี 2540 เกิดความสูญเสียมหาศาล ท�ำให้ สงครามกันตลอด 50 ปีท่ีผ่านมา แม้จะขัดแย้งกันบ้างก็ตาม อาเซยี นตอ้ งคดิ วางแผนอยา่ งจรงิ จงั และชดั เจน เพอ่ื นำ� ความแตกตา่ ง เพราะเรามีเวทีเพื่อการหารือร่วมกัน (Forum) และกลไกไว้ปลด ในภูมิภาคมาร่วมกันสร้างเป็นความแข็งแกร่งของภูมิภาค จึงได้ ความตึงเครียด ท�ำให้ประเด็นต่าง ๆ ไม่รุนแรงจนถึงข้ันแก้ไข ไม่ได”้ ดร.สุทศั น์ กลา่ ว

32 BOT MAGAZINE The Knowledge อดีตรองเลขาธิการอาเซียนกล่าวว่า “หัวใจของประชาคม อาเซียนต้ังเป้าหมายให้ทุกประเทศในภูมิภาคก้าวไปสู่สถานะ อาเซยี น คอื การเปน็ เวทที เ่ี ชอื่ มโยงความรว่ มมอื ทางดา้ นเศรษฐกจิ ประเทศพัฒนาแล้วในอนาคตอันใกล้ (สิงคโปร์ และบรูไน อยู่ใน สงั คม และการเมอื งภายในอาเซยี นกบั ประเทศอน่ื อาเซยี นเปน็ เวที ฐานะประเทศพฒั นาแล้ว) แตน่ อกจากความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ แล้ว ท่ีส�ำคัญของภูมิภาคเอเชีย ไม่ใช่เพราะว่าประเทศสมาชิกสามารถ อาเซียนมเี ป้าทีจ่ ะร่วมกันในการสรา้ งสงั คมท่ีสงบสขุ และยง่ั ยนื ด้วย รวมกนั เปน็ หนง่ึ เดยี วจนมคี วามเขม้ แขง็ มาก ตรงกนั ขา้ ม อาเซยี นนนั้ มี จดุ ออ่ น เนอื่ งจากประกอบดว้ ยประเทศเลก็ และใหญ่ มคี วามหลากหลาย Thailand’s Role in ASEAN ของวัฒนธรรมและความเชื่อมโยงติดต่อกับประเทศต่าง ๆ บางประเทศอาจจะเอยี งไปเข้ากบั จนี บางประเทศก็เอยี งไปเขา้ กบั ประเทศไทยคือ 1 ใน 5 สมาชกิ ผูก้ ่อตงั้ อาเซียน โดยมกี ารลงนาม สหรัฐอเมริกาหรือรัสเซีย เพราะฉะนั้น เวลากลุ่มประเทศอาเซียน ปฏิญญาอาเซียน หรือปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Agreement, 10 ประเทศเข้าไปขอ้ งเกย่ี วกบั ใคร ไมว่ า่ จะเป็นจนี สหรัฐอเมริกา 1967) ทก่ี รงุ เทพฯ เมื่อวันท่ี 8 สงิ หาคม 2510 ดร.สทุ ัศน์ กลา่ วว่า ยโุ รป เราเจรจาไดห้ มด และทุกคนอยากจะเข้ามารว่ มเจรจากบั เรา “ประเทศไทยเป็นจุดเริ่มต้นของอาเซียน ส่วนหนึ่งเพราะปัจจัยทาง เพราะเราไม่เคยคกุ คามใคร นนั่ คือจุดแขง็ ของอาเซยี น และตรงนี้ ภมู ิศาสตร์ ทีต่ ง้ั ของเราคอ่ นข้างจะอยตู่ รงกลางในภูมภิ าค เรายงั เป็น เปน็ ประโยชน์ตอ่ ความสมั พันธท์ างเศรษฐกจิ มาก” ท่ีต้ังขององค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในภูมิภาคนี้หลายแห่ง ในขณะเดยี วกนั ไทยเปน็ ประเทศขนาดกลาง ไม่ใหญ่ ไมเ่ ลก็ ท�ำให้ ทางด้านความร่วมมือทางทหารและความมั่นคงในอาเซียน สามารถเจรจากับประเทศเลก็ หรอื ประเทศใหญ่ก็ได้” มีการประชุมความร่วมมือรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ก่อให้เกิด ความรว่ มมือในดา้ นตา่ ง ๆ มากมาย เช่น ลา่ สุดมีการรว่ มมือกนั ทางด้านเศรษฐกิจ ประเทศไทยผลักดันให้เกิด ASEAN Free ด้านค้นหาและช่วยเหลือ (Search and Rescue) ของผู้ประสบ Trade Area (AFTA) ซ่ึงมีการลงนามเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2535 ภัยธรรมชาติในทะเลจีนใต้ เพราะฝ่ายทหารมีเครื่องมือท่ีทันสมัย โดยคณุ อานนั ท์ ปันยารชุน อดีตนายกรฐั มนตรี เปน็ ผู้หน่ึงทีผ่ ลกั ดนั มากกวา่ ฝา่ ยพลเรอื น เปน็ ตน้ ซงึ่ ความรว่ มมอื ตา่ ง ๆ เหลา่ น้ี ทำ� ให้ ใหเ้ กิดข้ึน แม้ไทยไมใ่ ชผ่ ้รู เิ ร่ิม แต่ก็เปน็ ผู้เลน่ สำ� คญั ทเี่ ดินเรอ่ื งท�ำให้ อาเซยี นมคี วามเปน็ เอกภาพ มกี ารชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั เกดิ ความ เกิด AFTA ข้นึ มา มนั่ ใจตอ่ ประเทศในกลมุ่ อาเซยี นมากขนึ้ โอกาสทจ่ี ะสรู้ บกนั กน็ อ้ ยลง ท�ำใหเ้ กิดบรรยากาศของการผอ่ นคลายและไวเ้ นอ้ื เช่อื ใจกนั นอกจากนี้ ผแู้ ทนจากประเทศไทย 2 ทา่ นยังเคยดำ� รงตำ� แหน่ง เลขาธิการอาเซียน โดยทา่ นแรก คือ นายแผน วรรณเมธี ระหวา่ ง “สงิ่ ทเ่ี ปน็ ความสำ� เรจ็ ของความรว่ มมอื ในดา้ นตา่ ง ๆ อาจจะวดั ปี 2527 - 2529 ท่านที่สอง คือ ดร.สุรินทร์ พศิ สุวรรณ ระหวา่ งปี ไดย้ าก แต่บอกได้วา่ การเติบโตของเศรษฐกจิ อาเซยี นในช่วง 50 ปี 2551 - 2555 และมีรองเลขาธิการอาเซยี นท่เี ปน็ คนไทยคนแรก คอื ของความรว่ มมือ ถา้ วัดเปน็ Current Dolar เศรษฐกิจของอาเซียน ดร.สทุ ัศน์ เศรษฐบ์ ุญสร้าง ระหว่างปี 2540 - 2543 เติบโตขนึ้ มา 75 เท่า โตเรว็ กวา่ ค่าเฉลีย่ ของโลกประมาณ 2 เทา่ และทุกประเทศในอาเซียนไดถ้ กู จดั เป็น Middle Income Country ประเทศไทยยังมีส�ำนักงานของอาเซียนตั้งอยู่หลายองค์กร อาทิ โดยลา่ สุดในปี 2559 ประเทศกัมพูชาได้ถูกจัดเปน็ Lower Middle ASEAN Plus Three Emergency Rice Reserve (APTERR) มสี ำ� นกั งาน Income Country ตามนิยามของธนาคารโลก” ดร.สทุ ศั น์ กลา่ ว เลขาธิการตั้งอยู่ในประเทศไทย ท�ำหน้าท่ีบริหารส�ำรองข้าวฉุกเฉิน ในภูมิภาค ประเทศไหนมีปัญหาภัยพิบัติและต้องการใช้ข้าวฉุกเฉิน เมื่อขอมาท่ีส�ำนักงานฯ ผู้จัดการของความร่วมมือนี้จะประสานแล้ว ส่งข้าวออกไป เพื่อน�ำไปช่วยเหลือประเทศที่ประสบปัญหาได้อย่าง ทันท่วงที จากการศึกษาพบว่า ในภาวะฉุกเฉิน ประเทศท่ีประสบ ปัญหาจากภัยธรรมชาติ จะมีความต้องการข้าวในเวลาท่ีรวดเร็ว ไม่ต้องการปริมาณข้าวจ�ำนวนมาก แต่ต้องส่งให้ถึงอย่างรวดเร็ว ซง่ึ ข้าวในโครงการนีส้ ามารถสง่ ออกไดภ้ ายใน 7 วันเทยี บกบั 14 วัน ของโครงการอาหารโลก (World Food Program) เรื่องความม่ันคงทางด้านอาหาร อาเซียนได้ใช้ระบบที่มีอยู่ ดงึ ประเทศจนี ญป่ี นุ่ และเกาหลใี ต้ มารว่ มดว้ ยตง้ั แตป่ ี2543 ซง่ึ เรอ่ื งขา้ ว เปน็ เรอื่ งทอ่ี อ่ นไหวมาก ไมม่ ปี ระเทศไหนในเอเชยี ยอมใหม้ กี ารนำ� เขา้ ขา้ ว โดยเสรี เมอ่ื เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ จงึ ตอ้ งมกี ฎระเบยี บรองรบั เพอ่ื ใหส้ ามารถ นำ� เขา้ ขา้ วได้ ซงึ่ ขณะนส้ี ำ� นกั งาน APTERR ตงั้ อยทู่ เ่ี มอื งไทย ดร.อำ� พน

กติ ตอิ ำ� พน ซงึ่ เปน็ ประธานของคณะกรรมการธนาคารแหง่ ประเทศไทย “ผมเชือ่ วา่ เศรษฐกจิ จะเตบิ โตได้ ก็ต่อเม่ือ 33 BOT MAGAZINE The Knowledge ในขณะน้ี เปน็ ผมู้ สี ว่ นอยา่ งมากในการเจรจากบั ประเทศจนี ญปี่ นุ่ และ การเมอื งมคี วามม่ันคง (Stable) และการจะ เกาหลใี ต้ อยู่ร่วมกนั ไดใ้ นระยะยาวอย่างยงั่ ยืน สังคมต้อง ในด้านความคิดริเร่ิมนั้น นอกจากเร่ืองส�ำรองข้าวฉุกเฉินแล้ว รวมตัวกนั อย่างเขม้ แข็งด้วย” ประเทศไทยได้น�ำเสนอความคิดริเริ่มหลายอย่าง อาทิ เมื่อเดือน มีนาคม 2539 การประชุมรัฐมนตรีคลังอาเซียนเกิดข้ึนคร้ังแรกที่ จะเตบิ โตเปน็ จำ� นวนมาก หากมองเฉพาะตลาดแรงงานเพยี งอยา่ งเดยี ว เมืองไทย จังหวัดภูเก็ต นับเป็นความร่วมมือทางด้านการเงินที่ จะตอ้ งเกิดการโยกยา้ ยแรงงานจ�ำนวนมหาศาล” ดร. สทุ ศั น์ เนน้ ย�้ำ ส�ำคัญในภูมิภาค จากนั้นมีการขยายวงเป็นอาเซียนบวก 3 ได้แก่ (2) การเตบิ โตและขยายของตวั เมอื ง หรอื Urbanization โดยประเทศ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ และเร่อื งความเช่อื มโยงในอาเซยี น ASEAN ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ประชากรในชนบทจะเขา้ มาอยใู่ นเมอื ง Connectivity ในปี 2553 ซ่ึงเป็นแผนท่จี ะทำ� ให้เกิดการเชอ่ื มต่อกัน สูงถึง 60% (3) คนช้ันกลางจะอยู่ในเมืองเป็นจ�ำนวนมาก โดยจะ ในอาเซียนทางดา้ นโครงสร้างพ้นื ฐานสงิ่ กอ่ สร้าง เช่น ถนน รางรถไฟ โตเร็วในประเทศเอเชยี ใต้ และ (4) Consumer Behavior ของคน โทรคมนาคม เปน็ ต้น โครงสรา้ งดา้ นสถาบัน เช่น กฎระเบยี บต่าง ๆ ทมี่ าอาศยั ในเมอื ง อาเซยี นซง่ึ อยใู่ นจดุ ทจี่ ะตอ้ งถกู กระทบโดยตรงจาก และดา้ นประชาชนตอ่ ประชาชน เป็นต้น สภาพทางสงั คมใหมน่ ้ี จะตอ้ งมีวธิ กี ารอย่างไร จึงจะท�ำใหท้ กุ คนได้ ประโยชน์จากเงือ่ นไขประชากรใหมน่ ี้ “ไทยมีบทบาทในการผลักดันความคิดริเร่ิมส�ำคัญหลายเร่ือง ในอาเซียน ซงึ่ กำ� ลังจะเป็น Platform ของความรว่ มมือในเอเชยี ใน 4. การเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีในยุคดิจิทัล ซึ่งจะเป็น ศตวรรษท่ี 21” ดร.สุทัศน์ กล่าว ปจั จยั ทท่ี ำ� ใหเ้ ศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื งในภมู ภิ าคเปลย่ี นแปลงไป โลกก�ำลังเปลี่ยนยุค อาเซียนต้องการให้ภูมิภาคน้ีเป็นอย่างไร What’s Next ในโลกของอนาคตนี้ ซ่ึงมิใช่ประเทศใดประเทศหน่ึงจะก�ำหนดได้ แตต่ อ้ งรว่ มมอื กนั กลไกของอาเซยี นทม่ี อี ยจู่ ะตอ้ งปรบั เปลยี่ นอยา่ งไร ส�ำหรับความท้าทายในอนาคตของอาเซียน ดร.สุทัศน์ มองว่า จงึ จะทำ� หนา้ ทใ่ี นโลกใหมน่ ้ไี ด้ มี 4 เรอื่ งหลกั ได้แก่ ทา่ มกลางความท้าทายข้างตน้ อาเซยี นจดั เป็นทางผา่ น (Transit 1. การเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งเศรษฐกจิ โลก โดยในอกี 5 ปขี า้ งหนา้ Point) “เราท�ำหน้าที่เป็นผู้ประสานงาน น่ีเป็นธรรมชาติท่ีสุดของ ประมาณครงึ่ หนง่ึ ของการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของโลกจะมาจากเอเชยี ภูมิภาคน้ี” ดร.สทุ ัศน์ เสรมิ อีกว่า อาเซยี นต้องเป็น Logistic Hub ท่ี ซ่ึงจะขับเคล่ือนโดยเศรษฐกิจประเทศจีนเป็นหลัก ขณะท่ียุโรปและ มีประสิทธิภาพ สร้างพ่อค้านักธุรกิจไปซ้ือขายและลงทุน อาเซียน สหรัฐอเมริกายังอยู่ในระยะฟื้นตัว อาเซียนจะบริหารความสัมพันธ์ ตอ้ งทำ� ระบบกฎหมายใหด้ ี และสรา้ งระบบเศรษฐกจิ ทเี่ ออ้ื ตอ่ การค้า กบั ประเทศมหาอำ� นาจเหลา่ นอ้ี ยา่ งไร จงึ จะยงั ความเจรญิ ความสงบ การลงทุนในภูมิภาค ประชาคมอาเซียนเป็นเวทีที่จะสร้างความ และความสขุ แกท่ ุกคน เป็นหนึ่งเดียว และเป็นเวทีท่ีจะดึงประเทศต่าง ๆ ท้ังในภูมิภาค และนอกภูมิภาคเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมการค้าการลงทุนใน 2. การเปล่ียนแปลงของภูมิศาสตร์การเมือง (Geopolitics) อนาคต ทุกประเทศต้องร่วมมือและช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้าน สหรฐั อเมรกิ าหนั ไปสนู่ โยบายProtectionism หรอื การกดี กนั ทางการคา้ เศรษฐกิจ สงั คม และการเมือง ซึ่งเปน็ หัวใจของอาเซียน และยุโรปมีแนวโน้มจะเดินตาม ขณะท่ีเศรษฐกิจประเทศจีนและ อินเดยี ซ่งึ เปน็ เครอื่ งยนต์ของการเจรญิ เตบิ โต (Engine of Growth) ดร.สุทัศน์ กล่าวทิ้งท้ายว่า “การเรียนรู้จากอดีต ชี้ให้เห็นว่า เศรษฐกิจจะเปิดเสรีมากขน้ึ สมาชกิ อาเซยี นจะใชอ้ าเซียนอยา่ งไร จึง ประโยชน์จากการค้าการลงทุนของภูมิภาคนี้จะเกิดขึ้นนอกภูมิภาค จะได้ประโยชนม์ ากท่สี ดุ และสูญเสียน้อยทสี่ ดุ ไม่ใช่ในภูมิภาคเท่านั้น ในอนาคต อาเซียนต้องค�ำนึงว่าจะได้ ประโยชน์จากข้างนอกได้อย่างไร ไม่ใช่ทุกอุตสาหกรรมที่ท�ำได้ เรา 3. การเปลยี่ นแปลงของประชากร (Population Dynamics) ไดแ้ ก่ จะต้องเลือกอุตสาหกรรมสินค้าหรือบริการท่ีเราคุมผลประโยชน์ (1) ประชากรเตบิ โตไมเ่ ทา่ กนั โดยประเทศในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ได้เต็มเม็ดเต็มหน่วยมากขึ้น โดยสร้างสิ่งแวดล้อมท่ีดีให้ทุกคนมา (จีน ญป่ี ุน่ เกาหลีใต)้ จะมปี ระชากรเตบิ โตไม่ถงึ 1% ตอ่ ปี ขณะที่ ช่วยกนั ทำ� โดยเฉพาะในกจิ กรรมยุทธศาสตร์ เชน่ อาหาร พลงั งาน ประเทศในเอเชียใต้ (อนิ เดยี บังคลาเทศ ปากีสถาน) ประชากรจะ การเงิน และการคมนาคมขนสง่ เปน็ ต้น เพราะการผลิตสินค้าหรอื เตบิ โตเฉลย่ี 2.5% ต่อปี โดยทใ่ี นอกี 5 ปขี ้างหนา้ การเติบโตของ บริการเหล่าน้ี บางประเทศได้ประโยชน์ บางประเทศเสียประโยชน์ ประชากรในเอเชยี ใต้จะคดิ เป็น 1 ใน 3 ของการเติบโตของประชากร แต่ทุกประเทศต้องมีวุฒิภาวะสูงพอท่ีจะช่วยกันแก้ไขปัญหาร่วมกัน โลก “ความหมายโดยนยั ของเรอ่ื งนส้ี ำ� คญั มาก จำ� นวนคนทำ� งานของ ทุกคนจึงจะอยไู่ ด้ ทุกคนจึงจะได้ประโยชน์” ประเทศจนี ญป่ี ุ่น และเกาหลใี ต้ รวมกนั จะเตบิ โตเลก็ น้อย ขณะท่ี จ�ำนวนคนท�ำงานของประเทศอินเดีย บังคลาเทศ และปากีสถาน

ขอ้ มูล : ส�ำ นักหอสมดุ จดหมายเหตุ และพพิ ธิ ภณั ฑ์ 34 BOT MAGAZINE Our Pride & Heritage / The Treasure เรอื นแพ แม้ว่าสถาปัตยกรรมส่วนใหญ่ในวังเทวะเวสม์จะได้รับอิทธิพล แบบ Neo-classic จากยุโรปในชว่ งนนั้ (คริสต์ศตวรรษที่ 19 - 20) สองฝั่งของแม่น้�ำเจ้าพระยาเป็นแหล่งรวมศิลปวัฒนธรรม ท่ีตัวอาคารจะเน้นความสมมาตร เสาสูง หัวเสาแบบโรมัน และ ต้ังแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน หากนั่งเรือล่องผ่านธนาคารแห่ง หน้าจั่วหลังคา แต่เรือนแพกลับได้รับการออกแบบในสไตล์ “เรือน ประเทศไทย อาจเคยสังเกตเหน็ เรอื นไมเ้ ลก็ ๆ รมิ นำ้� สเี ขียวอม ขนมปังขิง” (Gingerbread House) ท่ีประดับด้วยไม้ฉลุลายวิจิตร เทา ทีด่ เู หมอื นหยุดเวลาไวต้ ั้งแตศ่ ตวรรษท่ผี ่านมา เหมือนลูกไม้สวยงาม เพราะสร้างเพ่ือเป็นที่พ�ำนักของหม่อมใหญ่ มาแตต่ น้ เปน็ อาคารไมส้ กั ชน้ั เดยี วมฐี านรากและเสาทำ� จากคอนกรตี “เรือนแพ” เป็นผลงานการออกแบบของวิศวกรชาวอิตาเลียน เพ่อื เพิม่ ความแขง็ แรง ฝา้ เพดานประดบั ด้วยลวดลายเรขาคณิต และ ซ่ึงเป็นนายช่างกรมสุขาภิบาลชื่อ นายเอมิลโย โจวันนี อูเจนโย หลงั คาปกี นกมงุ กระเบอ้ื งวา่ วสขี าวสะอาดตา ภายในแบง่ พน้ื ทใ่ี ชส้ อย กอลโล (Mr. Emilio Giovanni Eugenio Golo) ผ้ดู ูแลการก่อสรา้ ง เป็นสองส่วน ได้แก่ ห้องส่วนตัวและห้องโถง โดยมีทางเดินเช่ือม ตึกก่ออิฐถือปูนของหม่อมต่าง ๆ ในเขตวังเทวะเวสม์อีก 5 หลัง ยาวตลอดตัวอาคาร นายกอลโลได้ทำ� รากคอนกรีตของเรือนแพเสร็จ เรือนแพเป็นที่พ�ำนักของหม่อมใหญ่ เทวกุล (สกุลเดิม สุจริตกุล) เมือ่ เดอื นสงิ หาคม 2460 และคาดวา่ ตวั เรอื นกส็ รา้ งเสร็จในปเี ดียวกัน เอกภรรยา ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์- ใชว้ งเงนิ ก่อสรา้ งในเวลานัน้ 17,240 บาท วโรปการ เจ้าของวังเทวะเวสม์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ส้ินพระชนม์ในปี 2466 หม่อมใหญ่ได้ย้ายไปปลูกเรือนพักในบริเวณ วัดราชาธิวาส จากนั้นจึงใช้เรือนแพเป็นที่ประทับของโอรสธิดา บางพระองค์ ต่อมา กระทรวงสาธารณสขุ ได้ขอซ้อื พนื้ ที่บางสว่ นของ วังเทวะเวสม์เพื่อใช้เป็นที่ท�ำการ และได้ย้ายจากวังสุโขทัยเข้ามาที่ วงั เทวะเวสมเ์ มอ่ื วนั ท่ี14 พฤศจกิ ายน2493 ตำ� หนกั ใหญแ่ ละเรอื นตา่ ง ๆ ถกู ปรบั เปลยี่ นเปน็ สำ� นกั งาน รวมไปถงึ เรอื นแพกถ็ กู ใชเ้ ปน็ “ทท่ี ำ� การ

หมอ่ มใหญ่ ถ่ายภาพกบั โอรส หม่อมเจา้ วงศ์นริ ชร นายกอลโล ผอู้ อกแบบเรอื นแพ 35 BOT MAGAZINE Our Pride & Heritage / The Treasure และหม่อมเจา้ พงศ์ทินเทพ ยงั มีผลงานทสี่ ำ�คัญอีกมากมาย เช่น พระที่นง่ั อมั พรสถาน กองมาลาเรีย” ก่อนท่ีธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) จะเจรจา สะพานมฆั วานรงั สรรค์ ขอสร้างส�ำนักงานใหม่ให้กระทรวงสาธารณสุขที่จังหวัดนนทบุรี และสถานีรถไฟหัวลำ�โพง เพ่ือแลกกับพ้ืนท่ีและอาคารในบริเวณวังเทวะเวสม์ โดยกระทรวง ธปท. ได้ว่าจ้างห้างหุ้นส่วนจ�ำกัดแชฟ้า ซ่ึงมีความช�ำนาญ สาธารณสขุ ยา้ ยออกไปส�ำนักงานแหง่ ใหมใ่ นปี 2537 งานอนุรักษ์ ให้ซ่อมแซมเรือนแพใหม่ทั้งหมดภายใต้การควบคุม ของธนาคาร โดยยกระดบั พื้นใหส้ งู ขึน้ ในสว่ นของสถาปตั ยกรรม ได้ซ่อมผนังไม้สัก ประตูหน้าต่าง ลวดลายช่องแสง ลายเพดาน งานปูนปั้น และไม้ฉลุให้เหมือนเดิมทั้งสิ้น โดยด�ำเนินการตาม สญั ญาจ้างระหวา่ งวันท่ี 3 กรกฎาคม 2538 - 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2539 ในวงเงิน 6,900,000 บาท แล้วปรับเป็นห้องประชุมและรับรอง แขกสำ� คญั ของ ธปท. รวมถงึ ผมู้ าเยอื นจากตา่ งประเทศอกี หลายครงั้ อาทิ สมเดจ็ พระราชนิ นี าถเอลิซาเบท ท่ี 2 และเจ้าชายฟิลิป แหง่ สหราชอาณาจกั ร นายเจยี งเจอ๋ หมนิ ประธานาธบิ ดแี หง่ สาธารณรฐั ประชาชนจนี และภรยิ า สมเดจ็ พระราชาธบิ ดแี ละสมเดจ็ พระราชนิ ี แห่งสหพันธรัฐมาเลเซีย รวมถึงสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอร์ แห่งราชอาณาจักรเดนมารก์ การอนุรักษเ์ รือนแพ และสถาปตั ยกรรมภายใน ธปท. นบั เปน็ อกี หนง่ึ หนา้ ทส่ี ำ� คญั ในการปกปกั รกั ษาสมบตั ทิ างศลิ ปะ วฒั นธรรม และประวตั ศิ าสตร์ใหอ้ ยูค่ ู่กับประเทศสืบต่อไป ไม้ฉลุตกแตง่ บนประตูเรอื นแพ ฝา้ เพดานประดบั ลายเรขาคณิตในห้องโถง

36 BOT MAGAZINE Special Scoop ต“7ร5าสปญั ี ธลนกั าษคณาร์แแหหง่ ่งคปวราะมเทภศาไคทภยมู”ิ กา้ วเขา้ สู่ปที ี่ 75 ทธ่ี นาคารแห่งประเทศไทยยนื หยดั อยู่ในฐานะธนาคารกลาง ด้วยพันธกจิ หลักในการมงุ่ เสริมสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกจิ การเงินท่มี เี สถียรภาพ และมีการพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื และท่วั ถงึ ตราสัญลกั ษณส์ �ำ นกั งานธนาคารชาตไิ ทยและธนาคารแหง่ ประเทศไทย 2483 2485

เดอื นธนั วาคม 2560 ธนาคารแหง่ ประเทศไทย (ธปท.) จะมอี ายุ กรมศิลปากร ร่างแบบตราตามแนวคิดของพระยาอนุมานราชธน 37 BOT MAGAZINE Special Scoop ครบ 75 ปี หลังการกอ่ ต้งั ในปี 2485 ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมามกี าร ภายใต้การดูแลของพระพรหมพิจิตร โดยใช้ภาพพระสยาม ใชต้ ราสญั ลักษณ์อยา่ งเป็นทางการ 3 รูปแบบ ซึ่งปรบั เปล่ยี นไปตาม เทวาธิราชจากด้านหลังเหรียญทองแดงราคาหนึ่งอัฐเป็นแบบอย่าง ยุคสมัย และในโอกาสที่ ธปท. ด�ำเนนิ งานมาอยา่ งยาวนานถึง 75 ปี แต่ดดั แปลงบางสว่ น เชน่ ใหพ้ ระหตั ถ์ขวาคมุ ถุงเงนิ ของชาติ และ จึงมกี ารออกแบบตราสัญลักษณ์ “75 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย” พระหัตถ์ซ้ายถือพระแสงธารพระกร แต่ได้เปลี่ยนตอนปลายจาก เพอ่ื ใชใ้ นงานประชาสมั พนั ธต์ อ่ สาธารณะผา่ นชอ่ งทางการสอ่ื สารตา่ ง ๆ รูปดอกไมม้ าเปน็ ลายดอกบัว ของ ธปท. จนถงึ เดอื นธนั วาคม 2561 และอกี เปา้ หมายทส่ี ำ� คญั กวา่ นน้ั คือ เพ่ือเป็นสัญลักษณ์ให้พนักงานและอดีตพนักงานทุกคนได้ร่วม ต่อมา นายช่วง สเลลานนท์ พนักงาน ธปท. ได้น�ำตรา ภาคภมู ิใจกับการเป็นส่วนหน่ึงของสถาบันท่มี ีประวตั ิศาสตรย์ าวนาน ต้นแบบจากกรมศิลปากรมาปรับปรุงเพื่อให้เหมาะสมกับการ และยงั คงสบื สานปณธิ านการทำ� งานดว้ ยความซอ่ื สตั ย์ ยดึ มนั่ ในหลกั การ เป็นตราสัญลักษณ์ มีการลดทอนรายละเอียดลง พร้อมกับได้ และคำ� นึงถึงผลประโยชนข์ องชาติ จากรุน่ สูร่ นุ่ ออกแบบอักษรไทย-อังกฤษแบบโรมันท่ีใช้กันอย่างแพร่หลาย ตราและอกั ษรนเ้ี รม่ิ ใชง้ านต้ังแต่ช่วงแรกของการเปิดท�ำการ ธปท. สำ� นกั งานธนาคารชาตไิ ทย เรม่ิ ดำ� เนนิ การเมอ่ื ปี 2483 ในขณะนนั้ วนั ที่ 10 ธนั วาคม 2485 ส�ำนักงานธนาคารชาติไทยอยู่ในฐานะเป็นทบวงการเมือง สังกัด กระทรวงการคลัง จึงใช้ตรา “นกวายุภักตร” สัญลักษณ์ประจ�ำ ในชว่ งถดั มา ไดม้ กี ารเพม่ิ เตมิ สแี ละองคป์ ระกอบเพอ่ื สอื่ ถงึ ความ กระทรวงทอ่ี อกแบบโดยสมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ มีค่าของเงิน และการเป็นผู้ดูแลสมบัติของชาติด้วยสีเหลืองทอง โดยปรับให้มีปีกยาวข้ึน หางยังคงแยกเป็นสามปอย บรรจุใน ที่ถุงเงิน พระแสงธารพระกร และชอ่ื “ธนาคารแหง่ ประเทศไทย” วงกลมรูปไข่ตัด ด้านตัดทั้งสองมีลายกนกเปลว มีอักษรที่ขอบว่า บนพน้ื สฟี า้ “สำ� นักงาน” และ “ธนาคารชาติไทย” ในปี 2554 มีการปรับปรุงรูปแบบตราสัญลักษณ์ใหม่ เมอ่ื มกี ารกอ่ ตง้ั ธปท. อยา่ งเปน็ ทางการ ในปี 2485 พระวรวงศเ์ ธอ ให้เข้ากับยุคสมัย ด้วยการลดทอนรายละเอียดเพ่ือให้ความ พระองค์เจ้าววิ ฒั นไชย ผวู้ ่าการ ธปท. พระองค์แรก ไดท้ รงมหี นงั สือ เป็น ธปท. ชัดเจน และเป็นท่ีรับรู้ จดจ�ำได้ และก�ำหนด ถึงกรมศิลปากรเพื่อขอให้ช่วยออกแบบตราธนาคารแห่งประเทศไทย ให้สีฟ้า น�้ำเงิน เทา เป็นสีหลักขององค์กรเพ่ือสะท้อนถึง กรมศิลปากรจึงได้มอบหมายให้นายปลิว จั่นแก้ว ข้าราชการ วัฒนธรรมใหม่ขององค์กร “ยืนตรง มองไกล ยื่นมือ ติดดิน” สืบต่อมาจนถงึ ปจั จุบัน 2554 ปัจจุบัน ขอ้ มูล : หนังสือเล่าเร่ืองแบงกช์ าตดิ ้วยภาพ หนังสอื 72 ปี ธนาคารแหง่ ประเทศไทย สำ�นักหอสมุด จดหมายเหตุ และพิพิธภัณฑ์ ธปท.

38 BOT MAGAZINE Relax @ Reun Pae

ถอดบทเรยี นจาก “ครแู ห่งแผน่ ดนิ ” “ลกูผศ่านษิ คยวา์แมหป่งรพะทับรใะจรจาากชา” ดร.สุเมธ ตันติเวชกลุ ช่วง 35 ปหี ลงั ในการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ภาพหนึ่งทท่ี ุกคนคุ้นตา 39 BOT MAGAZINE Relax @ Reun Pae แทบทกุ ครงั้ ทพ่ี ระองคท์ า่ นเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปทรงงานไมว่ า่ ทใี่ ดกต็ าม มกั จะมชี ายผหู้ นง่ึ ทเ่ี ดนิ มาพรอ้ มกบั สมดุ จดและปากกา คอยตดิ ตามพระองคท์ า่ นไมห่ า่ ง ในขณะทหี่ ลายคนมองวา่ นนั่ เปน็ การถวายงาน แตเ่ ขากลบั มองว่า นนั่ เป็นการศกึ ษาเรยี นรู้อยา่ งบูรณาการจาก “พระผูท้ รงเปน็ ครแู ห่งแผ่นดิน” ตลอดเวลากวา่ 35 ปที ่ี “ลกู ศิษย์แหง่ พระราชา” ทา่ นนไ้ี ดร้ บั การ “เบ็ดเสรจ็ ก็ประมาณ 35 - 36 ปที ไี่ ดถ้ วายงานมาตลอดต่อเนอ่ื ง สอนสั่งจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งมี ทงั้ ในฐานะขา้ ราชการ และในฐานะสว่ นพระองค์ จนตอนนเี้ กษยี ณแลว้ บทเรียนอันทรงคุณค่ามากมาย และท่านได้พยายามถ่ายทอดส่งต่อ ก็ยังเปน็ เลขาธิการมูลนิธิชยั พฒั นาอยู”่ ให้กับคนไทยมาโดยตลอด BOT พระสยาม MAGAZINE ฉบับน้ี ได้รับเกียรติจาก ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ดร.สเุ มธ ยอมรบั วา่ ครั้งแรกทีร่ ูว้ า่ ต้องถวายงาน ท่านรู้สึกวิตก มายอ้ นรำ� ลกึ ถงึ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ของ “ครแู หง่ แผน่ ดนิ ” พระองคน์ ี้ กังวลพอสมควร เพราะก่อนหน้าน้ัน ท่านไม่เคยรู้เกี่ยวกับงานท่ี ผา่ นบทเรยี นแหง่ ความประทบั ใจทก่ี ลายเปน็ “หลกั ยดึ ” ในการทำ� งาน พระองคท์ า่ นทรง และดว้ ยความกงั วลจงึ อดไมไ่ ดท้ ต่ี อ้ งกราบบงั คมทลู และการใชช้ ีวิตของ “นักเรียน” คนนี้ มาตราบจนปจั จบุ ัน ตรงไปตรงมา โดยพระองค์ท่านทรงรับส่ังกลับมาว่า “ขอบใจนะ ท่ีจะมาชว่ ยฉัน แตฉ่ ันขอบอกเสียกอ่ นวา่ ฉันไม่มอี ะไรจะให้ นอกจาก จากขา้ ราชการสภาพฒั น์ฯ สู่ “ลกู ศษิ ย์พระราชา” ความสุขท่จี ะมีร่วมกันในการทำ� ประโยชน์ใหผ้ อู้ ่ืน” หลังจบรัฐศาสตร์การทูต ดร.สุเมธ เข้าท�ำงานกับส�ำนักงาน แล้วทรงรับสั่งถามต่อว่าวิตกเร่ืองอะไร ผมกราบบังคมทูลไปว่า คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เม่ือปี 2512 “ขา้ พระพทุ ธเจา้ ไมร่ เู้ กย่ี วกบั งานทพ่ี ระองคท์ รงเลย รฐั ศาสตรก์ ารทตู ก็ ซ่ึงเรียกได้ว่า แทบไม่ได้ใช้ความรู้ท่ีเรียนมานัก เพราะท่านถูกส่งไป ไมไ่ ดส้ อนวธิ บี รหิ ารนำ�้ หรอื วธิ ปี ลกู ปา่ แตพ่ ระองคท์ า่ นทรงรบั สง่ั กลบั ท�ำงานทสี่ ภาความม่นั คงแห่งชาติ หนา้ ท่หี ลกั คือ ต้องเข้าป่าไปใน วา่ “สง่ิ ทฉ่ี นั ทำ� แตเ่ ดมิ กไ็ มร่ เู้ หมอื นกนั สงิ่ ตา่ ง ๆ เหลา่ นเี้ รยี นรกู้ นั ได้ เขตสู้รบต่าง ๆ เพื่อวางแผนรับมือและแกไ้ ขสงครามการก่อการรา้ ย เดี๋ยวฉันสอนเอง” นับจากวันนน้ั เปน็ ตน้ มา ขณะทีท่ ุกคนเขา้ ไปถวาย (ภัยคอมมวิ นิสต์) กระทัง่ สงครามสน้ิ สุด งาน ผมเปน็ คนเดยี วทมี่ าเรยี นงานกบั พระเจา้ อยหู่ วั คอยเดนิ ตามหลงั เรยี นทกุ อยา่ ง ไดเ้ รยี นรูม้ หาศาล ยิง่ กวา่ ไปเรยี น Ph.D. ที่ไหนในโลก ในปี 2524 หลังอดตี แม่ทพั ภาคที่ 2 ที่ ดร.สุเมธ เคยทำ� งานเป็น และเรียนหลกั สตู รยาวทีส่ ดุ ในโลก คอื เรยี นถงึ 35 ปเี ต็ม” เลขาธกิ ารให้ คอื พลเอกเปรม ติณสลู านนท์ ไดร้ บั แต่งตงั้ เปน็ นายก รัฐมนตรี จึงมีด�ำริให้จดั ตั้งสำ� นกั โครงการพระราชด�ำรขิ ึ้น และขอให้ สุดยอดบทเรียนในความทรงจ�ำ... ท่านมารับต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการส�ำนักฯ โดย ดร.สุเมธ ได้เริ่มต้น ทคี่ นไทยควรด�ำเนินรอยตาม ถวายงานรับใช้เบ้ืองพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร- มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ในฐานะขา้ ราชการ นับต้งั แต่วันนัน้ จนเกษยี ณ “ตัง้ แต่ชั่วโมงแรกเลยนน้ั พระองคท์ ่านไม่ไดส้ อนวิชาดิน วิชานำ�้ อายรุ าชการในปี 2542 โดยระหวา่ งนน้ั ในปี 2531 ยงั ไดร้ บั ความไวว้ าง หรืออะไรเลย ส่ิงแรกที่ทรงสอนคอื ความเป็นมนุษย”์ พระราชหฤทัยให้รับตำ� แหน่งเลขาธกิ ารมูลนิธชิ ยั พัฒนา อีกต�ำแหน่ง ดร.สุเมธ สรุปใจความส�ำคัญในบทเรียนแรกว่า พระองค์ทรง สอนให้ยึดหลัก 3 ข้อ คือ (1) เป็นคนดี คือรู้จักหน้าที่ของตนใน

“...ทรงยกพระหัตถ์มาเขย่าไหลผ่ ม และทรงรบั สัง่ วา่ ‘สุเมธ งานยังไมเ่ สร็จ’ (3 รอบ) วนั น้ผี มรแู้ ล้วว่า นนั่ เปน็ ค�ำสงั่ เสียสดุ ทา้ ยว่า ให้ท�ำไปเร่ือย ๆ งานยงั ไมเ่ สรจ็ ” 40 BOT MAGAZINE Relax @ Reun Pae สังคม ว่าจะท�ำประโยชน์ให้บ้านเมืองได้อย่างไร ก่อนนึกถึง ‘ประมวล’ คอื วเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหท์ กุ อยา่ งทที่ ำ� รวมถงึ ประมวลวา่ ตวั เอง (2) เขา้ ใจ “งาน” อยา่ งถอ่ งแท้ กลา่ วคอื ตอ้ งเขา้ ใจทกุ อยา่ ง ในอกี 5 - 10 ปขี า้ งหน้า คุณภาพชีวติ ของประชาชนตรงนั้นจะเปน็ ทั้งปัญหาและขั้นตอนการท�ำงาน นอกจากน้ี อีกสิ่งที่ส�ำคัญมาก อยา่ งไร จะเหน็ ว่าทรงสอนให้อยกู่ ับปจั จบุ ันระหว่างด�ำเนินการ แล้ว คือ ต้องเข้าใจและเคารพสิ่งแวดล้อมและภูมิสังคมตรงนั้น การ กใ็ หม้ องไปถึงอนาคตดว้ ย” ท�ำงานจึงจะเบ็ดเสร็จสมบรู ณ์ และ (3) ตอ้ งมองไปข้างหนา้ (Look Forward) หรอื คดิ เสมอวา่ ถ้าท�ำเชน่ น้ี อีก 5 - 10 ปขี า้ งหนา้ ผล “เศรษฐกิจพอเพียง” ... จะเปน็ อยา่ งไร และต้องเตรยี มความพรอ้ มอยา่ งไร กล่าวคอื ตอ้ ง ทฤษฎเี พอ่ื ความร่มเย็นในตนและโลก บริหารความเสยี่ ง หรอื สร้าง “ภมู คิ ุม้ กัน” นั่นเอง เป็นเวลาหลายสิบปีท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล- นอกจากนี้ ยงั มอี กี สง่ิ ท่ี “ลกู ศษิ ย”์ ทา่ นนปี้ ระทบั ใจใน “ครแู หง่ อดลุ ยเดช พระราชทานคำ� สอนเรอื่ งหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แผน่ ดนิ ” พระองคน์ ม้ี าก นนั่ คอื วธิ กี ารสอนทลี่ กึ ซง้ึ นบั ตง้ั แตว่ นั แรก ให้คนไทย แต่จนถึงวันน้ี ยังมีหลายคนท่ีเข้าใจหลักปรัชญาของ ทไี่ ดต้ ามเสดจ็ ขณะท่ี ดร.สเุ มธ เดนิ ตามอยทู่ า้ ยขบวน พระองคท์ า่ น เศรษฐกจิ พอเพยี งอยา่ งไมถ่ กู ตอ้ ง โดย ดร.สเุ มธ ใหม้ มุ มองวา่ สาเหตุ ทรงรับส่งั ใหม้ าอยใู่ กล้ ๆ และทรงกำ� ชับว่า (1) ใหม้ องทุกอย่าง สำ� คญั ไมใ่ ชค่ วามเขา้ ใจผดิ แตน่ า่ จะเปน็ การแกลง้ ไมเ่ ขา้ ใจ เพราะยงั ทพ่ี ระองค์ทำ� (2) ใหจ้ ดทุกอยา่ งที่พระองคพ์ ดู และ (3) ให้สรปุ ไม่สามารถควบคมุ กเิ ลสและตัณหาไดม้ ากกว่า ทกุ อยา่ งทีพ่ ระองค์คิด “นัยของเศรษฐกิจพอเพียง ทรงสอนให้มีแรงต้านทานต่อกระแส “ผมมีการบรรยายอยู่คร้ังหน่ึงชื่อว่า ‘ครูแห่งแผ่นดิน’ สรุป ของความกระหายของมนุษย์ โลกทุกวันนก้ี อ่ สงครามกนั ทัว่ ทำ� ร้าย ความได้วา่ พระองคท์ า่ นทรงมีการสอนโดยท่เี ราไม่รตู้ วั ทรงสอน สิ่งแวดล้อมกันทั่ว กอบโกยความร่�ำรวยโดยไม่ค�ำนึงถึงผลกระทบ ให้ ‘มอง’ คือไม่ใช่แค่เห็น แต่ต้องมองและใช้สติปัญญาวินิจฉัย ใด ๆ แมแ้ ตร่ ะดบั ประธานาธบิ ดบี างประเทศยงั ประกาศจะเอาตวั รอด ไปด้วย ฉะน้นั โสตประสาทท้ังหมดตอ้ งจดจ่อจับจอ้ งในส่ิงท่ีเราท�ำ ไมร่ บั ผิดชอบโลก ถ้าตัง้ แต่ระดบั ผูน้ �ำจนถงึ ชาวบา้ น ทุกคนคดิ เช่นน้ี ตอ้ งระมดั ระวงั เพราะทกุ ยา่ งกา้ วทจ่ี ะทำ� ใหป้ ระชาชน จะมผี ลกระทบ สุดทา้ ยโลกก็เข้าสคู่ วามพินาศ ต่อชวี ติ เขา ทรงสอนให้ ‘บันทึก’ พระองค์ทา่ นทรงบันทกึ ทกุ อย่าง ไวห้ มด เพอ่ื เปน็ หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ และสดุ ทา้ ย ทรงสอนให้ “วันนี้ โลกยังขนาดเท่าเดิม แต่ทรัพยากรหดลงไป ขณะท่ีคน เพิ่มขึ้นทุกวัน ส่วนคนท่ีไม่มีก็ไม่มีเลย คนที่มีก็มีจนล้นฟ้า เม่ือมัน

ขาดความสมดุล กเ็ กิดการปะทะขัดแย้ง น�ำไปสสู่ งคราม มองผวิ เผิน ก็ยงั ได้ และถ้านำ� ไปเปน็ แนวทางบรหิ ารประเทศ กย็ ่อมจะกอ่ ให้เกิด 41 BOT MAGAZINE Relax @ Reun Pae อาจถกู อ้างเป็นสงครามศาสนา สงครามการเมือง แต่จริง ๆ แล้วมัน ประโยชน์สุขกับทุกคน พระองค์ท่านไม่เคยใช้ค�ำว่าร�่ำรวย ม่ังคั่ง เป็นเรื่องของการแย่งชิงทรัพยากร ฉะนั้น ท่ีพระองค์ทรงรับส่ังเรื่อง แตท่ รงขา้ มไปอีกระดบั คอื ประโยชนส์ ุข” เศรษฐกจิ พอเพียง ก็เพราะพยายามจะสรา้ งความสมดลุ ระหว่างคนที่ มมี ากเหลอื เกนิ กบั ทรพั ยากรทเ่ี หลอื นอ้ ยลงทกุ ที หาวธิ บี รหิ ารจดั การ ความสขุ ทเี่ รยี บง่ายและเป้าหมายชีวิตในแบบ “ดร.สเุ มธ” อย่างไรให้พอเพียง” แม้จะล่วงเข้าวัย 78 ปี แต่ปัจจุบัน ดร.สุเมธ ยังคงท�ำหน้าท่ี ดร.สุเมธ ย�้ำว่า เศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่เร่ืองของความจน และ เป็นเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ประธานกรรมการมูลนิธิข้าวไทย ไม่ใช่เร่ืองที่ทุกคนต้องลาออกจากงานเพ่ือไปท�ำไร่ท�ำนา เพราะ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และประธานกรรมการมูลนิธิอุทกพัฒน์ ใน ไมว่ า่ จะอยทู่ ไ่ี หน ทำ� งานอะไร กย็ ดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พระบรมราชูปถัมภ์ ซึง่ เป็นมูลนธิ ิในพระราชด�ำรขิ องพระบาทสมเดจ็ ได้ด้วยการรักษาความพอดีหรือความสมดุลในทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็น พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รวมท้ังยังเป็นประธานกรรมการ ความสมดุลในการใช้ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ความพอดีในการ มลู นธิ อิ ุทยานสิ่งแวดลอ้ มนานาชาติสริ นิ ธร ในพระราชูปถัมภส์ มเด็จ เติบโตทางเศรษฐกิจ รวมถึงความสมดุลในชีวิตท้ังเชิงคุณภาพและ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ปรมิ าณ ซงึ่ ความสมดลุ ของแตล่ ะคนยอ่ มไมเ่ หมอื นกนั ขนึ้ อยกู่ บั สงิ่ ท่ี คนนนั้ เปน็ หรือมี ดงั น้นั การประเมินตนเอง (Self-assessment) จึง นอกจากน้ี ทา่ นยงั มกั ไดร้ บั เชญิ ไปเปน็ วทิ ยากรบรรยายหรอื อบรม เปน็ สิ่งแรกทต่ี อ้ งท�ำตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ในหัวข้อเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เกือบทุกวัน ถึงแม้งานจะรัดตัวจนแทบไม่มีเวลาว่าง แต่เมื่อใดท่ี “จรงิ ๆ แลว้ แก่นแทเ้ กี่ยวกับความพอเพียง คือ ทรงสอนให้รจู้ ัก พอมีเวลา ท่านมักหาโอกาสไปสนามยิงปืน ซ่ึงเป็นงานอดิเรกท่ี รกั ษาปจั จยั การผลติ หรอื ปจั จยั ของชวี ติ เรา และทรงสอนใหไ้ มป่ ระมาท ช่นื ชอบมานานและยงั คงทำ� จนทกุ วันน้ี สอนให้สรา้ งภมู ิคมุ้ กันหรือบริหารความเสีย่ งตลอดเวลา” “เสนห่ ข์ องการยงิ ปนื มนั สอนหลายอยา่ ง สอนวา่ ทกุ อยา่ งในโลกน้ี จากใจ “ลูกศิษยพ์ ระราชา” ถึง “ลกู ของพ่อหลวง” ทกุ คน ไมม่ บี วกหรอื ลบ อยทู่ กี่ ารกระทำ� ของมนษุ ยว์ า่ จะใชม้ นั เปน็ บวกหรอื ลบ หลงั ความสญู เสียครัง้ ใหญข่ องชาวไทยเมอื่ วันที่ 13 ตุลาคม 2559 ปืนกเ็ หมือนกัน นอกจากน้ยี งั สอนให้ ‘นง่ิ ’ เพราะปนื กับคุณต้องเปน็ หนงึ่ ตอ้ งมสี มาธจิ ดจอ่ ตอ้ งมสี ตกิ บั ทกุ จดุ ทงั้ ศนู ยห์ นา้ ศนู ยห์ ลงั และ ดร.สเุ มธ ยอมรบั วา่ แมจ้ ะเคยบวชเรยี นมาแลว้ แมจ้ ะเตรยี มใจไวบ้ า้ ง เปา้ แลว้ ยงั ตอ้ งมสี ตอิ ยกู่ บั ทกุ สว่ น ทง้ั ตา หู มอื นวิ้ สมอง และหวั ใจ” แลว้ แตเ่ ม่ือเหตุการณเ์ กิดข้ึน ทา่ นเองก็ “ตอื้ ” ไปหลายวัน สว่ นหนงั สอื แนะนำ� ดร.สเุ มธ นกึ ถงึ หนงั สอื ธรรมะของพระพรหม “พอไดส้ ตกิ ลบั มากค็ ดิ ไดว้ า่ ปจั จบุ นั ไมม่ ศี าสดาองคใ์ ดทยี่ งั อยกู่ บั คณุ าภรณ์ (ประยทุ ธ์ ปยุตโฺ ต) และ The Monk and the Philosopher เราบนโลกใบนี้ ถึงแม้ว่าศาสดาเหล่าน้ันจะไม่อยู่ แต่ค�ำสอนก็ยังอยู่ โดย Jean Francois-Revel รวมถงึ หนงั สอื “สามกก๊ ” ซงึ่ สอนใหเ้ ขา้ ใจ ดงั นนั้ แมพ้ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชจะจากไป จิตวิทยาและลักษณะของมนุษย์ สอนกลยุทธ์ในการพลิกวิกฤติเป็น แลว้ แตบ่ ทเรยี นของพระองคท์ ท่ี รงทง้ิ ไวใ้ หเ้ ราคนไทยมอี ยเู่ ตม็ ไปหมด โอกาส อกี ทงั้ ยงั สอนใหเ้ ปน็ คนชา่ งสงั เกตและนำ� ความรมู้ าประยกุ ตใ์ ช้ เพยี งพอทจี่ ะใชใ้ นชวี ติ แลว้ เพราะทรงสอนในทกุ เรอื่ งรอบตวั และสงิ่ ที่ กบั ทุกสิ่งรอบตวั ทรงสอนกเ็ ปน็ ‘อกาลโิ ก’ คอื ใชต้ อนไหนกไ็ ด้ ทไ่ี หนกไ็ ด้ ขอเพยี งใสใ่ จ ที่จะท�ำความเข้าใจ เข้าใจไม่พอ ยังต้องเข้าถึงด้วยการน�ำไปปฏิบัติ สำ� หรบั เปา้ หมายในชว่ งชวี ติ ทเี่ หลอื อยู่ “ลกู ศษิ ยพ์ ระราชา” ทา่ นนี้ แล้วพวกเราจะเลิกทะเลาะกัน จะตั้งหนา้ ต้ังตารกั ษาประเทศ เพราะ ตอบว่า เป็นชีวิตที่ไม่มีเป้าหมาย อันเป็นการด�ำเนินรอยตามส่ิงท่ี การรกั ษาประเทศกค็ อื รกั ษาชวี ติ เรา และชวี ติ ของลกู หลานเราต่อไป” พระองค์ทา่ นทรงรบั สั่งเสมอวา่ “ลัทธขิ องฉนั คอื ทำ� ไปเรอื่ ย ๆ” ดร.สุเมธ ย้�ำว่า ส�ำหรับคนที่รักพระองค์ท่านจริง ไม่ต้องเศร้า “มองยอ้ นหลงั กลบั ไป มเี หตกุ ารณห์ นงึ่ ทย่ี นื ยนั สง่ิ ทท่ี รงรบั สง่ั ผม อีกแลว้ ให้เรมิ่ นำ� สงิ่ ทีท่ รงสอนมาใช้ดำ� เนนิ ชวี ติ และใชท้ ำ� ความดีเพอื่ มโี อกาสเขา้ เฝา้ ขอพระราชทานพรในวนั เกดิ อายุ 72 ปี เมอื่ 5 - 6 ปี ประเทศชาติ สว่ นคน ธปท. ทา่ นฝากขอ้ คดิ ในการท�ำหน้าที่เอาไว้ว่า กอ่ น พระองคท์ รงนงิ่ สกั พกั แลว้ ทรงยกพระหตั ถม์ าเขยา่ ไหลผ่ ม และ อยากให้ยึดมน่ั ใน “3 ค�ำ” ท่ีพระองคท์ า่ นทรงย�้ำเสมอ ได้แก่ “สมดุล ทรงรบั สั่งว่า ‘สเุ มธ งานยงั ไมเ่ สรจ็ ’ (3 รอบ) วนั นี้รูแ้ ล้ววา่ น่ันเป็น มนั่ คง ย่งั ยืน” คำ� สง่ั เสยี สดุ ทา้ ยวา่ ใหท้ ำ� ไปเรอ่ื ย ๆ งานยงั ไมเ่ สรจ็ ” ดร.สเุ มธ ทง้ิ ทา้ ย “ถา้ เรารกั ษาอตั ราการเตบิ โตของประเทศให้สมดลุ พอดี มนั ก็จะ ม่นั คง แล้วกจ็ ะไปต่อไดเ้ รอื่ ย ๆ ตลอดไป โดยไมต่ ้องไปคดิ วา่ ท�ำไม ประเทศอ่นื ดกี ว่าเรา ซึง่ 3 ค�ำนี้ ไมใ่ ช่แค่ ธปท. หรือหนว่ ยงานใด แม้แต่ในชีวิตเรา ถ้ายึดไว้เป็นแนวทางในการใช้ชีวิต ในการใช้จ่าย

นวพร เรอื งสกุล สร้างหน่วยงานกระดาษให้เปน็ องค์กรท่มี ีชวี ิต “คนที่เป่าลมหายใจเข้าไปสร้างชีวิตให้กับองค์กร (Breathe Life into the Organization) ต่างจากคนที่รักษาองค์กรให้คงอยู่ (Maintain Organization) คนท่ีคิดสิ่งใหม่อยู่เสมอ พอเขาคิดกรอบเสร็จเรียบร้อย สร้างอะไรจนเข้าที่ ก็ส่งตอ่ ใหค้ นอื่นดูแลรักษา การ Breathe Life เข้าไป ในองค์กรใหก้ ลายเป็นสิ่งมีชวี ิต เร่ิมแรกต้องไมต่ ิดกรอบเลก็ ” 42 BOT MAGAZINE Alumni’s Wisdom คุณนวพร เรอื งสกลุ อดีตผ้บู ริหารธนาคาร หลงั จากทำ� งานได้ 2 ปี คณุ นวพรไดย้ ้าย แห่งประเทศไทย (ธปท.) เป็นบุคคลหนึ่งที่ มาอยู่ “กลุ่มศึกษาพิเศษ” ซึ่งฝ่ายวิชาการ “สรา้ งชวี ติ ใหก้ บั องคก์ ร” มาหลายองคก์ ร กลา่ ว ตั้งขึ้นใหม่ มีหน้าท่ศี กึ ษา วจิ ยั หัวขอ้ เรอ่ื งท้งั กับ BOT พระสยาม MAGAZINE เช่นน้ัน เธอ ตามท่ีได้รับมอบหมายและท่ีคิดว่าน่าจะเป็น เคยบุกเบิกหนว่ ยงานใหม่ ๆ ของ ธปท. เช่น ประโยชน์ อาทิ การสรา้ งแบบจำ� ลองภาคการเงนิ ตลาดซ้ือคืนพนั ธบตั ร (Repurchase Market) เพ่ิมเข้าไปเป็นส่วนหน่ึงของแผนพัฒนา และกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ของส�ำนักงาน สถาบนั การเงนิ ซง่ึ ประสบการณเ์ หลา่ นนั้ ทำ� ให้ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม เธอไม่หวั่นท่ีจะตงั้ หนว่ ยงานใหม่ ๆ อกี ในชีวติ แห่งชาติ การประมาณการความต้องการใช้ การทำ� งานหลังจากนั้น ธนบัตรแตล่ ะชนดิ ราคาในประเทศไทย ฯลฯ ต้ังโจทยก์ ารทำ� งานดว้ ยตัวเอง คุณนวพรเห็นงานวิจัยของเพื่อนร่วมงาน คุณนวพรเป็นอดีตนักเรียนทุน ธปท. จึงคิดจัดพิมพ์ออกมาเป็นล�ำดับ เป็นเอกสาร วิชาการชุด Occasional Paper ซึ่งทาง ที่มีโอกาสท�ำงานกับผู้ว่าการ ธปท. ถึง 5 ห้องสมุดของธนาคารได้ส่งให้ห้องสมุดของ ยุคสมัย นับต้ังแต่ ดร.ป๋วย อ๊ึงภากรณ์ ธนาคารกลางในต่างประเทศด้วย เป็นการ คุณพสิ ทุ ธ์ิ นิมมานเหมนิ ท์ ดร.เสนาะ อูนากูล แลกเปลี่ยนที่ได้เอกสารวิชาการมาจาก คณุ นกุ ลู ประจวบเหมาะ และคณุ กำ� จร สถริ กลุ ธนาคารกลางเหล่าน้ันเสมอ ๆ ในขวบปแี รกของการทำ� งานที่ ธปท. ไดม้ โี อกาส ช่วยงานผู้ว่าการป๋วย อ๊ึงภากรณ์ ในการแปล นอกจากน้ี เธอยงั เสนอใหจ้ ดั สมั มนาวา่ ดว้ ย สุนทรพจน์หนึ่งคร้ังร่วมกับเพ่ือนร่วมงานและ การเงนิ การธนาคารในประเทศไทย เพอื่ สอื่ สาร ชว่ ยจดั ทำ� Reading List เพอ่ื ใชป้ ระกอบการสอน ให้นักวิชาการภายนอกเข้าใจงานของ ธปท. ท่ี Princeton University สหรฐั อเมรกิ า ต่อมา ดา้ นนโยบายการเงนิ ได้มีโอกาสติดตามคุณพิสุทธิ์ นิมมานเหมินท์ ขณะเปน็ รองผวู้ า่ การ เมอื่ ทา่ นเดนิ ทางไปประชมุ “ความรู้ที่เราเรียนกันมาเป็นเรื่องการเงิน IMF ประจ�ำปีท�ำให้ได้เรียนรู้วิธีคิด วิธีการ การธนาคารของต่างประเทศ เราไม่รู้เลยว่า ทำ� งาน และมารยาทสังคม การเงินการธนาคารของไทยเป็นอย่างไร นอกจากหนังสือท่ี ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ และ คุณหญิงสุภาพ ยศสุนทร เขียน ซ่ึงเป็นเร่ือง

43 BOT MAGAZINE Alumni’s Wisdom การเงินการธนาคารท่ัวไป จึงจัดสัมมนาเร่ืองการเงินการธนาคารใน ฝ่ายก�ำกับและตรวจสอบธนาคารพาณิชย์ และฝ่ายจัดการกองทุน ประเทศไทยขน้ึ โดยนำ� งานวจิ ยั ของกลมุ่ ศกึ ษาพเิ ศษ มารอ้ ยเรยี งเปน็ ซึ่งลว้ นเกีย่ วข้องกบั งานดา้ นตลาดเงนิ ตลาดทุน และตอ้ งตดิ ตอ่ กบั เรอ่ื ง แลว้ เชญิ อาจารยท์ ส่ี อนเรอ่ื งการเงนิ การธนาคารในมหาวทิ ยาลยั บุคคลภายนอกหลากหลายกลุ่ม แต่ละครั้งมักมีเหตุการณ์ท้าทาย มาร่วมสมั มนา” ให้คุณนวพรได้คิดใหม่ท�ำใหม่อยู่เสมอ อาทิ การจัดท�ำรายงาน ด้านการเงินประจ�ำสัปดาห์เสนอผู้ว่าการเสนาะ อูนากูล ให้ทัน เรียกได้ว่า คุณนวพรเป็นนักวิชาการ ธปท. คนแรกท่ีลุกข้ึนมา ทุกวันศุกร์ เพ่ือให้ท่านมีข้อมูลท่ีทันต่อเหตุการณ์ การเปล่ียนวิธี สื่อสารบทบาทหน้าท่ีและการด�ำเนินนโยบายของ ธปท. ให้บุคคล ปล่อยเงินให้ธนาคารพาณิชย์ จากเดิมท่ีใช้วิธีรับช่วงซ้ือลดต๋ัวเงิน ภายนอกไดเ้ รยี นร้แู ละเขา้ ใจ เพื่อการส่งออก ฯลฯ ที่ต้องคิดส่วนลดหักไว้ล่วงหน้า เป็นรับซื้อ ตวั๋ เงนิ ทคี่ ดิ ดอกเบยี้ ครงั้ เดยี วในวนั ชำ� ระเงนิ คนื เนอ่ื งจากตวั๋ สญั ญา จากนักวชิ าการ...สูก่ ารตงั้ หน่วยงานใหม่ ใช้เงินเหล่านี้มักมีการช�ำระคืนก่อนก�ำหนด วิธีการใหม่ช่วยลด หลังจากงานกลุ่มศึกษาพิเศษ คุณนวพรมีโอกาสได้ท�ำงาน ขนั้ ตอนและเวลาการทำ� งานได้มาก อกี หลายหน่วยงานใน ธปท. ได้แก่ ฝา่ ยการบัญชี ฝา่ ยการธนาคาร

“ถา้ เราคดิ โจทยใ์ หต้ วั เองได้ เรามองรอบตวั วา่ ใน ธปท. ขาดอะไร ความรขู้ องเรา จะเตมิ เขา้ ไปได้ไหม เรากจ็ ะหาสงิ่ ทเ่ี ราตอ้ งทำ� เจอ และทำ� งานตอ่ ไปได”้ 44 BOT MAGAZINE Alumni’s Wisdom ประสบการณบ์ กุ เบกิ หนว่ ยงานใหมค่ รง้ั แรกของคณุ นวพรเกดิ ขนึ้ ในท่ีสุด กองทุนเพ่ือการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินก็ ในช่วงท่ีท�ำงานในฝ่ายการธนาคาร ซ่ึงเป็นช่วงท่ีอัตราแลกเปล่ียน ก่อต้ังข้ึนมาได้ส�ำเร็จ และด�ำเนินการมาจนถึงปัจจุบัน โดยเริ่มต้น ที่เคยคงที่มาตลอดเร่ิมมีการขยับ เกิดตลาดเงินตราต่างประเทศ จากกระดาษพระราชกำ� หนดเพยี งไมก่ แ่ี ผน่ เกดิ เปน็ องคก์ รทที่ ำ� หนา้ ที่ และเป็นท่ีมาของการพัฒนาตลาดเงิน จนเกิด “ตลาดซ้ือคืน ในส่วนที่ ธปท. ไม่สามารถท�ำได้ในฐานะธนาคารกลาง ไม่ว่าจะ พนั ธบตั ร” เป็นการให้กู้เพ่ือเพิ่มสภาพคล่องให้กับธนาคารพาณิชย์ ถือหุ้น ธนาคารพาณิชย์ หรือการเรียกเก็บหน้ีเพื่อน�ำมาลดความเสียหายใน “บริบทของเหตุการณ์สมัยน้ัน ประเทศไทยยังไม่มีตลาดเงิน ช่วงวิกฤติสถาบันการเงิน ซึ่งการตัดสินใจลงทุนของกองทุนเพื่อการ ใหก้ ยู้ มื ระหวา่ งสถาบนั การเงนิ (InterbankMarket) มธี นาคารพาณชิ ย์ ฟ้นื ฟฯู ในแตล่ ะคร้งั อยู่ภายใต้หลักการทีว่ า่ สถาบันนั้นต้องฟื้นฟไู ด้ ขนาดใหญเ่ พยี ง 3 แหง่ และธนาคารตา่ งชาติ หากธนาคารตา่ งชาติ และพฒั นาตอ่ ได้ ขาดสภาพคลอ่ ง สามารถกยู้ มื จากธนาคารพาณชิ ยไ์ ทยได้ แตห่ าก ธนาคารพาณชิ ยไ์ ทยขาดสภาพคลอ่ ง ตลาดไมใ่ หญพ่ อจะรองรบั ความ หลักการคดิ สรา้ งสรรค์ส่งิ ใหม่ ตอ้ งการ และไมม่ คี นกลางทำ� หนา้ ทหี่ าแหลง่ เงนิ ธปท. จงึ คดิ วา่ จำ� เปน็ “การคดิ ใหม่ ตอ้ งเรมิ่ จากการตง้ั โจทยใ์ หถ้ กู ตอ้ ง แลว้ หาทางออก ตอ้ งพฒั นาตลาดเงนิ ใหด้ ขี น้ึ ตลาดเงนิ ในตา่ งประเทศมตี วั๋ เงนิ คลงั ของเรามแี ตพ่ นั ธบตั รซง่ึ เปน็ ตราสารระยะยาว พอดนี กึ ขน้ึ ไดจ้ ากท่ี จากปัญหา ไม่ใช่ดูที่ตัวปัญหา แล้วจะพบแนวทาง วิธีการแก้ไข เคยดงู านในนวิ ยอรค์ วา่ ผคู้ า้ ตราสารหน้ี (Bond Dealer) จะหาเงนิ ปญั หา โดยไม่จำ� เปน็ ตอ้ งเพมิ่ คนหรือเพิ่มเครื่องมือใดๆ” หลายครั้งท่ี เพอื่ ถอื หลกั ทรพั ยข์ า้ มคนื โดยนำ� หลกั ทรพั ยไ์ ปขายธนาคารพาณชิ ย์ คุณนวพรคิดและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ขึ้นมา และได้ “เติมชีวิต” ทกุ สน้ิ วนั เปน็ Overnight Repurchase จงึ นำ� วธิ กี ารนม้ี าประยกุ ตใ์ ช้ ใหก้ บั องคก์ รส�ำเรจ็ ดว้ ยดี เธอเล่าถงึ แนวทางในสว่ นนวี้ ่า เกดิ เปน็ ตลาดซอ้ื คนื พนั ธบตั ร หรอื Repurchase Market เพราะ ธนาคารพาณชิ ยไ์ ทยมพี นั ธบตั รจำ� นวนมาก” ตลาดซื้อคืนพันธบัตร ประการแรก คือ ไมต่ ดิ กรอบเล็ก เธออธิบายใหเ้ หน็ ภาพ เวลา ท่ีไม่เคยมีมาก่อน ก็เกิดข้ึนได้จริงในประเทศไทย จากความคิด เขียนแผนผังองค์กร (Organization Chart) มักเขียนเป็นกรอบ ของคณุ นวพรนีเ่ อง สเ่ี หลยี่ มเลก็ ๆ แทนตำ� แหนง่ ลงบนกระดาษ หากกระดาษแผน่ นนั้ คอื องค์กร แลว้ ใครจะทำ� งานตรงชอ่ งวา่ งระหวา่ งกรอบนนั้ ไม่กี่ปีหลังจากน้ัน คุณนวพรในขณะด�ำรงต�ำแหน่งรอง- ผู้อ�ำนวยการฝ่ายก�ำกบั และตรวจสอบธนาคารพาณิชย์ มีการแก้ไข เพิ่มเติมพระราชบัญญัติ 3 ฉบับ เพ่ือก�ำกับธนาคารพาณิชย์และ บริษัทเงินทุนให้รัดกุมย่ิงข้ึน และแก้ไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย เพอื่ จดั ตงั้ กองทนุ เพอื่ การฟน้ื ฟแู ละพฒั นา ระบบสถาบันการเงิน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้สามารถให้ความ ชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ เพอ่ื ฟน้ื ฟสู ถาบนั การเงนิ ในประเทศใหม้ คี วาม มนั่ คงและมเี สถยี รภาพ ภายใตก้ รอบนโยบายของ ธปท. และรฐั บาล ได้อยา่ งคล่องตัวขนึ้ “ครั้งนั้นเป็นการเร่ิมตั้งหน่วยงานใหม่ ซึ่งมีเพียงกระดาษ พระราชก�ำหนด แม้แต่คนร่างพระราชก�ำหนดท่ีต่อมาจะเป็น พระราชบัญญัติก็ไม่มั่นใจว่าจะต้ังได้อย่างไร เป็นงานท่ีใหญ่ขึ้น ต้องติดต่อกับผู้ใหญ่ท่ีเป็นบุคคลภายนอกค่อนข้างมาก และต้อง ด�ำเนินการสัมพันธ์กบั งานหลายดา้ นมากขน้ึ ”

“ถา้ เราคดิ วา่ ทง้ั หมดน้ี คอื ธปท. ทงั้ หมดน้ี คอื องคก์ ร ทง้ั หมดนี้ ทั่วประเทศมีจ�ำนวนถึงกว่าล้านคน ตั้งแต่ระดับต�ำรวจตระเวน 45 BOT MAGAZINE Alumni’s Wisdom คอื ประเทศไทย เรากจ็ ะคิดอกี แบบหนงึ่ วา่ แล้วเราอยตู่ รงน้ี เราทำ� ชายแดนไปจนถึงเอกอัครราชทูต เราจะสื่อสารอย่างไรกับคนที่มี อะไรได้ กลา่ วคอื เรม่ิ ตน้ ตอ้ งไมต่ ดิ กรอบเลก็ ซง่ึ บางครงั้ คนตง้ั โจทยผ์ ดิ ชว่ งหา่ งขนาดนใ้ี นเรอ่ื งความรทู้ างการเงนิ จงึ ใชส้ อื่ โทรทศั นเ์ พอ่ื คยุ กบั เชน่ เมอ่ื เราทำ� งานในกลมุ่ ศกึ ษาพเิ ศษ หากไมม่ คี นสง่ งานมาใหเ้ ราทำ� ขา้ ราชการจ�ำนวนลา้ นคน แตค่ นท่ัวไปกไ็ ดฟ้ ังดว้ ย จนเร่อื งออมเงนิ เราก็ได้แต่บ่น แต่ถ้าเราคิดโจทย์ให้ตัวเองได้ เรามองรอบตัวว่า เป็นประเด็นน่าสนใจ และเกิดความสนใจในการต้ังกองทุนส�ำรอง ใน ธปท. ขาดอะไร ความรขู้ องเราจะเตมิ เขา้ ไปไดไ้ หม เรากจ็ ะหาสง่ิ ท่ี เลย้ี งชพี กนั มากขึ้น” เราตอ้ งท�ำเจอ และทำ� งานต่อไปได้ ประสบการณ์จากภายในส่ภู ายนอก เช่นเดียวกับตอนที่ต้ังตลาดซื้อคืนพันธบัตร เม่ือพูดถึงการท�ำ “ประสบการณก์ ารท�ำงานใน ธปท. อันยาวนาน ไดท้ ำ� งานดา้ น ตลาดเงนิ ทกุ คนจะคดิ ถึง Discount Market หรอื Discount House ต่าง ๆ มากมาย ไมว่ ่าจะเปน็ การบริหารองคก์ ร การจัดตั้งหน่วยงาน แตเ่ มอื่ เราตโี จทยว์ า่ สง่ิ ทต่ี อ้ งการ คอื ตลาดทคี่ นมเี งนิ กบั คนขาดเงนิ หรอื ส่วนงานใหม่ ๆ ภายในองคก์ ร การบริหารเงนิ ลว้ นแลว้ แตเ่ ป็น ได้มากู้ยืมกันอย่างคล่องตัว เราก็จะมีโจทย์ใหม่ และควรจะมีส่ิงที่ งานทไ่ี ดส้ งั่ สมประสบการณก์ ารทำ� งานมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และสามารถ ทำ� ใหเ้ ขาวางใจกนั เรากต็ อ้ งหาตราสาร ซ่งึ สงิ่ ท่ีเรามี คอื พันธบตั ร น�ำไปปรบั ใชก้ บั หนว่ ยงานภายนอกได้เปน็ อย่างด”ี ทงั้ หมดนเี้ รากจ็ ะไมต่ ดิ และสรา้ งสรรคง์ านออกมาได้ แตเ่ ราตอ้ งอยใู่ น กรอบใหญท่ ส่ี ดุ นน่ั คอื กรอบของความเปน็ ธปท. กรอบทตี่ อ้ งยตุ ธิ รรม นอกจากน้ี ตลอดระยะเวลาท่ที �ำงานใน ธปท. เธอไดเ้ รียนรกู้ าร กบั ทุกคน เพือ่ ท�ำให้คนไวว้ างใจ” มองแบบภาพรวม ท�ำใหอ้ ่านออกว่า ภาพใหญก่ �ำลังจะไปทางใด ซ่ึง นำ� ไปปรับใชก้ ับการท�ำงานภายนอก ธปท. ไดเ้ ป็นอย่างดี ระหวา่ งท่ี ประการทสี่ อง คอื ความรมู้ อี ยทู่ ว่ั ไป เมอ่ื มโี อกาสไดไ้ ปดงู านเรอ่ื ง เป็นผู้บริหารธนาคารพาณิชย์ คณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่ง หนงึ่ เธอมกั ไดค้ วามรเู้ รอ่ื งอน่ื กลบั มาดว้ ยเสมอ “เราตอ้ งเปดิ หเู ปดิ ตา ประเทศไทย และเลขาธกิ าร กบข. ถึงไม่ได้ใช้ ก็ไม่เป็นไร อย่างตอนท่ีธนาคารต่างประเทศมา เรา ถามเขาว่า ที่ต่างประเทศมีการก�ำกับธนาคารพาณิชย์อย่างไรบ้าง คณุ นวพร ไดก้ ลา่ วถงึ ความภาคภมู ใิ จทไ่ี ดท้ ำ� งานในองคก์ รแหง่ น้ี เพราะเวลาที่เราอ่านพระราชบัญญัติของเขา เราก็ได้เพียงแค่ความรู้ ว่า “เอกลักษณ์เด่นของ ธปท. คือ การเป็นสถาบันอันทรงเกียรติ เปน็ ข้อ ๆ แต่หากมคี นมาอธบิ าย เรากจ็ ะได้ความร้วู า่ มีอะไรบ้างท่ี ได้รับการยอมรับเชื่อถือจากสังคมอย่างสูง เป็นสถาบันที่มีคนเก่ง เรายังไมไ่ ดท้ ำ� น่คี อื ความรูท้ มี่ อี ยทู่ ัว่ ไป แม้แตใ่ นนยิ าย โดยเฉพาะ จำ� นวนมาก ดงั นนั้ การไดเ้ ปน็ พนกั งาน ธปท. จงึ เปน็ ความภาคภมู ใิ จ นิยายต่างประเทศ เพราะนกั เขียนมกั ศึกษาของจรงิ กอ่ นเขียน” ไม่ว่าจะเดินไปท่ีใด ท�ำงานกับหน่วยงานใด ก็มักได้รับความเช่ือถือ เหมอื นกบั วา่ มสี ถาบนั นน้ี ำ� หนา้ เราไป หรอื รบั รองตวั เราไปโดยปรยิ าย” คุณนวพรเป็นบุคคลภายนอกที่มีโอกาสได้เข้าไปดูชั้นใต้ดินของ พพิ ธิ ภณั ฑส์ ถาบนั สมธิ โซเนยี น เพอื่ ศกึ ษาวธิ กี ารทำ� และบรหิ ารจดั การ นอกจากจะฝากขอ้ คดิ การทำ� งานอยา่ งสรา้ งสรรคไ์ วแ้ ลว้ คณุ นวพร พพิ ธิ ภณั ฑ์ จงึ ไดเ้ หน็ เบอื้ งหลงั การทำ� งาน ทต่ี อ้ งมกี ารวางแผนลว่ งหนา้ ยังได้ฝากข้อคิดถึงพนักงานทุกคนด้วยว่า “ในการท�ำงานต้องไม่ จัดวางแนวคิด และท�ำวิจัยก่อนจะออกมาเป็นพิพิธภัณฑ์ท่ีเห็น ตดิ กรอบ จิตวญิ ญาณของความเป็น ธปท. ตอ้ งไมห่ าย คอื มีงาน และน�ำความรู้เหล่านั้นมาส่งต่อให้กับเพ่ือนที่ก�ำลังรับหน้าท่ีจัดท�ำ เราก็ท�ำ และท�ำใหด้ ี แม้เป็นงานทีไ่ ม่เกีย่ วกบั เรา แตห่ ากเปน็ งานที่ พิพิธภณั ฑเ์ งินตราของ ธปท. เป็นประโยชน์กับประเทศ ก็ช่วยท�ำ” พร้อมกล่าวชื่นชมการท�ำงาน ของพนกั งาน ธปท. ทม่ี คี �ำชมดี ๆ ให้ไดย้ นิ เสมอวา่ เวลามา ธปท. ประการท่ีสาม คือ เม่ือท�ำงานท่ีเก่ียวกับบุคคลภายนอก ต้อง แลว้ ทกุ อยา่ งดดู ี ประณตี เรียบรอ้ ย เปน็ ระบบระเบียบ มกี าลเทศะ ไมล่ มื ทจี่ ะสอื่ สารกบั บคุ คลอน่ื ใหเ้ ขา้ ใจงานทเี่ ราทำ� (Public Relation) และมีความใสใ่ จ “ตอนทอี่ ยกู่ องทนุ เพอื่ การฟน้ื ฟฯู คนเพยี งกลมุ่ เดยี วทเี่ ราตอ้ งทำ� ความ เข้าใจ คอื ธนาคารพาณชิ ย์ เราจึงจดั ท�ำหนังสือช่อื ‘ฝากเงินใหร้ วย’ สามารถตดิ ตามงานเขยี นของคณุ นวพร เรอื งสกลุ ไดท้ ่ี แจกเปน็ ของขวญั ปใี หม่ ซงึ่ จะเลา่ เรอื่ งทธ่ี นาคารพาณชิ ยม์ ปี ญั หา การ Blog : thaidialogue.wordpress.com ช่วยเหลือฟื้นฟูธนาคารพาณิชย์ที่มีปัญหา การช่วยเหลือผู้ฝากเงิน Facebook : knowledge Plus by นวพร และสถาบันการเงิน ซ่ึงเป็นการสื่อสารให้ธนาคารพาณิชย์เข้าใจว่า กองทนุ เพอ่ื การฟน้ื ฟฯู ทำ� อะไร และใหค้ วามเขา้ ใจวธิ ที ป่ี ระเทศตา่ ง ๆ คุม้ ครองเงนิ ฝากของประชาชน เมื่อทำ� งานท่กี องทุนบำ� เหน็จบำ� นาญขา้ ราชการ (กบข.) คนที่เรา ต้องทำ� ความเข้าใจกบั เขามากท่ีสุด คอื สมาชกิ กบข. ซ่งึ ข้าราชการ

46 BOT MAGAZINE Smart Generations Financial Future with Smart Technology อนาคตความทา้ ทายของเทคโนโลยที างการเงนิ เม่ือเทคโนโลยีทางการเงิน (FinTech)กลายเปน็ เรอ่ื งทข่ี ยบั เข้าใกล้ตัวเรามากข้ึนเร่ือย ๆ ทั้งในแง่ของการด�ำเนินชีวิต ป ร ะ จ� ำ วั น แ ล ะ ก า ร ท� ำ ง า น โดยเฉพาะอย่างย่ิงในภาค การเงนิ การธนาคาร

BOT พระสยาม MAGAZINE จึงเปิดประเด็นพูดคุยกับ 3 “คาดวา่ น่าจะมกี ารนำ� เทคโนโลยีมาใช้ในการ บุคลากรรุ่นใหม่ไฟแรงจากฝ่ายงานท่ีเก่ียวข้องกับเทคโนโลยีทาง ดำ� เนินงานและให้บรกิ ารผา่ นช่องทางออนไลน์ การเงนิ โดยตรง ได้แก่ ปงั ปอนด์ - ชญาดา ทองเพ็ญ ผตู้ รวจสอบ มากขน้ึ มกี ารลงทนุ การรว่ มมือกับ FinTech ฝ่ายตรวจสอบเทคโนโลยสี ารสนเทศ แพท - ธญั ญฉตั ร์ รงุ่ ศรีสวัสด์ิ Startups มากยง่ิ ข้นึ สามารถแขง่ ขนั ได้ ด้วย ผ้วู เิ คราะห์ ฝา่ ยเทคโนโลยที างการเงิน และ จอย - ชนกิ านต์ โห้ไทย ตน้ ทุนทตี่ �ำ่ ลง และมฐี านขอ้ มลู ทเ่ี ป็นประโยชน”์ ผ้วู ิเคราะห์ ฝ่ายนโยบายระบบการช�ำระเงนิ แพท - ธญั ญฉตั ร์ รงุ่ ศรสี วัสด์ิ ท้ัง 3 จะมาร่วมเปิดมุมมองรอบด้านเก่ียวกับ FinTech พร้อม เผยใหเ้ ห็นถงึ ความท้าทายทีบ่ คุ ลากรภาคการเงนิ การธนาคารจะต้อง 47 BOT MAGAZINE Smart Generations เผชิญตอ่ ไปในอนาคต ขอบเขตงานท่รี ับผิดชอบ ปงั ปอนด์ : ปจั จบุ นั เปน็ ผู้ตรวจสอบ ฝา่ ยตรวจสอบเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยขอบเขตงานทรี่ บั ผดิ ชอบอยมู่ ี 3 ดา้ นคะ่ ไดแ้ ก่ (1) การ ตรวจสอบระบบ IT ของสถาบนั การเงนิ และผ้ใู ห้บริการ e-Payment (2) พจิ ารณาให้ความเห็นเพื่อประกอบการพจิ ารณาคำ� ขออนุญาตทำ� ธรุ กรรมทางการเงนิ ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั IT และ (3) งานโครงการ ซ่งึ ไดร้ ับ มอบหมายใหเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ในทมี งานตดิ ตามภายใตโ้ ครงการ National e-Payment หรอื ที่ร้จู ักกันในนาม “พร้อมเพย์” แพท : แพทเปน็ ผู้วเิ คราะห์ จากฝ่ายเทคโนโลยีทางการเงนิ ซ่ึง เป็นฝ่ายน้องใหมท่ ่ีเพงิ่ จัดต้ังเม่อื ปลายปี 2559 โดยมีเป้าหมายส�ำคัญ คอื ผลกั ดนั FinTech ใหเ้ ปน็ กลไกสำ� คญั ในการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและ ศกั ยภาพการแข่งขันของระบบการเงินไทยในระยะยาว งานหลักของ แพทจะมงุ่ เนน้ ทก่ี ารศกึ ษา วเิ คราะห์ และพฒั นานวตั กรรมทางการเงนิ ทน่ี ำ� เทคโนโลยใี หมม่ าใช้ ทงั้ Bank และ Non-bank ผ่านการหารอื ใน FinTech Clinic และการเข้าร่วมทดสอบใน Regulatory Sandbox รวมท้ังประสานงาน จัดประชุมหารือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือ ผลกั ดันใหเ้ กิด FinTech Ecosystem ของไทย เชน่ โครงสรา้ งพืน้ ฐาน มาตรฐานกลางทจ่ี ำ� เปน็ และการใชข้ อ้ มูลร่วมกนั จอย : งานท่ที �ำอย่ตู อนน้ี คอื ผู้วเิ คราะห์ ฝ่ายนโยบายระบบ การช�ำระเงิน ซึ่งจะเป็นงานท่ีเกี่ยวกับจัดท�ำและวิเคราะห์ข้อมูล ระบบการช�ำระเงิน และเป็นส่วนหน่ึงของทีมงานประชาสัมพันธ์ โครงการ National e-Payment ธปท. โดยด�ำเนินการร่วมกับ หน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชนในการประชาสัมพันธ์และ สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการระบบพร้อมเพย์ รวมถึง โครงการขยายการใช้บัตรเพื่อส่งเสริมการใช้ระบบการช�ำระเงิน ทางอิเล็กทรอนิกส์ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ National e-Payment การด�ำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ National e-Payment ของ รัฐบาล ทั้งโครงการระบบพร้อมเพย์ รวมถึงโครงการขยายการใช้ บัตรเดบิต

“เทคโนโลยีทางการเงนิ จะเขา้ มาท�ำให้วถิ ชี วี ิต บทบาทของเทคโนโลยีที่มผี ลต่อภาคการเงิน และการทำ� ธุรกรรมทางการเงนิ ของคนสะดวก การธนาคารในปัจจบุ นั สบายข้นึ และลดบทบาทของธนาคาร แพท : ปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากต่อ ในบางสว่ นลง และ ธปท. ในฐานะทีเ่ ปน็ ภาคการเงิน ซ่ึงคิดว่าความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีน่ากลายจะเป็น Regulator ก็ต้องศึกษาทำ� ความเขา้ ใจและ ปัจจัยส�ำคัญที่ช่วยยกระดับภาคการเงินให้มีพัฒนาการอย่างก้าว ตดิ ตามการพฒั นาส่งิ ตา่ ง ๆ เหล่าน”ี้ กระโดดและตอบโจทย์ของประเทศในอนาคต จอย - ชนกิ านต์ โห้ไทย ปงั ปอนด์ : ดว้ ยพฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภคทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ มคี วามตอ้ งการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู อยา่ งรวดเรว็ แบบ Anywhere, Anytime, 48 BOT MAGAZINE Smart Generations Any device รวมถึงก่อให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ด้าน FinTech การใช้บริการ Internet / Mobile Banking ที่สามารถ สอบถามข้อมลู บญั ชี โอนเงินท้งั ภายในและตา่ งธนาคาร หรือการซ้อื ขายเงนิ กองทนุ / หลกั ทรพั ย์ ผา่ นการเชอ่ื มโยงกบั ระบบ IT ของธรุ กจิ ในกล่มุ สถาบันการเงินเขา้ หากนั จอย : เทคโนโลยีช่วยส่งเสริมให้การท�ำธุรกรรมท่ีเก่ียวข้องกับ การเงินการธนาคารสะดวกข้ึน ส่งผลให้พฤติกรรมของผู้ใช้บริการ และผใู้ หบ้ รกิ ารทางการเงนิ การธนาคารเปลยี่ นไป มคี วามสามารถใน การแข่งขนั เพ่มิ ขน้ึ ลดตน้ ทนุ และเพม่ิ ประสิทธภิ าพในการใหบ้ รกิ าร ไดอ้ ยา่ งก้าวกระโดด คุณสมบตั ิส�ำคัญของผทู้ ี่จะต้องท�ำงาน ดา้ นเทคโนโลยีทางการเงนิ จอย : คุณสมบัติสำ� คัญ คือ จะต้องเป็นคนทีต่ ดิ ตามข่าวสาร การเปล่ียนแปลงของภาคการเงินการธนาคารทั้งในไทยและ ต่างประเทศ ปังปอนด์ : คดิ ว่าต้องเป็นคนที่ทนั เหตุการณ์ มีความคลอ่ งตวั (Agility) และเปิดรับสิ่งใหม่ ๆ (Openness) อีกท้ังในฐานะที่เป็น ผกู้ ำ� กับดูแล ควรจะตอ้ งบาลานซ์เรือ่ งการใชเ้ ทคโนโลยี ควบคไู่ ปกับ การดแู ลความเสยี่ งดา้ นต่าง ๆ ดว้ ยคะ่ โดยเฉพาะเรอ่ื ง Cyber Risk ซ่ึงถือเป็นความเส่ียงส�ำคัญระดับโลก ท่ีสอดคล้องกับกลยุทธ์ของ ธปท. และสถาบันการเงนิ แพท : รู้เท่าทันเทคโนโลยี รู้ความต้องการบริการทางการเงนิ ของผใู้ ชบ้ รกิ าร และหลกั เกณฑก์ ารกำ� กบั ดแู ลทเี่ กยี่ วขอ้ ง โดยสามารถ บรู ณาการปจั จยั ทง้ั 3 สว่ น เพอื่ สง่ เสรมิ การพฒั นาบรกิ ารทางการเงนิ ให้มีประสิทธิภาพมากย่งิ ขนึ้ เทคโนโลยที างการเงนิ จะสง่ ผลใหว้ ิถชี ีวติ ของผคู้ นและ ภาคการเงินในอนาคตเปล่ยี นแปลงไปเชน่ ไร จอย : มองว่าเทคโนโลยีทางการเงินจะเขา้ มาทำ� ให้วถิ ชี ีวติ และ การท�ำธุรกรรมทางการเงินของคนสะดวกสบายข้ึน และลดบทบาท

“เทคโนโลยที างการเงินชว่ ยสร้างโอกาสให้กับ นักพฒั นารุน่ ใหมท่ ่ีมไี อเดียสร้างสรรค์ มีพื้นทใี่ ห้สามารถพฒั นาผลิตภัณฑแ์ ละ บรกิ ารทางการเงนิ ออกสู่ท้องตลาดได้” ปงั ปอนด์ - ชญาดา ทองเพญ็ ของธนาคารในบางสว่ นลง ธปท. ในฐานะทเี่ ปน็ Regulator ก็ตอ้ ง 49 BOT MAGAZINE Smart Generations ศึกษาท�ำความเข้าใจและตดิ ตามการพฒั นาส่ิงต่าง ๆ เหลา่ นี้ เพือ่ ใชใ้ นการกำ� กบั ดแู ลและกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวมใหไ้ ดม้ ากทส่ี ดุ ปังปอนด์ : ทุกวนั นี้สมาร์ทโฟนกลายเป็นปจั จยั ท่ี 5 ในการใช้ ชวี ติ ประจำ� วนั ของปอนดแ์ ลว้ ทง้ั ใชส้ ำ� หรบั ดตู ารางงาน ตดิ ตอ่ สอ่ื สาร แพท : คาดว่าน่าจะมีการน�ำเทคโนโลยีมาใชใ้ นการดำ� เนนิ งาน รวมไปถึงการท�ำธุรกรรมทางการเงินด้วย ซ่ึงใช้ Mobile Banking และให้บรกิ ารผ่านช่องทางออนไลนม์ ากขึน้ มกี ารลงทนุ การร่วมมือ ท้ังในการโอนเงินและจ่ายค่าสาธารณูปโภคต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก กบั FinTech Startups มากย่งิ ข้นึ สามารถแข่งขนั ได้ ด้วยต้นทนุ ที่ รวดเรว็ โดยเฉพาะหลงั จากทม่ี บี รกิ ารพรอ้ มเพย์ กย็ งิ่ ทำ� ใหก้ ารโอนเงนิ ต�่ำลง และมีฐานขอ้ มูลทเ่ี ปน็ ประโยชน์ สะดวกยิ่งข้ึน เพียงแค่ใช้เบอร์โทรศัพท์มือถือ อย่างไรก็ดี การใช้ เทคโนโลยีทางการเงิน แม้จะท�ำให้ชีวิตเราสะดวกสบาย แต่ก็ควร ปังปอนด์ : การแข่งขันระหว่างผู้ให้บริการรายเล็กกับสถาบัน ใช้งานอย่างระมัดระวัง เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหย่ือของมิจฉาชีพ เช่น การเงินในเรื่องการน�ำเทคโนโลยีมาใช้เพ่ือให้บริการได้อย่างรวดเร็ว ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวแก่บุคคลอ่ืน หรือเลือกดาวน์โหลด และหลากหลายมติ มิ ากขน้ึ นอกจากนี้ ยงั สรา้ งโอกาสใหก้ บั นกั พฒั นา Application จากแหล่งท่ีน่าเช่ือถือ และหากพบความผิดปกติจาก รุ่นใหม่ทม่ี ไี อเดียสร้างสรรค์ มีพน้ื ที่ให้สามารถพัฒนาผลติ ภัณฑแ์ ละ การใชง้ าน ก็รบี ตดิ ตอ่ ธนาคารทใ่ี ห้บริการทันที บรกิ ารทางการเงินออกส่ทู ้องตลาดได้ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยที างการเงนิ ในแบบฉบบั ของตนเอง แพท : ปัจจุบันใช้เทคโนโลยีในการท�ำธุรกรรมพ้ืนฐานต่าง ๆ เช่น การถอนและโอนเงินผ่านตู้ ATM ซ่ึงถือเป็น FinTech ในยุค ต้น ๆ จนมาถึงบริการ Mobile Payment ทีม่ กี ารเตบิ โตขึน้ อยา่ ง รวดเรว็ โดยเฉพาะการโอนเงนิ ดว้ ยพรอ้ มเพย์ กลา่ วไดว้ า่ หากไดล้ องใช้ บรกิ ารแลว้ จะตดิ ใจ ถา้ ไมเ่ กนิ 5,000 บาท ไมเ่ สยี คา่ ธรรมเนยี มและไม่ จำ� กดั จำ� นวนครง้ั ซง่ึ ในอนาคตอนั ใกลน้ กี้ จ็ ะไดใ้ ชบ้ รกิ ารการชำ� ระเงนิ ด้วยการสแกน QR Code และการยืนยันตัวตนดว้ ย Biometrics เช่น ลายนวิ้ มอื เสียง ม่านตา และใบหน้า จอย : ตอนนใ้ี ช้พวก e-Walet ตา่ ง ๆ อยู่ค่ะ โดยจะโอนเงนิ ใส่ ไวเ้ ทา่ ทจ่ี �ำเปน็ หรอื ผูกกบั บตั ร ท�ำให้สามารถใช้ช�ำระค่าสนิ ค้าได้ท้ัง รา้ นคา้ ทวั่ ไปและผา่ นออนไลน์ ถอื วา่ คอ่ นขา้ งสะดวก เพราะสว่ นมาก เราพกโทรศพั ทม์ อื ถอื ตดิ ตวั อยแู่ ลว้ เวลาลมื หยบิ กระเปา๋ เงนิ ตดิ ตวั ไป ก็ยังใช้จ่ายได้ นอกจากน้ี บริการที่ใช้เป็นประจ�ำ คือ การโอนเงิน ยิง่ ถา้ โอนเงนิ ให้ทีบ่ า้ น จอยจะโอนผ่านพรอ้ มเพย์ เพราะการจำ� เบอร์ โทรศัทพม์ อื ถือสะดวกมากกว่าเลขทีบ่ ัญชี แถมไมเ่ สียค่าธรรมเนยี ม

50 BOT MAGAZINE Payment Systems เรอื่ ง : ฝา่ ยนโยบายระบบการชำ� ระเงนิ e-Money เงินยคุ ใหม่ สะดวก ปลอดภยั ไร้กงั วล นบั ตง้ั แตม่ กี ารใช้ “เงนิ ”เปน็ สอ่ื กลางในการแลกเปลย่ี นสนิ คา้ และบรกิ ารเงนิ กม็ กี ารววิ ฒั นาการเรอ่ื ยมาตง้ั แต่ เบย้ี หอย เงนิ พดดว้ ง เหรยี ญกษาปณ์ บตั รธนาคาร จนถงึ ธนบตั รทเ่ี ราคนุ้ เคยกนั ดี เงนิ ประเภทตา่ ง ๆ น้ี มกี าร พฒั นาขน้ึ มาตามลำ� ดบั เพอ่ื ใหส้ ะดวกและเหมาะสมกบั รปู แบบการดำ� เนนิ ชวี ติ ทเี่ ปลย่ี นไปของคนเรา จนมาถงึ ปจั จบุ นั ทกี่ ำ� ลงั เขา้ สยู่ คุ ของ “เงนิ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส”์ หรอื ทเ่ี ราเรยี กกนั งา่ ย ๆ วา่ “e-Money” ซง่ึ เงนิ ชนดิ นก้ี ำ� ลงั จะเขา้ มามบี ทบาทในชวี ติ เรามากขน้ึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook