Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติสุนทรภู่

ประวัติสุนทรภู่

Description: ประวัติสุนทรภู่

Search

Read the Text Version

คาํ นํา ก พระสนุ ทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือท่ีเรียกกนั ท่ัวไปว่า สนุ ทรภู่ ( 26 มิถนุ ายน พ.ศ. 2329 - พ.ศ. 2398) เปน็ อาลกั ษณ์ชาวไทยท่ีมีช่ือเสียงเชิงกวี ได้ รับยกย่องเป็น เชกสเปยี ร์แหง่ ประเทศไทย เกิดหลงั จากต้งั กรุงรัตนโกสินทร์ได้4 ปี และได้เข้ารับราชการเป็นอาลกั ษณ์ราชสํานักในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั เม่ือส้ินรัชกาลได้ออกบวชเปน็ เวลาร่วม 20 ปี ก่อนจะกลบั เข้ารับราชการ อกี คร้ังในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา้ เจ้าอยู่หวั โดยเปน็ อาลกั ษณ์ใน สมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอศิ เรศรังสรรค์ ในสมัยรัชกาลท่ี 4 ได้เล่อื นตาํ แหน่งเปน็ พระสนุ ทรโวหาร เจ้ากรมอาลกั ษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเปน็ ตาํ แหน่งราชการ สดุ ท้ายก่อนส้ินชีวิต สนุ ทรภู่เปน็ กวีท่ีมีความชํานาญทางด้านกลอน ได้สร้างขนบการประพันธ์ กลอนนิทานและกลอนนิราศขึน้ ใหม่จนกลายเปน็ ท่ีนิยมอย่างกว้างขวางสืบเน่ืองมา จนกระท่ังถึงปจั จุบัน ผลงานท่ีมีช่ือเสียงของสนุ ทรภูม่ ีมากมายหลายเร่ือง เช่น นิราศ ภเู ขาทอง นิราศสพุ รรณ เพลงยาวถวายโอวาท กาพย์พระไชยสรุ ิยา และ พระอภัยมณี เปน็ ตน้ โดยเฉพาะเร่ือง พระอภยั มณี ได้รับยกย่องจากวรรณคดสี โมสรว่าเปน็ ยอด ของวรรณคดปี ระเภทกลอนนิทาน และเป็นผลงานท่ีแสดงถึงทักษะ ความรู้ และทัศนะ ของสนุ ทรภอู่ ย่างมากท่ีสดุ งานประพันธ์หลายชิ้นของสนุ ทรภไู่ ด้รับเลอื กใหเ้ ปน็ ส่วน หนึง่ ในหลกั สตู รการเรียนการสอนนับแต่อดตี มาจนถงึ ปจั จุบัน เช่น กาพย์พระไชย สรุ ิยา นิราศพระบาท และอกี หลาย ๆ เร่ือง ปี พ.ศ. 2529 ในโอกาสครบรอบ 200 ปชี าตกาล สนุ ทรภไู่ ด้รับยกย่อง จากองคก์ ารยูเนสโกใหเ้ ปน็ บุคคลสําคญั ของโลกด้านงานวรรณกรรม ผลงานของ สนุ ทรภู่ยังเปน็ ท่ีนิยมในสังคมไทยอย่างต่อเน่ืองตลอดมาไม่ขาดสาย และมีการนําไป ดัดแปลงเปน็ ส่ือต่าง ๆ เช่น หนังสือการ์ตูน ภาพยนตร์ เพลง รวมถึงละคร มีการ ก่อสร้างอนุสาวรีย์สนุ ทรภไู่ ว้ท่ีตาํ บลกรา อาํ เภอแกลง จังหวัดระยอง บ้านเกิดของ บิดาของสนุ ทรภู่ และเปน็ ท่ีกําเนิดผลงานนิราศเร่ืองแรกของท่านคอื นิราศเมืองแกลง นอกจากนี้ยังมีอนุสาวรีย์แหง่ อ่นื ๆ อกี เช่น ท่ีวัดศรีสดุ าราม ท่ีจังหวัดเพชรบุรี และ จังหวัดนครปฐม วันเกิดของสนุ ทรภคู่ อื วันท่ี 26 มิถุนายนของทุกปี ถือเปน็ วันสนุ ทรภู่ ซึ่งเป็นวันสําคญั ด้านวรรณกรรมของไทย มีการจัดกิจกรรมเชิดชูเกยี รตคิ ณุ และ ส่งเสริมศิลปะการประพันธ์บทกวีจากองคก์ รต่าง ๆ โดยท่ัวไป

สารบัญ ข เร่อื ง หน้า คาํ นํา 1 สารบัญ 1 ประวัติ 2 3 ตน้ ตระกลู 4 วัยเยาว์ 5 ตาํ แหน่งอาลกั ษณ์ 6 ออกบวช 7 ช่วงปลายชีวติ 7 ทายาท 9 อุปนิสัยและทัศนคติ 10 อุปนิสัย 12 ทัศนคติ 13 ความรูแ้ ละทักษะ 14 การสรา้ งวรรณกรรม 15 แนวทางการประพันธ์ 16 วรรณกรรมอันเป็นทีเ่ คลอื บแคลง 17 การตพี ิมพ์ เผยแพร่ และดดั แปลงผลงาน 19 การดดั แปลงผลงานเป็นภาษาอ่ืน 20 งานดัดแปลง 22 ช่ือเสียงและคาํ วิจารณ์ 25 เกียรตคิ ณุ และอนสุ รณ์ 26 รายช่ือและผลงาน เชิงอรรถ อ้างอิง คณะผู้จัดทํา

ประวัติ 1 ตน้ ตระกูล บันทึกส่วนใหญ่มักระบุถงึ ตน้ ตระกูลของสุนทรภเู่ พียงวา่ บิดาเป็นชาวบ้านกรา อําเภอแกลง จังหวัดระยอง มารดาเป็นชาวเมืองอ่ืน ท้ังนี้เน่ืองจากเช่ือถือตามพระนิพนธ์ ของสมเด็จฯ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ เร่อื ง ชีวติ และงานของสุนทรภู่ ตอ่ มาใน ภายหลงั เม่ือมีการคน้ พบข้อมูลตา่ ง ๆ มากย่ิงขึน้ ก็มีแนวคดิ เกยี่ วกบั ตน้ ตระกูลของสุนทรภู่ แตกตา่ งกนั ออกไป นักวิชาการส่วนใหญ่เหน็ พ้องกันว่า ฝ่ายบิดาเป็นชาวบ้านกรา เมืองแกล ง จรงิ เน่ืองจากมีปรากฏเน้ือความอยู่ใน นิราศเมืองแกลง ถึงวงศ์วานวา่ นเครอื ของสุนทร ภู่ ท้ังนี้บิดาของสุนทรภอู่ าจมีเช้ือสายชองซึ่งเป็นชนพ้ืนเมืองในพ้ืนที่ ดงั ปรากฏวา่ \"...ลว้ น วงศ์วานว่านเครอื เป็นเช้ือชอง ไม่เหน็ น้องนึกน่านาตากระเด็น...\"แตเ่ ร่อื งดงั กลา่ วก็ไม่มี หลกั ฐานใดสนับสนุนเพียงพอ บ้างก็วา่ อาจเป็นการเข้าใจผิด แตค่ วามเหน็ เกยี่ วกบั ตระกลู ฝ่ายมารดานี้แตกออกเป็นหลายส่วน ส่วนหนึง่ วา่ ไม่ทราบทีม่ าแน่ชัด ส่วนหนึง่ ว่าเป็นชาว ฉะเชิงเทรา และส่วนหนึง่ วา่ เป็นชาวเมืองเพชรบุรี ก.ศ.ร. กหุ ลาบ เคยเขียนไวใ้ นหนังสือ สยามประเภท วา่ บิดาของสุนทรภเู่ ป็นข้าราชการแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั บรมโกศ ช่ือ ขุนศรสี ังหาร (พลบั ) ข้อมูลนี้สอดคลอ้ งกบั บทกวไี ม่ทราบช่ือผู้แตง่ ซึ่งปราโมทย์ ทัศนา สุวรรณ พบทีอ่ นสุ าวรยี ์สุนทรภู่ จังหวัดระยอง วา่ บิดาของสุนทรภเู่ ป็นชาวบ้านกรา ช่ือพ่อ พลบั ส่วนมารดาเป็นชาวเมืองฉะเชิงเทรา ช่ือแม่ช้อยทวา่ แนวคดิ ทีไ่ ด้รบั การยอมรบั กนั คอ่ นข้างกวา้ งขวางคอื ตระกลู ฝ่ายมารดาของสุนทรภเู่ ป็นชาวเมืองเพชรบุรี สืบเน่ืองจาก เน้ือความใน นิราศเมืองเพชร ฉบับคน้ พบเพ่ิมเตมิ โดยลอ้ ม เพ็งแกว้ เม่ือ พ.ศ. 2529 1

วัยเยาว์ สุนทรภู่ มีช่ือเดิมว่า ภู่ เกิดในสมัยรชั กาลที่ 1 แหง่ กรุงรตั นโกสินทร์ เม่ือวนั จันทร์ เดอื น 8 ขึน้ 1 คา ปีมะเมีย จุลศักราช 1148 เวลาเช้า 2 โมง (ตรงกับวนั ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2329) ณ บรเิ วณดา้ นเหนือของพระราชวงั หลงั ซึ่งเป็นบรเิ วณสถานีรถไฟบางกอกน้อย ปัจจุบันนี้ เช่ือว่าหลงั จากสุนทรภเู่ กดิ ได้ไม่นาน บิดามารดาก็หย่ารา้ งกนั บิดาออกไปบวชอยู่ ทีว่ ัดป่ากราอันเป็นภมู ิลาํ เนาเดมิ ส่วนมารดาได้เข้าไปอยู่ในพระราชวงั หลงั ถวายตวั เป็นนาง นมของพระองคเ์ จ้าหญิงจงกล พระธิดาในเจ้าฟ้ากรมหลวงอนรุ กั ษ์เทเวศร์ ดังน้ันสุนทรภจู่ ึงได้ อยู่ในพระราชวังหลงั กับมารดา และไดถ้ วายตวั เป็นข้าในกรมพระราชวงั หลงั สุนทรภยู่ ังมีน้อง สาวตา่ งบิดาอีกสองคน ช่ือฉิมและน่ิม เช่ือกนั วา่ ในวัยเด็กสุนทรภไู่ ด้ราเรยี นหนังสือกบั พระใน สํานักวัดชีปะขาว (ซึ่งตอ่ มาไดร้ บั พระราชทานนามในรชั กาลที่ 4 ว่า วดั ศรสี ุดาราม อยู่รมิ คลองบางกอกน้อย) ตามเน้ือความส่วนหนึง่ ทีป่ รากฏใน นิราศสุพรรณ ตอ่ มาไดเ้ ข้ารบั ราชการ เป็นเสมียนนายระวางกรมพระคลงั สวน ในกรมพระคลงั สวน แตไ่ ม่ชอบทํางานอ่ืนนอกจาก แตง่ บทกลอน ซึ่งสามารถแตง่ ไดด้ ีต้งั แตย่ ังรุน่ หน่มุ จากสํานวนกลอนของสุนทรภู่ เช่ือว่าผล งานทีม่ ีการประพันธ์ขึน้ กอ่ นสุนทรภอู่ ายุได้ 20 ปี (คอื กอ่ น นิราศเมืองแกลง) เหน็ จะได้แก่ กลอนนิทานเร่อื ง โคบุตร สุนทรภลู่ อบรกั กบั นางข้าหลวงในวงั หลงั คนหนึง่ ช่ือแม่จัน ชะรอยวา่ หลอ่ นจะ เป็นบุตรหลานผู้มีตระกลู จึงถกู กรมพระราชวังหลงั กร้วิ จนถึงใหโ้ บยและจําคกุ คนท้ังสอง แต่ เม่ือกรมพระราชวังหลงั เสด็จทิวงคตในปี พ.ศ. 2349 จึงมีการอภยั โทษแก่ผู้ถกู ลงโทษท้ังหมด ถวายเป็นพระราชกศุ ล หลงั จากสุนทรภอู่ อกจากคกุ ก็เดินทางไปหาบิดาทีเ่ มืองแกลง จังหวดั ระยอง การเดนิ ทางคร้งั นี้สุนทรภไู่ ดแ้ ตง่ นิราศเมืองแกลง พรรณนาสภาพการเดินทางตา่ ง ๆ เอาไว้โดยละเอียด และลงท้ายเร่อื งว่า แตง่ มาใหแ้ ก่แม่จัน \"เป็นขันหมากม่ิงมิตรพิสมัย\"[11] ในนิราศได้บันทึกสมณศักด์ขิ องบิดาของสุนทรภไู่ วด้ ้วยวา่ เป็น \"พระครูธรรมรงั ษี\" เจ้าอาวาส วดั ป่ากรา กลบั จากเมืองแกลงคราวนี้ สุนทรภจู่ ึงไดแ้ ม่จันเป็นภรรยา แตก่ ลบั จากเมืองแกลง เพียงไม่นาน สุนทรภตู่ อ้ งตดิ ตามพระองคเ์ จ้าปฐมวงศ์ในฐานะมหาดเลก็ ตามเสด็จไปในงานพิธี มาฆบูชาทีพ่ ระพุทธบาท (เขตจังหวดั สระบุรใี นปัจจุบัน) เม่ือปี พ.ศ. 2350 สุนทรภไู่ ด้แตง่ นิราศพระบาท พรรณนาเหตกุ ารณ์ในการเดินทางคราวนี้ดว้ ย สุนทรภกู่ บั แม่จันมีบุตรด้วยกัน 1 คน ช่ือหนูพัด ได้อยู่ในความอุปการะของ เจ้าครอกทองอยู่ ส่วนหนุ่มสาวท้ังสองมีเร่อื งระหองระแหงกันเสมอ จนภายหลงั ก็เลกิ รากนั ไป หลงั จาก นิราศพระบาท ทีส่ ุนทรภแู่ ตง่ ในปี พ.ศ. 2350 ไม่ปรากฏผลงานใด ๆ ของสุนทรภอู่ ีกเลยจนกระท่ังเข้ารบั ราชการในปี พ.ศ. 2359 2

ตาํ แหน่งอาลกั ษณ์ สุนทรภไู่ ด้เข้ารบั ราชการในกรมพระอาลกั ษณ์เม่ือ พ.ศ. 2359 ในรชั สมัยรชั กาล ที่ 2 มูลเหตใุ นการไดเ้ ข้ารบั ราชการนี้ ไม่ปรากฏแน่ชัด แตส่ ันนิษฐานว่าอาจแตง่ โคลงกลอนได้ เป็นทีพ่ อพระทัย ทราบถงึ พระเนตรพระกรรณจึงทรงเรยี กเข้ารบั ราชการ แนวคดิ หนึง่ ว่าสุนทร ภเู่ ป็นผู้แตง่ กลอนในคดีบัตรสนเท่ห์ คร้งั ที่ 1 (รชั กาลที่ 2) บัตรสนเท่ห์ ซึ่งปรากฏชุกชุมอยู่ใน เวลาน้ัน อีกแนวคดิ หนึง่ สืบเน่ืองจาก \"ช่วงเวลาทีห่ ายไป\" ของสุนทรภู่ ซึ่งน่าจะใช้วชิ ากลอน ทํามาหากินเป็นทีร่ ูจ้ ักเล่อื งช่ืออยู่ ชะรอยจะเป็นเหตใุ หถ้ ูกเรยี กเข้ารบั ราชการก็ได้ เม่ือแรกสุนทรภรู่ บั ราชการเป็นอาลกั ษณ์ปลายแถว มีหน้าทีเ่ ฝ้าเวลาทรงพระ อักษรเพ่ือคอยรบั ใช้ แตม่ ีเหตใุ หไ้ ด้แสดงฝีมือกลอนของตวั เม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรงแตง่ กลอนบทละครในเร่อื ง \"รามเกยี รต์\"ิ ตดิ ขัดไม่มีผู้ใดตอ่ กลอนไดต้ อ้ ง พระราชหฤทัย จึงโปรดใหส้ ุนทรภทู่ ดลองแตง่ ปรากฏวา่ แตง่ ได้ดเี ป็นทีพ่ อพระทัย จึงทรงพระ กรุณาฯ เล่อื นใหเ้ ป็น ขุนสุนทรโวหาร การตอ่ กลอนของสุนทรภคู่ ราวนี้เป็นทีร่ ูจ้ ักท่ัวไป เน่ืองจากปรากฏรายละเอียดอยู่ในพระนิพนธ์ ชีวิตและงานของสุนทรภู่ ของสมเด็จฯ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ บทกลอนในรามเกยี รต์ทิ ีส่ ุนทรภไู่ ด้แตง่ ในคราวน้ันคอื ตอนนางสี ดาผูกคอตาย และตอนศึกสิบขุนสิบรถ ฉากบรรยายรถศึกของทศกัณฐ์ สุนทรภไู่ ดเ้ ล่อื นยศเป็น หลวงสุนทรโวหาร ในเวลาตอ่ มา ได้รบั พระราชทานบ้านหลวงอยู่ทีท่ ่าช้าง ใกลก้ บั วงั ท่าพระ และมีตาํ แหน่งเข้าเฝ้าเป็นประจํา คอยถวายความเหน็ เกยี่ วกับพระราชนิพนธ์และพระนิพนธ์ วรรณคดเี ร่อื งตา่ ง ๆ รวมถงึ ได้รว่ มในกจิ การฟ้ ืนฟูศิลปวฒั นธรรมช่วงตน้ กรุงรตั นโกสินทร์ โดย เป็นหนึง่ ในคณะรว่ มแตง่ ขุนช้างขุนแผน ขึน้ ใหม่ ระหวา่ งรบั ราชการ สุนทรภตู่ อ้ งโทษจําคกุ เพราะถกู อุทธรณ์วา่ เมาสุราทํารา้ ย ญาตผิ ู้ใหญ่ แตจ่ ําคกุ ได้ไม่นานก็โปรดพระราชทานอภยั โทษ เลา่ กันว่าเน่ืองจากพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรงตดิ ขัดบทพระราชนิพนธ์เร่อื งสังข์ทอง ไม่มีใครแตง่ ไดต้ อ้ งพระทัย ภายหลงั พ้นโทษ สุนทรภไู่ ด้เป็นพระอาจารย์ถวายอักษรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า อาภรณ์ พระราชโอรสในรชั กาลที่ 2 เช่ือว่าสุนทรภแู่ ตง่ เร่อื ง สวัสดิรกั ษา ในระหวา่ งเวลานี้ ในระหว่างรบั ราชการอยู่นี้ สุนทรภแู่ ตง่ งานใหม่กับแม่น่ิม มีบุตรด้วยกันหนึง่ คน ช่ือพ่อตาบ 3

ออกบวช กฏุ วิ ดั เทพธิดารามทีส่ ุนทรภบู่ วชจําพรรษา เป็นสถานทีค่ น้ พบวรรณกรรมทีท่ รง คณุ คา่ มากมายเช่น พระอภยั มณี ฯลฯ ทีท่ ่านเก็บซ่อนไวใ้ ตเ้ พดานหลงั คากุฏขิ องท่าน สุนทรภรู่ บั ราชการอยู่เพียง 8 ปี เม่ือถงึ ปี พ.ศ. 2367 พระบาทสมเด็จพระพุทธ เลศิ หลา้ นภาลยั เสด็จสวรรคต หลงั จากน้ันสุนทรภกู่ ็ออกบวช แตจ่ ะได้ลาออกจากราชการ ก่อนออกบวชหรอื ไม่ยังไม่ปรากฏแน่ชัด แม้จะไม่ปรากฏโดยตรงว่าสุนทรภไู่ ด้รบั พระบรม ราชูปถัมภจ์ ากราชสํานักใหม่ในพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา้ เจ้าอยู่หวั แตก่ ็ได้รบั พระอุปถัมภ์ จากพระบรมวงศานุวงศ์พระองคอ์ ่ืนอยู่เสมอ เช่น ปี พ.ศ. 2372 สุนทรภไู่ ดเ้ ป็นพระอาจารย์ ถวายอักษรเจ้าฟ้ากลางและเจ้าฟ้าป๋ ิว พระโอรสในเจ้าฟ้ากณุ ฑลทิพยวดี ปรากฏความอยู่ใน เพลงยาวถวายโอวาท นอกจากน้ันยังไดอ้ ยู่ในพระอุปถมั ภข์ องพระองคเ์ จ้าลกั ขณานคุ ณุ และ กรมหม่ืนอัปสรสุดาเทพ ซึ่งปรากฏเน้ือความในงานเขียนของสุนทรภบู่ างเร่อื งว่า สุนทรภแู่ ตง่ เร่อื ง พระอภยั มณี และ สิงหไตรภพ ถวาย สุนทรภบู่ วชอยู่เป็นเวลา 18 ปี ระหวา่ งน้ันได้ย้ายไปอยู่วดั ตา่ ง ๆ หลายแหง่ เท่า ทีพ่ บระบุในงานเขียนของท่านได้แก่ วัดเลยี บ วดั แจ้ง วดั โพธ์ิ วัดมหาธาตุ และวัดเทพธิดาราม งานเขียนบางช้ินส่ือใหท้ ราบว่า ในบางปี ภกิ ษุภเู่ คยตอ้ งเรร่ อ่ นไม่มีทีจ่ ําพรรษาบ้างเหมือนกนั ผลจากการทีภ่ กิ ษุภเู่ ดินทางธุดงคไ์ ปทีต่ า่ ง ๆ ท่ัวประเทศ ปรากฏผลงานเป็นนิราศเร่อื งตา่ ง ๆ มากมาย และเช่ือวา่ น่าจะยังมีนิราศทีค่ น้ ไม่พบอีกเป็นจํานวนมาก งานเขียนช้ินสุดท้ายทีภ่ กิ ษุภแู่ ตง่ ไวก้ อ่ นลาสิกขาบท คอื ราํ พันพิลาป โดยแตง่ ขณะจําพรรษาอยู่ทีว่ ดั เทพธิดาราม พ.ศ. 2385 4

ช่วงปลายของชีวิต ปี พ.ศ. 2385 ภกิ ษุภจู่ ําพรรษาอยู่ทีว่ ัดเทพธิดาราม ทีม่ ีกรมหม่ืนอัปสรสุดาเทพ ทรงอุปถัมภ์ คนื หนึง่ หลบั ฝันเหน็ เทพยดาจะมารบั ตวั ไป เม่ือต่นื ขึน้ คดิ ว่าตนถงึ ฆาตจะตอ้ งตาย แลว้ จึงประพันธ์เร่อื ง ราํ พันพิลาป พรรณนาถงึ ความฝันและเลา่ เร่อื งราวตา่ ง ๆ ทีไ่ ดป้ ระสบมา ในชีวิต หลงั จากน้ันก็ลาสิกขาบทเพ่ือเตรยี มตวั จะตาย ขณะน้ันสุนทรภมู่ ีอายุได้ 56 ปี หลงั จากลาสิกขาบท สุนทรภไู่ ด้รบั พระอุปถัมภจ์ ากเจ้าฟ้าน้อย หรอื สมเด็จ เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรงั สรรค์ รบั ราชการสนองพระเดชพระคณุ ทางดา้ นงานวรรณคดี สุนทรภแู่ ตง่ เสภาพระราชพงศาวดาร บทเหก่ ลอ่ มพระบรรทม และบทละครเร่อื ง อภยั นุราช ถวาย รวมถงึ ยังแตง่ เร่อื ง พระอภยั มณี ถวายใหก้ รมหม่ืนอัปสรสุดาเทพด้วย เม่ือถงึ ปี พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา้ เจ้าอยู่หวั เสด็จสวรรคต เจ้าฟ้ามงกฎุ เสด็จขึน้ ครองราชย์ เป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั และทรงสถาปนาเจ้าฟ้าน้อยขึน้ เป็น พระบาท สมเด็จพระป่ ินเกลา้ เจ้าอยู่หวั สุนทรภจู่ ึงได้รบั แตง่ ต้งั เป็นเจ้ากรมอาลกั ษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร มีบรรดาศักด์เิ ป็น พระสุนทรโวหาร ช่วงระหวา่ งเวลานี้สุนทรภไู่ ดแ้ ตง่ นิราศเพ่ิมอีก 2 เร่อื ง คอื นิราศพระประธม และ นิราศเมืองเพชร สุนทรภพู่ ํานักอยู่ในเขตพระราชวงั เดิม ใกลห้ อน่ังของพระยามนเทียรบาล (บัว) มีหอ้ งส่วนตวั เป็นหอ้ งพักก้นั เฟ้ ียมทีเ่ รยี กช่ือกันวา่ \"หอ้ งสุนทรภ\"ู่ เช่ือว่าสุนทรภพู่ ํานักอยู่ทีน่ ี่ ตราบจนถึงแก่อนิจกรรม เม่ือปี พ.ศ. 2398 สิรริ วมอายุได้ 69 ปี 5

ทายาท สุนทรภมู่ ีบุตรชายสามคน คอื พ่อพัด เกดิ จากภรรยาคนแรกคอื แม่จัน พ่อตาบ เกดิ จากภรรยาคนทีส่ องคอื แม่น่ิม และพ่อนิล เกิดจากภรรยาทีช่ ่ือแม่ม่วง นอกจากนี้ปรากฏ ช่ือบุตรบุญธรรมอีกสองคน ช่ือพ่อกล่นั และพ่อชุบ พ่อพัดนี้เป็นลกู รกั ไดต้ ดิ สอยหอ้ ยตามสุนทรภอู่ ยู่เสมอ เม่ือคร้งั สุนทรภอู่ อกบวช พ่อพัดก็ ออกบวชดว้ ย เม่ือสุนทรภไู่ ด้มารบั ราชการกบั เจ้าฟ้าน้อย พ่อพัดก็มาพํานักอยู่ดว้ ยเช่นกัน ส่วนพ่อตาบน้ันปรากฏวา่ ไดเ้ ป็นกวีมีช่ืออยู่พอสมควร เม่ือถงึ รชั สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงตราพระราชบัญญัตนิ ามสกุลขึน้ ตระกลู ของสุนทรภไู่ ด้ใช้นามสกลุ ตอ่ มาว่า ภเู่ รอื หงส์ (บางสายสกลุ อาจเป็น ภรู่ ะหงษ์)[ตอ้ งการอ้างอิง] เร่อื งนามสกุลของสุนทรภนู่ ี้ ก.ศ. ร. กุหลาบ เคยเขียนไวใ้ นหนังสือสยามประเภท อ้างถึงผู้ถือนามสกลุ ภเู่ รอื หงส์ ทีไ่ ด้รบั บําเหน็จจากหมอสมิทเป็นคา่ พิมพ์หนังสือเร่อื ง พระอภยั มณี แตห่ นังสือของ ก.ศ.ร. กุหลาบ ไม่ เป็นทีย่ อมรบั ของราชสํานัก ดว้ ยปรากฏอยู่บ่อยคร้งั วา่ มักเขียนเร่อื งกุ เร่อื งนามสกุลของสุนทร ภจู่ ึงพลอยไม่ได้รบั การเช่ือถือไปด้วย จนกระท่ัง ศ.ผะอบ โปษะกฤษณะ ยืนยันความข้อนี้ เน่ืองจากเคยได้พบกับหลานปู่ของพ่อพัดมาดว้ ยตนเอง 6

อปุ นิสัยและทัศนคติ 1 อุปนิสัย ตาํ ราโหราศาสตรผ์ ูกดวงชะตาวนั เกิดของสุนทรภไู่ ว้เป็นดวงประเทียบ พรอ้ ม คาํ อธิบายข้างใตด้ วงชะตาว่า \"สุนทรภู่ อาลกั ษณ์ขี้เมา\" เหตุนี้จึงเป็นทีก่ ลา่ วขานกันเสมอ มาวา่ สุนทรภนู่ ี้ขี้เหลา้ นัก ในงานเขียนของสุนทรภเู่ องก็ปรากฏบรรยายถงึ ความมึนเมาอยู่ หลายคร้งั แม้จะดเู หมือนว่า สุนทรภเู่ องก็รูว้ ่าการมึนเมาสุราเป็นส่ิงไม่ดี ไดเ้ ขียนตกั เตอื นผู้ อ่านอยู่ในงานเขียนเสมอ การด่มื สุราของสุนทรภอู่ าจเป็นการด่มื เพ่ือสังสรรคแ์ ละเพ่ือ สรา้ งอารมณ์ศิลปิน ด้วยปรากฏว่าเรอื นสุนทรภมู่ ักเป็นทีค่ รกึ คร้นื ร่นื เรงิ กับหมู่เพ่ือนฝูงอยู่ เสมอ นอกจากนี้ยังเลา่ กนั ว่า เวลาทีส่ ุนทรภกู่ รมึ่ ๆ แลว้ อาจสามารถบอกกลอนใหเ้ สมียน ถงึ สองคนจดตามแทบไม่ทัน เม่ือออกบวช สุนทรภเู่ หน็ จะตอ้ งพยายามเอาชนะใจตวั เองให้ ได้ ซึ่งในท้ายทีส่ ุดก็สามารถทําได้ดี ขณะทีร่ ุง่ โรจน์ ภริ มย์อนุกลู มองว่า เร่อื งทีว่ ่าสุนทรภขู่ ี้ เมาน้ันไม่มีการบันทึกอย่างเป็นกิจจะลกั ษณะ ท้ังสุนทรภมู่ ีผลงานเขียนอยู่มาก หากเป็นคน ลมุ่ หลงในสุราคงไม่มีเวลาไปเขียนหนังสือเป็นแน่ สุนทรภมู่ ักเปรยี บการเมาเหลา้ กบั การเมารกั ชีวิตรกั ของสุนทรภดู่ จู ะไม่สม หวังเท่าทีค่ วร หลงั จากแยกทางกบั แม่จัน สุนทรภไู่ ดภ้ รรยาคนทีส่ องช่ือแม่น่ิม นอกจากนี้ แลว้ ยังปรากฏช่ือหญิงสาวมากหน้าหลายตาทีส่ ุนทรภพู่ รรณนาถึง เม่ือเดินทางไปถึงหย่อม ย่านมีช่ือเสียงคลอ้ งจองกับหญิงสาวเหลา่ น้ัน นักวจิ ารณ์หลายคนจึงบรรยายลกั ษณะนิสัย ของสุนทรภวู่ ่าเป็นคนเจ้าชู้ และบ้างยังวา่ ความเจ้าชู้นี้เองทีท่ ําใหต้ อ้ งหย่ารา้ งกบั แม่จัน ความข้อนี้เป็นจรงิ เพียงไรไม่ปรากฏ ขุนวจิ ิตรมาตราเคยคน้ ช่ือสตรที ีเ่ ข้ามาเกยี่ วพันกับ สุนทรภใู่ นงานประพันธ์ตา่ ง ๆ ของท่าน ได้ช่ือออกมากว่า 12 ช่ือ คอื จัน พลบั แช่ม แกว้ น่ิม ม่วง น้อย นกน้อย กล่นิ ง้ิว สุข ลกู จันทน์ และอ่ืน ๆ อีก ทวา่ สุนทรภเู่ องเคยปรารภถึง การพรรณนาถงึ หญิงสาวในบทประพันธ์ของตนวา่ เป็นไปเพ่ือใหไ้ ด้อรรถรสในงานประพันธ์ เท่าน้ัน จะถือเป็นจรงิ เป็นจังมิได้ อย่างไรก็ดี การบรรยายความโศกเศรา้ และอาภพั ใน ความรกั ของสุนทรภปู่ รากฏอยู่ในงานเขียนนิราศของท่านแทบทุกเร่อื ง สตรใี นดวงใจทีท่ ่าน ราํ พันถึงอยู่เสมอก็คอื แม่จัน ซึ่งเป็นรกั คร้งั แรกทีค่ งไม่อาจลมื เลอื นได้ แตน่ ่าจะมีความรกั ใครก่ บั หญิงอ่ืนอยู่บ้างประปราย และคงไม่มีจุดจบทีด่ ีนัก ใน นิราศพระประธม ซึ่งท่าน ประพันธ์ไวเ้ ม่ือมีอายุกวา่ 60 ปีแลว้ สุนทรภไู่ ดอ้ ธิษฐานไม่ขอพบกบั หญิงท้ิงสัตย์อีกตอ่ ไป 7

1 อุปนิสัยสําคญั อีกประการหนึง่ ของสุนทรภคู่ อื มีความอหงั การแ์ ละม่ันใจใน ความสามารถของตนเป็นอย่างสูง ลกั ษณะนิสัยข้อนี้ทําใหน้ ักวจิ ารณ์ใช้ในการพิจารณางาน ประพันธ์ซึ่งยังเป็นทีเ่ คลอื บแคลงอยู่ว่า เป็นผลงานของสุนทรภหู่ รอื ไม่ ความอหงั การข์ อง สุนทรภแู่ สดงออกมาอย่างชัดเจนอยู่ในงานเขียนหลายชุด และถอื เป็นวรรคทองของสุนทร ภดู่ ้วย เช่น อย่างหม่อมฉนั อันทีด่ แี ละช่ัว ถงึ ลบั ตวั แตก่ ็ช่ือเขาลอื ฉาว เป็นอาลกั ษณ์นักเลงทําเพลงยาว เขมรลาวลอื เล่อื งถงึ เมืองนคร หรอื อีกบทหนึง่ คอื หนึง่ ขอฝากปากคาํ ทําหนังสือ ใหส้ ืบช่ือช่ัวฟ้าสุธาสถาน สุนทราอาลกั ษณ์เจ้าจักรพาฬ พระทรงสารศรเี ศวตเกศกุญชร เร่อื งความอหงั การข์ องสุนทรภนู่ ี้ เลา่ กนั ว่าในบางคราวสุนทรภขู่ อแก้บทพระ นิพนธ์ของกรมหม่ืนเจษฎาบดนิ ทรต์ อ่ หน้าพระทีน่ ่ังโดยไม่มีการไว้หน้า ดว้ ยถอื วา่ ตนเป็นกวี ทีป่ รกึ ษา กลา้ แม้กระท่ังตอ่ กลอนหยอกลอ้ กับพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั โดยทีไ่ ม่ทรงถอื โกรธ แตก่ ลบั มีทิฐิของกวที ีจ่ ะเอาชนะสุนทรภใู่ หไ้ ด้ การแกก้ ลอนหน้าพระ ทีน่ ่ังนี้อาจเป็นเหตุหนึง่ ทีท่ ําใหส้ ุนทรภลู่ ว่ งเกนิ ตอ่ กรมหม่ืนเจษฎาบดนิ ทรโ์ ดยไม่ไดต้ ้งั ใจ และอาจเป็นสาเหตหุ นึง่ ทีท่ ําใหส้ ุนทรภตู่ ดั สินใจออกบวชหลงั ส้ินแผ่นดินรชั กาลที่ 2 แลว้ ก็ เป็นได้ 8

ทัศนคติ 1 สุนทรภใู่ หค้ วามสําคญั กับการศึกษาอย่างมาก และตอกยาเร่อื งการศึกษาใน วรรณคดีหลาย ๆ เร่อื ง เช่น ขุนแผนสอนพลายงามวา่ \"ลกู ผู้ชายลายมือน้ันคอื ยศ เจ้าจง อุตส่าหท์ ําสมาเสมียน\" หรอื ทีพ่ ระฤๅษีสอนสุดสาครวา่ \"รูส้ ่ิงไรไม่สู้รูว้ ชิ า รูร้ กั ษาตวั รอดเป็น ยอดดี\" โดยทีส่ ุนทรภเู่ องก็เป็นผู้สนใจใฝ่ศึกษาหาความรู้ และมีความรูก้ วา้ งขวางอย่างย่ิง เช่ือวา่ สุนทรภนู่ ่าจะรว่ มอยู่ในกลมุ่ ข้าราชการหวั กา้ วหน้าในยุคสมัยน้ัน ทีน่ ิยมวิชาความรูแ้ บบ ตะวันตก ภาษาอังกฤษ ตลอดกระท่ังแนวคดิ ยุคใหม่ทีใ่ หค้ วามสําคญั กับสตรมี ากขึน้ กว่าเดิม ส่ิงทีส่ ะท้อนแนวความคดิ ของสุนทรภอู่ อกมามากทีส่ ุดคอื งานเขียนเร่อื ง พระอภยั มณี ซึ่ง โครงเร่อื งมีความเป็นสากลมากย่ิงกวา่ วรรณคดไี ทยเร่อื งอ่ืน ๆ ตวั ละครมีความหลากหลาย ทางเช้ือชาติ ตวั ละครเอกเช่นพระอภยั มณีกบั สินสมุทรยังสามารถพูดภาษาตา่ งประเทศได้ หลายภาษา นอกจากนี้ยังเป็นวรรณคดที ีต่ วั ละครฝ่ายหญิงมีบทบาททางการเมืองอย่างสูง เช่น นางสุวรรณมาลแี ละนางละเวงวัณฬาทีส่ ามารถเป็นเจ้าครองเมืองไดเ้ อง นางวาลที ีเ่ ป็นถึงที่ ปรกึ ษากองทัพ และนางเสาวคนธ์ทีก่ ลา้ หาญถึงกับหนีงานวิวาหท์ ีต่ นไม่ปรารถนา อันผิดจาก นางในวรรณคดีไทยตามประเพณีทีเ่ คยมีมา ลกั ษณะความคดิ แบบหวั กา้ วหน้าเช่นนี้ทําให้ นิธิ เอียวศรวี งศ์ เรยี กสมญาสุนทรภู่ ว่าเป็น \"มหากวีกระฎมุ พี\" ซึ่งแสดงถงึ ชนช้ันใหม่ทีเ่ กดิ ขึน้ ในสมัยรตั นโกสินทร์ เม่ือทรพั ย์สิน เงินทองเร่มิ มีความสําคญั มากขึน้ นอกเหนือไปจากยศถาบรรดาศักด์ิ งานเขียนเชิงนิราศของ สุนทรภหู่ ลายเร่อื งสะท้อนแนวคดิ ด้านเศรษฐกจิ รวมถึงวจิ ารณ์การทํางานของข้าราชการที่ ทุจรติ คดิ สินบน ท้ังยังมีแนวคดิ เกยี่ วกบั บทบาทความสําคญั ของสตรมี ากย่ิงขึน้ ดว้ ย ไมเคลิ ไรท์ เหน็ วา่ งานเขียนเร่อื ง พระอภยั มณี ของสุนทรภู่ เป็นการควาคตคิ วามเช่ือและคา่ นิยมในมหา กาพย์โดยส้ินเชิง โดยทีต่ วั ละครเอกไม่ไดม้ ีความเป็น \"วีรบุรุษ\" อย่างสมบูรณ์แบบ ทวา่ ในตวั ละครทุก ๆ ตวั กลบั มีความดแี ละความเลวในแง่มุมตา่ ง ๆ ปะปนกันไป อย่างไรก็ดี ในท่ามกลางงานประพันธ์อันแหวกแนวลายุคลาสมัยของสุนทรภู่ ความจงรกั ภกั ดีของสุนทรภตู่ อ่ พระราชวงศ์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงตอ่ พระบาทสมเด็จพระพุทธ เลศิ หลา้ นภาลยั ก็ยังสูงลาเป็นลน้ พ้นอย่างไม่มีวนั จางหายไปแม้ในวาระสุดท้าย สุนทรภรู่ าํ พัน ถึงพระมหากรุณาธิคณุ หลายคร้งั ในงานเขียนเร่อื งตา่ ง ๆ ของท่าน ในงานประพันธ์เร่อื ง นิราศ พระประธม ซึ่งสุนทรภปู่ ระพันธ์หลงั จากลาสิกขาบท และมีอายุกว่า 60 ปีแลว้ สุนทรภเู่ รยี ก ตนเองว่าเป็น \"สุนทราอาลกั ษณ์เจ้าจักรพาฬ พระทรงสารศรเี ศวตเกศกุญชร\" กลา่ วคอื เป็น อาลกั ษณ์ของ \"พระเจ้าช้างเผือก\" อันเป็นพระสมัญญานามของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั สุนทรภไู่ ด้แสดงจิตเจตนาในความจงรกั ภกั ดอี ย่างไม่เส่ือมคลาย ปรากฏใน นิราศ ภเู ขาทอง ความวา่ \"จะสรา้ งพรตอตส่าหส์ ่งบุญถวาย ประพฤตฝิ ่ายสมถะท้ังวสา เป็น ส่ิงของฉลองคณุ มุลกิ า ขอเป็นข้าเคยี งพระบาททุกชาตไิ ป\" 9

ความรู้และทักษะ 1 เม่ือพิจารณาจากผลงานตา่ ง ๆ ของสุนทรภู่ ไม่วา่ จะเป็นงานเขียนนิราศหรอื กลอนนิยาย สุนทรภมู่ ักแทรกสุภาษิต คาํ พังเพย คาํ เปรยี บเทียบตา่ ง ๆ ทําใหท้ ราบว่าสุนทร ภนู่ ี้ไดอ้ ่านหนังสือมามาก จนสามารถนําเร่อื งราวตา่ ง ๆ ทีต่ นทราบมาแทรกเข้าไปในผล งานไดอ้ ย่างแนบเนียน เน้ือหาหลายส่วนในงานเขียนเร่อื ง พระอภยั มณี ทําใหท้ ราบว่า สุนทรภมู่ ีความรอบรูแ้ ตกฉานในสมุดภาพไตรภมู ิ ท้ังเกรด็ เลก็ เกรด็ น้อยทีน่ ํามาดัดแปลง ประดิษฐ์เข้าไวใ้ นท้องเร่อื ง เช่น การเรยี กช่ือปลาทะเลแปลก ๆ และการกลา่ วถึงตราพระ ราหู นอกจากนี้ยังมีความรอบรูใ้ นวรรณคดปี ระเทศตา่ ง ๆ เช่น จีน อาหรบั แขก ไทย ชวา เป็นตน้ นักวชิ าการโดยมากเหน็ พ้องกนั ว่า สุนทรภไู่ ด้รบั อิทธิพลจากวรรณคดจี ีนเร่อื ง ไซ่ฮ่ัน สามก๊ก วรรณคดอี าหรบั เช่น อาหรบั ราตรี รวมถงึ เกรด็ คมั ภรี ไ์ บเบิล เร่อื งของหมอ สอนศาสนา ตาํ นานเมืองแอตแลนตสิ ซึ่งสะท้อนใหเ้ หน็ อิทธิพลเหลา่ นี้อยู่ในผลงานเร่อื ง พระอภยั มณี มากทีส่ ุด สุนทรภยู่ ังมีความรูด้ ้านดาราศาสตร์ หรอื การดดู าว โดยทีส่ ัมพันธ์กับความรู้ ด้านโหราศาสตร์ ด้วยปรากฏว่าสุนทรภเู่ อ่ยถงึ ช่ือดวงดาวตา่ ง ๆ ด้วยภาษาโหร เช่น ดาว เรอื ไชยหรอื ดาวสําเภาทอง ดาวธง ดาวโลง ดาวกา ดาวหามผี ท้ังยังบรรยายถงึ คาํ ทํานาย โบราโบราณ เช่น \"แม้นดาวกามาใกลใ้ นมนษุ ย์ จะม้วยมุดมรณาเป็นหา่ โหงดังนี้เป็นตน้ การทีส่ ุนทรภมู่ ีความรอบรูม้ ากมายและรอบด้านเช่นนี้ สันนิษฐานวา่ สุนทรภู่ น่าจะสามารถเข้าถงึ แหลง่ ข้อมูลดา้ นเอกสารสําคญั ซึ่งมีอยู่เป็นจํานวนคอ่ นข้างน้อย เน่ืองจากเป็นช่วงหลงั การเสียกรุงศรอี ยุธยาไม่นาน ท้ังนี้เน่ืองมาจากตาํ แหน่งหน้าทีก่ าร งานของสุนทรภนู่ ่ันเอง นอกจากนี้การทีส่ ุนทรภมู่ ีแนวคดิ สมัยใหม่แบบตะวนั ตก จนได้ สมญาวา่ เป็น \"มหากวกี ระฎมุ พี\" ย่อมมีความเป็นไปไดท้ ีส่ ุนทรภซู่ ึ่งมีพ้ืนอุปนิสัยใจคอ กวา้ งขวางชอบคบคนมาก น่าจะไดร้ ูจ้ ักมักจีก่ บั ชาวตา่ งประเทศและพ่อคา้ ชาวตะวนั ตก ปราโมทย์ ทัศนาสุวรรณ เหน็ ว่าบางทีสุนทรภอู่ าจจะพูดภาษาอังกฤษได้ก็เป็นได้ อันเป็น ทีม่ าของการทีพ่ ระอภยั มณีและสินสมุทรสามารถพูดภาษาตา่ งประเทศไดห้ ลายภาษา รวม ถงึ เร่อื งราวโพ้นทะเลและช่ือดินแดนตา่ ง ๆ ทีเ่ หลา่ นักเดนิ เรอื น่าจะเลา่ ใหส้ ุนทรภฟู่ ัง แตไ่ ม่ว่าสุนทรภจู่ ะได้รบั ข้อมูลโพ้นทะเลจากเหลา่ สหายของเขาหรอื ไม่ สุนทร ภกู่ ็ยังพรรณนาถงึ เร่อื งลายุคลาสมัยมากมายทีแ่ สดงถึงจินตนาการของเขาเอง อันเป็นส่ิงที่ ยังไม่ไดป้ รากฏหรอื สําเรจ็ ขึน้ ในยุคสมัยน้ัน เช่น ในผลงานเร่อื ง พระอภยั มณี มีเรอื เดิน สมุทรขนาดใหญ่ทีส่ ามารถปลกู ตกึ ปลกู สวนไว้บนเรอื ได้ นางละเวงมีหบี เสียงทีเ่ ลน่ ไดเ้ อง (ด้วยไฟฟ้า) หรอื เรอื สะเทินนาสะเทินบกของพราหมณ์โมรา 10

1 สุนทรภไู่ ดร้ บั ยกย่องว่าเป็นจินตกวีทีม่ ีช่ือเสียงผู้หนึง่ แหง่ ยุคสมัย ปรากฏ เน้ือความยืนยันอยู่ในหนังสือ ประวัตสิ ุนทรภู่ ของพระยาปรยิ ัตธิ รรมธาดา (แพ ตาละ ลกั ษมณ์) ความว่า \"...ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั น้ัน ฝ่ายจินตกวีมีช่ือ คอื หมายเอาสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หวั เป็นประธานแลว้ มีท่านทีไ่ ด้รูเ้ ร่อื งราวในทางนี้กลา่ ววา่ พระองคม์ ีเอตทัคคสาวกในการสโมสรกาพย์กลอนโคลงฉัณท์อยู่ ๖ นาย คอื พระบาทสมเด็จ พระน่ังเกลา้ ฯ ๑ ท่านสุนทรภู่ ๑ นายทรงใจภกั ด์ิ ๑ พระยาพจนาพิมล (วันรตั ทองอยู่) ๑ กรม ขุนศรสี ุนทร ๑ พระนายไวย ๑ ภายหลงั เป็นพระยากรุง (ช่ือเผือก) ๑ ในหกท่านนี้แล ไดร้ บั ตน้ ประชันแข่งขันกันอยู่เสมอ...\" ทักษะอีกประการหนึง่ ของสุนทรภไู่ ด้แก่ ความเชี่ยวชํานาญในการเลอื กใช้ถ้อยคาํ อย่างเหมาะสมเพ่ือใช้พรรณนาเน้ือความในกวนี ิพนธ์ของตน โดยเฉพาะในงานประพันธ์ ประเภทนิราศ ทําใหผ้ ู้อ่านแลเหน็ ภาพหรอื ได้ยินเสียงราวกับได้รว่ มเดินทางไปกับผู้ประพันธ์ ดว้ ย สุนทรภยู่ ังมีไหวพรบิ ปฏภิ าณในการประพันธ์ กลา่ วไดว้ า่ ไม่เคยจนถอ้ ยคาํ ทีจ่ ะใช้ เลา่ วา่ คร้งั หนึง่ เม่ือภกิ ษุภอู่ อกจารกิ จอดเรอื อยู่ มีชาวบ้านนําภตั ตาหารจะมาถวาย แตว่ ่าคาํ ถวายไม่ เป็น ภกิ ษุภจู่ ึงสอนชาวบ้านใหว้ า่ คาํ ถวายเป็นกลอนตามส่ิงของทีจ่ ะถวายว่า \"อิมัสมิงรมิ ฝ่ัง อิมังปลารา้ ก้งุ แหง้ แตงกวา อีกปลาดกุ ย่าง ช่อมะกอกดอกมะปราง เน้ือย่างยํามะดนั ข้าวสุก คอ่ นขัน นามันขวดหนึง่ นาผึง้ ครงึ่ โถ ส้มโอแช่อ่ิม ทับทิมสองผล เป็นยอดกุศล สังฆัสสะ เทมิ\" อันว่า \"กวี\" น้ันแบ่งได้เป็น 4 จําพวก คอื จินตกวี ผู้แตง่ โดยความคดิ ของตน สุตกวี ผู้แตง่ ตามทีไ่ ดย้ ินได้ฟังมา อรรถกวี ผู้แตง่ ตามเหตกุ ารณ์ทีเ่ กดิ ขึน้ จรงิ และ ปฏภิ าณกวี ผู้มีความสามารถใช้ปฏภิ าณแตง่ กลอนสด เม่ือพิจารณาจากความรูแ้ ละทักษะท้ังปวงของ สุนทรภู่ อาจลงความเหน็ ไดว้ ่า สุนทรภเู่ ป็นมหากวเี อกทีม่ ีความสามารถครบท้ัง 4 ประการ อย่างแท้จรงิ 11

การสร้างวรรณกรรม 1 งานประพันธ์วรรณคดีในยุคก่อนหน้าสุนทรภู่ คอื ยุคอยุธยาตอนปลาย ยัง เป็นวรรณกรรมสําหรบั ชนช้ันสูง ได้แก่ราชสํานักและขุนนาง เป็นวรรณกรรมทีส่ รา้ งขึน้ เพ่ือการอ่านและเพ่ือความรูห้ รอื พิธีการ เช่น กาพย์มหาชาติ หรอื พระมาลยั คาํ หลวง ทวา่ งานของสุนทรภเู่ ป็นการปฏวิ ัตกิ ารสรา้ งวรรณกรรมแหง่ ยุครตั นโกสินทร์ คอื เป็น วรรณกรรมสําหรบั คนท่ัวไป เป็นวรรณกรรมสําหรบั การฟังและความบันเทิง เหน็ ไดจ้ าก งานเขียนนิราศเร่อื งแรกคอื นิราศเมืองแกลง มีทีร่ ะบุไว้ในตอนท้ายของนิราศวา่ แตง่ มา ฝากแม่จัน รวมถงึ ใน นิราศพระบาท และ นิราศภเู ขาทอง ซึ่งมีถ้อยคาํ ส่ือสารกับผู้อ่าน อย่างชัดเจน วรรณกรรมเหลา่ นี้ไม่ใช่วรรณกรรมสําหรบั การศึกษา และไม่ใช่สําหรบั พิธีการ สําหรบั วรรณกรรมทีส่ รา้ งขึน้ โดยหน้าทีต่ ามทีไ่ ดร้ บั พระบรมราชโองการ มี ปรากฏถงึ ปัจจุบันไดแ้ ก่ เสภาเร่อื งขุนช้างขุนแผน ตอน กําเนิดพลายงาม ในสมัยรชั กาล ที่ 2 และ เสภาพระราชพงศาวดาร ในสมัยรชั กาลที่ 4 ส่วนทีแ่ ตง่ ขึน้ เพ่ือถวายแดอ่ งค์ อุปถัมภ์ ไดแ้ ก่ สิงหไตรภพ เพลงยาวถวายโอวาท สวัสดิรกั ษา บทเหก่ ลอ่ มพระบรรทม และ บทละครเร่อื ง อภยั นุราช งานประพันธ์ของสุนทรภเู่ กอื บท้ังหมดเป็นกลอนสุภาพ ยกเวน้ พระไชย สุรยิ า ทีป่ ระพันธ์เป็นกาพย์ และ นิราศสุพรรณ ทีป่ ระพันธ์เป็นโคลง ผลงานส่วนใหญ่ของ สุนทรภเู่ กิดขึน้ ในขณะตกยาก คอื เม่ือออกบวชเป็นภกิ ษุและเดนิ ทางจารกิ ไปท่ัวประเทศ สุนทรภนู่ ่าจะไดบ้ ันทึกการเดินทางของตนเอาไว้เป็นนิราศตา่ ง ๆ จํานวนมาก แต่ หลงเหลอื ปรากฏมาถงึ ปัจจุบันเพียง 9 เร่อื งเท่าน้ัน เพราะงานเขียนส่วนใหญ่ของสุนทรภู่ ถูกปลวกทําลายไปเสียเกอื บหมดเม่ือคร้งั จําพรรษาอยู่ทีว่ ัดเทพธิดาราม 12

แนวทางการประพันธ์ 1 สุนทรภชู่ ํานาญงานประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพอย่างวเิ ศษ ไดร้ เิ ร่มิ การใช้ กลอนสุภาพมาแตง่ กลอนนิทาน โดยมี โคบุตร เป็นเร่อื งแรก ซึ่งแตเ่ ดมิ มากลอนนิทาน เท่าทีป่ รากฏมาแตค่ ร้งั กรุงศรอี ยุธยาลว้ นแตเ่ ป็นกลอนกาพย์ท้ังส้ิน นายเจือ สตะเวทิน ได้กลา่ วยกย่องสุนทรภใู่ นการรเิ ร่มิ ใช้กลอนสุภาพบรรยายเร่อื งราวเป็นนิทานว่า \"ท่าน สุนทรภู่ ไดเ้ ร่มิ ศักราชใหม่แหง่ การกวขี องเมืองไทย โดยสรา้ งโคบุตรขึน้ ด้วยกลอนสุภาพ นับต้งั แตเ่ ดิมมา เร่อื งนิทานมักเขียนเป็นลลิ ติ ฉนั ท์ หรอื กาพย์ สุนทรภเู่ ป็นคนแรกทีเ่ สนอ ศิลปะของกลอนสุภาพ ในการสรา้ งนิทานประโลมโลก และก็เป็นผลสําเรจ็ โคบุตรกลาย เป็นวรรณกรรมแบบฉบับทีน่ ักแตง่ กลอนท้ังหลายถือเป็นครู นับได้วา่ โคบุตรมีส่วนสําคญั ย่ิงในประวัตวิ รรณคดีของชาตไิ ทย สุนทรภยู่ ังไดป้ ฏวิ ัตขิ นบการประพันธ์นิราศดว้ ย ดว้ ยแตเ่ ดมิ มาขนบการ เขียนนิราศยังนิยมเขียนเป็นโคลง ลกั ษณะการประพันธ์แบบเพลงยาว (คอื การประพันธ์ กลอน) ยังไม่เรยี กวา่ นิราศ แม้นิราศรบพม่าทีท่ ่าดินแดง เดิมก็เรยี กวา่ เป็นเพลงยาว จดหมายเหตุ มาเปลยี่ นการเรยี กเป็นนิราศในช้ันหลงั สุนทรภเู่ ป็นผู้รเิ ร่มิ การแตง่ กลอน นิราศเป็นคนแรกและทําใหก้ ลอนนิราศเป็นทีน่ ิยมแพรห่ ลาย โดยการนํารูปแบบของ เพลงยาวจดหมายเหตมุ าผสมกับคาํ ประพันธ์ประเภทกาํ สรวล กลวิธีการประพันธ์ที่ พรรณนาความระหว่างเส้นการเดนิ ทางกับประสบการณ์ตา่ ง ๆ ในชีวิตก็เป็นลกั ษณะ เฉพาะของสุนทรภู่ ซึ่งผู้อ่ืนจะประพันธ์ในแนวทางเดยี วกันนี้ใหไ้ ด้ใจความไพเราะและ จับใจเท่าสุนทรภกู่ ็ยังยาก มิใช่แตเ่ พียงฝีมือกลอนเท่าน้ัน ทว่าประสบการณ์ของผู้ ประพันธ์จะเทียบกบั สุนทรภกู่ ็มิได้ ด้วยเหตนุ ี้กลอนนิราศของสุนทรภจู่ ึงโดดเดน่ เป็นที่ รูจ้ ักย่ิงกวา่ กลอนนิราศของผู้ใด และเป็นตน้ แบบของการแตง่ นิราศในเวลาตอ่ มา อย่างไรก็ดี นอกเหนือจากงานกลอน สุนทรภกู่ ็มีงานประพันธ์ในรูปแบบอ่ืน อีก เช่น พระไชยสุรยิ า ทีป่ ระพันธ์เป็นกาพย์ท้ังหมด ประกอบดว้ ยกาพย์ยานี กาพย์ฉบัง และกาพย์สุรางคนางค์ ส่วน นิราศสุพรรณ เป็นนิราศเพียงเร่อื งเดียวทีแ่ ตง่ เป็นโคลง ชะรอยจะแตง่ เพ่ือลบคาํ สบประมาทว่าแตง่ ไดแ้ ตเ่ พียงกลอน แตก่ ารแตง่ โคลงคงจะไม่ ถนัด เพราะไม่ปรากฏว่าสุนทรภแู่ ตง่ กวนี ิพนธ์เร่อื งอ่ืนใดด้วยโคลงอีก 13

1 วรรณกรรมอันเป็นทีเ่ คลอื บแคลง ในอดีตเคยมีความเข้าใจกันวา่ สุนทรภเู่ ป็นผู้แตง่ นิราศพระแท่นดงรงั แต่ ตอ่ มา ธนิต อยู่โพธ์ิ ผู้เชี่ยวชาญวรรณคดไี ทยและอดีตอธิบดกี รมศิลปากร ไดแ้ สดง หลกั ฐานวเิ คราะหว์ า่ สํานวนการแตง่ นิราศพระแท่นดงรงั ไม่น่าจะใช่ของสุนทรภู่ เม่ือ พิจารณาประกอบกับเน้ือความ เปรยี บเทียบกับเหตกุ ารณ์ในชีวิตของสุนทรภู่ และ กระบวนสํานวนกลอนแลว้ จึงสรุปไดว้ ่า ผู้แตง่ นิราศพระแท่นดงรงั คอื นายมี หรอื เสมียนมี หม่ืนพรหมสมพักสร ผู้แตง่ นิราศถลาง วรรณกรรมอีกช้ินหนึง่ ทีค่ าดวา่ ไม่ใช่ฝีมือแตง่ ของสุนทรภู่ คอื สุภาษิตสอน หญิง แตน่ ่าจะเป็นผลงานของนายภู่ จุลละภมร ซึ่งเป็นศิษย์ เน่ืองจากงานเขียนของ สุนทรภฉู่ บับอ่ืน ๆ ไม่เคยขึน้ ตน้ ด้วยการไหว้ครู ซึ่งแตกตา่ งจากสุภาษิตสอนหญิงฉบับนี้ นอกจากนี้ยังมีวรรณกรรมอ่ืน ๆ ทีส่ งสัยวา่ อาจจะเป็นผลงานของสุนทรภู่ ไดแ้ ก่ เพลงยาวสุภาษิตโลกนิติ ตาํ รายาอัฐกาล (ตาํ ราบอกฤกษ์ยามเดินทาง) สุบินนิมิต คาํ กลอน และตาํ ราเศษนารี 14

การตพี ิมพ์ เผยแพร่ และดัดแปลงผลงาน 1 ในยุคสมัยของสุนทรภู่ การเผยแพรง่ านเขียนจะเป็นไปไดโ้ ดยการคดั ลอก สมุดไทย ซึ่งผู้คดั ลอกจ่ายคา่ เร่อื งใหแ้ ก่ผู้ประพันธ์ ดงั ทีส่ มเด็จฯ กรมพระยาดํารง ราชานุภาพได้สันนิษฐานไวว้ า่ สุนทรภแู่ ตง่ เร่อื ง พระอภยั มณี ขายเพ่ือเลยี้ งชีพ ดังนี้จึง ปรากฏงานเขียนของสุนทรภทู่ ีเ่ ป็นฉบับคดั ลอกปรากฏตามทีต่ า่ ง ๆ หลายแหง่ จนกระท่ัง ถึงช่วงวยั ชราของสุนทรภู่ การพิมพ์จึงเร่มิ เข้ามายังประเทศไทย โดยมีสมเด็จฯ เจ้าฟ้า มงกฎุ ทรงใหก้ ารสนับสนนุ โรงพิมพ์ในยุคแรกเป็นโรงพิมพ์หลวง ตพี ิมพ์หนังสือราชการ เท่าน้ัน ส่วนโรงพิมพ์ทีพ่ ิมพ์หนังสือท่ัวไปเร่มิ ขึน้ ในช่วงตน้ พุทธศตวรรษที่ 25 (ต้งั แต่ พ.ศ. 2401 เป็นตน้ ไป) โรงพิมพ์ของหมอสมิททีบ่ างคอแหลม เป็นผู้นําผลงานของสุนทรภไู่ ปตี พิมพ์เป็นคร้งั แรกเม่ือ พ.ศ. 2413 คอื เร่อื ง พระอภยั มณี ซึ่งเป็นทีน่ ิยมอย่างสูง ขายดี มากจนหมอสมิทสามารถทํารายไดส้ ูงขนาดสรา้ งตกึ เป็นของตวั เองได้ หลงั จากน้ันหมอ สมิทและเจ้าของโรงพิมพ์อ่ืน ๆ ก็พากนั หาผลงานเร่อื งอ่ืนของสุนทรภมู่ าตพี ิมพ์จําหน่าย ซาอีกหลายคร้งั ผลงานของสุนทรภไู่ ด้ตพี ิมพ์ในสมัยรชั กาลที่ 5 จนหมดทุกเร่อื ง แสดง ถงึ ความนิยมเป็นอย่างมาก สําหรบั เสภาเร่อื ง พระราชพงศาวดาร กบั เพลงยาวถวาย โอวาท ไดต้ พี ิมพ์เท่าทีจ่ ํากันได้ เพราะตน้ ฉบับสูญหาย จนกระท่ังตอ่ มาได้ตน้ ฉบับครบ บรบิ ูรณ์จึงพิมพ์ใหม่ตลอดเร่อื งในสมัยรชั กาลที่ 6 15

การแปลผลงานเป็นภาษาอ่ืน 1 ผลงานของสุนทรภไู่ ด้รบั การแปลเป็นภาษาตา่ ง ๆ ดงั นี้ • ภาษาไทยถ่นิ เหนือ : พญาพรหมโวหาร กวเี อกของลา้ นนาแปล พระอภยั มณีคาํ กลอน เป็นคา่ วซอตามความประสงคข์ องเจ้าแม่ทิพเกสร แตไ่ ม่จบเร่อื ง ถงึ แคต่ อนทีศ่ รี สุวรรณอภเิ ษกกับนางเกษรา • ภาษาเขมร : ผลงานของสุนทรภทู่ ีแ่ ปลเป็นภาษาเขมรมีสามเร่อื งคอื - พระอภยั มณี ไม่ปรากฏช่ือผู้แปล แปลถึงแคต่ อนทีน่ างผีเส้ือสมุทรลกั พระอภยั มณีไปไว้ในถาเท่าน้ัน - ลกั ษณวงศ์ แปลโดย ออกญาปัญญาธิบดี (แยม) - สุภาษิตสอนหญิง หรอื สุภาษิตฉบับสตรี แปลโดยออกญาสุตตนั ตปรชี า (อินทร)์ • ภาษาอังกฤษ : ผลงานของสุนทรภทู่ ีแ่ ปลเป็นภาษาอังกฤษไดแ้ ก่ - พระวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าเปรมบุรฉัตร ทรงแปลเร่อื ง พระอภยั มณี เป็นภาษาอังกฤษท้ังเร่อื ง เม่ือปี พ.ศ. 2495 - นิราศเมืองเพชร ฉบับไทย-อังกฤษ เป็นหนังสือฉบับพกพาสองภาษา ไทย-อังกฤษ แปลเป็นภาษาอังกฤษโดยเสาวณีย์ นิวาศะบุตร พิมพ์คร้งั แรกในเดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2556 จัดจําหน่ายโดยบรษิ ัทเคลด็ ไทย จํากัด 16

งานดัดแปลง 1 ละคร มีการนํากลอนนิทานเร่อื ง สิงหไตรภพ มาดัดแปลงเป็นละครหลายคร้งั โดยมากมักเปลยี่ นช่ือเป็น สิงหไกรภพ โดยเป็นละครโทรทัศน์แนวจักร ๆ วงศ์ ๆ และ ละครเพลงรว่ มสมัยโดยภทั ราวดเี ธียเตอร์ นอกจากนี้มีเร่อื ง ลกั ษณวงศ์ และพระอภยั มณี ทีม่ ีการนําเน้ือหาบางส่วนมาดัดแปลง ตอนทีน่ ิยมนํามาดดั แปลงมากทีส่ ุดคอื เร่อื ง ของสุดสาคร ลกั ษณวงศ์ ยังได้นําไปแสดงเป็นละครนอก โดยศูนย์ศิลปวฒั นธรรมแหง่ ชาตภิ าคตะวนั ตก จังหวดั สุพรรณบุรี ในปี พ.ศ. 2552 มีกําหนดการแสดงหลายรอบใน เดือนพฤศจิกายน ภาพยนตร์ • พ.ศ. 2509 ภาพยนตร์ พระอภยั มณี ฉบับของ ครูรงั สี ทัศนพยัคฆ์ นําแสดงโดย มิตร ชัยบัญชา - เพชรา เชาวราษฎร์ • พ.ศ. 2522 ภาพยนตรก์ ารต์ ูน \"สุดสาคร\" ผลงานสรา้ งของ ปยุต เงา กระจ่าง • พ.ศ. 2545 ภาพยนตร์ พระอภยั มณี ผลติ โดย ซอฟตแ์ วร์ ซัพพลายส์ อินเตอรเ์ นช่ัลแนล กาํ กบั โดย ชลทั ศรวี รรณา จับความต้งั แตเ่ ร่มิ เร่อื ง ไปจนถึงตอน นางเงือกพาพระอภยั มณีหนีจากนางผีเส้ือสมุทร และพระอภยั มณีเป่าป่ ีสังหารนาง • พ.ศ. 2549 โมโนฟิลม์ ได้สรา้ งภาพยนตรจ์ ากเร่อื ง พระอภยั มณี เร่อื ง สุดสาคร โดยจับความต้งั แตก่ าํ เนิดสุดสาคร จนส้ินสุดทีก่ ารเดินทางออกจากเมืองการะ เวกเพ่ือตดิ ตามหาพระอภยั มณี • พ.ศ. 2549 ภาพยนตรก์ ารต์ นู เร่อื ง สิงหไกรภพ ความยาว 40 นาที 17

1 เพลง บทประพันธ์จากเร่อื ง พระอภยั มณี ตอน พระอภยั มณีเกยี้ วนางละเวง ได้นําไป ดัดแปลงเล็กน้อยกลายเป็นเพลง \"คาํ ม่ันสัญญา\" ประพันธ์ทํานองโดย สุรพล แสงเอก บันทึกเสียงคร้งั แรกโดย ปรชี า บุญยเกยี รติ ใจความดงั นี้ ถึงม้วยดินส้ินฟ้ามหาสมุทร ไม่ส้ินสุดความรกั สมัครสมาน แม้อยู่ในใตห้ ลา้ สุธาธาร ขอพบพานพิศวาสไม่คลาดคลา แม้เน้ือเย็นเป็นหว้ งมหรรณพ พี่ขอพบศรสี วัสด์เิ ป็นมัจฉา แม้เป็นบัวตวั พี่เป็นภมุ รา เชยผกาโกสุมปทุมทอง แม้เป็นถาอําไพใครเ่ ป็นหงส์ จะรอ่ นลงสิงสู่เป็นคสู่ อง ขอตดิ ตามทรามสงวนนวลละออง เป็นคคู่ รองพิศวาสทุกชาตไิ ป... อีกเพลงหนึง่ คอื เพลง \"รสตาล\" ของครูเอ้ือ สุนทรสนาน คาํ รอ้ งโดยสุรพล โทณะ วนิก ซึ่งใช้นามปากกาว่า วังสันต์ ได้แรงบันดาลใจจากบทกลอนของสุนทรภู่ เร่อื ง นิราศพระบาท เน้ือหาดงั นี้ เจ้าของตาลรกั หวานขึน้ ปีนตน้ เพราะด้นั ด้นอยากล้มิ ชิมรสหวาน คร้นั ไดร้ สสดสาวจากจาวตาล ย่อมซาบซ่านหวานซึ้งตรงึ ถงึ ทรวง ไหนจะยอมใหเ้ จ้าหลน่ ลงเจ็บอก เพราะอยากวกขึน้ ล้นิ ชิมของหวง อันรสตาลหวานละม้ายคลา้ ยพุ่มพวง พี่เจ็บทรวงชาอกเหมือนตกตาล หนังสือและการต์ นู งานเขียนของสุนทรภโู่ ดยเฉพาะกลอนนิทานเร่อื งพระอภยั มณี จะถูกนํามา เรยี บเรยี งเขียนใหม่โดยนักเขียนจํานวนมาก เช่น พระอภยั มณีฉบับรอ้ ยแก้ว ของเปรม เสรี หรอื หนังสือการต์ นู อภยั มณีซากา้ อีกเร่อื งหนึง่ ทีม่ ีการนํามาสรา้ งใหม่เป็นหนังสือ การต์ นู คอื สิงหไตรภพ ในหนังสือ ศึกอัศจรรย์สิงหไกรภพ ทีเ่ ขียนใหม่เป็นการต์ ูน แนวมังงะ 18

ช่ือเสียงและคาํ วิจารณ์ 1 สุนทรภนู่ ับเป็นผู้มีบทบาทสําคญั ในการสรา้ งวรรณคดีประเภทรอ้ ยกรอง หรอื \"กลอน\" ใหเ้ ป็นทีน่ ิยมแพรห่ ลาย ท้ังยังวางจังหวะวธิ ีในการประพันธ์แบบใหม่ใหแ้ กก่ ารแตง่ กลอนสุภาพด้วย เนาวรตั น์ พงษ์ไพบูลย์ กวีรตั นโกสินทร์ ยกย่องความสามารถของสุนทรภู่ วา่ \"พระคณุ ครูศักด์สิ ิทธ์ิคดิ สรา้ งสรรค์ ครูสรา้ งคาํ แปดคาํ ใหส้ ําคญั \" สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพ ทรงพระนิพนธ์ไว้ใน หนังสือ \"ประวตั สิ ุนทรภ\"ู่ วา่ ด้วยเกียรตคิ ณุ ของสุนทรภวู่ ่า \"ถา้ จะลองใหเ้ ลอื กกวีไทย บรรดาทีม่ ีช่ือเสียงปรากฏมาในพงศาวดารคดั เอาแตท่ ีว่ เิ ศษสุดเพียง 5 คน ใคร ๆ เลอื กก็ เหน็ จะเอาช่ือสุนทรภไู่ ว้ในกวหี า้ คนน้ันดว้ ย\" เปล้อื ง ณ นคร ไดร้ วบรวมประวตั วิ รรณคดไี ทย ในยุคสมัยตา่ ง ๆ นับแตส่ มัยสุโขทัยไปจนถงึ สมัยรฐั ธรรมนญู (คอื สมัยปัจจุบันในเวลาที่ ประพันธ์) โดยไดย้ กย่องว่า \"สมัยพุทธเลศิ หลา้ เป็นจุดยอดแหง่ วรรณคดปี ระเภท กาพย์กลอน ตอ่ จากสมัยนี้ระดบั แหง่ กาพย์กลอนก็ตาลงทุกที จนอาจกลา่ วได้ว่า เราไม่มี หวังอีกแลว้ ทีจ่ ะได้คาํ กลอนอย่างเสภาเร่อื งขุนช้างขุนแผน และเร่อื งพระอภยั มณี\" โดยทีใ่ น สมัยดงั กลา่ วมีสุนทรภเู่ ป็น \"บรมครูทางกลอนแปดและกวีเอก\" ซึ่งสรา้ งผลงานอันเป็นทีร่ ูจ้ ัก และนิยมแพรห่ ลายในหมู่ประชาชน ท้ังนี้เน่ืองจากกวนี ิพนธ์ในยุคก่อนมักเป็นคาํ ฉันท์หรอื ลลิ ติ ซึ่งประชาชนเข้าไม่ถงึ สุนทรภไู่ ดป้ ฏวิ ตั งิ านกวนี ิพนธ์และสรา้ งขนบการแตง่ กลอนแบบ ใหม่ขึน้ มา จนเป็นทีเ่ รยี กกนั ท่ัวไปว่า \"กลอนตลาด\" เพราะเป็นทีน่ ิยมอย่างมากในหมู่ชาว บ้านน่ันเอง นิธิ เอียวศรวี งศ์ เหน็ ว่า สุนทรภนู่ ่าจะเป็นผู้มีอิทธิพลอย่างมากในสังคม กระฎมุ พีช่วงตน้ รตั นโกสินทร์ กระฎมุ พีเหลา่ นี้ลว้ นเป็นผู้เสพผลงานของสุนทรภู่ และเหน็ สาเหตุหนึง่ ทีผ่ ลงานของสุนทรภไู่ ด้รบั การตอบรบั เป็นอย่างดีเพราะสอดคลอ้ งกบั ความคดิ ความเช่ือของผู้อ่านน่ันเอง นอกเหนือจากความนิยมในหมู่ประชาชนชาวสยาม ช่ือเสียงของสุนทรภยู่ ัง แพรไ่ ปไกลย่ิงกวา่ กวใี ด ๆ ใน เพลงยาวถวายโอวาท สุนทรภกู่ ลา่ วถงึ ตวั เองวา่ \"อย่าง หม่อมฉนั อันทีด่ แี ละช่ัว ถึงลบั ตวั แตก่ ็ช่ือเขาลอื ฉาว เป็นอาลกั ษณ์นักเลงทําเพลงยาว เขมร ลาวลอื เล่อื งถงึ เมืองนคร\" ข้อความนี้ทําใหท้ ราบวา่ ช่ือเสียงของสุนทรภเู่ ล่อื งลอื ไปไกลนอก เขตราชอาณาจักรไทย แตไ่ ปถงึ อาณาจักรเขมรและเมืองนครศรธี รรมราชทีเดียว คณุ วเิ ศษแหง่ ความเป็นกวขี องสุนทรภจู่ ึงอยู่ในระดบั กวเี อกของชาติ ศ.เจือ ส ตะเวทิน เอ่ยถงึ สุนทรภโู่ ดยเปรยี บเทียบกบั กวเี อกของประเทศตา่ ง ๆ วา่ \"สุนทรภมู่ ีศิลปะไม่ แพ้ลามาตนี ฮูโก หรอื บัลซัคแหง่ ฝร่งั เศส... มีจิตใจและวิญญาณสูง อาจจะเท่าเฮเนเลนอ แหง่ เยอรมนี หรอื ลโิ อปารดี และมันโซนีแหง่ อิตาล\"ี สุนทรภยู่ ังได้รบั ยกย่องว่าเป็น \"เชกส เปียรแ์ หง่ ประเทศไทย\" งานวจิ ัยทุนฟุลไบรท์-เฮย์ส ของคาเรน แอนน์ แฮมิลตนั ได้ เปรยี บเทียบสุนทรภเู่ สมือนหนึง่ เชกสเปียรห์ รอื ชอเซอรแ์ หง่ วงการวรรณกรรมไทย 19

เกยี รตคิ ณุ และอนุสรณ์ 1 บุคคลสําคญั ของโลก (ด้านวรรณกรรม) ปี พ.ศ. 2529 ในโอกาสครบรอบวันเกดิ 200 ปีของสุนทรภู่ องคก์ ารยู เนสโกไดป้ ระกาศใหส้ ุนทรภู่ เป็นบุคคลสําคญั ของโลกทางด้านวรรณกรรม นับเป็นชาวไทย คนที่ 5 และเป็นสามัญชนชาวไทยคนแรกทีไ่ ดร้ บั เกยี รตนิ ี้ ในปีน้ัน สมาคมภาษาและหนังสือ แหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภจ์ ึงได้จัดพิมพ์เผยแพรห่ นังสือ \"อนสุ รณ์สุนทรภู่ 200 ปี\" และมีการจัดต้งั สถาบันสุนทรภขู่ ึน้ เพ่ือส่งเสรมิ กจิ กรรมเกยี่ วกบั การเผยแพรช่ ีวิตและผล งานของสุนทรภใู่ หเ้ ป็นทีร่ ูจ้ ักกันอย่างกวา้ งขวางมากย่ิงขึน้ อนสุ าวรยี ์และหนุ่ ป้ัน อนสุ าวรยี ์สุนทรภทู่ ี่ วดั ศรสี ุดาราม อนสุ าวรยี ์สุนทรภแู่ หง่ แรก สรา้ งขึน้ ที่ ต. กรา อ.แกลง จ.ระยอง ซึ่งเป็นบ้านเกิดของท่านบิดาของสุนทรภู่ โดยวางศิลาฤกษ์เม่ือวนั ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2498 อันเป็นปีทีค่ รบรอบ 100 ปีการถงึ แก่อนิจกรรมของสุนทรภู่ และมี พิธีเปิดอย่างเป็นทางการเม่ือวนั ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ภายในอนสุ าวรยี ์มีหนุ่ ป้ันของ สุนทรภู่ และตวั ละครในวรรณคดเี ร่อื งเอกของท่านคอื พระอภยั มณี ทีด่ า้ นหน้าอนุสาวรยี ์มี หมุดกวี หมุดที่ 24 ปักอยู่ ยังมีอนสุ าวรยี ์สุนทรภทู่ ีจ่ ังหวัดอ่ืน ๆ อีก ได้แก่ ทีท่ ่านาหลงั วดั พลบั พลาชัย ตาํ บลคลองกระแชง อําเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งเป็นจุดทีส่ ุนทรภู่ ไดเ้ คยมาตามนิราศเมืองเพชร อันเป็นนิราศเร่อื งสุดท้ายของท่าน และเช่ือว่าเพชรบุรเี ป็นบ้า นเกิดของมารดาของท่านดว้ ย อนุสาวรยี ์อีกแหง่ หนึง่ ต้งั อยู่ทีว่ ดั ศรสี ุดาราม เน่ืองจากเป็น สถานทีท่ ีเ่ ช่ือวา่ ท่านได้เลา่ เรยี นเขียนอ่านเม่ือวยั เยาว์ทีน่ ี่ นอกจากนี้มีรูปป้ันหนุ่ ขี้ผึง้ สุนทรภู่ ตลอดจนหนุ่ ขี้ผึง้ ในวรรณคดเี ร่อื ง พระอภยั มณี จัดแสดงทีพ่ ิพิธภณั ฑ์หนุ่ ขี้ผึง้ ไทย จังหวัด นครปฐม 20

1 พิพิธภณั ฑ์ กุฏสิ ุนทรภู่ หรอื พิพิธภณั ฑ์สุนทรภู่ ต้งั อยู่ทีว่ ดั เทพธิดาราม ถ.มหาไชย กรุงเทพฯ เป็นอาคารซึ่งปรบั ปรุงจากกฏุ ทิ ีส่ ุนทรภเู่ คยอาศัยอยู่เม่ือคร้งั จําพรรษาอยู่ทีน่ ี่ ปัจจุบันเป็นทีต่ ้งั ของสมาคมนักกลอนแหง่ ประเทศไทย และมีการจัดกจิ กรรมวนั สุนทรภเู่ ป็น ประจําทุกปี วันสุนทรภู่ หลงั จากองคก์ ารยูเนสโกไดป้ ระกาศยกย่องใหส้ ุนทรภเู่ ป็นผู้มีผลงานดเี ด่นทาง วรรณกรรมระดับโลกเม่ือปี พ.ศ. 2529 ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2530 นายเสวตร เป่ ียมพงศ์สานต์ อดีตรองนายกรฐั มนตรี ได้จัดต้งั สถาบันสุนทรภขู่ ึน้ และกาํ หนดใหว้ นั ที่ 26 มิถุนายนของทุก ปี เป็น วนั สุนทรภู่ นับแตน่ ้ันทุก ๆ ปีเม่ือถงึ วันสุนทรภู่ จะมีการจัดงานราํ ลกึ ถึงสุนทรภตู่ าม สถานทีต่ า่ ง ๆ เช่น ทีพ่ ิพิธภณั ฑ์สุนทรภู่ วดั เทพธิดาราม และทีจ่ ังหวดั ระยอง (ซึ่งมักจัด พรอ้ มงานเทศกาลผลไม้จังหวดั ระยอง) รวมถงึ การประกวดแตง่ กลอน ประกวดคาํ ขวัญ และการจัดนิทรรศการเกยี่ วกับสุนทรภใู่ นโรงเรยี นตา่ ง ๆ ท่ัวประเทศ 21

รายช่ือผลงาน 1 งานประพันธ์ของสุนทรภเู่ ท่าทีม่ ีการคน้ พบในปัจจุบันมีปรากฏอยู่เพียงจํานวนหนึง่ และสูญ หายไปอีกเป็นจํานวนมาก ถึงกระน้ันตามจํานวนเท่าทีค่ น้ พบก็ถือวา่ มีปรมิ าณคอ่ นข้างมาก เรยี กไดว้ ่า สุนทรภเู่ ป็น \"นักแตง่ กลอน\" ทีส่ ามารถแตง่ กลอนได้รวดเรว็ หาตวั จับยาก ผล งานของสุนทรภเู่ ท่าทีค่ น้ พบในปัจจุบันมีดงั ตอ่ ไปนี้ นิราศ • นิราศเมืองแกลง (พ.ศ. 2349) - แตง่ เม่ือหลงั พ้นโทษจากคกุ และเดนิ ทางไป หาพ่อทีเ่ มืองแกลง • นิราศพระบาท (พ.ศ. 2350) - แตง่ หลงั จากกลบั จากเมืองแกลง และตอ้ ง ตามเสด็จพระองคเ์ จ้าปฐมวงศ์ไปนมัสการรอยพระพุทธบาททีจ่ ังหวัดสระบุรใี นวนั มาฆบูชา • นิราศภเู ขาทอง (ประมาณ พ.ศ. 2371) - แตง่ โดยสมมุตวิ ่า เณรหนูพัด เป็นผู้ แตง่ ไปนมัสการพระเจดยี ์ภเู ขาทองทีจ่ ังหวัดอยุธยา • นิราศสุพรรณ (ประมาณ พ.ศ. 2374) - แตง่ เม่ือคร้งั ยังบวชอยู่ และไปคน้ หา ยาอายุวัฒนะทีจ่ ังหวัดสุพรรณบุรี เป็นผลงานเร่อื งเดียวของสุนทรภทู่ ีแ่ ตง่ เป็นโคลง • นิราศวดั เจ้าฟ้า (ประมาณ พ.ศ. 2375) - แตง่ เม่ือคร้งั ยังบวชอยู่ และไปคน้ หายาอายุวฒั นะตามลายแทงทีว่ ัดเจ้าฟ้าอากาศ (ไม่ปรากฏวา่ ทีจ่ รงิ คอื วัดใด) ทีจ่ ังหวัด พระนครศรอี ยุธยา เทพ สุนทรศารทูลเสนอว่า นิราศดงั กลา่ วเป็นผลงานของพัด ภเู่ รอื หงส์ บุตรของสุนทรภู่ • นิราศอิเหนา (ไม่ปรากฏ, คาดวา่ เป็นสมัยรชั กาลที่ 3) - แตง่ เป็นเน้ือเร่อื ง อิเหนาราํ พันถึงนางบุษบา เทพ สุนทรศารทูลเสนอวา่ นิราศดงั กลา่ วเป็นผลงานของกรม หลวงภวู เนตรนรนิ ทรฤทธ์ิ • ราํ พันพิลาป (พ.ศ. 2385) - แตง่ เม่ือคร้งั จําพรรษาอยู่ทีว่ ัดเทพธิดาราม แลว้ เกดิ ฝันรา้ ยวา่ ชะตาขาด จึงบันทึกความฝันพรอ้ มราํ พันความอาภพั ของตวั ไวเ้ ป็น \"ราํ พัน พิลาป\" จากน้ันจึงลาสิกขาบท • นิราศพระประธม (พ.ศ. 2385) - เช่ือว่าแตง่ เม่ือหลงั จากลาสิกขาบทและเข้า รบั ราชการในพระบาทสมเด็จพระป่ ินเกลา้ เจ้าอยู่หวั ไปนมัสการพระประธมเจดยี ์ (หรอื พระ ปฐมเจดีย์) ทีเ่ มืองนครชัยศรี • นิราศเมืองเพชร (พ.ศ. 2388) - แตง่ เม่ือเข้ารบั ราชการในพระบาทสมเด็จ พระป่ ินเกลา้ เจ้าอยู่หวั เช่ือว่าไปธุระราชการอย่างใดอย่างหนึง่ นิราศเร่อื งนี้มีฉบับคน้ พบ เน้ือหาเพ่ิมเตมิ ซึ่ง อ.ลอ้ ม เพ็งแกว้ เช่ือวา่ บรรพบุรุษฝ่ายมารดาของสุนทรภเู่ ป็นชาวเมือง เพชรบุรี 22

1 นิทาน • โคบุตร : เช่ือวา่ เป็นงานประพันธ์ช้ินแรกของสุนทรภู่ เป็นเร่อื งราวของ \"โคบุตร\" ซึ่งเป็นโอรสของพระอาทิตย์กบั นางอัปสร แตเ่ ตบิ โตขึน้ มาดว้ ยการเลยี้ งดขู องนาง ราชสีห์ • พระอภยั มณี : คาดว่าเร่มิ ประพันธ์ในสมัยรชั กาลที่ 2 และแตง่ ๆ หยุด ๆ เร่อื ยมาจนถงึ สมัยรชั กาลที่ 4 เป็นผลงานช้ินเอกของสุนทรภู่ ได้รบั ยกย่องจากวรรณคดี สโมสรใหเ้ ป็นสุดยอดวรรณคดไี ทยประเภทกลอนนิทาน • พระไชยสุรยิ า : เป็นนิทานทีส่ ุนทรภแู่ ตง่ ด้วยฉนั ทลกั ษณ์ประเภทกาพย์หลาย ชนิด ไดแ้ ก่ กาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบัง 16 และกาพย์สุรางคนางค์ 28 เป็นนิทานสําหรบั สอน อ่าน เน้ือหาเรยี งลาํ ดบั ความง่ายไปยาก จากแม่ ก กา แม่กน กง กก กด กบ กม และเกย เช่ือว่าแตง่ ขึน้ ประมาณ พ.ศ. 2383 - 2385 • ลกั ษณวงศ์ : เป็นนิทานแนวจักร ๆ วงศ์ ๆ ทีน่ ําโครงเร่อื งมาจากนิทาน พ้ืนบ้าน แตม่ ีตอนจบทีแ่ ตกตา่ งไปจากนิทานท่ัวไปเพราะไม่ได้จบดว้ ยความสุข แตจ่ บด้วย งานสมโภชศพนางทิพเกสร ชายาของลกั ษณวงศ์ทีส่ ้ินชีวิตดว้ ยการส่ังประหารของลกั ษณวง ศ์เอง • สิงหไกรภพ : เช่ือว่าเร่มิ ประพันธ์เม่ือคร้งั ถวายอักษรแด่เจ้าฟ้าอาภรณ์ ภายหลงั จึงแตง่ ถวายกรมหม่ืนอัปสรสุดาเทพ และน่าจะหยุดแตง่ หลงั จากกรมหม่ืนอัปสร สุดาเทพส้ินพระชนม์ สิงหไตรภพเป็นตวั ละครเอกทีแ่ ตกตา่ งจากตวั พระในเร่อื งอ่ืน ๆ เน่ืองจากเป็นคนรกั เดยี วใจเดียว สุภาษิต • สวัสดิรกั ษา : คาดวา่ ประพันธ์ในสมัยรชั กาลที่ 2 ขณะเป็นพระอาจารย์ถวาย อักษรแดเ่ จ้าฟ้าอาภรณ์ • เพลงยาวถวายโอวาท : คาดว่าประพันธ์ในสมัยรชั กาลที่ 3 ขณะเป็นพระ อาจารย์ถวายอักษรแดเ่ จ้าฟ้ากลางและเจ้าฟ้าป๋ ิว • สุภาษิตสอนหญิง : เป็นหนึง่ ในผลงานซึ่งยังเป็นทีเ่ คลอื บแคลงวา่ สุนทรภเู่ ป็น ผู้ประพันธ์จรงิ หรอื ไม่ เทพ สุนทรศารทูลเสนอว่าน่าจะเป็นผลงานของภู่ จุลละภมร ศิษย์ ของสุนทรภเู่ อง 23

1 บทละคร มีการประพันธ์ไวเ้ พียงเร่อื งเดียวคอื อภยั นุราช ซึ่งเขียนขึน้ ในสมัยรชั กาลที่ 4 เพ่ือถวายพระองคเ์ จ้าดวงประภา พระธิดาในพระบาทสมเด็จพระป่ ินเกลา้ เจ้าอยู่หวั บทเสภา • ขุนช้างขุนแผนตอนกาํ เนิดพลายงาม • เสภาพระราชพงศาวดาร บทเหก่ ลอ่ มพระบรรทม น่าจะแตง่ ขึน้ สําหรบั ใช้ขับกลอ่ มหม่อมเจ้าในพระองคเ์ จ้าลกั ขณานุคณุ กบั พระเจ้าลกู ยาเธอในพระบาทสมเด็จพระป่ ินเกลา้ เจ้าอยู่หวั [10] เท่าทีพ่ บมี 4 เร่อื งคอื • เหเ่ ร่อื งพระอภยั มณี • เหเ่ ร่อื งโคบุตร • เหเ่ ร่อื งจับระบํา • เหเ่ ร่อื งกากี 24

เชิงอรรถ 1 1. ไมเคลิ ไรท์ เป็นผู้เชี่ยวชาญดา้ นอุษาคเนย์ศึกษา และนักเขียนประจําของนิตยสาร \"ศิลปวัฒนธรรม\" ซึ่งชํานาญด้านประวัตศิ าสตรแ์ ละภาษาศาสตร์ เป็นผู้เสนอทฤษฎเี กยี่ วกับ ศิลาจารกึ หลกั ทีห่ นึง่ วา่ ไม่ใช่มรดกจากยุคสุโขทัย 2. ตน้ ฉบับของสุนทรภู่ บาทนี้กลา่ ววา่ แม้นเป็นถาอําไพขอใหพ้ ี่ เป็นราชสีหส์ มสู่เป็นคู่ สอง 25

อา้ งองิ 1 1. กระโดดขึน้ ไป:1.0 1.1 1.2 พันธ์ุทิพย์ ธีระเนตร (26 มิถนุ ายน พ.ศ. 2558). \"เปิด เร่อื งจรงิ ′สุนทรภ′ู่ ทีค่ รูไม่เคยสอน\". มตชิ นออนไลน์. สืบคน้ เม่ือ 27 มิถนุ ายน 2558. 2. กระโดดขึน้ ไป:2.0 2.1 Thailand's Shakespeare? Sunthorn Phu 3. องค์ บรรจุน. สยามหลากเผ่าหลายพันธ์ุ. กรุงเทพฯ:มตชิ น. 2553, หน้า 129 4. องค์ บรรจุน. สยามหลากเผ่าหลายพันธ์ุ. กรุงเทพฯ:มตชิ น. 2553, หน้า 135 5. กระโดดขึน้ ไป:5.0 5.1 เปล้อื ง ณ นคร. สุนทรภคู่ รูกว.ี กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ ข้าวฟ่าง. มิถนุ ายน 2542 6. กระโดดขึน้ ไป:6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 ปราโมทย์ ทัศนาสุวรรณ. เทีย่ วไปกับสุนทรภ.ู่ กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ดอกหญ้า. มีนาคม 2540. 7. ลอ้ ม เพ็งแก้ว. โคตรญาตสิ ุนทรภู่ จาก นิตยสารศิลปวฒั นธรรม ฉบับพิเศษ มีนาคม 2529. พิมพ์รวมเลม่ ใน สุนทรภู่ - อาลกั ษณ์เจ้าจักรวาล โดยสํานักพิมพ์มตชิ น พ.ศ. 2547 8. \"วัดปะขาวคราวรุน่ รู้ เรยี นเขียน\", สุนทรภ,ู่ นิราศสุพรรณ, กรุงเทพฯ: กรม ศิลปากร 9. \"ทําสูตรสอนเสมียน สมุดน้อย เดินระวางระวังเวียน หวา่ งวดั ปะขาวนา เคยช่ืน กลนื กล่นิ สรอ้ ย สวาทหา้ งกลางสวนฯ\", สุนทรภ,ู่ นิราศสุพรรณ, กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 10. กระโดดขึน้ ไป:10.0 10.1 10.2 10.3 สมาคมภาษาและหนังสือแหง่ ประเทศไทยใน พระบรมราชูปถมั ภ,์ อนุสรณ์สุนทรภู่ ๒๐๐ ปี, กรุงเทพฯ: 2529 11. สุนทรภ,ู่ นิราศเมืองแกลง, กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 12. กระโดดขึน้ ไป:12.00 12.01 12.02 12.03 12.04 12.05 12.06 12.07 12.08 12.09 12.1012.11 12.12 12.13 12.14 12.15 12.16 สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพ, ชีวิตและงานของสุนทรภ,ู่ กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร พ.ศ. 2518 26

1 13. กระโดดขึน้ ไป:13.0 13.1 13.2 “สุนทรภ”ู่ กวีเอกของไทย และเร่อื งจรงิ ทีค่ วรรู,้ เรยี บเรยี งจากงานวจิ ัยเร่อื ง “ชีวประวตั ขิ องพระสุนทรโวหาร (ภู่ ภเู่ รอื หงส์) ” โดย เทพ สุนทรศารทูล (2533). ข่าวกระทรวงศึกษาธิการ. มิถนุ ายน 2548. 14. ปราโมทย์ ทัศนาสุวรรณ. เทีย่ วไปกบั สุนทรภ,ู่ อ้างเน้ือความจากหนังสือ สุนทรภู่ แนวใหม่ ของ ดํารง เฉลมิ วงศ์. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ดอกหญ้า. มีนาคม 2540. 15. กระโดดขึน้ ไป:15.0 15.1 เปล้อื ง ณ นคร. สุนทรภคู่ รูกวี, อ้างถึงพระนิพนธ์ของ กรมหม่ืนพิทยาลงกรณ์ ในหนังสือ สามกรุง. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ข้าวฟ่าง. มิถนุ ายน 2542 16. กระโดดขึน้ ไป:16.0 16.1 สุนทรภ.ู่ นิราศภเู ขาทอง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 17. กระโดดขึน้ ไป:17.0 17.1 ผะอบ โปษะกฤษณะ, อนุสรณ์สุนทรภู่ ๒๐๐ ปี คาํ นํา. กรุงเทพฯ: อมรนิ ทรก์ ารพิมพ์. 2529 18. ถึงสุราพารอดไม่วอดวาย ไม่ใกลก้ รายแกลง้ เมินก็เกินไป. สุนทรภ.ู่ นิราศภเู ขา ทอง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 19. อันพรกิ ไทยใบผักชีเหมือนสีกา ตอ้ งโรยหน้าเสียสักหน่อยอรอ่ ยใจ จงทราบความ ตามจรงิ ทุกส่ิงส้ิน อย่านึกนินทาแกลง้ แหนงไฉน. สุนทรภ.ู่ นิราศภเู ขาทอง. กรุงเทพฯ: กรม ศิลปากร 20. อนึง่ หญิงท้ิงสัตย์เราตดั ขาด ถึงเน้ือนาธรรมชาตไิ ม่ปรารถนา. สุนทรภ.ู่ นิราศพระ ประธม. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 21. กระโดดขึน้ ไป:21.0 21.1 สุนทรภ.ู่ เพลงยาวถวายโอวาท. กรุงเทพฯ: กรม ศิลปากร 22. สุนทรภ.ู่ นิราศพระประธม. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 23. สุนทรภ.ู่ ขุนช้างขุนแผน ตอน กําเนิดพลายงาม, ขุนแผนสอนพลายงาม. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 24. สุนทรภ.ู่ พระอภยั มณี, พระฤๅษีสอนสุดสาคร. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 27

1 25. กระโดดขึน้ ไป:25.0 25.1 25.2 25.3 25.4 25.5 25.6 25.7 นิธิ เอียวศรวี งศ์. สุนทรภ:ู่ มหากวีกระฎมุ พี. เอกสารประกอบสัมมนา ประวัตศิ าสตรส์ ังคมสมัยตน้ กรุงเทพฯ ชมรมประวัตศิ าสตรศ์ ึกษา 19 มกราคม 2524. พิมพ์รวมเลม่ ใน \"สุนทรภ:ู่ มหากวกี ระฎมุ พี\", ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มตชิ น. กรกฎาคม 2545 26. ไมเคลิ ไรท์. พระอภยั มณี วรรณกรรมบ่อนทําลายเพ่ือสรา้ งสรรคจ์ าก \"สุนทรภ:ู่ มหากวีกระฎมุ พี\", ศิลปวฒั นธรรมฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มตชิ น. กรกฎาคม 2545 27. รชั กาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั 28. กระโดดขึน้ ไป: 28.0 28.1 ทศพร วงศ์รตั น์, พระอภยั มณีมาจากไหน, กรุงเทพฯ: คอนฟอรม์ , 2550. น.12-18. 29. ประจักษ์ ประภาพิทยากร. เบ้ืองหลงั การแตง่ พระอภยั มณี. กรุงเทพฯ : สํานัก พิมพ์โอเดยี นสโตร.์ 2513. 30. ฉันทิชย์ กระแสสินธ์ุ, อนสุ รณ์สุนทรภู่ 200 ปี : สุนทรภดู่ ดู าว, สมาคมภาษาและ หนังสือแหง่ ประเทศไทย, กรุงเทพฯ: 2529 31. สุนทรภ,ู่ พระอภยั มณี ตอนที่ 18 พระอภยั มณีโดยสารเรอื อุศเรน, กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. 32. สุจิตต์ วงศ์เทศ, พระอภยั มณี มีฉากอยู่ทะเลอันดามัน อ่างเบงกอล และ มหาสมุทรอินเดีย จากหนังสือ เศรษฐกจิ -การเมือง เร่อื งสุนทรภู่ มหากวกี ระฎมุ พี, กรุงเทพฯ: มตชิ น, 2545. น.225 33. พระยาปรยิ ัตธิ รรมธาดา (แพ ตาละลกั ษมณ์), ประวตั สิ ุนทรภู่ จาก หนังสือ อนสุ รณ์ในงานฌาปนกิจ นางจันทร์ ตาละลกั ษมณ์ ๒๕๓๓, พิมพ์คร้งั ที่ 2 พ.ศ. 2533, อ้าง ถึงตน้ ฉบับลายมือ พ.ศ. 2456[1] 34. กวี 4 จําพวก จาก Lexitron Dictionary 35. \"ใครไม่ไปก็จงจําคาํ แถลง ท้ังคนฟังคนอ่านสารแสดง\" สุนทรภ.ู่ นิราศพระบาท กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 28

1 36. คดิ ขัดขวางอย่างจะพาเลอื ดตากระเด็น บันดาลเป็นปลวกปลอ่ งขึน้ หอ้ งนอน กัด เส่ือสาดขาดปรุทะลสุ มุด เสียดายสุดแสนรกั เร่อื งอักษร. สุนทรภ.ู่ ราํ พันพิลาป. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร 37. เจือ สตะเวทิน, สุนทรภ,ู่ กรุงเทพฯ: สุทธิสารการพิมพ์, 2516. น.39. อ้างจาก อนสุ รณ์สุนทรภู่ 200 ปี, กรุงเทพฯ: สมาคมภาษาและหนังสือแหง่ ประเทศไทย, 2529. น.202 38. กระโดดขึน้ ไป:38.0 38.1 ภญิ โญ ศรจี ําลอง. ความย่ิงใหญ่แหง่ วรรณคดี รตั นโกสินทร์ กรุงเทพฯ: กราฟิกเซ็นเตอร,์ 2548. 39. ธนิต อยู่โพธ์ิ, บันทึกเร่อื งผู้แตง่ นิราศดงรงั จากบทนําในหนังสือ ชีวิตและงานของ สุนทรภ,ู่ กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร พ.ศ. 2518 40. \"ประวัตกิ ารพิมพ์ไทย\" จาก สารานกุ รมสําหรบั เยาวชนฯ เลม่ 18 41. กระโดดขึน้ ไป:41.0 41.1 ศานติ ภกั ดีคาํ . \"เป็นอาลกั ษณ์นักเลงทําเพลงยาว เขมร ลาวลอื เล่อื งถงึ เมืองนคร\" ความสัมพันธ์วรรณกรรมสุนทรภกู่ ับวรรณกรรมเขมร ใน สุนทรภู่ ในประวัตศิ าสตรส์ ังคมรตั นโกสินทรม์ ุมมองใหม่: ชีวิตและผลงาน. กทม. มตชิ น. 2550. 42. พระอภยั มณี ฉบับแปลภาษาอังกฤษ โดยพระองคเ์ จ้าเปรมบุรฉัตร บนเว็บไซตอ์ เมซอนดอตคอม 43. ผลงานละครตา่ ง ๆ ของภทั ราวดีเธียเตอร์ 44. แผนการแสดงปี 2552 โรงละครแหง่ ชาตภิ าคตะวันตก จ.สุพรรณบุรี 45. \"รสตาล\" จากเว็บไซต์ บ้านคนรกั สุนทราภรณ์ 46. เจ้าของตาลรกั หวานขึน้ ปีนตน้ ระวงั ตนตนี มือระมัดม่ัน เหมือนคบคนคาํ หวาน ราํ คาญครนั ถ้าพล้งั พลนั เจ็บอกเหมือนตกตาล. สุนทรภ.ู่ นิราศพระบาท. กรุงเทพฯ : กรม ศิลปากร 47. กระโดดขึน้ ไป:47.0 47.1 47.2 เปล้อื ง ณ นคร, ประวตั วิ รรณคดไี ทย, กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานิช, 2543. 29

1 48. Karen Ann Hamilton, Sunthorn Phu (1786-1855) : the People’s Poet of Thailand (PDF), Fulbright-Hays Curriculum Project/Thailand & Laos 2003. (อังกฤษ) 49. หมุดกวีจุดที่ ๒๔ \"บ้านกรา\" 50. ลอ้ ม เพ็งแก้ว. โคตรญาตสิ ุนทรภู่ จาก นิตยสารศิลปวฒั นธรรม ฉบับพิเศษ มีนาคม 2529. พิมพ์รวมเลม่ ใน สุนทรภู่ - อาลกั ษณ์เจ้าจักรวาล โดยสํานักพิมพ์มตชิ น พ.ศ. 2547 51. วรรณศิลป์สโมสร วัดเทพธิดาราม (กุฏสิ ุนทรภ)ู่ 52. วันสุนทรภ.ู่ ชุมนมุ ครุศาสตรอ์ าสา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหาร ลาดกระบัง 53. กระโดดขึน้ ไป:53.0 53.1 53.2 \"เร่อื งทีค่ น้ พบใหม่เกยี่ วกับ \"สุนทรภ\"ู่ \". กระทรวง วัฒนธรรม. 22 สิงหาคม 2556. สืบคน้ เม่ือ 27 กมุ ภาพันธ์ 2557. แหลง่ ข้อมูลอ่ืน • กองทุนสุนทรภู่ • ประวัตพิ ระสุนทรโวหาร • ประวตั สิ ุนทรภแู่ ละเร่อื งเลา่ พระอภยั มณีเป็นภาษาอังกฤษ แปลโดย พระองคเ์ จ้าเปรมบุรฉตั ร • สมาคมนักกลอนแหง่ ประเทศไทย • ประวตั สิ ุนทรภู่ 30

คณะผู้จัดทํา 1 1. นายพัฒนา ปู่วงั ผู้อํานวยการ กศน.อ.เมืองหนองคาย ทีป่ รกึ ษา 2. นางปวรศิ า โยชน์สุวรรณ บรรณารกั ษ์ชํานาญการพิเศษ ทีป่ รกึ ษา 3. นางสาวจิราวรรณ กรมวงั กอ้ น บรรณารกั ษ์อัตราจ้างง รวบรวม / เรยี บเรยี ง