มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ ก็ไม่มีท่ีตั้ง ศีล ๕ เป็นท่ีตั้งของพระธรรม ฉะนั้น ศีล ๕ จึง สำคัญท่สี ุด ศีลธรรม ศีล ๕ ธรรม ๕ ข้อท่ี ๑ (ปำณำฯ) คู่กับเมตตำ ข้อท่ี ๒ (อทินนำฯ) คู่กับสันโดษ ข้อท่ี ๓ (กำเมฯ) คู่กับควำม สำรวมในกำม ข้อท่ี ๔ (มุสำฯ) คู่กับสัจจะ ข้อท่ี ๕ (สุรำฯ) คู่ กบั สติ จะต้องมศี ีล ๕ พระธรรมจึงจะตั้งข้ึนมาได้ ทุกวันนี้ แนวการปฏิบัติธรรมมีสองอย่าง หน่ึง สมถะ สอง วปิ ัสสนำ ที่วา่ พุทโธ ๆ ๆ หายใจเข้า-พุท ออก-โธ ทาใหใ้ จนิง่ ใน อารมณอ์ ันเดียวเรยี กวา่ สมถะ วิปสั สนา กาหนดรูปนาม เอารูป นามเปน็ อารมณ์ คือใช้ขณิกกะเป็นอารมณ์ แล้วกต็ อ้ งฝึกสติ ตอ้ งมีสติ เอาสตเิ ปน็ หลัก ...ต้องบรโิ ภคด้วยสติ ต้องมีสติ เดินก็มีสติ นั่งก็มีสติ นอนก็มีสติ คู้เหยียดก็ต้องมีสติ เอำสติเป็นหลัก พยายามฝึกสติไว้ให้มาก ๆ หน่อย เพราะสตินี่ สาคัญที่สุด สติ เตส นิวำรณ สติเป็นเครื่องก้ันกระแส กระแส โลภ โกรธ หลง คาสอนของพระพุทธเจ้านี้ มี อำคำริยวินัย กับ อนำคำริยวินัย อาคาริยวินัยก็ศีล ๕ ที่เราสมาทานกันทุกวัน ๆ นี้ อนาคาริย วินัยก็ศีล ๘ ศีลแปลว่ำ ปกติ ปกติแล้วคนเรำไม่ฆ่ำกัน ไม่เบียดเบียนกัน ไมฆ่ ำ่ ไมล่ ักทรพั ย์ ไมป่ ระพฤติผดิ ในกำม ไม่พดู เท็จ ไมด่ มื่ สรุ ำ เมรยั นี่คือปกติ ถำ้ ใครไปลว่ งศลี ๕ นี่ผิดปกติ เรยี กวำ่ ไมม่ ศี ีล ถ้าใครมีศลี กค็ ือมีปกติ เรยี กว่ามนุษย์ธรรม ความเป็นมนษุ ย์ ถำ้ ๙๗
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ ขำดควำมเป็นมนุษย์ ธรรมะก็ต้ังอยู่ไม่ได้ บ้ำนเมืองก็ เดือดรอ้ น ถา้ ใครมศี ลี ก็คือมีปกติ เรยี กว่ามนุษยธ์ รรม ความเป็นมนษุ ย์ ถำ้ ขำดควำมเป็นมนุษย์ ธรรมะก็ตั้งอยู่ไม่ได้ บ้ำนเมืองก็ เดอื ดร้อน ทา่ นพุทธทาสไดก้ ล่าวไว้ว่า “ศีลธรรมไมก่ ลบั มา โลกาจะวนิ าศ” อันน้ีก็เหมือนกัน ศีลธรรมไม่กลับมา โลกาจะวินาศ ธรรมดา ธรรมชาตกิ ็ลงโทษเหน็ มั้ยทุกวันน้ี น้าทว่ ม ไฟไหม้ ทุกอยา่ ง มนั เกดิ จากการขาดศีลขาดธรรมนแี่ หละ ทีนี้จะทาอย่างไรล่ะเรา พยายามทาตัวให้ดี เอำกำยน้ีเป็นหลัก นะ เบื้องบนแต่พ้ืนเท้ำขึ้นมำ เบ้ืองต่ำแต่ปลำยผมลงไป มุ่งหวังจะสรรสร้ำง ทำใจให้อยู่ในอำรมณอ์ ันเดียว อดีตไม่เอำ อดีตล่วงแล้วเรำไม่เอำ อนำคตยังไม่ถึงก็ไม่เอำ เอำปัจจุบัน ทำปัจจุบนั ให้มันเกดิ ขน้ึ มำได้ ก็มีคาพังเพยว่าไง ใจว่ำงเป็นบุญ ใจวุ่นเป็นบำป ใจเป็นกลำง คือพระนิพพำน เรำก็ดูใจของเรำแล้วกันนะ ดูใจของเรำ ใจ มันว่ำงม้ัย ใจมันว่ำงหรือใจมันวุ่น ดูใจทุกวันนี้ ถ้ำใจว่ำงก็ดี ให้รักษำเอำไว้ ถ้ำใจวุ่นเรำก็ตัดไป ทำใจให้เป็นกลำงนะ หลวงปู่เทสก์ท่านบอกว่า ผู้ใดทำจิตให้เป็นกลำง ผู้น้ันจะพ้น จำกทุกข์ เน่ียมันเป็นกลางหรือยังทุกวันน้ี ถ้าเป็นกลางเม่ือไรก็ ไม่ทุกข์ ถ้าไม่เป็นกลางก็ทุกข์ ใช่ม้ัย เรามานี่ กว้ำงศอก ยำววำ หนำคืบนี่แหละ เป็นท่ีต้ังแห่งพระธรรม เอำร่ำงกำยของเรำนี่ ๙๘
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ แหละเป็นท่ีต้ังแห่งพระธรรมไว้ ทุกคนมีอยู่ ทุกคนก็มี ร่างกาย ของเรานี่แหละ กาย -- รูป เสียง กล่ิน รส เรยี กวา่ ธาตุ ๔ ธำตุ ๔ ดนิ น้ำ ลม ไฟ เรยี กวำ่ รูป สว่ นเวทนำ สญั ญำ สังขำร จิต ควำมคิดควำมนึก เรียกวำ่ เปน็ นำม เรำจะสุขทุกข์ ไม่ใช่สุขท่ีกำย เรำสุขที่ใจ ใจมันว่างก็สุข ใจ มันว่นุ ก็ทกุ ข์ ใช่ไหม ทกุ วนั น้ี มันว้าวุ่น ก็เพราะใจ พอใจให้ได้ หลวงปู่มั่นบอกวำ่ ไดส้ มบัตอิ ะไร ไมเ่ ท่ำไดส้ มบตั ิคอื ใจ ใจเปน็ ที่ตั้งแห่งสมบัติท้ังปวง น่ีพวกเราก็มีนะ มีมั้ยล่ะ มีกาย มีใจ ทกุ คน ทีม่ ใี จน่จี ะทาอย่างไรใหไ้ ดเ้ ป็นสมบัติ เราจะไดใ้ จก็คอื เราควบคุมใหไ้ ด้ ควบคมุ ใจใหไ้ ด้ เรำจะห้ำมใจ ไม่ให้คิดไม่ให้นึก มันห้ำมไม่ได้หรอก ควบคุมได้ ควบคุมให้ มันคิดในเร่ืองที่เป็นศีล เป็นธรรม คิดขึ้นมาแล้ว ใจมันว่าง ใจ มันนิ่ง ใจมันเป็นหน่ึง อันนี้ก็ได้แล้ว ได้ใจแล้ว ฝึกเอาใจให้ได้ ก่อน พงึ เอาใจให้ได้ ถ้ำใจมันทุกข์ เอำไม่อยู่ เรำก็พิจำรณำ เบื้องบนแต่พื้นเท้ำ ขึ้นมำ เบื้องต่ำแต่ปลำยผมลงไป เบ้ืองขวำงสถำนกลำง คิด อยู่ในร่ำงกำยเรำน่ีแหละ ควำมว้ำวุ่นมันก็จะสงบระงับลงไป มันจะเย็นลงไป เม่ือใจสงบ เม่ือใจมีสติ ใจสงบก็เย็น เมื่อเย็นก็ วา่ ง วา่ งกไ็ ด้บุญแล้ว ๙๙
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ พระครูปัญญำวรคณุ (หลวงพอ่ ทองแดง วรปญั โญ) วัดดอยพระเจ้ำตนหลวง ต.ข้ีเหล็ก อ.แมแ่ ตง จ.เชยี งใหม่ แสดงเมือ่ วนั เสำร์ ท่ี ๒๑ กนั ยำยน พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ ศำลำพระรำชศรทั ธำ วดั ปทุมวนำรำม รำชวรวหิ ำร นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธสั สะ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พุทธสั สะ กจิ โฺ ฉ มนสุ สฺ ปฏิลาโภ สะติ สัมปะชาโนติ อิมสั สะ ธัมมะปะริยายัสสะ อตั โถ สาธายสั มันเตหิ สกั กัจจงั ธัมโม โสตัพโพติ ๑๐๐
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ ต่อไปจะได้กล่าวธรรมกถาอันเป็นธรรมคาสอนของพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า พอเป็นเครื่องประดับสติปัญญาเพ่ิมพูนบุญบารมี ของคณะศรัทธาสาธุชนทั้งหลายสืบต่อไป การบาเพ็ญกุศลในวันนี้ก็ ถือว่าเป็นประเพณี ที่ว่าตักบาตรข้าวเหนียวก็ถือเป็นประเพณี แต่ท่ี จริงแล้วก็เป็นการทาบุญที่พวกเราท้ังหลายได้ปฏิบัติสืบ ๆ กันมา เพราะตามหลักทางพุทธศาสนา ตั้งแต่พระพุทธเจ้าท่านได้ตรัสรู้ และก็วางหลักคาสอน หลักปฏิบัติให้พวกเราชาวพุทธได้ปฏิบัติสืบ กนั มา ทเี่ ป็นหลักใหญส่ าคัญเพ่ือใหท้ ายก อบุ าสก อบุ าสกิ าทั้งหลาย ไดป้ ฏบิ ตั เิ พ่อื จะเปน็ คณุ ความดีให้เป็นทพี่ ่ึงสาหรบั ตนเองสบื ต่อไป ก็ คือหลักเบ้ืองต้นอย่างที่พวกเราทั้งหลายได้ปฏิบัติบาเพ็ญมาจนเป็น นิสัย ก็คือ ทาน ศีล ภาวนา ๓ หลักนี้ถือว่าพวกเราชาวพุทธปฏบิ ตั ิ จนเป็นนิสัย โดยเฉพาะ ทาน ที่สังเกตดูทั่วเมืองไทยเรา ไม่ว่าบ้าน นอกในเมือง รู้สึกว่าการทาบุญให้ทานจะเป็นนิสัยสาหรับพวกเรา ชาวพุทธ เพราะฉะน้ัน พวกเราที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์ ได้พบ พระพุทธศาสนา ถ้าพดู ตามหลักน่ีถอื เปน็ สิ่งท่ีไม่ใช่ของง่าย เป็นของ ยาก แต่สาหรับพวกเราท่ีได้มาปฏิบัติบาเพ็ญวันไหนก็แล้วแต่ โดยเฉพาะวันนี้ ถือว่าเป็นของท่ีง่ายและเป็นลาภสาหรับพวกเรา ท่านบอกว่า กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลำโภ ถ้าแปลเอาใจความเป็นภาษา ของพวกเราก็คือไม่ใช่ของง่าย เป็นสิ่งท่ียากสาหรับผู้ท่ีจะได้ลาภ อย่างนี้ แต่พวกเราท้ังหลายได้มาเกิดเป็นมนุษย์ และได้มาพบ พระพุทธศาสนา ได้มีจิตศรัทธาเลื่อมใสปฏิบัติบาเพ็ญตามโอวาท ธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ก็ถือว่าพวกเราท้ังหลายได้มาพบ ๑๐๑
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ ลาภอันประเสริฐ เม่ือพบแล้วก็ยังได้มาสั่งสมเพิ่มเติมเพิ่มพูนบุญ บารมีของพวกเราใหเ้ จริญแก่กล้าข้นึ ไปเร่ือย ๆ หลักปฏิบัติแห่งหลักทาน ศีล อานิสงส์ท่ีจะได้รับ พระพุทธเจ้าได้ทรงอธิบายให้ฟังว่า การได้มนุษย์สมบัติ สวรรค์ สมบัติ หรือมีสุขคติ เป็นโลกียสมบัติอยู่ ถึงเป็นโลกียสมบัติ สิ่ง เหล่านี้ก็ยังตกอยู่ในลักษณะแห่งความไม่เท่ียง มีความแปรปรวนไป ในท่ีสุด เพราะฉะน้ัน หลักที่จะให้พวกเราท้ังหลายได้มีความม่ันใจ ไม่ต้องกลับมาเวียนว่ายตายเกิดอีกท่านถึงมี “หลักภำวนำ” เป็น หลักสุดท้าย แต่หลักภาวนาน้ีเป็นของท่ีละเอียด แต่พวกเรา ท้ังหลายก็ได้ปฏิบัติบาเพ็ญกันมาโดยตลอด แต่ก็บาเพ็ญเท่าที่จะ ได้รับ บางท่านบางคนก็เห็นผลบ้าง บางท่านบางคนก็ยังไม่เห็นผล เพราะงำนภำวนำเป็นงำนทำงด้ำนจิตใจโดยเฉพำะ บางท่านบาง คนกลบั มาตาหนติ นเองว่าเปน็ คนมีอานาจวาสนาน้อย บารมยี งั อ่อน ก็เลยไม่อยากกระทาบาเพ็ญ ก็เลยให้ความสนใจเฉพาะทานกับศีล เพราะเป็นของทสี่ ะดวกสบายกับตนเองทท่ี าอยู่ การภาวนานี้ถือเป็นงานท่ีลาบาก เป็นงานท่ียาก เพราะนั่ง สมาธินานไปก็ปวดก็เม่ือย จิตใจก็ไม่เป็นสมาธิง่าย นั่งไปเท่าไรก็ไม่ เห็นผล บางคนก็เกิดความท้อใจ ผลที่สุด กเ็ ลยมาโทษตนเองว่าเป็น ผู้ไม่มีวาสนา ไม่มีบารมี ก็เลยจะรอให้แต่บารมีให้มันเต็มเสียก่อน ให้มันมีเสียก่อนค่อยมาภาวนา ถ้าคิดอย่างน้ี ก็ไม่ถูกต้องตามหลัก แห่งคาสอนของพระพุทธเจ้า เพรำะวำสนำบำรมี ถ้ำเรำมีน้อยก็ ตอ้ งขวนขวำยตอ้ งรบี ส่งเสริมเพ่มิ เติมใหเ้ พิ่มข้นึ กับตนเองเรื่อย ๆ บางคนท่ีเห็นคนอ่ืนท่านปฏิบัติแล้วเห็นความสุข ได้บรรลุธรรมง่าย สะดวก ได้รู้เร็ว ก็คิดว่าเราไม่มีโอกาสที่จะได้เห็นได้ง่าย ๆ ก็เลยได้ ๑๐๒
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ แต่พอใจได้เห็นยินดีอยู่กับในทาน ศีล งานภาวนาก็เลยไม่มีโอกาส ไม่ให้ความสาคัญ ไม่ศึกษา ไม่ให้ความเพียรกับตนเองเท่าท่ีควรจะ ได้จะถึง ก็เลยไม่เหมือนกับคนอื่น อานิสงส์ท่ีจะเพ่ิมเติมก็เลยไม่ได้ มาก อานิสงสข์ องทาน ศีล ทุกคนกเ็ ข้าใจอยู่ พระพทุ ธเจ้าก็สอน ตกอยู่ในหลักแห่งความไม่เท่ียงแท้แน่นอน คือจะก่ีภพชาติก็ หมุนเวยี นอยอู่ ยา่ งนี้ แตถ่ ้ามองในมุมกลับก็ดีกวา่ ผู้ไม่ให้ความสาคัญ ไม่สนใจ อย่างพวกเราน้ีก็ยังถือว่าให้ความสาคัญ ให้ความสนใจกับ ตนเอง พวกเราทัง้ หลายไดม้ าปฏบิ ัตบิ าเพ็ญในวนั น้ี หรอื วนั ทผี่ า่ น ๆ มา จะกี่ปีก็แล้วแต่ มองแล้วเหมือนว่าพวกเราท้ังหลายมาเพิ่มพูน ส่งเสริมให้พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง ถ้ามองในปัจจุบันก็เป็น ลักษณะนั้นจริง ๆ เรามาวัด มาทาบุญให้ทานในด้านพระศาสนา มากราบมาไหว้ มาสวด มาสาธยาย จริงอยู่ เห็นวัดเจริญรุ่งเรือง พระศาสนาเจรญิ ร่งุ เรอื ง อนั น้นั เป็นความสตั ย์ความจรงิ ไมผ่ ดิ แต่ถ้ามองในมุมกลับ ท่ีเราทามาแต่ละคร้ัง ให้ทานแต่ละ หน รักษาศีลแต่ละคราว เพื่อเราทั้งนั้น ไม่ใช่เพ่อื พระศาสนา ผลทุก อย่าง ความดีทุกอย่างท่ีเกิดข้ึน เป็นผลกับพวกเรา ไม่ได้เป็นสมบัติ ของพระศาสนาแม้แต่นิดเดียว แต่เราอาศัยสถานที่ อาศัยพระ ศาสนาเป็นเคร่ืองปฏิบัติ เป็นเครื่องบาเพ็ญ แต่ไม่ใช่ว่าความดีทุก อย่างเราทาแล้วพระศาสนา หรือว่าวัดวามายึดมาแบ่งเอาความดี ของพวกเราไป ไม่ใช่อยา่ งนน้ั เปน็ สมบตั ิของเรา บาเพ็ญได้มากน้อย แค่ไหน ความดีทุกประเภท ทุกสัดทุกส่วน กลายเป็นสมบัติของเรา ผู้กระทาบาเพ็ญ ผู้สวดผู้สาธยายผู้ให้ทานรักษาศีล คือพระศาสนา น้ันเพียงแต่เป็นสถานที่ เป็นเคร่ืองแนะ เป็นแผนที่ให้เราได้นาไป ๑๐๓
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ ประพฤติปฏิบัติ ผลที่สุด ความดีทุกอย่างที่เราได้กระทาบาเพ็ญ ก็ เป็นสมบัติของเราโดยสมบูรณ์ น่ีพูดถึงอานิสงส์ท่ีจะได้ ความดีที่จะ ได้จากการให้ทานรักษาศลี เรื่องจิตใจภาวนา หรือว่าวัดความสุข ความสงบ ความเย็น ใจ หรอื บญุ กุศลท่เี กิดขน้ึ ท่ีจะได้รบั จากงานภาวนา อนั นัน้ รู้สึกวา่ จะ เป็นงานด้านความละเอียด เพราะว่าจิตของเราผู้ที่ยังไม่เคยเห็น ความละเอียด ความสงบ ยังไม่เห็นว่าจิตเป็นสมาธิเป็นอย่างไร ได้ ยินแต่ครูบาอาจารย์ หมู่คณะ คนอื่น เขาพูดว่าจิตสงบ มีความสุข อย่างน้ัน มีความเย็นใจอย่างนี้ มีความสบาย ความผ่องใส อันนั้นก็ เป็นอีกส่วนหน่ึงที่เป็นคาพูด ได้ยินแต่ชื่อ ในตารับตาราพูดไว้หลาย อย่าง แต่คาพูดประเภทนั้น จิตของเรายังไม่เคยได้สัมผัส รับรู้หรือ เห็น ความสงสัยตรงน้ีมันก็ต้องมีอยู่ดี ถึงแม้ได้อ่าน ได้ศึกษาจาก ตารามากน้อยแค่ไหน แต่ความจริงยังไม่ปรากฏความสงสัยน้ันก็ยัง ไมส่ ิ้น ฉะน้นั อุบายต่าง ๆ ท่คี รูบาอาจารยน์ ามากลา่ ว แสดง แนะ ในวิธีต่าง ๆ ให้พวกเราท้ังหลายได้ปฏิบัติบาเพ็ญ ยกตัวอย่าง เช่น พวกเราที่ปฏิบัติสายหลวงปู่ม่ัน บริกรรมพุทโธ ๆ เราท้ังหลายเกิด มาสุดท้ายภายหลัง รุ่นลูกรุ่นหลานรุ่นเหลนของท่าน ครูบาอาจารย์ ทั้งหลายได้นามาบอกมากล่าว นาพาให้พวกเราปฏิบัติ ให้เราได้ กาหนดลมหายใจเข้าออก พร้อมกับคาว่า พุทโธ ๆ อย่างน้ีไปตลอด แต่บางท่านบางคนก็บอกว่ามีแต่พุทโธ ๆ จิตก็ยังไม่เคยสงบ ยังไม่ เหน็ วา่ มปี ระโยชนอ์ ะไร บางคนก็คดิ เอาอย่างนน้ั แต่ครบู าอาจารย์ที่ ทันกับองค์หลวงปู่ม่ันได้ให้รายละเอียดต่อไปว่า คาว่า พุทโธ ใน อิริยาบถท้ัง ๔ ถ้าเรากาหนด ระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า หรือ ๑๐๔
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ บริกรรมคาว่า พุทโธ ๆ น้ี จิตจะสงบหรือไม่สงบยกไว้ ขอให้เรา ระลึกไว้ ท่านบอกว่าอย่างน้ัน แต่บุญท่ีเกิดจากพวกเราทั้งหลายมา ภาวนาบริกรรม ท่านว่า พุทโธ แต่ละคาก็เป็นบุญเกิดขึ้นแต่ละกอง ท่านว่าอย่างน้ัน แต่ถ้าจิตบริกรรมพุทโธ ๆ ไป จิตเกิดความสงบ เปน็ สมาธิ อานสิ งสน์ นั้ ท่านบอกวา่ ประเมินไม่ได้ประมาณไม่ถูก คอื ไมส่ ามารถท่ีจะชง่ั ตวงได้ว่ามากแค่ไหน เกินกวา่ ทีเ่ ราจะประมาณได้ ทา่ นว่าอยา่ งนน้ั ฉะน้ัน พวกเราทั้งหลายท่ีมีโอกาส มีวาสนาดี มีโชค มีลาภ มี ว า ส น า ไ ด้ เ กิ ด ม า เ ป็ น ม นุ ษ ย์ เ ป็ น ล า ภ อั น ห น่ึง ไ ด้ พ บ พระพุทธศาสนา ก็ถือว่าเป็นลาภอันหนึ่ง ได้มาเคารพเล่ือมใสใน ธรรมของพระพุทธเจ้า ก็ถือว่าเป็นลาภอันหนึ่ง ลาภทั้ง ๓ อย่างน้ี เหมาะกับพวกเรา แต่ที่ยังไม่เกิดผลก็คือ เกิดขึ้นจากภาคปฏิบัติ จากการภาวนาของเรา อนั น้ียอมรบั วา่ ยังไม่เกิดผล เม่อื ยงั ไม่เกิดผล บางคนก็จะคิดว่าตนเองอาภัพวาสนา หรือว่าบารมียังอ่อน ถ้าคิด อย่างน้ีก็ถือว่าเป็นเร่ืองฝ่ายต่า เขาหลอก ไม่อยากให้เราบาเพ็ญจน เกิดคุณความดีข้ึน เพราะว่าถ้าพวกเราท้ังหลายได้ประสบพบเห็น ความดีแลว้ เขาจะไม่ไดท้ รมานจติ ใจของพวกเราต่อไป กิเลสทุกประเภท ไม่ว่า ความโลภ ความโกรธ ความหลง ความรัก ความชัง เกิดข้ึนที่จิตใจเราท้ังน้ัน ถ้าจิตใจเราท่านเกิดเป็น สมาธิ รู้อรรถธรรมของพระพุทธเจ้าแล้ว เขาก็ไม่มีที่อยู่ท่ีทรมาน เขาจึงหาอุบายต่าง ๆ หลอกให้ทรมาน หลงเชื่อเขาไปตลอด ท้ัง ๆ ที่บารมี โชคลาภของเราทุกอย่าง ตลอดจนร่างกายทุกสัดทุกส่วน ให้โอกาสอุดมสมบูรณ์แข็งแรงดี แต่เมื่อเวลามาปฏิบัติต้องแทรก ขึ้นมาหลอกข้ึนมา พอเราบริกรรมพุทโธ ๆ ไป ก็จะมีเรื่องให้เรา ๑๐๕
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ เผลอจนนาไปสู่เรื่องน้ันเร่ืองนี้ ให้เพลินไปอยู่กับรูปกับเสียงครอง จักรวาล กว่าจะรู้เร่ืองของตนเองก็เพลินไปเป็นช่ัวโมง คร่ึงช่ัวโมง ถึงมารู้ตัวว่านั่งนานไปแล้วไม่เห็นได้อะไร เห็นแต่ความเจ็บปวด นี่ เป็นเร่ืองของกิเลส เป็นสิ่งที่ไม่เป็นมงคล มากีดขวางจิตไม่ให้บรรลุ คณุ ความดไี ด้ เป็นอุปสรรคขดั ขวางจิตใจต่องานปฏบิ ัติของพวกเรา อบุ ายหรือความคดิ ที่จะต่อสอู้ ันหน่งึ กค็ ือเวลาเราน่ังปฏิบัติ แต่ละครั้งเราก็ต้องทาความรู้สึก หรือพูดกับตนเองว่าเราปฏิบัติคร้ัง น้ีจะก่ีนาที กี่ชั่วโมง จิตสงบหรือไม่สงบ เป็นสมาธิหรือไม่ ถ้าไม่ถึง เวลาท่ีเราต้ังใจเอาไว้เราจะไม่ยอมถอน ไม่ลุกจากสถานท่ี อันน้ีถือ ว่าเอา กาย วาจา ใจ ของเรามาปฏิบัติเพ่ือบูชาคุณพระพุทธ พระ ธรรม พระสงฆ์ เอาบุญนไ่ี ปก่อน กค็ ือเป็นการบชู าพระรัตนตรัย อนั เปน็ มงคลอันสงู สุดสาหรับพวกเราชาวพุทธ ซึง่ ไม่มอี ะไรจะประเสริฐ กวา่ เอา กาย วาจา ใจ ของเรามาบชู า ฉะน้ัน ขณะท่ีเรานั่งปฏิบัติอยู่ สอนตัวเองอยู่อย่างน้ีแล้ว ตราบใดที่ยังรู้อยู่กับตัวเอง ลมหายใจ ความรู้ สติ ทุกอย่าง จิตจะ เป็นอย่างไร กายจะเป็นอย่างไร ขอให้ยกไว้ ขออยู่กับความรู้ท่ีจิตท่ี ยังอยู่ในสกนธ์กายของเราน้ี คาว่า สกลกาย คือร่างกายทุกส่วนของ แต่ละคน จะกาหนดรู้จุดใดได้ทั้งนั้น ไม่สาคัญว่าจะไว้ท่ีระหว่าง ทรวงอก หรือจุดท่ีลมหายใจสัมผัสไม่ว่าจุดไหนที่เด่นที่สุด ให้ทา ความรู้สึกทจี่ ุดนัน้ กไ็ ด้ หรือจะตามลมเขา้ ลมออกกไ็ ด้ ลมสุดตรงไหน ก็อยู่จุดนั้น ถ้ายังไม่น่ิงพอ ก็ตามลมเข้าออก พร้อมกับบริกรรมพุท โธ ๆ อยู่อย่างนั้นตลอด เราก็กาหนดอย่างน้ันไปเรื่อย ๆ ทาไม่หยุด ไม่ถอย ถึงความเจ็บปวดก็จะมีอยู่ทุกคนไม่ใชแ่ ต่เราคนเดียว เพราะ เรามีร่างกาย มีธาตุขันธ์ เนื้อหนัง เอ็นกระดูก ด้วยกัน ความ ๑๐๖
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ เจ็บปวดคือเวทนาที่เกิดข้ึนจากกายที่เรานั่งปฏบิ ัติ ก็มีกันทุกคน แต่ ถา้ เรามั่นใจวา่ เวทนาเป็นอนิจจงั เปน็ อนัตตา อย่างทีเ่ ราสวดทาวัตร เช้าเย็น ที่เราบอกว่า รูปังอนิจจัง เวทนำอนิจจำ เราก็นามาคิด พิจารณาดูว่า ถ้าเวทนาไม่ใช่อนัตตา ไม่ใช่อนิจจังแล้วมันก็ต้องไม่ ดับ แต่ก่อนมันไม่มี แล้วมันเกิดมาจากไหน มันก็อาศัยกายนี้เกิด แลว้ กายกบั เวทนาอันไหนจะดบั ก่อน ขอดแู ค่น้ี ไมต่ อ้ งคิดอะไรมาก หรอื ขอดทู ้งั ๓ อย่าง คอื จติ เวทนา กาย อะไรจะดับก่อน อีกอย่างท่านว่าธรรมชำติของจิตเปน็ ธรรมชำติที่ดับไม่เป็น ตำยไม่เป็น แต่กำย เวทนำ เกิดแล้วก็ดับ เป็น จะเกิดขึ้นมากน้อยแค่ไหนก็ดับ แต่จิตดับไม่เป็น แต่ถ้าเราจะดู เพ่ือจะให้เข้าใจ ก็จ่อจิตเข้ามาย้อนดูรู้อยู่เฉพาะ พอน่ังไปเวทนามัน เกิดข้ึน มันปวดหลายครงั้ หลายหน ก็แสดงไปตามหน้าท่ีของเขา เรา ก็มีหน้าท่ีดูไปตามอาการที่เขาเป็น แต่เราก็อย่าไปสร้างความอยาก ขึ้นมา อย่าไปอยากให้มันหาย อยากให้เป็นมากกว่านั้น เราแค่ทา หน้าท่ีดู ๒ อย่างคือ หน่ึง เวทนาท่ีเกิดขึ้นจากกาย สอง แต่ก่อน เวทนายังไม่เกิด กายก็เป็นกายอยู่อย่างน้ี อะไรที่เป็นกายระหว่างท่ี มันเกิดข้ึน ก็มีเน้ือมีหนัง ที่มันปวดเจ็บตรงไหนมันเด่นก็ดูตรงนั้น ดู เหมอื นเรำดูเฉย ๆ ไมป่ รงุ ไม่แตง่ เกินกวำ่ ควำมจริงทเี่ ขำปรำกฎ ดู อย่อู ยา่ งน้นั เขาแสดงอาการเตม็ ทแี่ ลว้ จะมเี วลาดบั ไหม จากตาราหรือธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านว่ามันดับได้ แต่ ทาไมของเรามันจะดับไม่ได้ ถ้าดับได้แสดงว่าจิตของเราจะต้องตาย ก่อนหรือดับก่อนเวทนาท่ีมันเกิดข้ึน พอเราดูไปเพ่ือความเข้าใจ ไมใ่ ช่เพ่อื อยา่ งอื่น พอดไู ปอยา่ งนั้น นานเขา้ ๆ เขาก็แสดงหน้าท่ีของ เขาก็ดูไป พอเต็มที่เขาก็ดับให้เห็นจริง ๆ ระหว่างที่เวทนาจะดับก็ ๑๐๗
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ จะแสดงอาการ เราเห็นเป็น ๒ - ๓ ลักษณะ คือ บางคร้ังเต็มท่ีแล้ว ก็หายไป แตกปุ๊บไปทีเดียว พอแตกไปเวทนาท่ีเคยมี เคยเจ็บเคย ปวดมันเหมือนไม่เคยมีมาก่อน ร่างกายท้ังจิตใจเบาหววิ ไปหมด อัน น้ีเลยชัดวา่ อ๋อท่ีท่านว่าเวทนามันดับ ท่ีมันปวด เราสู้มาต้ังนาน พอ มาถึงจุดนี้เราเห็นชดั ว่าท่านให้ดูเวทนาเป็นอย่างน้ีเอง มันไม่ใช่เบา อย่างเดียว ความรู้สึกด้านจิตใจมันเย็น ผ่องใส มีความปิติ อิ่มใจ เช่ือมั่นในหลักโอวาทธรรมคาสอน เชื่อม่ันในการปฏิบัติของตนเอง ว่าท่ีปฏิบัติมาก็เพ่ือได้พบเจอส่ิงท่ีครูบาอาจารยท์ ่านว่าเปน็ ความสขุ บัดนี้ ได้เห็นว่าเป็นอย่างท่ีท่านเห็น ท่ีท่านพูดไว้ในตารับตารา ที่ ท่านว่าสุขอ่ืนย่ิงกว่าความสงบไม่มี มันเป็นอย่างนี้นี่เอง มันปรากฏ ชัดว่า อ๋อทว่ี ่าสมาธิ เปน็ อย่างนนี้ ี่เอง อีกลักษณะหน่ึง เม่ือเวทนาแสดงเต็มที่แล้ว อุปมาเหมือน เวลาเราจุดเทียนที่ไม่มีลมพัด เช้ือไฟเต็มท่ี แล้วแสงเทียนก็หร่ีลง เวทนาก็เหมือนกัน เมื่อแสดงเต็มที่แล้วก็ดับไป เหมือนไม่เคย เจ็บปวดมาก่อน ก็อยู่ไปได้ มีความผ่องใส เย็นใจ มีความกล้าหาญ ตอ่ ความเจ็บปวดเกดิ ในใจขนึ้ มา เรากบ็ อกได้ว่า ตั้งแตป่ ฏบิ ัตมิ าเห็น แต่ทุกข์ บัดน้ี ทุกข์มันดับให้เห็นแล้วที่สุดมันเป็นอย่างนี้ ปฏิบัติ คราวต่อไปจะเป็นอย่างไร มันก็เป็นอย่างเก่าน่ันแหละ เพราะ ธรรมชาติของร่างกายเป็นก้อนของทุกข์ เป็นรัง เป็นเรือนของทุกข์ ปฏบิ ัตทิ ีไรกท็ ุกขก์ ็เจบ็ ก็ปวด แต่ให้เหน็ ความสาคญั อีกประการ ทุกข์ก็เป็นควำมจริงอันหนึ่ง เกิดข้ึนทีไรก็ดับทุกคร้ัง ตลอด ท่านถงึ ใหเ้ ราศึกษา เม่อื ถงึ วาระสดุ ทา้ ยแหง่ ชีวิต ถา้ มนั ไม่ถึง ท่ีสุด ร่างกายของพวกเราท่านทั้งหลายก็ไม่แตกไม่ดับได้ ทุกข์ถึง ที่สุดร่างกายเราก็แตกสลายได้ เหมือนเรำฝึกภำวนำเพ่ือจะเข้ำสู่ ๑๐๘
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ วำระสุดท้ำยระหว่ำงจิตกับกำย เขำจะแยกจำกกันเมื่อถึงท่ีสุด จริง ๆ พวกเราทัง้ หลายจะได้มีทย่ี ึดท่เี กาะในตนเองเมื่อถึงจุดนั้นว่า ที่เราปฏิบัติบาเพ็ญมาก็หวังจะได้เห็นการท่ีจิตไม่ยึดไม่ถือ ได้เห็นว่า เวทนาบางรูปมันเป็นอย่างไร ได้เห็นชัดระหวา่ งท่ีเราปฏิบัติ บางทีก็ ยังคิดข้ึนมาท้าทายอีกว่า ขอดูต่อไปอีกว่าทุกข์จะมีมามากน้อยแค่ ไหน ทุกข์ในร่างกายเรามีแคน่ ี้ ถ้ามันไม่ดับให้เหน็ จะไม่ยอมเปลย่ี น ท่า ไมเ่ ปล่ยี นอริ ยิ าบถ พอจิตรู้สึกอย่างน้ันแล้วมันก็เอาเต็มท่ี เวทนาจะมาเท่าไร ร่างกายจะแสดงทุกขเวทนาเจ็บปวดเท่าไร จิตก็จะท้าให้แสดงให้ เต็มท่ี ถ้าไม่พอจะไปเอามาจากไหนก็เอามาเถอะ ฉันจะขอดู จะไป ยืมมาจากไหนก็เอามา มันจะท้าทายถึงขนาดน้ัน พอเป็นอย่างน้ันก็ ดับทุกคร้ังไป นี่แหละ การปฏิบัติจนถึงวาระสุดท้ายของภาคปฏิบัติ จริง ๆ จนเห็นเขาดับ ท่ีท่านว่าทุกข์คือสิ่งท่ีควรกำหนดรู้เป็นอย่าง นี้น่ีเอง แต่ก่อนไม่เข้าใจ คิดว่าทุกข์ก็รู้ว่าเป็นทุกข์ จะให้กาหนดร้ไู ป มีประโยชน์อะไร ทุกข์ไม่ใช่ส่ิงที่ใครปรารถนา แต่ก่อนเราก็เคยคิด อย่างนั้น พอมาเข้าใจก็รู้ว่าอ๋อ ท่ีท่านให้กาหนดรู้ก็เพื่ออย่างนี้นี่เอง เมื่อเข้าใจทุกข์แล้วมันเป็นอย่างน้ีน่ีเอง แต่มันหมดไหม ก็ไม่หมด เพราะร่างกายเขากท็ ุกขข์ องเขาไปตามธรรมชาติของเขา เมื่อเข้ำใจแล้ว จิตกับกำยก็ยังอยู่อย่ำงเหมือนคนท่ัว ไป แต่ไมม่ ีควำมยึดถือเหมือนแตก่ ่อน เพราะมาร้เู รื่องของกนั และกันก็ อยู่ด้วยกันไปอย่างนั้น แต่จะปฏิเสธเขาก็ไม่ได้เพราะร่างกายมีอยู่ ทุกข์ก็อาศัยกายเกิด แต่ก่อนเราไม่ได้ศึกษาปฏิบัติภาวนา เมื่อทุกข์ เกิดขึน้ ท่ีไหนมนั กระเทือนถึงจิตใจตลอด ทกุ ขท์ ใี่ ดจติ กเ็ ป็นทุกข์ด้วย กายเจ็บตรงไหนปวดที่ใดก็กระเทือนถึงจิตใจมาโดยตลอด พอมา ๑๐๙
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ ศึกษาปฏิบัติมาแยกดู อย่างที่ครูบาอาจารย์ท่านแนะ ตามโอวาท ธรรมคาส่ังสอนของพระพุทธเจ้า ท่านให้มาพิจารณา ไม่มีอะไรมาก ก็ดูกำยกับจิต มี ๒ อย่ำงเท่ำน้ีเอง ไม่มีอะไรจะดู จะดูเวทนำของ จิต เวทนำของกำย มันก็อยู่ด้วยกัน กำยอำศัยเวทนำเกิด ดู เวทนำกเ็ หมือนดกู ำย ถ้ำดูจิต จิตก็อำศัยอยู่ในกำยนี้ ถ้ำจะพูดก็พูดไปตำม อำกำรเฉย ๆ แต่ท่ีจริงก็ย้อนมำในสกลกำยของเรำ ที่ท่านพูดว่าดู กาย ดูเวทนา ดูจิต ดูธรรม ธรรมารมณ์ก็อาศัยจิตเกิด ก็ย้อนเข้ามา ดู สรุปแล้วไม่ต้องพูดอะไรมาก มีแค่ ๒ อย่าง ไม่ต้องไปแยกแยะ อะไรมาก อะไรเกิดข้ึน ถา้ ดูเข้ามามนั ก็ย้อนมีน้อยนดิ เดยี ว แต่เราไม่ เข้าใจก็ โอย ดูอะไรหลาย ๆ อย่าง ดูนั่นดูนี่ ว่ิงตามน่ัน วิ่งตามน่ี ก็ เลยไม่ถึงจุดสาคัญสักที ย้อนเข้ำมำก็มำดูจิตดูกำยนี่ แค่ ๒ อย่ำง ถ้ำเข้ำใจกำยกับจิตแล้วก็จบ แต่เวทนาเขามีอีกไหมต่อ ๆ ไป – มี ก็ธรรมดา ตราบใดที่กายยังมีการสืบต่อ มีลมหายใจอยู่ ความเจ็บ ความปวด การเปลี่ยนแปลงของร่างกายธาตุขันธ์เขามีอยู่ ปฏิเสธ เขาไม่ได้ จิตใจก็เป็นอีกสภาพหนึ่ง ก็ต้องยอมรับ เปลี่ยนแปลงเขา ไม่ได้ จิตก็รับทราบ ก็ดูกันไปอย่างนั้น จะก่ีปีก่ีเดือนก็อยู่ไปด้วยกัน อย่างน้ัน เพราะต่างคนต่างทราบความจริงก็อยู่ด้วยกันไป ยอมรับ สภาพของกัน ต่างคนต่างอาศัยซึ่งกันและกันอยู่ระหว่างท่ียังไม่ถึง วาระสดุ ทา้ ย เมื่อถึงวาระสุดท้ายท่ีจะไปก็เป็นอีกสภาพหนึ่ง ถ้าไปก็ไป ดว้ ยสุคติ ไมไ่ ดไ้ ปด้วยการทะเลาะเบาะแว้งกัน ธรรมชาติของกายถึง ท่สี ุดเขาก็ตอ้ งไป สดุ วสิ ัยของยา ของหมอที่จะเยียวยารักษาเอาไว้ได้ เขาก็ต้องสลายไป แต่ถ้ายังไม่ถึงที่สุดก็รักษาดูแลกันไป ดูแลกันไป ๑๑๐
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วดั ปทุมวนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ แบบรับผิดชอบ ไม่ได้ดูแลด้วยความยึดความถือ ลุ่มหลงเหมือนแต่ ก่อน แต่ก่อนมันไม่ได้ เวลาเจ็บป่วย เดี๋ยวจะเป็นอย่างนนั้ เด๋ียวจะ เป็นอย่างนี้ แต่น่ีก็ดูแลเหมือนมีโรคก็ดูแลทั่ว ๆ ไป ลดซ่ึงความรู้สึก เป็นหน่ึง หลวงปู่ท่านก็พูดเอาไว้ว่าดูแลด้วยความรับผิดชอบ ไม่ได้ ดูแลด้วยความยึดถือความลุ่มหลงเหมือนแต่ก่อน ก็อยู่ด้วยกันไป เหมือนโลกทั่ว ๆ ไปนนั่ แหละ การปฏิบัติหรือการนาธรรมของพระพุทธเจ้ามาปฏิบัติ มา ภาวนา กุศลมันได้ บางคนว่า งานให้ทาน รักษาศีล ได้บุญน้อย ท่ี จริงก็ไม่น้อยหรอก พระพุทธเจ้ำท่ำนสอนว่ำ ทำน ศีล ภำวนำ น้ี ถ้ำท่ำนบำเพ็ญได้ครบทั้ง ๓ อย่ำงเป็นทำงท่ีประเสริฐ เป็นทำงที่ เลิศ เป็นทางที่ไม่ให้พวกเราทั้งหลายได้ตกต่าย้อนลงไปเป็นพวก อาภัพ สัตว์เดรัจฉาน อสูรกาย คือในภพภูมิทุคติ ไม่สามารถจะไป อุบัติได้ เพราะฉะนั้น พวกเราท้ังหลายท่ีได้มาเกิดเป็นมนุษย์ พบ พุทธศาสนา และมาเลื่อมใส นาโอวาทคาสั่งสอนมาประพฤติปฏิบัติ อย่างเมื่อเช้ามาใส่บาตร คือให้ทาน รับสมาทานศีล ตอนนี้ก็มาฟัง เทศน์ สวดมนต์ ไหว้พระ น่ังปฏิบัติบูชา ล้วนแล้วเป็นการทาเพ่ือ บูชาต่อคุณพระรัตนตรัย ต่อคุณพระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระ สงฆเจ้า อันน้ีเท่ากับเป็นการปฏิบัติเพ่ือบูชา เป็นหลักที่เรามายึด ปฏิบัติ แต่ผลที่ได้ทุกอย่าง ความดีทุกประเภท ต้ังแต่ให้ทาน รักษา ศีล เจริญเมตตาภาวนามา ได้ผลเกิดข้ึน พระรัตนตรัย พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสงฆเจ้า ท่านไม่ได้มาขอแบ่งจากพวกเรา ท่าน อนุโมทนายินดีกับพวกเราว่าได้นาคาสั่งสอนของท่านมาปฏิบัติ ความดที ีเ่ กิดข้ึนทกุ ประเภท ท่านก็จะอนุโมทนายินดีกบั พวกเรา ๑๑๑
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ เพราะฉะน้ัน พวกเราถือว่าเป็นผู้มีโอกาสมีวาสนาดีมีลาภ อันประเสริฐ อย่างท่ีว่ากิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลำโภ การได้มาเกิดเป็น มนุษย์เป็นลาภ ไม่ใช่ของง่าย เป็นของยากสาหรับคนอ่ืน เป็นของ ง่ายสาหรับพวกเราที่ได้เกิดมาแล้วในระหว่างท่ีพระพุทธเจ้าไว้วาง หลักธรรมคาสงั่ สอนเอาไว้ ไดพ้ บธรรมคาสั่งสอน ไดเ้ ลอ่ื มใส ตามคา ตรัสว่า “ได้เกิดเป็นมนุษย์ก็เป็นของยำก ได้พบพระพุทธศำสนำก็ เป็นของยำก เม่ือได้พบพระพุทธศำสนำแล้วมีควำมศรัทธำ เลื่อมใสนำมำประพฤติปฏิบัติก็เป็นของยำก ดูแล้วมันยำกทุก อยำ่ ง แต่พวกเรำกไ็ ดม้ ำพบประสบทุกอย่ำง ไดม้ ำประพฤติปฏิบตั ิ กเ็ ลยถอื วำ่ เป็นของง่ำยสำหรับพวกเรำที่มศี รัทธำเล่ือมใส กถ็ อื ว่ำ มีโอกำสมีวำสนำดี เพรำะฉะนั้น ก็ขอให้นำไปประพฤติปฏิบัติ สง่ เสริมเพมิ่ พูนบำรมีของตนเอง” และเรื่องงานภาวนา ถึงยังจะไม่ เห็นผลก็ขอให้ภาวนาไป บาเพ็ญไป เม่ือจิตจะสงบร่มเย็นอย่างไรก็ ยกไว้ อยา่ เพง่ิ ไปคาดไปท้อไปถอย ถอื วา่ เราภาวนาบาเพ็ญไปให้เกิด บุญกุศลไปก่อน แต่ถ้าถึงระหว่างท่ีมันจะเกิดเป็นสมาธิเกิดความ สงบข้ึน ในระหว่างนั้น เราแต่งไม่ได้ เราทาไม่เป็น ทำได้อย่ำงเดียว คอื รกั ษำเหตุ พยำยำมปฏบิ ตั บิ ำเพ็ญไป เม่ือจิตเป็นสมาธิก็เป็นธรรมชาติอันหน่ึง มันจะเป็นชั่ว ขณะหนึ่ง แล้วจิตก็คิดของจิตขึ้นมา มันเป็นธรรมชาติของจิต แต่ ก่อนจิตยังไม่เป็นสมาธิ ครูบาอาจารย์ท่านก็ชอบเตือนว่า นั่งสมาธิ อยา่ ส่งจติ ไปอดีต อนาคต ให้อยูก่ บั ปจั จุบนั แตธ่ รรมชาติของจิต มัน ไม่ไปอดตี ก็ไปอนาคต ไมไ่ ปหนา้ กไ็ ปหลงั แต่พอฝึกไปปฏบิ ตั ิไป ก็จะ เห็นว่าท่ีท่านไม่ให้ส่งไปอดีต อนาคต คาว่าปัจจุบันของจิต มันเป็น อย่างนี้น่ีเอง ที่ท่านตรัสเอาไว้ว่า จิตท่านมีสมาธิ มีความสงบเป็น ๑๑๒
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ พ้ืนฐาน มีความสุข บางทีก็ถึงอุทานกับตนเองว่า อ๋อ ความสุข ประเภทน้ี ถ้าเราไม่ยอมอดทน ไม่ยอมทุกข์ ทุกข์เพราะความ เจ็บปวด ทุกข์เพราะภาคปฏิบัติ ยอมเหนื่อย ยอมอดยอมทน ความสุขประเภทน้ี เราคงไม่มีโอกาสได้พบได้เจอ ท่ีเราได้พบได้เจอ ถือว่าเราได้ใช้ความอดทนที่ปฏิบัติบาเพ็ญมาไดร้ ู้เห็นสิ่งเหล่าน้ี ก็จะ ได้อ๋อกับตนเอง ได้เห็นคุณค่าของตนเอง แต่ระหว่างที่ยังไม่มีความ สงบยังไม่เห็นผล ท่ีเห็นชัดก็คือความทุกข์ ทุกข์เท่าไรก็ถือว่าเป็น การบาเพ็ญเพื่อให้เกิดบุญเกิดกุศล ยังไม่ได้ความสงบ ก็ขอสู้กับ ความทกุ ข์ ถือว่าได้บุญ บชู าพระพทุ ธเจ้าด้วยกาย วาจา ใจ ของเรา ผลจะเป็นอย่างไรยกไว้ เอาไว้ตอนนั้น แต่มีความรู้สึกอย่างหนึ่งว่า จติ จะสงบหรอื ไมเ่ อามาระลกึ ในท่ากริ ิยาท้ังหลาย ที่พวกเรามาได้นง่ั ปฏบิ ัติ ก็ถอื วา่ เป็นบุญ เอาบญุ ให้จิตใจมี ทพี่ ง่ึ ตงั้ แต่ให้ทาน รักษาศลี ไหว้พระสวดมนตน์ ่ังเจริญภาวนา ก็ถือ ว่ามาปฏิบัติเพ่ือเป็นบุญทั้งนั้น อยำกได้สมำธิมันไม่เป็นให้ก็ขอ ปฏิบัติเพื่อเป็นบุญไปก่อน พอจิตเป็นสมาธิก็คุ้มค่ากับที่เรายอม ปฏบิ ัติมา ยอมเจ็บ ยอมปวด เห็นคณุ ค่าของพระศาสนา คุณค่าที่ได้ จากการทีเ่ ราฝนื ต่ออารมณ์ทางโลก ฝนื ต่อความท่เี ราเพลิดเพลินกับ รูป เสียงมาก่อน แต่ก่อนจิตธรรมดาท่ียังไม่มีสมาธิเป็นเครื่องอยู่ก็ เพลินอยู่กับรูปกับเสยี ง มันไม่ไปอยู่ท่ีอื่นหรอก ลองสังเกตดู จิตของ ใคร ๆ จะกี่ปีกี่เดือนก็ไม่หนีจากรูปกับเสียงเท่านั้น ลุ่มหลงอยู่กับสิ่ง เหล่านี้ เสียงดี เสียงชั่ว รูปดี รูปชั่ว หลงอยู่แต่กับส่ิงเหล่านี้ เพราะฉะน้ัน เราจะเข้าใจเม่ือจิตสงบเป็นสมาธิ เห็นคุณค่าของจิต มากกว่าสิ่งอื่น พอเห็นแล้วเราก็จะรีบตักตวงรีบเร่งขวนขวาย คุณธรรมท่ียังไม่ถึงเราก็จะเร่งปฏิบัติเข้าไปอีก อันใดที่ให้เจริญ ๑๑๓
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ ส่งเสริมก็เร่งกันไปเท่าน้ัน ให้ละให้วาง จิตของเราก็จะละวางตาม ความเหมาะสมอานาจวาสนาของตนเอง เพราะถ้ายังไม่ถึงวิมุตติ หลุดพ้นเม่ือไรงานทตี่ อ้ งละต้องวางกต็ อ้ งรู้เหน็ ไปกับตนเองอยู่ตลอด เมื่อเห็นแล้วก็ไม่ให้ยึดถือ เหมือนกับไฟ คนอ่ืนบอกให้เราไปจับ เรา ก็ทราบแลว้ ว่ามันเป็นของร้อน ของไหม้ เราก็ไมไ่ ปจับอยู่ดี เมือ่ ก่อน เราไม่รู้ไม่เห็น เขาให้ทาอะไร ๆ มากระทบเป็นของร้อนของทุกข์ อย่างไรก็รับเอาหมดท้ังดีท้ังชั่ว ที่สุดก็มาให้ตัวเองวุ่นวาย เป็นทุกข์ นีพ่ ดู ถงึ เมอื่ จิตไมม่ เี ครือ่ งอยู่ พอจิตฝึกปฏิบัติบาเพ็ญมาเห็นคุณค่า ความสงบ ส่ิงที่ไม่ เป็นประโยชน์ก็คัดกรองออกไป ก็สรรหาหรือพิจารณาแยกแยะเอา แต่สง่ิ ที่ดีมปี ระโยชน์ ธรรมชาติของจิตต้องการความเปน็ อิสระเต็มที่ แต่ท่ีลุ่มหลงมัวเมาอยู่ก็ด้วยอานาจฝ่ายต่าก็คือเร่ืองของกิเลส แต่ ก่อนเราไม่ได้ให้ความสาคัญเพราะตั้งแต่เกิดมาก็อยู่กับรูปกับเสียง พอได้มาบวช มาปฏิบัติ มาศึกษาด้านพระศาสนาเลยมาเห็นคุณค่า ตามหลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า จึงรู้ว่าทางท่ีจะให้เกิด ความสุขอย่างแท้จริง ก็คือตามโอวาททางธรรมคาสอนอย่างที่ พระพุทธเจา้ ท่านแนะท่านบอก มาคดิ พิจารณาดูก็ได้ ส่งิ ทท่ี ำ่ นบอก พวกเรำให้ละวำงล้วนเป็นสิ่งท่ีพวกเรำท้ังหลำยหวงแหน เป็นส่ิง ท่ีพวกเรำท้ังหลำยยินดีพอใจ เพรำะฉะน้ัน ส่ิงไหนที่จะละวำงได้ อย่ำงสนิทใจ อำศัยสมำธิ อำศัยควำมสงบ มำพินิจพิจำรณำจน เห็นโทษเห็นคุณ จิตของเรำท้ังหลำยถึงจะวำงได้ ไม่อย่างน้ันจิต ของเราก็ไมเ่ ป็นอันละอนั วางละ่ การท่ีพวกเราทง้ั หลายไดม้ าปฏบิ ตั บิ าเพญ็ วนั น้ี ก็ได้นา ธรรมะมากลา่ วพอเปน็ คตเิ พ่มิ พูนส่งเสริมบุญบารมขี องคณะศรทั ธา ๑๑๔
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ ทงั้ หลาย ก็เหน็ วา่ พอสมควรแกเ่ วลา เพราะฉะนัน้ ขอให้ทุกท่าน ทั้งหลายนาไปพนิ ิจพิจารณาตรองดู ถ้าเหน็ วา่ อะไรเปน็ ประโยชนก์ ็ นาไปประพฤติปฏิบัติ ผลท่เี กิดขนึ้ ก็จะเปน็ ความสุข ความเยน็ ใจแก่ ท่านศรัทธาญาติโยมทัง้ หลาย การที่บรรยายมาก็สมควรแกเ่ วลา จงึ ขอยตุ ลิ งไว้เพยี งแค่น้ี เอว ก็มีดว้ ยประการฉะน้ี ๑๑๕
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ “มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา” วัดปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ ประธานบรหิ ารศาลาพระราชศรทั ธา พระธรรมธัชมนุ ี เจ้าอาวาสวัดปทมุ วนาราม พระอดุลธรรมเมธี (โสฬส วีรญาโณ) ทปี่ รึกษา พิสจู น์อกั ษรบาลี พระกิตติสารสธุ ี (เชดิ ชยั สีลสัมปันโน) คณะทางาน พระมหาชาญชัย ชยปุต̣โต พระมหานนทรตั น์ ชยานฺนโท ออกแบบปก ปทั มา เจียระศริ ิสนิ ประสานงาน จณิ ณภัสร์ จิตเสรพี ิชยั พิมพค์ รั้งที่ ๑ ชฎาธาร โอษธีศ และ พิมพ์ที่ คณะทางานศิลปวัฒนธรรม วทิ ยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมศกั ด์ิ ต้มุ ทอง สดุ ารตั น์ กนั ทะเนตร ตุลาคม ๒๕๖๓ จานวน ๑,๐๐๐ เลม่ สานกั พิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์- มหาวิทยาลัย ๑๑๖
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ รำยนำมผ้รู ว่ มบญุ พมิ พห์ นังสือมรดกธรรม คณุ อภชิ ยั -คุณศริ พิ ร สุสมาวตั นะกลุ ๕๐,๐๐๐ ผศ.ดร.ปัทพร สุคนธมาน ๑,๐๐๐ คณุ ธรี ะพงษ์ ศรีวมิ ลวัฒนา ๓,๐๐๐ ผศ.ดร.ยศ อมรกจิ วกิ ัย ๑,๐๐๐ คณุ พัชราพรรณ ภบู ญุ ศรี ๓,๐๐๐ ผศ.ดร.รกั ชนก คชานุบาล ๑,๐๐๐ ด.ญ.วรนนั ท์ สสุ มาวัตนะกลุ ๓,๐๐๐ ผศ.ดร.รตั ติยา ภูละออ ๑,๐๐๐ คุณวชิ ยั สขุ ในใบบุญ ๒,๐๐๐ ศ.ดร.วพิ รรณ ประจวบเหมาะ ๒,๐๐๐ คุณสาธิต สขุ ในใบบุญ คุณจันที โทบตุ ร คณุ ณฐั สขุ ในใบบญุ ๑,๐๐๐ คุณจริ าภรณ์ อานภุ าพ ๔๐ คณุ โชตริ ส ลขิ ิตเจรญิ พาณชิ ย์ ๕๐๐ คุณวรินทร์พร ตงั ตระกูลไพศาล ๒๐๐ คุณวรรณวภิ า สทุ ธิไกร ๒๐๐ คณุ ณัฐวฒั น์ มว่ งประเสรฐิ ๕๐ คณุ กนกกร แย้มสงวนศกั ดิ์ ๓๐๐ คุณดวงกมล ผลเพม่ิ ๑๐๐ คุณภูมิพฒั น์ โภชฌงค์ ๓๐๐ คณุ บศุ รนิ บางแก้ว ๒๐๐ คุณณชั ชากญั ญ์ ชูชืน่ ๓๐๐ วา่ ท่ีรอ้ ยตรี ประวตั ิ สายโน ๑๔๐ คณุ ประเทอื ง ลม้ิ กลุ ๒๐๐ คณุ ปราณี แหวนทองคา ๓๐๐ คณุ สทิ ธ์ิ ยองประโคน ๒๐๐ คุณปารชิ าติ เขตสมทุ ร ๑๐๐ คุณขยาวนิจ กมลศักดิ์พทิ กั ษ์ ๑๐๐ คุณวนิดา เซยี สกลุ ๑๐๐ คุณหนใู หม่ ตรบี าตร ๑๐๐ คุณวรรณวดี จันทรว์ ังโป่ง ๒๗๐ คุณธนภร เพช็ รกาจัด ๒๐๐ คณุ ชาตรี หาศริ ิ ๒๐๐ คณุ ลลิ ะวรรณ ธรรมชาติ ๕๐๐ คณุ วษิ ณุ ญาณเนตร ๑๐๐ คุณกชพร วงค์ชัย คุณสมศกั ดิ์ ตุ้มทอง ๕๐๐ คุณชตุ กิ าญจน์ ธนาตยย์ ศพล ๑,๐๐๐ คณุ อรพนิ พยุงวงษ์ ๑๐๐ คุณเปมปัญญภา ปัญญาปวรี ์ ๒,๐๐๐ ดร.ชลธชิ า อัศวนิรนั ดร ๑๐๐ คณุ สุวิมล หวังสมั ฤทธิผ์ ล ๑,๐๐๐ คุณวริ ลั พัชร มานติ ศรศกั ด์ิ ๕๐๐ คุณ รุ่งนภา ถริ เจริญสกลุ คุณรัชฎาภา แสงแกว้ ๑๐๐ ๕๐๐ ๑๑๗
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ รำยนำมผู้ร่วมบุญพมิ พห์ นงั สือมรดกธรรม คุณกิมฮวย กลุ ตั ถน์ าม ๑,๐๐๐ คุณวลยั ลักษณ์ เบอหน์ ิง ๗๒๐ คณุ ณฐั นชิ เท่งฮะ ๓๐๐ คุณววิ ดาว พงษ์เรอื งเกยี รติ ๑,๑๕๒ คณุ เจนจิรา กติ ตกิ าร ๒๐๐ คุณวลัยพรรณ เพญ็ ชาติ ด.ช. ภาณุวชั ร กติ ตกิ าร ๑๐๐ คณุ ภัทรานุช เขมจรัส ๗๒๐ คณุ พิมพ์อัปสร งอนสวรรค์ ๑๐๐ คณุ ศริ วิ รรณ พลบั อนิ ทร์ ๑,๐๐๘ คณุ เพชรรตั น์ งอนสวรรค์ ๑๐๐ ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม ADORA GEMS ๒๐๐ พีน่ ้อย วดั ปทุม ๗๒๐ คุณธีรเดช ศยามล ๑๐๐ คุณวายูน อดุ มสจั จานนั ท์ ๓๐๐ คณุ เครอื วลั ย์ งอนสวรรค์ ๑๐๐ คุณจาตรุ นต์ กติ ตสิ รุ นิ ทร์ ๕๐๐ ด.ญ.ภรรัมภา งอนสวรรค์ ๑๐๐ คณุ อรุณรัตน์ สวัสดท์ิ อง ๑,๐๐๐ คุณแม่เฮียง ศริ ิเทพ ๑๐๐ คณุ ธนยิ า หทโยดม ๒๐๐ คุณอนวุ ตั ร งอนสวรรค์ ๑๐๐ คณุ ณัฐา พิศภมู วิ ถิ ี ๓,๐๐๐ คุณแมท่ องสขุ กุสมุ าลย์ ๑๐๐ คุณสริ ินทร พลจันทร์ ๕,๐๐๐ คุณพอ่ ทองสู่ กุสุมาลย์ ๑๐๐ คุณวันทนีย์ ลอตระกูล ๑,๔๔๐ คุณณัฐกาญจน์ กุสมุ าลย์ ๑๐๐ คณุ เนาวรัตน์ ตนั ติเวทย์ ๗๒๐ คณุ กนั ยา กสุ ุมาลย์ ๑๐๐ คุณเอนก สสุ ุทธิ ๕๐๐ คุณจาลอง กุสุมาลย์ ๑๐๐ คณุ ชณุ ห์พมิ าณ ศภุ ธาเสฏฐ์ ๕๐๐ คุณสุรยิ า-คุณรกั เร่ บุญวสิ ัย ๑๐๐ คณุ ทิพวรรณ พนั ธวงศ์ศภุ กร ๒๐๐ คุณวิยะดา แก้วเชยี งหวาง ๒๐๐ คุณถนอมศรี รัตนอนันต์ ๑,๐๐๐ คุณทง้ิ ตาคา ๑๐๐ คุณเพ็ชรี รกั ษาเสรี ๕๐๐ คณุ อุลัย ไชยะบุบผา ๑๐๐ คณุ กันยารตั น์ รกั ษาเสรี ๑,๐๐๐ คุณภทั ราพร ตาคา ๑๐๐ คุณจนั ทิมา รกั ษาเสรี ๕๐๐ คณุ สกุ ัญญา บุญวลิ ัย ๑๐๐ คณุ ทิพยว์ รรณ รกั ษาเสรี ๕๐๐ คณุ นฤพน สวัสดนิ์ ที ๑๐๐ คุณวรวรรณ โถทองคา ๕๐๐ ด.ญ.พณิ ญาดา สวสั ด์นิ ที ๑๐๐ คณุ สมรกั ษ์ โล่หว์ ิสัย ๒,๐๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๑๑๘
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทุมวนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ รำยนำมผู้รว่ มบญุ พมิ พ์หนังสอื มรดกธรรม คณุ ซันดีพ-คุณอภรู วา ตัก ๑๐๐ คณุ ถนิมใจ สมทุ วณชิ ๕๐๐ คุณอุไรรัตน์ นาคา ๒๐๐ คณุ บษุ กร พฤกษพงศ์ ๖,๐๐๐ คณุ สมทรง ๑๐๐ คณุ มนนิภา พฤกษพงศ์ คุณเต้ ๒๐๐ คณุ อรวรรณ ชมนารถ ๑,๐๐๐ คุณอรุณ ประเวรภัย ๑๐๐ คุณอุไรพรรณ พิพฒั นไ์ พบูลย์ ๑,๐๐๐ ส.ต.อ.อดิสร กสุ มุ าลย์ ๑๐๐ แม่ชนี ภาจร เหมะจนั ๒๐,๐๐๐ คุณวนดิ า อ่าเอ่ียม ๑๐๐ คุณธนิตา (คุณหมอนก) ๑๒,๐๐๐ ด.ญ.ชนิดา กสุ ุมาลย์ ๑๐๐ คุณนา้ -คุณเปล้ิ ร้านแวน่ ส.ต.อ.ปญั ญาวธุ บุตรพรม ๑๐๐ คณุ ปทั มา เจยี ระศริ สิ ิน ๕๐๐ คุณอมรรัตน์ กสุ ุมาลย์ ๑๐๐ คณุ ไพโรจน์ ครี รี ตั น์ ๑,๐๐๐ ด.ช.ปยิ วธุ บตุ รพรม ๑๐๐ คุณช่อรดา ชยั วีรจิต คณุ สุภทั รา ไชยลอื ชา ๒๐๐ คณุ ธยานิษฐ จนั ทราภาส ๕๐๐ คณุ บานเยน็ จนั ทรพ์ พิ ัฒน์ ๑๐๐ คุณปัญญนาถ นลิ สุข ๑,๐๐๐ คุณอุดมทรัพย์ มาลา ๓๐๐ คณุ สุรีย์ ศภุ วบิ ลู ย์ ๑,๐๐๐ คณุ ธญั กมล สกุลวนภรณ์ ๑๐๐ คณุ เหมอื นฝนั ธารณธรรม ๑,๐๐๐ คณุ กาญจนา อทิ ธิพงศ์ ๑,๐๐๐ คณุ อภพิ ร อดลุ ย์พิจิตร ๑,๐๐๐ คณุ วิภาดา อทิ ธพิ งศ์ ๑,๐๐๐ คณุ วรลัญวลัญช์ วริษฐ์พุฒเิ มธ คณุ กรรณกิ า นนั ทวัฒน์ศริ ิ ๖๐๐ คุณวัชรพงษ์ มุขเชดิ ๕๐๐ คณุ ภาษกร นนั ทวฒั นศ์ ิริ คุณภควรรณ ศิลาเพชรจรสั ๒๐๐ พญ.พงศ์ภารดี เตทะเกษตรนิ ๑,๐๐๐ คุณพชิ ญานนิ ช่วยนุกุล ๓๐๐ คณุ พงศ์พฒั นา ธารมงคล คณุ สดุ ารตั น์ กนั ทะเนตร ๑,๐๐๐ คุณณฏั ฐกิ า เลิศฤทธิ์เรอื งสนิ ๕๐๐ คุณณชิ ารยี ์ ภกั ดนี ฤนาถ ๕๐ คุณสภุ าภรณ์ ฟ้งุ สาธติ คุณสมศกั ดิ์ กานต์ภัทรพงศ์ ๒๐๐ คุณวรรณทนา เข็มทอง ๓๐๐ คณุ เหนอื ฟา้ กจิ จนิ ดาโอภาส ๕๐๐ คณุ วสุ ยุวนบณุ ย์ ๒๐๐ คณุ สุทธิวรรณ เวชมนัส ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๕๐๐ ๑๑๙
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ รำยนำมผ้รู ว่ มบญุ พมิ พ์หนงั สือมรดกธรรม คุณทิวา ณฤทยั ทวิ าเจรญิ ๓๐๐ คุณธิดารตั น์ จนั ทรฉ์ ายงาม ๑,๒๐๐ ๑๐๐ คณุ จดิ าภา อทิ ธิพงศ์ ๕๐๐ คณุ พนอ วงศ์คา ๑๐๐ คณุ ตอ้ ง กรนิ ทร์ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ คณุ เลก็ (เพอื่ น) ๖๐๐ คณุ ลมัย สขุ อว่ ม คุณธนัดดา กริอุณะ ๕๐๐ ๒๐๐ คณุ นา้ ฝน ชาวโพธิส์ ระ ๑๐๐ คณุ บิเรน ปาริก คณุ วรินทร สุขจิตต์ ๑๐๐ ๓๐๐ คณุ ศดานนั ท์ รักษาผล ๒๐ คณุ แปรนน้า ปารกิ ๕๐๐ คุณจารุวรรณ วนั เพ็ง ๕๐ ๕๐๐ Mr. Rotha Sing ๒๐๐ คณุ คชุ คเู ชิล้ ปารกิ คุณสาริกา งามทานตะวนั ๒๐๐ ๑,๒๐๐ คุณอุทัย ทองบญุ ชู คณุ แมก่ รรฐั สทิ ธจิ นิ ดา ๔,๕๔๐ คุณนฐั พรรณ์ บญุ ทมิ ๑,๐๐๐ คณุ ประวุธ ปลดรัมย์ และ คณุ แมว่ ิภา พงศ์สวุ รรณ ๑๐๐ คุณตนุ่ คณุ กุง้ ๒,๘๘๐ ๑,๐๐๐ แพทย์หญิง สขุ ฤทยั เลขยานนท์ ๑๐๐ คณุ นภิ า จนั ทศรี ๑,๐๐๐ คุณศุภสิ รา แกน่ แก้ว และครอบครัว ๕๐๐ ๑,๐๐๐ คณุ พรศักดิ์ โครตวงษ์ และครอบครัว คุณกรณศิ พฒั นชยั ๑,๐๐๐ คุณสเุ มธ ศรเี มอื ง และคณะวดั ปทมุ ๒,๐๐๐ คุณสมบูรณ์ กาญจนรัศมีโชติ ๖๐๐ คุณศวิ นันท์ บญุ โท ๓,๐๐๐ และครอบครวั คุณพิศาล-วิภาดา จรรยาเลิศอดลุ ๖,๕๐๐ คุณนชิ ณา ลม้ิ พทิ ยา ด.ช. เปรมสรุ นิ ทร์ จรรยาเลิศอดุล ด.ช. ปลมื้ สรุ นิ ทร์ จรรยาเลิศอดลุ คณุ กนั ยณฏั ฐ์ บุญกิตตชิ ัย ด.ช. โปรดรินทร์ จรรยาเลิศอดลุ คุณพมิ พ์ศยา ล้ิมพริ ยิ ะภาณณิ ผไู้ ม่ประสงค์ออกนาม (รวม) คุณบุญเปรม-คณุ เพญ็ แข สารกิ จิ คณุ ชลธชิ า มาทิส และครอบครวั คณุ งามพรรณ์ ฐิติพรรณกลุ และครอบครวั คุณณรงค์ ผอ่ งแผว้ -คุณพรนภิ า ชื่นอารมย์ คุณอรวรรณา ฉายา และครอบครวั คณุ ธนกรณ์ ธนทวโี ชติ และครอบครวั คณุ สถติ ย์ แถลงสตั ย์ และครอบครัว คณุ ศริ ิวรรณ ศรวี ิมลวฒั นา (นวพาณชิ น)์ ๑๒๐
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ รำยนำมผู้รว่ มบญุ พิมพ์หนังสือมรดกธรรม คณุ สพุ าพรค-์ คณุ สมจติ ร พัฒนประเสรฐิ ๑,๐๐๐ คณุ ลลติ า อยู่ประเสรฐิ และครอบครวั ๒,๐๐๐ คณุ สไบทอง ชัยประภาและครอบครวั ๗๒๐๐ คณุ ดิศนติ ิ-ปญั ชนิติ-สณั หน์ ติ ิ โตววิ ฒั น์ ๗,๗๖๐ คุณสมสมาน-อลิสา-บุญจริ า โสตถทิ ตั ๒,๑๖๐ และ คุณสมมา บญุ สง่ คณุ สายบวั ทอง-คณุ สมพงษ์ โดสุวรรณ์ ๑๐๐ คุณสุกญั ญา จานงค์บญุ และครอบครัว ๑๐๐ คณุ กฤษฎี บุญสวยขวญั และครอบครวั ๒๐๐ คุณจุไรรตั น์ เปย่ี มเพชรกลุ และครอบครัว ๑๒๐ คุณมยรุ ี และคณุ มาลี ดอนนภาพร ๒๐๐ คณุ พิมพช์ นก ตันติยุทธ ๑๐๐ ๑๒๑
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126