มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ ให้ประโยชนใ์ นการเป็นอย่จู ากขณะนี้ เปน็ ต้น เพื่อจะให้เปน็ คนดีอยู่ กับศีลกับธรรมคาสอน อยู่กับข้อวัตรปฏิบัติขัดเกลาตนเอง เพื่อจะ ยกฐานะความเป็นอยู่ของเราให้สูงส่ง สูงเด่นเป็นสง่าราศี เป็นคนดี ในสังคม เป็นคนดีของชาติ เป็นคนดีของพระศาสนา เป็นคนดีใน ครอบครัวของเรา หรือว่าเป็นคนดีหรือเป็นศิษย์ท่ีดีของครูบา อาจารย์ มันต้องดีเร่ิมดจี ากการปฏิบัติของเรา ถ้าเราไม่ดี อยากให้คนอ่ืนสรรเสริญเยินยอมันก็แค่นั้น คน จะดีก็เพรำะมีศีล คนจะดีก็เพรำะรู้จักกำรให้กำรแบ่งปัน คนจะดี ละเอียดข้ึนไป ดีที่สุดหลุดพ้นก็เพรำะประพฤติปฏิบัตจิ ิตตภำวนำ “ศีลเป็นเหตุ สมำธิเป็นผล สมำธิเป็นเหตุ ปัญญำเป็นผล” เมื่อ ปัญญาเกิดข้ึนแล้วจากการอบรม มาอบรมอะไรก็อบรมจิตของเราก็ บริสุทธิ์หลุดพ้น น่ีคือคาสอนของพระพุทธศาสนา เป็นคาสอนที่ รวบรวมรู้ง่าย เข้าใจง่าย แต่ว่าถ้าคนไม่รู้จักไม่ได้ยินได้ฟัง ประหน่ึง วา่ มันอยตู่ รงนัน้ อยตู่ รงนี้ อยู่กบั คนนนั้ คนน้ี ส่งจติ สง่ ใจคดิ ไป นึกไป นอกไปจากปัจจุบัน จากการปฏิบัติของตน จิตใจเลยไปห้อยไป แขวนไปวิ่งอยู่กับส่ิงนอกกายนอกจิตของตนเอง แปลว่าวิ่งตะครุบ เงา ถ้าเราตั้งอกต้ังใจอย่างน้ัน ถึงจะไม่ฉลาดเป็นนักเทศน์ อาตมาไม่ใชเ่ ปน็ นกั เทศน์ เป็นนักปฏิบัติเหมือนพวกเรา พดู ไปฟังไป สอนตนเองไปพร้อม ได้ยินธรรมะก็เอามาย้อนจิตคิดสอนตนเองไป ด้วยเหมือนกับพวกเราอาศัยการได้ยินได้ฟังเหมือนกับคนเรา ถ้าได้ ยินได้ฟัง การปฏิบัติจะเพ้ียนบ้างค้นหาเอาเอง บางทีก็ถูก ๆ ผิด ๆ ถ้าได้ยินได้ฟัง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ได้ศึกษาตามแนวทาง พระพุทธศาสนาเป็นสิ่งที่ปักใจลงใจได้เลยว่า พระพุทธเจ้าตรัสรู้ ๔๗
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ อะไร ท่านรู้อะไร ท่านจึงมาประกาศศาสนธรรมคาสั่งสอน คาสอน ของพระพุทธองค์คือสอนอะไร สอนเพ่ืออะไร ให้เราศึกษำหำ ควำมรู้ควบคู่คุณธรรม คนเรายังไม่ถึงจุดหมายปลายทาง หรือยัง ไม่ไดพ้ น้ ทุกขก์ ็ศกึ ษาไปเรอ่ื ยร่าไป แม้คดีโลกก็ต้องศึกษา เพ่ือทามาหาเล้ียงชีพ เพ่ือความอยู่ รอดทางกิจทางใจภายใน ไม่ศึกษาจะปล่อยความคิดร่ัวไหลไปกับ อารมณ์อย่างท่ีเคยคิด เคยนึกเคยปรุงเพ่ิมแต่ง ก็ถือว่าเราปล่อยตัว หลงระเริงเกินไป ไม่สมกับที่ว่าต้องการความสุขความเจริญ คน ต้องการความสุขความเจริญก็ต้องระมัดระวัง แม้จะยืนเดินนั่งนอน ก็ต้องระมัดระวัง เดินก็ต้องระมัดระวังตามเส้นทางที่ปลอดภัย การ เดินกค็ ือความคิดของจิต ความนึกของใจเหมือนกัน แตเ่ ราตอ้ งเลือก อารมณ์ที่ควรคิดควรนึก ควรตรึกควรตรองเหมือนกัน หรือว่ามีการ เลือกเฟ้น อย่างที่เรามีศีล เวระมะณี แปลว่าให้เว้น ศีลข้อห้ามมา ประพฤติปฏิบัติ แต่เราห้ามอย่างนั้นห้ามอย่างนแ้ี ล้ว ก็ต้องคิดอย่าง น้ตี อ้ งทาอยา่ งนี้ ต้องพดู อย่างน้ัน หา้ มไม่ได้ ไม่ใชจ่ ะใหห้ ้ามทุกอยา่ ง แม้ความคดิ กห็ า้ มไม่ใหค้ ิด ก็ไมไ่ ด้ นสิ ยั ของมนษุ ยท์ ังโลก มี ความคิดเป็นพนื้ ฐาน กแ็ ค่จิตตสังขาร ถ้าไมค่ ิดก็ไมร่ ู้ ใครจะคดิ อะไร ให้ใจเรารู้ ควำมคิดคือจิต ควำมรู้คือใจ ก็อยู่ด้วยกัน ต้องอาศัยกัน และกัน มีอะไรก็จะพูดให้พวกเราฟัง เพราะความตั้งใจ ต่อมาถึง โอกาสอันสมควรแก่เวลา ให้พวกเราปฏิบัติ ใครกาหนดอะไร ระลึก นกึ อะไรเปน็ อารมณ์ เคยประพฤติปฏบิ ตั มิ า เคยไดย้ นิ ได้ฟงั มา อะไร เป็นหลักให้จิตของเรามีความสงบ มีความต้ังมั่นไม่หว่ันไหว หรือว่า ได้อุบายจากแนวความคิด หรือได้อุบายจากท่ีเราได้ยินได้ฟัง ก็จับ ๔๘
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ จุดนั้นเลย ก็จับอารมณ์นั้นเลย เป็นประเด็นเด่นของเรา เพ่ืออะไร เพื่อจิตใจของเราเข้าสู่ความรู้ เม่ือพร้อมกับเข้าสู่ความสงบ ความสงบก็มีหลายอย่าง หลายมาตรฐานเหมือนกัน ตง้ั แต่กายสงบ วาจาสงบ แตใ่ จยงั ไม่สงบ หรือว่าสงบไปชั่วระยะสัน้ ยาว แต่ถ้าใจสงบด้วยวิธีใด บริกรรมอะไร พิจารณาอะไร ตั้งจิตเขา้ ส่คู วามสงบเป็นสมาธิได้แลว้ กเ็ ป็นเรื่องของ เราแต่ละท่าน ถ้าใจไม่สงบ พูดเร่ืองปัญญาก็ล้มเหลวเหมือนกัน ปัญญาก็เหมือนกับน้าล้นฝั่งเหมือนกัน คิดไปมากก็ทาให้หลงมาก เหมือนกัน ถ้าเรามีสมาธิ หมายถึงว่า “ศีลเป็นเหตุ สมำธิเป็นผล สมำธิเป็นเหตุ ปัญญำเป็นผล ปัญญำเป็นเหตุสอนจิต อบรมจิต อบรมใจ ใช้พระบริสุทธ์ิ ถึงอยู่กับเท่ำควำมเอำทัน” หมายถึง ความรู้ด้วยบริสุทธ์ิ คิดได้นึกได้ ทาได้พูดได้ แต่ว่าไม่หลง เข้าใจถึง ความบริสทุ ธิ์ หลดุ จากความหลง ความลุ่มหลงสงสัยมนั มีทกุ คน แม้บวชมาแล้ว อุปัชฌาย์ครูบาอาจารย์สอนอย่างดี สวด อย่างดีสวดญัตติอย่างดีแล้ว ก็ต้องมาอบรมบ่มนิสัย ปรับปรุงแก้ไข ตนเองด้วยศีลด้วยภาวนาเหมือนกัน เพื่อไม่ให้เข้าสู่ความหลงพ้น จากความหลง เพ่ือหลุดจากความมืด เพราะทุกคนเกิดมาจากความ มืด คือการไม่รู้ตามความเป็นจริง ความหมายของความมืด อบรม จากการได้ยิน อบรมจากการอ่านตารับตารา ศึกษามาแล้วยังไม่ เข้าใจ ปฏิบัติแล้วยังวนไปไม่ได้ เพราะจิตใจยังมีความหลงเป็น พ้ืนฐานอยู่ ฉะนั้น ทุกคนเกิดข้ึนมาในโลก มนุษย์สัตว์เกิดขึ้นมาจาก ความหลง ท่านให้ช่ือว่า อวิชชำ แปลว่ำไม่รู้ วิชชาก็มีคู่กันอยู่แล้ว เป็นเครอื่ งแก้ วชิ ชำแปลวำ่ ควำมรู้ควำมฉลำด ๔๙
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ วิชชำจะระณะสัมปันโน วิชชาจะระณะของพระพุทธเจ้า ท่านก็อาศัยวิชชา คือการประพฤติปฏิบัติ หลายจรณะมีอะไรบ้าง ต้องถามเจ้าประคุณ ลูกท่านหลานเธอทั้งหลาย จะรู้ว่าจรณะของ พระพุทธเจ้า การประพฤติปฏิบัติก่อนท่ีจะตรัสรู้ต้องอาศัยวิชชาจะ ระณะสัมปันโนเป็นคู่ในการประกอบการปฏิบัติ หายใจเข้าให้มี เฉพาะความรู้ต่อหน้า คนเรามีท้ังชีวิตและจิตใจอยู่ร่วมกัน ทั้งมีชีวติ และจิตใจอยู่ในคน ๆ เดียว ชวี ติ คอื ลมเข้าออก กถ็ อื ว่ามชี ีวติ อยู่ได้ก็ เพราะลมเข้า-ลมออก แต่อย่าลืมว่าจิตใจก็ต้องประคับประคองให้ อยู่ด้วยกันรู้ด้วยกัน รู้ลมเข้า-ลมออก หรือว่าจะกาหนดบทใดหรือ บริกรรมท่ีครูบาอาจารย์มอบให้หรือเคยได้ยินได้ฟัง สอนให้เราได้ เห็นได้ปฏบิ ัตมิ าแล้ว พุท-ลมเข้า โท-ลมออก พุท-โธ พุท-โธ ก็ได้ เพื่อเป็นอุบาย เปน็ เคร่อื งระลกึ สติจับจิตจบั ใจให้มนั อยู่กับหลัก หลกั คอื พุทโท หรือ ลมเข้าลมออกเป็นหลัก และก็พร้อมกับความรู้สึกอยู่เรื่อย ๆ สัมปชัญญะหรือว่าสติสัมปชัญญะ มีทั้งหลักปักไว้ให้แน่นหนามั่นคง มีทั้งเชือกผูกล่ามดึงไว้ถึงจะดิ้นรนขนานไหน จิตดวงน้ี ใจดวงน้ี ถ้า เราตั้งอกตั้งใจให้อยู่กับหลักในการปฏิบัติท่ีถูกต้องด้วยเชือกที่ผูก ล่ามเอาไว้ ไม่ให้หนีจากสายตาแล้ว ถึงจะด้ือขนาดไหนดิ้นรนกวัด แกว่งขนาดไหน ถ้าหลักมันดีแล้ว เชือกมันเหนียวแน่นแล้ว มันก็ไม่ เหลอื วิสยั ย่อมสงบจนได้ จติ ดวงน้ันใจดวงนัน้ ให้พวกเราต้งั อกต้ังใจ ฟงั ตั้งอกตั้งใจปฏบิ ัติ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธัสสะ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพทุ ธัสสะ ๕๐
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วดั ปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ อะเสวะนา จะ พาลานัง ปณั ฑิตานญั จะ เสวะนา ปูชา จะ ปูชะนยี านัง เอตัมมังคะละมตุ ตะมงั ฯ บัดน้ีอาตมาก็พาให้พวกเราทุกคน สาธุชนพุทธศาสนิกชน ทุกคนให้ต่อการประพฤติปฏิบัติ เพ่ือเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา อัญชลีบูชา ปฏิบัติบูชา ด้วยกายด้วยวาจาและจิตใจ เป็น เครื่องบูชา เป็นเครื่องเทิดทูน เพ่ือเป็นบุญเป็นกุศล เพ่ิมพูนบุญราศี เพ่ือให้บารมีที่มีอยู่แล้ว มีมากขึ้น ๆ ทุกคนก็มีบารมีอยู่แล้ว แต่มัน จะมากน้อยก็แล้วแต่ผู้สร้างมาไม่เหมือนกันประพฤติปฏิบัติอยู่ก็ไม่ เหมอื นกนั ผลท่รี ับจะเทา่ เทียมกันท้ังหมดเทา่ กนั อยา่ งไร เปน็ เครื่อง รู้เป็นเคร่ืองแยกแยะ เป็นเครื่องแบ่งเพราะกรรมเป็นเคร่ืองแต่งให้ สัตว์มนุษย์ทั้งหลาย เป็นไปตามกรรมคือการประพฤติปฏิบัตมิ าแลว้ ไม่ต้องสงสัย ทุกคนเกิดมาในโลกด้วยผลกรรมท่ีกระทามาไม่ เหมือนกัน ทาดีทาช่ัว ทาบุญทาบาป ผลท่ีได้รับก็อย่างท่ีผลเกิดข้ึน ว่า ใหเ้ ป็นมนุษยใ์ นโลก ความเป็นอยู่ วาสนาบารมี สติสมาธิ ปญั ญา ไม่เหมือนกัน ก็เพราะการกระทามาไม่เหมือนกัน ประพฤติปฏิบัติ อยู่ก็ไม่เหมือนกัน ความรูค้ วามฉลาด รปู ร่างกลางตวั ก็ไม่เหมือนกัน นี้เชือ่ เลยวา่ เปน็ เพราะผลของกรรม กรรมเป็นคากลาง ๆ กุศลกรรมเป็นผลสร้างให้สัตว์มนุษย์ เลวร้ายไม่เหมือนกัน อกุศลกรรมทาให้มนุษย์สัตว์ดีชั่วไม่เหมือนกัน บุญและบาปเกิดจากเหตุเกิดจากการกระทา ด้วยกายแปลว่า กายกรรม พูดออกมาแปลว่าวจีกรรม ทาด้วยรูปมือร่างกลางตัว แปลว่ากายกรรม มโนกรรมคิดข้ึนมาในจิตในใจภายในนี้ที่เกิดข้ึน ทั้งบุญและบาป ดีหรือชั่ว ตรงนี้เป็นหลักเป็นสิงที่พระพุทธเจ้า ๕๑
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ ทั้งหลายเน้นเข้ามาสู่จุดน้ี อาตมาจึงได้ยกสุภาษิตข้ึนมาว่า มงคล สูตรข้ึนมาว่า อะเสวะนำ จะ พำลำนัง ปัณฑิตำนัญจะ เสวะนำ ปชู ำ จะ ปูชะนียำนัง เอตมั มงั คะละมตุ ตะมัง ฯ เป็นตน้ เพอื่ จะให้ รู้จักเส้นทางของชีวิต ให้ถูกต้องตามทานองคลองธรรมที่เรา ปรารถนาหากัน สว่ นมากปรารถนาหาแตค่ วามดีความสบาย ความสุขความ สมบูรณ์ด้วยกันทั้งน้ัน แต่ในทางของชีวิตทาไมต้องเจอท้ังดีและช่ัว ทาไมท้งั ดีและไม่ดี เขาก็ใหเ้ พราะทงั้ ของเกา่ ของใหม่บวกกันเข้าแล้ว ถ้าอันไหนมีอานาจมาก มันก็ให้ผลมาก อันไหนมีอานาจน้อยก็ค่อย ๆ ให้ผลสืบต่อกันไป ทั้งที่เราทามาในอดีตท่ีผ่านมาแล้ว หรือทา มาแล้วอยู่ในปัจจุบันขณะน้ี ผลท่ีได้รับในอนาคตกาลเบ้ืองหน้าก็ เหมือนกัน เพราะการเสวนา เสวะนำ จะ พำลำนัง ถ้าท่องเท่ียว เวียนว่ายตายเกิดในโลกียะไม่มีที่ส้ินสุดยุติ ถ้าเท่ียวหาตามพละ ธรรม คำสัง่ สอนของท่ำนผู้รู้ มีพทุ ธศาสนา เป็นตน้ คือมรรคมีองค์ ๘ หรือ โพชฌงค์ ๗ ๘ ๙ หรอื โลกตุ รธรรม ๙ เส้นทางท่ีจะเกิดขึ้นของพระพุทธ ที่เกิดขึ้นของพุทธ ๗ ๘ ๙ ๗ ก็คือ โพชฌงค์ ๗ ที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ทุก ๆ พระองค์ จะ เว้นเสียอย่างข้อหน่ึงข้อใดไม่ได้ จะไม่สมบูรณ์ ๘ เมื่อเดินทางแห่ง อริยะมรรค คือการประพฤติทางกายวาจาใจท้ัง ๘ อย่างให้ได้ ต้อง สมบูรณ์ทั้งน้นั หรอื วา่ มรรคมีองค์ ๘ ถา้ พูดตามเส้นทางก็คอื ๘ เสน้ ใหญ่ ๆ ถึงจะเส้นทางในโลกมีกี่เส้น ถ้ำรวมแล้วก็มำเข้ำสู่มรรคมี องค์ ๘ จึงจะเป็นเส้นทำงที่หลุดพ้นจำกควำมหลง เพรำะเขำจะ เข้ำไปสู่ควำมบริสุทธ์ิพุทโธจนได้ เส้นทางในโลกมันมีมากต่อมาก กับการประพฤติปฏิบัติ ลัทธิประเพณี ศาสนาใดในโลก ใครก็ว่าใคร ๕๒
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ เก่ง ใครประเสริฐที่สุด ประกาศว่า ถ้าประกาศหรือแสดงออกมา ทางกายทางวาจาและทางจิต คดิ ข้ึนมาทางใจ ถา้ ถกู ตามมรรคมีองค์ ๘ ตั้งแต่สัมมาทิฏฐิ เป็นต้น จนถึงสัมมาสมาธิ จะเป็นทางท่ีนาไปสู่ ความสขุ ความเจริญ หรือว่า “เสวะนา จะ พาลานงั ” ถ้าเดินทางผิด คิดไม่ถูกตามธรรมนองครองธรรมแล้ว ผลต้องได้รับไม่สมปรารถนา ทีเ่ ราต้องการ ถ้า “ปัณฑิตำนัญจะ เสวะนำ” คบค้าสมาคมนักปราชญ์ บัณฑิต คิดตามทานองคลองธรรม พูดตามทานองคลองธรรม ประพฤติปฏิบัติตามเส้นทางท่านผู้รู้ผู้ฉลาด ด้วยกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมแล้ว ก็ถือว่าเป็นผู้เจริญ ย่อมเป็นผู้เจริญไม่ตกต่า เพราะฉะนั้น ชีวิตทุกชีวิต ท้ังชีวิตและจิตใจต้องอาศัยซึ่งกันและกัน ร่างกายก็เป็นชีวิตที่เราต้องพ่ึงพาอาศัยอยู่เหมือนกับบ้าน สร้าง ขน้ึ มาเกดิ ขน้ึ มา เป็นตวั เปน็ สัตว์ เป็นบุคคล หญิงชายร้ายดี กเ็ พราะ เป็นอานาจของบุญและบาป ดีช่ัว แต่ว่าจิตใจมาอาศัยบ้านที่ได้มา จากพ่อจากแม่ จากความเป็นอยู่ จากบ้านที่เรารักษา จากอาหาร การเป็นอยู่ ทุกวันนี้ก็คือบา้ นท่เี ราดแู ล แตม่ ีจติ บา้ นหลงั นม้ี เี จ้าของ อาศยั อย่คู อื จิตและใจ ท่ีเราอาศัยอยู่ ฉะนั้น บ้านกับเจ้าของบ้านต้องดูแลกันไป ให้เข้าใจตาม ความเป็นจริงของบ้าน อยู่ที่ไหน อยู่ในวัดนอกวัด อยู่ที่กิจการ ทางานตา่ ง ๆ ไปทไ่ี หนก็มีใจไม่ใช่เหรอ ฉะนัน้ การดแู ลหลอ่ เลี้ยงทั้ง ชีวิตและจิตใจ มันตอ้ งไปพร้อมกนั ประคับประคองกนั ไป ถา้ ผ้ใู ช้รถ รถก็ต้องเติมน้ามันไม่ใช่เหรอ รถถึงจะไปได้ถึงจุดหมายปลายทาง น้ามันก็ต้องมีในถัง สตางค์ก็ต้องมีในกระเป๋าไม่ใช่เหรอ ผู้ท่ีเดินทาง ถ้าเป็นอย่างน้ัน ไปที่ไหนก็สบายหายห่วงอบอุ่น ถ้าน้ามันมีในถัง ๕๓
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ สตางค์มีในกระเป๋า ไปท่ีไหนอยู่ท่ีไหน ยังไม่ถึงจุดหมายปลายทางก็ สบายอบอุ่น เพราะน้ามันมีในถัง สตางค์มีในกระเป๋า เปรียบเทียบ ให้ฟังว่า ใจเรามีบุญมีกุศลคือความฉลาด พร้อม ๆ ร่างกายก็พร้อม ดว้ ยกัน ตามสุขอนามัยท่ถี กู ต้องไม่ขาดตกบกพร่องมากเกินไป กำยดี จิตดี กำยดี ใจดี ประกอบหน้ำท่ีอะไรก็สำเร็จได้ ด่ังใจสมปรำรถนำ จากน้ัน เราก็มาพินิจพิจารณา คือภำวนำตำม สภำวะตำมควำมเป็นจริง ตามเรือนร่างของรูปของนามของกาย ของใจ ทุกอย่างคิดว่าเพราะเรา ตัวของเรา เรือนร่างของเรา อะไร เป็นเรา อะไรเป็นของ ๆ เราน้ี แนวทางศาสนาท่านจึงว่า เสวะนำ จะ พำลำนัง ปณั ฑิตำนัญจะ เสวะนำ การเป็นอยู่ในชวี ิตประจาวัน ก็ต้องศกึ ษาเหมอื นกนั การศกึ ษาโลก คดีของโลก การเลย้ี งชพี มันไม่ มีทส่ี ้ินสุดยตุ หิ รอก ไปกินไปหาไดม้ าใชไ้ ป กบ็ ่นว่ามันไมม่ ไี ม่พร้อมไม่ เตม็ กระเปา๋ สักที กเ็ พราะเราหามากินไปใช้ไปจับจา่ ยไป ยังไม่มีก็เช่า มาซื้อยืมมา ท้ังในชีวิตประจาวันก็จ่ายอยู่เป็นประจา แล้วมันจะทัน ต่อการจ่ายได้อย่างไร เพราะการได้มากับการจับจ่ายมันไม่ไป ด้วยกัน รู้จักหำ รู้จักเก็บ รู้จักรักษำ สำมอย่ำงให้ไปด้วยกัน ชีวิต น้ันจึงเป็นชีวิตที่อยู่ได้ เป็นชีวิตที่พอเพียง เป็นชีวิตที่เพียงพอ เป็นชีวิตที่รู้ถึงกำรได้มำซ่ึงทรัพย์ กำรรู้จักรักษำทรัพย์ รู้จัก จับจ่ำยซึ่งทรัพย์ รู้จักหำ รู้จักเก็บ รู้จักใช้ คนนั้นจะเอำตัวรอด ครอบครัวนนั้ จะอย่รู อด ถ้าครอบครัวไม่รู้จักการหา การเก็บ การใช้แล้ว ถึงยังไงก็ เอาตัวไม่รอด อันน้ีความเป็นอยู่ของโลก ความเป็นอยู่ของชุมชนอยู่ ร่วมกัน จิตใจก็เหมือนกันถ้าต้องการความสุขความเจริญ ความสุข ในศีลในธรรมต้องเสวนากับท่านผู้รู้ พุทธศาสนาท่านสอนไว้ว่า ๕๔
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วดั ปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ อยา่ งไร กต็ ้องมาศึกษาประพฤตปิ ฏิบัติตามในชีวิตประจาวนั เพราะ ทุกชีวิตเกิดมำแล้วต้นช้ีตำยปลำยชี้เป็น รู้ไหมว่าต้นชี้ปลายตายชี้ เป็นเดินไปที่ไหนก็เกิด ความเกิดความช้ีปลายก็เกิดไปทางตายแล้ว เดินไปไหนใต้ฟ้าหรือบนพื้นแผ่นดิน ต้องมีความตายเป็นท่ีสุดทุก ชีวิตทุกคนในโลก จะประกาศตัวเองเด่นกล้าสามารถอาจเอ้ือม ขนาดไหน ก็ย่อมอยู่ในสายตาแห่งพญามัจจุราชแห่งความตาย ก็ ฝากพวกเราเอาไว้เพื่อเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติใน ชีวิตประจาวัน เสวะนำ จะ พำลำนัง ปัณฑิตำนัญจะ เสวะนำ พาลข้าง นอกก็มีเยอะแยะ จะไปคบค้าทาไมคนพาล พาลก็พาไปผิด บัณฑิต พาไปดี พาไปทางท่ีถูก พาลข้างนอกก็มีเยอะแยะ บัณฑิตข้างนอกก็ มีมากต่อมาก ก็เลือกทางปฏิบัติคบค้าสมาคม พาลภายในจิต พาล ภายในใจของเราก็มีมากต่อมาก ความคิดถ้าไม่ได้เลือกเฟ้น เห็นว่า มนั เปน็ พษิ เปน็ ภัยแลว้ ทาไปตามความคิด นกึ ไปตามความคิดความ อยากนาหน้า นาพาก็ถือว่าเป็นพาลภายในจิตสาคัญมาก พาให้ ครอบครัวของเราให้ตัวของเราไม่มีคุณภาพ ก็เพราะว่าเราตามแต่ พาลภายในไม่ได้ตามบัณฑิต ไม่ได้ตามแนวความคิดท่ีถูกต้องตาม ทานองคลองธรรม ทาไมรถถงึ มีการสรา้ งเบรกขน้ึ มา เขาฉลาด ทง้ั มี คันเรง่ มีเบรกห้าม มชี ะลอไว้ก็ได้ จะโคง้ จะเล้ียวจะตรงขาดไหน จะ แซงจะสวนได้ทั้งนั้น เกิดมาจากแนวความคิดของมนุษย์ทั้งน้ัน แต่ เอามาใช้ในตัวเองในชีวิตประจาวันไม่เป็น รู้จักในการใช้กับส่ิง ภายนอก แต่การใช้กับชวี ติ ประจาวันของตนเองไม่เป็นแล้ว เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ ราบรื่นเป็นมงคล มีแต่ความสุข ความเจริญ ราบรื่นในชีวิตอย่างเดียวเป็นได้อย่างไร เพราะชีวิตของ ๕๕
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ เราเป็นชีวติ ที่ลอ่ แหลมอยู่กับภัยอันตรายรอบด้าน เส้นทางของชวี ิต จิตใจ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ทำงเลือกทำงจิตทำงใจย่ิงเป็นส่ิงท่ี สำคัญมำก เพรำะใจเป็นใหญ่เป็นเหตุเป็นประธำน ท่ีพูดให้ทำก็ มำจำกจิตจำกใจท้ังนั้น ฉะน้ัน ให้พวกเรำสังวรสำรวมวันนี้ให้ดี ให้เข้มงวดกวดขันกับตัวเอง เพรำะชีวิตทุกชีวิตในโลก ต้นช้ีตำย ปลำยชี้เป็น มันเบ่ียงเบนเปลี่ยนแปลงไม่ได้ ทุกคนเกิดมาในโลกทุก ชวี ติ ย่อมเปน็ อยา่ งนั้น ถงึ จุดจบเมือ่ ไหร่ก็เป็นเรื่องของกรรม ของแต่ ละทา่ นของแต่ละคนแล้วแต่จะประคับประคองชวี ิตของตนเอง ถึงเม่ือไรอย่างไร เห็นไหมเกิดที่หน่ึง ไปตายท่ีหน่ึงก็ยังมี เยอะแยะ เกดิ ที่บ้านก็ตายที่บ้านก็มีมากต่อมาก ไม่ว่าครบู าอาจารย์ สามเณรเถรชี มีบารมีมากน้อยเหมือนกันในโลก อาตมาถึงว่าสูง เท่ำไรก็อยู่ใต้ฟ้ำ สูงศักด์ิศรีดีงำมเท่ำไรในโลกน้ีก็อยู่ใต้ฟ้ำ ก็เป็น อย่างน้ัน สง่างามเท่าไร ดีเท่ำไรก็อยู่ใต้ทุกข์ ทุกคนเกิดมำมีทุกข์ ท้ังน้ัน อยู่ที่ความขวนขวายช่วยเหลือตัวเองและคนอื่น พอมันทุกข์ มันอยู่กับอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ฉะน้ัน อยู่เฉยไม่ได้มนุษย์สัตว์ เกิด มาต้องด้นิ รน สุขสบายดเี ทา่ ไหร่ก็อยู่ใต้ทุกข์ หาความสขุ ในวิสัยของ โลกคดีโลก ในโลกียะมีความสุขเท่าไร กอ็ ยใู่ ตอ้ นจิ จังมนั ไม่เท่ียง กิน ดีเท่าไหร่ไม่นานมันก็หิว นั่งว่ามันสบายไม่นานก็เจ็บปวดร้าวแล้ว เดินว่ามันสะดวกสบายไม่นานก็เม่ือยล้าแล้ว เปลี่ยนอิริยาบถเป็น ประจาท้ังวนั หาอริ ิยาบถท่มี ันสบาย เพราะฉะน้ัน อิริยาบถเดียวไม่ได้มนุษย์นี้ ต้องยืนเดินน่ัง นอน ถ้าเป็นไปได้ต้องอย่างนั้น แต่ว่ายืนด้วยควำมรู้เท่ำเท่ำทัน เดินด้วยเป็นผู้มีสติผู้มีปัญญำ น่ังนอนสอนตนเอง อย่ำงน้ันเป็น ชีวิตที่มีคุณค่ำ สูงเท่ำไรก็อยู่ใต้ฟ้ำท้ังนั้น สง่ำงำมเท่ำไรก็อยู่ใต้ ๕๖
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ ทุกข์ มีควำมสุขควำมสบำยเท่ำไรกอ็ ยู่ใต้อนิจจัง มีเครื่องรำงของ ขลังมำกเท่ำไรก็อยู่ใต้กรรม เอามาปกปักรักษาเท่าไรมากต่อมาก เช่าหรือซื้อมาพอกลับมาถึงก็ไปท่ีคาว่า ต้นช้ีตายปลายชี้เป็น มันช้ี ไปแล้วเอาเคร่ืองรางของขลังมาปกปักรักษาแค่ไหน ผลสุดท้ายก็ อนจิ จำ วะตะ สังขำรำ อปุ ปำทะวะยะธมั มิโน เม่ืออุบัติขึ้นมำแล้วยอ่ มไมเ่ ท่ยี ง แต่จะเปลี่ยนแปลงไปช่ัว ระยะหน่ึง แล้วก็ดับไปส้ินไป มีแล้วก็ดับไปมีแล้วก็หำยไป เพราะ ต้นมันช้ีไปทางตายแลว้ ปลายชเี้ ป็นคอื อะไร บน้ั ปลายชีวิตตั้งแต่เกิด รเู้ รยี นชวี ิต ตั้งแตร่ ้สู ภาวะกศ็ ึกษาหาความรคู้ ่คู ณุ ธรรม คบคา้ บณั ฑิต นักปราชญ์นาพาไปสู่ความสุขความเจริญ ปลายช้ีเป็นคือบ้ันปลาย ชวี ิตต้งั แตแ่ รกเกิดแลว้ จะพยายามให้ไปสู่ความสบาย มีแต่ความสุข ความเจริญท้ังคดีโลกและคดีธรรม อันนี้เป็นของสาคัญมากสาหรับ ทุกชีวิต ทุกจิตใจต้องพัฒนา ต้องศึกษาและมาพัฒนาในความ เป็นอยู่ อย่าไปลุ่มหลงงมงายมาก ความเข้าจะชักชวนไปสู่ลัทธินั้น ลัทธนิ ี้ ลัทธใิ ด ๆ ก็อย่ใู ตฟ้ า้ ลทั ธิไหนสงา่ งามเท่าไรก็อยู่ใต้อนิจจังใต้ ทุกข์ สุขเท่าไรสบายเท่าไรก็อยู่ใต้อนิจจัง เหนียวแน่นเท่าไรก็อยู่ใต้ กรรม ผลสุดท้ายต้นช้ีตายปลายช้ีเป็น สาคัญอย่างยิ่งคือปลายช้ี เป็น บ้ันปลายชีวิตของเราจะเป็นอะไร ในวันน้ีขณะน้ี แล้วไปสู่ อนาคต ชั่วโมงข้างหน้า วันหน้า เดือนหน้า ภพหน้า ปราชญ์ท่าน สอนอย่างน้ัน ท่านสอนอย่างน้ัน เพราะท่านรู้แล้วในการประพฤติ ปฏิบัติของพระองค์อย่างพระพุทธเจ้า พระองค์ท่าน ท่านถึงจุดจบ พบความสุขที่แท้จริง ควำมสุขในโลกเป็นควำมสุขที่อยู่กับอนิจจัง เคร่ืองรางของขลงั มีมากเท่าไรเช่ามา ผลสุดท้ายก็อยู่ใต้กรรม ไม่หนี ๕๗
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ จากน้ัน สูงเท่ำไรก็อยู่ใต้ฟ้ำ สง่ำงำมเท่ำไรก็อยู่ใต้ทุกข์ สุขเท่ำไร สบำยเท่ำไรกอ็ ยใู่ ตอ้ นจิ จงั มนั ก็แค่น้ี ชีวิตทุกชวี ติ ฉะน้ัน อย่าไปเย่อหยิ่งจองหอง ลาพองตนเอง หลงลาภยศ สรรเสริญเยินยอมาก เพราะชีวิตทุกชีวิตมันชี้ไปทางตายแล้ว ได้ อะไรก็ได้อยู่ในสมมติไม่นานก็หลุดไป ได้มาแล้วระยะหนึ่งก็เส่ือม คุณภาพ เส่ือมคุณค่าไป เช่าเขามา ซ้ือเขามา ทีแรกก็ดีอกดีใจ พอ เปลี่ยนแปลงเป็นไปสักช่ัวระยะหนึ่ง หมดคุณค่าหมดราคา โดยเฉพาะอย่างย่ิง ท้ังชีวิตจิตใจของเราก็เหมือนกัน อย่าคิดว่ามัน จะสูงทะลุฟ้า อย่าคิดว่าจะมีแต่ความสุขความสบายอย่างเดยี ว อย่า ไปหลงความสุขความสบายมันก็ไม่เที่ยง เพราะมันสุขด้วยอามิสสุข สุขเพราะอาศัยส่ิงปรุงแต่ง เยียวยารักษาหรือประคับประคองได้แค่ น้นั ถ้าลมเข้าไม่ออก ถ้าลมออกไม่เข้า น่ันแหละมีอะไรเกิด ขึ้นกับชีวติ ของเรา ทา่ นจึงว่าอย่ำลืมลมหำยใจ ควำมไม่ลืมแปลว่ำ คือเป็นผู้มีสติ มีสมำธิ มีปัญญำ ลมเข้ำก็รู้ลมออกก็รู้ ปรับปรุงให้ อยู่กับท่าสบาย ๆ เพราะทุกคน ทุกจิตทุกชีวิตต้องการความสบาย อยู่แล้ว เอาการระลึกนึกลมเข้า-ลมออก เอาเป็นเคร่ืองระลึกถึงสติ เพื่อให้เกิดสมาธิม่ันคงในการปฏิบัติของเรา เม่ือจิตเป็นสมาธิคือ เข้าถึงจิต มีอารมณ์อันเดียวไม่เกี่ยวข้องกับอะไร แม้การบริกรรมไม่ จดจ่อกับเรื่องอะไร ก็เพ่ือเข้าไปถึงจุดน้ัน ท่านจึงว่าจิตเข้ำไปสู่ใจ โดยเฉพำะแล้ว ผู้ปฏิบัติจะต้องสัมผัสด้วยตนเอง จะรู้ด้วยตนเอง เห็นด้วยตนเอง ทราบถึงตรึงใจด้วยตนเอง บางทีมีปิติอัศจรรย์ เพราะการชนะใจทาใจใหส้ ่คู วามสงบได้ ๕๘
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทุมวนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ จากน้ัน อัศจรรย์ก็คือคาสั่งสอนของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ครูบาอาจารย์ ว่าท่านบังคับจิตบังคับใจของท่าน ผล เกิดขึ้นเกินคาดอย่างนี้เองเหรอ แปลว่าผู้ปฏิบัติจะต้องรู้เองเห็นเอง เหมือนพระพุทธเจ้า ไม่มีใครเป็นผู้ตรัสรู้แทนพระองค์ท่าน ท่านก็ ค้นหาเป็นศาสดาของตนเอง เป็นอาจารย์ของตนเอง ผลสุดท้ายก็รู้ ช่องรู้ทางรู้จักการปฏิบัติ บังคับจิตเข้าสู่ความสงบด้วยการกาหนด ลมเข้า-ลมออก ในตารับตาราท่ีพวกเราได้ศึกษาได้ยินได้ฟังมา แต่ มายุคสมัยน้ีมันมีอะไรต่ออะไรหลายอย่างท่ีครูบาอาจารย์สอน ก็ เพ่ือเปน็ อารมณข์ องสติ เป็นเครอ่ื งระลกึ ของสติ สติก็คือจิต จิตมันกวัดแกว่งมันนึกมันคิด แม้นั่งอยู่ตรงน้ี มนั ไมร่ ูไ้ ปถงึ ไหน มนั วิ่งอยคู่ นเดยี ว แมอ้ ยู่ตรงน้ีมนั นึกคนเดยี ว เท่ยี ว คนเดียวไปไกล ไม่รู้เอาอะไรเป็นอารมณ์ของมัน จิตดวงนี้ ถ้าเราไม่ เอาหลักพระพุทธศาสนา คอื สตสิ มาธิ สติสมั ปชัญญะ ไมม่ อี ะไรท่ีจะ เหนอื จากสติ สมาธิ ที่จะจบั จติ ทมี่ นั กวดั แกว่ง จบั จติ ท่มี นั นกึ ปรุงฟุ้ง ไปอยู่ ไม่มหี ลบั ไม่มีนอน ไมม่ หี ลบั ไม่มีฟ้ืน นั่งเงยี บ ๆ สงบกาย สงบ วาจา แต่ใจนั้นมันยังไม่สงบ มันคิดมันนึก มันปรุงฟุ้ง แต่มันก็ ออกมาจากถ้า คือร่างกายเปน็ ท่อี ยขู่ องมัน จิตดวงน้ี ใจดวงน้ีนึกคนเดียว เที่ยวคนเดียว ไปไกลไปกับ อารมณ์ดีร้ายท่ีอาตมาว่า ผู้ท่องเที่ยวก็คือใจดวงนี้ เที่ยวเอาธาตุเอา ขันธ์ เป็นธาตุ ๔ ขันธ์ ๕ เป็นเคร่ืองมือของมัน ไปทไี่ หนก็ไปเที่ยวกับ ธาตุ ๔ ขันธ์ ๕ อาศัยอายาตนะ คือภายในภายนอกประจบสัมผัส กนั แปลวา่ อายาตนะ ๖ มกี นั ทกุ คน ใครไม่มีตา ใครไมม่ หี ู ตาก็ตาดี ได้ หูก็หูดีได้ เห็นอะไรก็เห็น มาด้วยกันทั้งน้ัน แต่กลายเป็นอารมณ์ ทับถมจิตใจตัวเอง ไปกว้านหามาทับถมจิตใตตนเองให้ขุ่นมัว ใจท่ีดี ๕๙
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ ก็กลายเปน็ ใจทม่ี ืดบอดไม่ฉลาด ย่ิงเห็นมากก็ยิง่ โง่มาก ยง่ิ ได้ยนิ มาก ยิ่งรู้มากก็ย่ิงโง่มาก เพราะอะไร เพรำะเรำขำดสติเป็นเคร่ือง กล่ันกรอง ขำดสมำธิคือรวมควำมรู้เข้ำมำสู่จุดเดียว แล้วก็ขำด ปัญญำ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ปัญญา สัมมาทิฏฐิ สัมมาสมาธิ ขาด ปัญญาตรงนไี้ ม่ได้เลือกเฟ้น ไมไ่ ด้แยกแยะ จิตของเราจึงไปจับทุกอย่าง รู้ทุกสิ่ง รู้อะไรมามากต่อมาก เหน็ อะไรมามากตอ่ มาก แทนที่จะพอแล้ว แทนทจี่ ะพรอ้ มแล้ว กลบั ไม่พอไม่พร้อม เพราะอารมณ์มันมีท้ังอารมณ์ดีและอารมณ์ร้าย เสียงเหมอื นกนั รูป รส กลิ่น สมั ผัส มันมีทงั้ ดีท้ังชวั่ มนั ปนกันท้ังรูป รส กล่ิน เสียงสัมผัสกับอารมณ์ แล้วกลับมาย้อมจิตกลับมาย้อมใจ ตนเอง จติ มนั ย้อมอารมณ์ทม่ี ันได้ยินทางหู ได้ดทู างตา มันเกดิ ขึ้น ท่ี มันเศร้าหมองและผ่องใส กบั เจา้ ของทมี่ นั จะเลือกเว้นเหน็ วา่ มันเป็น ภัยเป็นโทษ เพราะมันไปทอ่ งเท่ยี วกว้านเอา ถอื เอา ถา้ เราไม่มคี วาม ฉลาดแยกแยะอย่างที่ว่า ไม่มีสติ ไม่มีสมาธิ ไม่มีปัญญา ก็ไม่มีทาง เป็นวัฏจกั รหาทางออกใหต้ วั เองไมไ่ ด้ ถ้าไม่ได้ศึกษาตามแนวพุทธศาสนาท่ีท่านรู้จริง ๆ เห็น จรงิ ๆ พ้นจริง ๆ สุคะโตคือร้โู ลกอย่ำงแจ่มแจง้ รู้จรงิ ๆ แลว้ กพ็ ้น ไปจริง ๆ เสด็จไปดีจริง ๆ สุคะโตแปลว่ารู้โลกแล้วเสด็จไปดีแล้ว พวกเรามันไปไม่ดีก็เพราะห่วงหน้าพะวงหลัง ไม่เห็นโทษ ไม่เห็นภัย ในโทษ คือท่ีตาได้เห็นมากต่อมาก หูได้ยินมากต่อมากก็กลับไปหลง ท้ัง ๆ ท่ีจิตคือใจเป็นนักรู้อยู่แล้วมีความรู้เป็นตัวของตัว แต่รู้ไม่จริง รไู้ มไ่ ดไ้ ปไมพ่ น้ กเ็ พราะว่าเจ้าตวั คือเรา ของกายของใจไมร่ ู้ตามความ เป็นจริง ไม่รู้เรื่องกาย ไม่รู้เร่ืองใจ ไม่รู้เรื่องบ้านของตนเอง ไม่รู้รส ๖๐
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ ไม่รู้เรือนของตนเองที่เรามาอาศัยอยู่ ไม่รู้จักแยกแยะคิดพิจารณา ไม่รจู้ ักศกึ ษาตามแนวทางของท่านผรู้ ู้ จิตก็มีอยู่แล้ว คิดก็คิดได้แต่ไปคิดเรื่องอื่น ความรู้ก็มีอยู่ แลว้ กลับรู้ไม่จริง คดิ ไม่ได้ไปไมพ่ ้นก็เพราะว่าไม่มีสติ ไมม่ สี มาธิ ไม่มี ปัญญา เราไปถามไถ่ใคร ไปศึกษาปัญหาที่ค้างคาใจเราทุกคน บวช มามีศีลมีธรรม ก็มีปัญหาค้างคาใจแก้ไขตนเองไม่ได้ ก็เพราะตนเอง ไม่รู้จักการปฏิบัติของตนเอง ร่างกายคือรูปกายก็มีอยู่ จิตคือ ความคิด ใจคือความรู้ ก็มีอยู่ ตาก็เคยเห็นอะไรซ้า ๆ ซาก ๆ หูก็ได้ ยินอะไรได้ยินมาแล้ว เขาซ่ือสัตย์ตามความเป็นจริง ได้ยินแล้วก็ได้ ยนิ ได้ยินแลว้ ไดย้ ินอีก พรอ้ มทีจ่ ะได้ยิน ถ้าหไู ม่หนวกตาไม่บอด ตา เหมือนกันเห็นอะไรต่อมิอะไรมาแล้ว เห็นอะไรอีกก็จะได้เห็น ผ่าน มาแลว้ กผ็ ่านไป นี่คือความจริงของจักษุ คอื ในตา อายาตนะมันเป็น อยา่ งน้ัน นคี่ อื ความจรงิ ประตูที่เราได้รู้ได้เห็นได้เป็นมันพร้อมอยู่แล้ว แต่ผู้หลงคือ อะไร ไปหลงท่ตี า หูไดย้ ิน ผูร้ กู้ ค็ ือใจตา่ งหาก ตากบั หเู ขาไม่รู้ เขาไม่ หลง รูป เสียง กลิ่น รส เขาไม่รู้เขาไม่หลง เป็นเส้นทางเป็นประตูท่ี ผ่านเฉย แต่เจ้าที่ไปรู้ไปหลงก็คือใจ คือจิตคือใจ ท่านจึงให้มี สติสัมปชัญญะ มีปัญญาประคับประคองแยกแยะ ตากับรูปเห็นกัน แล้ว ดีใจเสียใจเป็นเรื่องของอะไร เป็นเรื่องท่ีทับถมกันในใจตนเอง กส็ ่งิ ทเ่ี ราไมส่ ังวรสารวม ระวงั ขจัดความหลงด้วยความรู้ ด้วยความ ฉลาดไม่ใช่เหรอ ขจัดความมืดก็เพราะมีแสงไม่ใช่เหรอ เพราะมีไฟ ไม่ใช่เหรอ เปรียบเทียบให้ฟังแล้วนามาใช้ในชีวิตประจาวัน ก็คือ ขจัดความหลง มีสติปัญญา หลงอะไรหลงรูป หลงรูปตนเอง ไม่ใช่ หลงรูปคนอื่น ถ้าหลงรูปตนเองตามธรรมชาติแล้วก็ไม่หลงคนอื่น ๖๑
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ เข้าใจไหม รู้จิตหลงใจ หลงความคิดข้ึน อาศัยรูป เป็นต้น ที่ตาได้ เห็น เมื่อมีควำมหลงเป็นพื้นฐำน ก็มีควำมโง่มีทุกข์ เป็นผล ตำมมำ ถา้ มคี วามรู้ความฉลาดหรอื แสงสว่างอะไรผ่านมาผ่านไปก็รู้ แสงสว่างแปลว่าอะไร คือธัมโมปทีโป มีสติมีสมาธิมีปัญญาพร้อม ๆ กัน มันก็ขจัดความมืดอยู่เป็นนิจ ถ้ามีดวงไฟอยู่ในมือก็ไม่ดับ ไปท่ี ไหน มันขจัดความมืด ส่องแสงสว่างให้ราบรื่น ถ้าเราไม่เลือก ทางเดิน ไมเ่ ลอื กอารมณ์ท่ีเราคิด ไม่เลือกเฟน้ เห็นว่ามันเปน็ พิษเป็น ภัย อะไรผ่านมาก็จับ อะไรผ่านมาก็เอาทุกอย่าง เหมือนกับน้า ที แรกมนั ก็ใส ถ้าไมเ่ อาของข่นุ ของสกปรกหยดลงไป น้าก็จะใสสะอาด จืดสนิทอยู่อย่างนั้น ถ้าคนปนเป้ือนส่ิงสกปรกข้ึนไปเมื่อไหร่ น้าก็ เปล่ียนแปลงทันทีเลย น้าเขาก็ไม่รู้หรอกว่าเขาสกปรกหรือใส สะอาด แต่ใจเป็นผูร้ ู้ กลับไม่รู้การรักษาตนเอง กลับไมร่ ูจ้ ักแยกแยะ ไมร่ จู้ กั รักษาเยยี วยา ที่อาตมาว่า อะเสวะนำ จะ พำลำนัง ก็เพราะอันน้ีเอง ปัณฑิตำนัญจะ เสวะนำ ไม่ได้ติดตามบัณฑิตนักปราชญ์หรือ สัตบุรุษเอามาเป็นแนวทางแห่งการปฏิบัติในชีวิตประจาวัน ใน ชีวิตประจาวนั มีตาก็ไม่สังวรไม่สารวมด้วยดี มีหูก็ไม่สังวรสารวมไม่ เลือกเฟ้น เป็นพิษเป็นภัยตรงน้ี ตรงนี้เป็นประตูหน้าต่างท่ีจะนาเข้า มาซ่ึงความดีและความเลวร้าย ตาก็เหมือนกันเห็นแล้วก็ชอบอก พอใจยินดีเพลิดเพลิน แต่มันเป็นเพียงดอกไม้พญามาร บางทีแต่ง ขึ้นมาสวยสด แต่ตามจริงแล้วไม่ใช่ ประหน่ึงว่าเราหลงดอกไม้พญา มาร ก็อยู่ในสายตาพญามาร พญามัจจุราชคือความตาย แต่งแต้ม ต่อมิอะไร อยู่กับรูปเขาก็แต่งเอาไว้ อยู่กับกลิ่น เสียง รส สัมผัส ๖๒
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ อารมณ์ ทุกอย่างเขาก็แต่งเอาไว้ มีแต่ของดี ๆ รสอาหารหวานคาว เมื่อเข้าไปแลว้ มีแต่เมนดู ี ๆ มแี ต่ของดที ั้งนน้ั รู้ไหมว่าเบ้ืองหลังที่เรารับประทานไปแล้วน้ัน อะไรเกิดขึ้น ทาไมไม่รู้ มันมีอยู่แล้วตามหลักธรรมชาติของรูปของนาม ของรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส และอารมณ์ อาหารหวานคาว หรืออะไรต่อมิ อะไร มันมที งั้ ดที ัง้ ชว่ั มันมีทัง้ พษิ สารพดั พษิ มนั มที ้งั ภยั ท่านวา่ กาม คุณก็ว่าได้หรือว่ากามโทษ ถ้ำเรำดีถ้ำเรำฉลำดก็เป็นกำมคุณ ทุก อย่ำงเป็นคุณเป็นประโยชน์เพรำะเรำฉลำด ถ้าเราโง่ทุกอย่างเป็น กามโทษ เป็นทุกอย่าง เป็นพิษเป็นภัย กายและจิตและใจของ ตนเอง ฉะนนั้ เราอย่ใู นสายตาของพญามจั จรุ าช เกดิ มาแล้วเขาช้ีไป ทางตายแล้ว ทาไมต้องประมาทนอนใจ ประหน่ึงว่ากาลังเดินเข้า หลักประหาร ประหนึ่งว่าไม่ได้เอาความตายมาขู่กันหรอก แต่ว่าถึง อย่างไรก็เป็นอย่างน้ัน ถึงแสดงอยู่หรือพูดอยู่เหมือนกัน ชีวิตทุก ชวี ิตย่อมเปน็ อย่ำงน้ัน ถงึ จดุ จบดว้ ยกนั ท้งั นน้ั แตจ่ ิตใจของเรำอยู่ กบั ชีวิต อยู่กบั ควำมตำย อยกู่ ับอนจิ จงั ทกุ ขัง อนตั ตำ เมื่อพินิจพิจารณาตามสภาวะความเป็นจริงแล้ว มันเป็น เรื่องของรูปของนามของสังขาร เป็นเรื่องของพญามัจจุราช ไม่พ้น กับคาว่าเกิด แก่ เจ็บ ตาย ผู้รู้ว่าเกิด แก่ เจ็บ ตาย ใครเป็นผู้รู้ ถ้า ไม่ใช่จิต ไมใ่ ช่ใจ อันน้นั มันตายเป็นไหม เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นเร่อื ง ของอะไร เม่ือพินิจพิจารณารูปย่อมเป็นอย่างน้ัน เสียงย่อมเป็น อย่างนน้ั เพราะอยา่ งน้ันเปน็ เหตุเป็นปจั จยั ผลสดุ ท้ายหมดเหตหุ มด ปัจจัยแล้วกด็ ับ เกดิ กบั ดับเปน็ ของคู่กนั สิง่ ทไ่ี มเ่ กิดไมด่ ับคืออะไร มี อยู่ ทาอันน้ันมีอยู่ ผู้รู้ท่านผู้ฉลาดย่อมเข้าถึงจุดน้ัน อยู่ท่ีตรงน้ัน อยู่ ๖๓
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ ตรงไหน รูปน้ันหรือเป็นเรา นามน้ันหรือเป็นเรา เป็นของ ๆ เรา เป็นของ ๆ เขา พนิ ิจพิจารณา กเ็ ป็นความจริง ความจริงเป็นสิ่งท่ีลบไม่สูญ พระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ ถึงจุดนั้นถึงจุดจบแล้ว สุคะโตเลยเพราะเห็นโลกอย่างแจ่มแจ้ง เมื่อ เห็นอย่างน้ัน เม่ือรู้อย่างน้ันใครอยากจะมาเกิดในโลก ถ้าสัญญามัน เท่ียงใครอยากจะมาเกิด สัญญาก็ไม่เท่ียงถึงอาศัยสัญญามารูอ้ ะไรก็ จาได้ช่ัวขณะ สูงอายุไปแล้วความหลงความลืมก็เร่ิมถ่ีเข้า ๆ ใช่ไหม รูปกระโดดโลดเต้นสมัยเป็นหนุ่มน้อย พอชราแล้ว รูปเรือนร่างเร่ิม เลือนลาง เริ่มผิด เร่ิมเพี้ยนไปแล้ว นั้นคือหน้าท่ีของสังขาร หน้าท่ี ของรูปของน้า เหมือนที่เรามีนาฬิกาที่เราใส่ให้มันเดิน ทุกวินาที เหมือนกับว่าไม่เคยดับ นาฬิกาตรงกันข้ามเลย หมดถ่านเมื่อไหร่ก็ ดบั เมอ่ื น้นั ถ่านของชีวิตจิตใจของเราก็เหมือนกัน ชีวิตให้เรียนรู้เพ่ือ การปฏบิ ัติ เราอย่กู ับการปฏิบัติ ปฏบิ ัติกบั กายกับจิตกบั ใจ ทุกอยา่ ง มันก็อยู่พร้อมอยู่แล้ว อยดู่ ว้ ยกันอยู่แลว้ กลับไมร่ ู้ตามความเป็นจริง มีแต่หาส่ิงใดมาปกปิดกาบัง ให้เราหลงระเริงในชีวิต ท้ัง ๆ ที่ถ่านที่ เราได้มาจากกุศลกรรม ทาให้มาเกิดในภพนี้ในชาตินี้ หมดถ่าน เม่ือไหร่ก็ถึงจุดจบ แต่ใจดวงนั้นไม่มีบุญไม่มีกุศล แล้วไปที่ไหน เหมือนกับรถเจ้าของรถ บ้านเจ้าของบ้าน ถ้าบ้านมันซ่อมไม่ได้ เข้า อู่ไม่ออกแล้วเจ้าของบ้าน ไปอยู่ที่ไหน ถ้าเปรียบ จิตดวงนั้นใจดวง น้ัน มันเหมือนกับรูปเหมือนกับบ้าน เจ้าของบ้านไปอยู่ที่ไหน ถ้า เจ้าของบ้านโง่ มีบ้านแล้วประมาทนิ่งนอนใจ ถ้าบ้านมันร้างไปแล้ว ซ่อมไม่ได้แล้ว รถคันน้ันมันซ่อมไม่ได้แล้ว เข้าอู่ไม่ออกแล้ว เจ้าของ บ้านจะไปอยู่ที่ไหน ถ้าเจ้าของบ้านฉลาด มีน้ามันเต็มถัง มีสตางค์ ๖๔
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ เตม็ กระเปา๋ ไปแลกเอาคันให้สวยหรกู ว่าเก่า ดกี วา่ เดิมใชไ่ หม ถ้าคน มีบุญย่อมเป็นอย่างนั้น บุญและบาปเท่านั้น ทาให้มนุษย์ดีหรือชั่ว ทัง้ ปัจจบุ ันและอนาคต เรามีกายก็เป็นสมบัติอันเป็นกลาง เรามีวาจา มีจิตแล้วก็มี ใจ ก็เป็นสมบัติอันเป็นกลาง พร้อมที่จะสั่งสมอบรม พร้อมท่ีจะสั่ง สมความดี หรือว่าเพ่ือที่จะสร้างบารมีให้เกิดขึ้นดีข้ึนสูงขึ้น เหมือนกับพระโพธิสัตว์ทุก ๆ ท่าน พระโพธิสัตว์แปลว่าผู้ที่คิดอัน ยิ่งใหญ่ สร้างสัมพันธ์อันย่ิงใหญ่ แสวงหาสร้างบ้าน เป็นท่ีพักอัน ยิ่งใหญ่แก่มนุษย์ชนทั้งหลายในโลก เพ่ือจะขนออกหนีจากวัฏจักร วัฏฏะวน ขนหนีจากความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย พระ โพธิสัตว์ท่านสร้างอย่างน้ัน คิดอย่างนั้น ท่านจึงถึงจุดจบ พ้นจริง ๆ ไปไดจ้ ริง ๆ ถ้าทางโลกุตรธรรม ถ้าเดินทางเส้นน้ันย่อมเป็นอย่างนั้น มนุษย์เป็นสัตว์ท่ีสูงสุด มีศีลมีธรรม เสียสละหน้าที่การงาน มา กระทาบาเพ็ญอย่างนี้ก็ถือวา่ เป็นสิ่งที่เราควรจะศึกษา เป็นสิ่งท่ีเรา ควรจะอนุโมทนา ได้ชีวิตได้กาไรชีวิต ไม่เป็นหมันในชีวิต หาได้ยาก ในชีวิตอย่างนี้ เป็นชีวิตท่ีได้ศึกษาหาความรู้คู่คุณธรรม พอกลับไป บ้านลูกถาม พ่อแม่ถาม ไปวัดไปวาฟังศีลได้อะไร ก็ได้ความรู้ ความ ฉลาด ได้ลงมือปฏบิ ัติ ไมใ่ ชไ่ ดไ้ ปกินได้ไปหลบั ได้ไปนอน ถา้ ได้แบบ น้ีกไ็ ม่ผดิ กบั มนุษย์กับสัตวท์ ง้ั หลายไดใ้ นโลก ความรู้ความฉลาด เพิ่มเติมเสริมตนเองในทางปฏิบัติใน ชีวิตประจาวัน รู้ว่าสิ่งน้ันพูดอย่างนั้นมันผิด คิดอย่างน้ันมันไม่ถูก ทาอย่างนั้นมันดี ทาอย่างน้ีมันถูกมันผิด แปลว่ารู้จักเส้นทางปฏิบัติ ในชีวิต เมื่อชีวิตหาไม่ เราสะสมตักตวงซ่ึงบุญกุศล คุณงามความดี ๖๕
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ ซึ่งบารมีเราพร้อมแล้ว ไปเมื่อไรก็พร้อม เพราะชีวิตเหมือนกับท่ีว่า ต้นมันช้ีไปทำงตำย ในท่ามกลางแห่งถึงตอนนั้นแล้ว เราได้อะไรใน กาไรของชีวิต ให้เกิดขึ้นมีข้ึน ถึงยังไงก็แก้ไม่ได้ ถึงจุดจบของชีวิตก็ ต้องเป็นอย่างน้ัน เพราะต้นมันช้ีไปทางตาย ปลายมันชี้เป็น อันน้ี เป็นสิงสาคัญ เราอยากจะเป็นอะไร เราต้องทาให้เกิดข้ึนตั้งแต่ เด๋ยี วนี้ ขณะนตี้ า่ งหาก ไม่ใช่วา่ คอยพระเจ้าจะช่วยเหลือเก้ือกูล เม่อื นั้นเวลาน้เี ราคดิ ผิดแล้ว พระเจ้ากค็ อื ตัวข้าพเจ้า พอ่ แม่เป็นคนสรา้ งลูกมา สร้างโลก มา จะว่าเปน็ พระพรหมผสู้ รา้ งโลกกไ็ ด้ ถา้ ท่านไมม่ วี ิหาร คือ เมตตา กรุณา มุฑิตา อุเบกขาแล้ว ไม่มีความเป็นกลางของลูกท้ังหลายแลว้ เล้ียงลูกโตทุกคนไหม ก็ถือว่าไม่ ก็ถือเป็นพระพรหมวิหาร พระ พรหมท่ีไหนผู้สร้างลกู ก็พ่อแม่ของเรา หรือเป็นพระอรหันต์ผู้ใหท้ กุ อย่างในโลกก่อนคนใดในโลก กพ็ อ่ แม่ เปน็ พระอรหันต์ในบ้าน เราก็ เชิดชูดูแลท่าน เรามีกายได้มาจากใคร มีกายด้วยความอ่อนน้อม ก็ กราบลงไปด้วยความอ่อนน้อม วาจาอ่อนหวานก็พูดจาด้วยความ อ่อนหวาน มีใจก็อ่อนโยน น้ันเราได้สมบัติจากพ่อจากแม่แล้ว ถ้า ประพฤติปฏิบัติอย่างนี้แล้ว ก็ถือว่าเราพาพ่อพาแม่ มีความอ่อน น้อมถ่อมตน ศึกษาความรู้คู่คุณธรรม ไปที่ไหนก็พาพ่อพาแม่ สร้าง บุญสร้างกุศล สร้างคุณงามความดี แต่จิตใจของพ่อแม่ที่เราอาศัย สมบัติของท่านมาทามาค้าขาย มาหากาไรในชีวิต พ่อแม่ของเราจะ มีความภาคภูมิใจเท่าไรกับลูกที่จากโลกน้ีไปแล้ว ท่ีลูกยังรู้จักสร้าง คุณงามความดี เม่ือได้มากหรือได้มาแล้วกับการทามาหาเล้ียงชีพ ก็คิดถึง คุณของท่าน เทิดทูนคุณของท่าน ไม่เพียงแต่เลี้ยงลูกให้เติบโตอยู่ ๖๖
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ กับโลกเท่านั้น ยังจูงลูกให้รู้จักบาเพ็ญบุญ รู้จัก นะ รู้จัก โม รู้จัก พระพุทธศาสนา รู้จักนาพา รู้จักบุญและบาป ดีหรือช่ัว ใครเป็น ผ้สู อน ใครเปน็ ผู้นาพาถา้ ไม่ใชพ่ อ่ แม่ พ่อของเราเปน็ ทัง้ พ่อท้ังแม่ ครู บาอาจารย์กเ็ ปน็ ท้ังพ่อท้ังแม่ ทง้ั ครูบาอาจารย์ด้วย เกิดมาท้งั ทีชีวิต อาจจะหาอะไรอีกที่ประเสริฐย่งิ กวา่ น้ี จงึ มาเปน็ สัตวท์ ่ีพร้อมแล้วทุก อย่าง เป็นสัตว์ที่พร้อมแล้วทุกส่ิง ที่จะขับเคลื่อนชีวิตของเราไปสู่ จดุ หมายปลายทาง มันสูงต้งั แตข่ ณะทีเ่ รามชี ีวติ ใจมนั สงู พระพุทธเจ้าก็เอาจิตใจอันน้ีปฏิบัติจนได้เป็นพระพุทธเจ้า ก็เอาชีวิตจิตใจเอาเรือนร่างปฏิบัติ จนได้เป็นพระพุทธเจ้า ก็อาศัย รูป ก็อาศัยร่าง อาศัยกาย อาศัยใจของพระองค์ พัฒนา ภาวนา ข้ึนมา จนได้เป็นพระพุทธเจ้า เป็นศาสดาผู้สอนทุกอย่างทุกคนใน โลก เม่ือท่านรู้แล้ว ตรัสรู้แล้ว ท่านก็ไม่หลงใหล เม่ือรู้แล้วจะหลง ทาไม รู้รูปอย่างที่อธิบายให้ฟัง เวทนามันก็เกิดข้ึนแล้วก็ดับไป มี แล้วหายไป สัญญาก็เหมือนกัน สังขารก็เหมือนกัน วิญญาณก็ เหมือนกัน ได้ยินอะไรแล้วมันไม่ดับ ไม่ผ่านไป ได้เห็นอะไรแล้วมัน ไม่ผ่านไปดับไป เรำอยู่กับอนิจจัง ทุกขัง อนัตตำ ทำไมควำมจริง อยู่กับเรำ ทำไมเรำถึงไม่รู้ ควำมรู้ก็มีอยู่แล้ว เรำมีสติสัมปชญั ญะ มีสติปัญญำปฏิบัติข้ึนมำเป็นปัจจุบัน ๆ ก็เห็นทุกส่ิงทุกอย่ำงที่ พระพุทธเจำ้ แสดงเอำไวแ้ ลว้ กจ็ ะเป็น เวทิตัพโพ วญิ ญหู ิ การประพฤติปฏิบัติอย่างน้ีก็เป็นมงคลอันสูงสุดที่เราศึกษา หาความรู้คู่คุณธรรม จึงฝากการบ้านไว้ให้เรานาไปประพฤติปฏิบัติ ใหถ้ งึ คาว่า เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ อยทู่ ไ่ี หนกเ็ ป็นมงคลอันสูงสุด พร้อมที่จะหลุดพ้นความหลง พร้อมท่ีจะมุ่งหวังตั้งใจ เดินตาม เส้นทางแห่งความรู้ ความฉลาด ไม่เดินตามหลังของผู้หลง ไม่เดิน ๖๗
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ ตามหลังไปสู่ความมืด ไม่อยู่กับความมืด ต้องไปกับแสงสว่าง ผลิต คิดข้ึนมา ให้มีสติอยู่ทุกเมื่อ ให้มีสัมปชัญญะพร้อม ๆ ให้มีปัญญา เลือกเฟ้นเห็นวา่ มนั เปน็ พิษเป็นภยั เอาแต่สิ่งท่ีมนั ดมี ีประโยชน์ ชวี ติ ของเราก็เป็นมงคลอันสูงสุด ถือว่าปฏิบัติเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา อาจาริยบูชา เราเป็นผู้เทิดทูนพุทธศาสนาด้วยการปฏิบัติ ก็เห็นวา่ สมควรแกเ่ วลา เอว ก็มดี ว้ ย ประการฉะน้ี ๖๘
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ พระครกู ิตตปิ ญั ญำคุณ (หลวงพอ่ สวำท ปัญญำธะโร) วัดโปง่ จนั ทร์ ต.คลองพลู อ.เขำคชิ ฌกูฏ จ.จนั ทบุรี แสดงเม่ือวนั อำทติ ย์ ท่ี ๑๑ สิงหำคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ ศำลำพระรำชศรทั ธำ วดั ปทมุ วนำรำม รำชวรวหิ ำร นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธสั สะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พุทธัสสะ สตสิ ัมปะชาโนติ อมิ สั สะ ธัมมะปะริยายสั สะ, อัตโถ สาธายัสมนั เตหิ สักกัจจัง ธัมฺโม โสตัพโพติ มันนึกอะไรไม่ออก เดินผ่านมาน่ี ญาติธรรมทุกคนมีแต่ผู้ ใครใ่ นธรรมท้ังน้นั เปน็ ส่ิงทน่ี า่ ปลื้มใจและภูมใิ จ ตัง้ แตอ่ าจารย์ถาวร ๖๙
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ ท่านมาทาท่ีนี่ให้เป็นที่สาหรับฝ่ายปฏิบัติข้ึน แล้วก็ไม่เคยมาอีก มา ครั้งนัน้ มาเห็นแปลนศาลาพระราชศรัทธาของในหลวง กเ็ ลยบอกว่า “ถาวร เราต้องการแปลนศาลาหลังน้ี อยู่ท่ีไหนเอามา เราจะเอาไป ทาวัดโบสถ์” ท่านก็รีบหาให้ เรียกให้ผู้ก่อสร้างมา “ไปถ่ายมาให้ ท่านอาจารย์ ทา่ นต้องการ” วา่ งน้ั ได้ในวันน้นั เลย ไดแ้ ลว้ ก็หอบไป หนีกลับเลย ไม่คุยกันอีกหรอก (หัวเราะ) ของ่าย ก็เราขอ ท่านก็ให้ ให้แล้วจะอยู่อีกทาไม กลัวท่านขอคืน เราก็ไม่ได้แปลน ได้แล้วก็รีบ หนี ก็เราเป็นพราหมณ์เมืองกลิงคราษฎร์ อีตาชูชกมาขอ ท่านอยู่ กรงุ สญชัย ขอได้ก็รีบหนี อยนู่ านไม่ได้ ก็คดิ อยา่ งนัน้ แล้วมาฟังคาอาราธนา เขาเรียกพรหมอาราธนาธรรม ใช่ ไหม เคยเห็นพรหมหรือยัง พรหมเขาแปลว่าอะไร ลืมถามอาจารย์ มหา ถ้าพูดผดิ ไปกม็ ีอยู่ ๒ อาจารย์มหาทา่ นจะชว่ ยอยู่แล้ว มีตัวช่วย อยู่ ๒ บอกท่านแล้วว่าถ้าพูดผิดก็ให้ทักข้ึนมาจะได้พูดใหม่ พ่อ พระแม่พระไม่ต่อว่า ไม่ตาหนิกันนะ ถึงอย่างไรก็ต้ังใจมาฟังแล้ว พรหมมีจริงไหม ถามญาติธรรม พ่อพระแม่พระเราน่ีแหละ พรหมมี จรงิ ไหม ตอบใหฟ้ ังหน่อย เราเคยได้คุยได้ถามพรหมแลว้ เหรอ นีค่ ุย กันนะ สติสัมปะชำโนติ มำเตือนสติและสัมปชัญญะให้รู้ตัวอยู่ อย่ำโคมลอย อย่ำถือแต่สัญญำอันเป็นควำมจำ ดูตำมหนังสือ อ่ำนตำมหนังสือ ถึงจะจำได้ท่องจำได้ยังเป็นของปลอมนะ เป็น สัทธรรมปฏิรูป ไม่ใช่ของแท้ น่ีเตือนเอาไว้ก่อน มาก็มาเตือนสติ เป็นญาติธรรม น่ีเป็นวัดหลวงใช่ม้ัย เป็นวัดปราชญ์ วัดบัณฑิต วัดท่ี สูง แล้วพวกเรานักปฏิบัติจะมาทาเล่นได้เหรอ เราเป็นมนุษย์ที่ เสียสละ อยู่ครองเรือนก็ยังเข้ามาปฏิบัติกัน เสียสละการงานทุกส่ิง ๗๐
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ อย่างจึงเข้ามาปฏิบัติ อาจารย์มหาท่านว่าบางคนก็ถือธุดงควัตร คา ว่า “ดง” ก็คือปา่ ไม้ แตจ่ ะดงแบบไหนไม่รู้ พูดเร่ืองพรหมให้เข้าใจกันก่อน พรหมแปลว่าอะไร ตอบได้ ไหม ถ้าเราไม่รู้แล้วเราจะปฏิบัติพรหมถูกต้องหรือ พรหมแปลว่า เคร่ืองรองรับหรือเคร่ืองปูลาดใช่ไหม แล้วทาไมจึงว่าพรหม อาราธนา พราหมณ์เขาถือพรหมใช่ไหม เขาก็มีคติของเขาดี เหมือนกัน บาปอันทาแล้วอาจลอยเสียด้วยพิธีเม่ืออาบน้า ถ้าอย่าง นัน้ พวกเฮาก็อาบนา้ ทกุ มื้อ มันกจ็ ะสิมีแต่ความบริสทุ ธ์ิ บม่ คี วามซั่ว ต้ัวสั่น ปลามันอยู่ในน้า มันเล่นอยู่ในน้า มันก็บ่มีความผิดจั๊กทือตัว้ ส้ันเด้ (โอย พวกเราก็อาบน้าทุกวัน ก็มีแต่ความบริสุทธิ์ ไม่มีความ ช่วั ปลามนั อย่ใู นน้า มนั เล่นอยูใ่ นนา้ มันกไ็ มม่ คี วามผิดอยา่ งนนั้ ) ถา้ เราคิดอยา่ งสนุกสนานเพลดิ เพลนิ แตไ่ ม่ใช่นะ พรหมมีอยู่ ๔ หน้า หนา้ ท่ี ๑ คอื อะไร พราหมณเ์ ขาบอกว่า เราเป็นผู้สร้างโลก พรหมเป็นผู้สร้างโลกใช่ไหม ท่ีเขาว่ากัน พรหม เป็นผู้นาไปถึงท่ี พรหมเป็นผ้บู ันดาลให้ ทาไมเขาถึงพูดอย่างน้ัน เขา พูดก็มีความจริงของเขา นี่ (ชี้ที่ตัวเอง) ถือพุทธ ไม่ใช่ถือพราหมณ์ ถา้ พรหมมีอยู่ ๔ หน้า ขา้ งหนา้ ก็หน้า ข้างหลังกห็ น้า ข้างซ้ายก็หน้า ข้างขวาก็หน้าอีก มี ๔ หน้าใช่มั้ยที่เขาทารูปเอาไว้ ทาไมมี ๔ หน้า หน้าท่ี ๑ คืออะไรจึงได้ช่ือว่าพรหม เข้าใจกันหรือเปล่า เคยได้ยิน กันแล้วใช่ไหม ถ้าเคยได้ยินแล้วก็ถือว่าวันนี้เอามะพร้าวมาขายสวน ก็ได้ ท่ีนิมนต์พระมาพูดให้ฟังก็ถือว่าเอาพระมาผิดวัดก็แล้วกัน พรหมแปลว่าเครื่องรองรับ พรหมหน้าท่ี ๑ คืออะไร หน้าที่ ๑ คือ ฝา่ เท้า จรงิ ไหม ๗๑
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ พรหมแปลว่าเครอื่ งรองรับโลก “เอถะ ปัสสะถิมัง โลกัง – สูเจ้ำทั้งหลำยจงมำดูโลกนี้” พระพุทธเจ้าตรัสไว้ใช่ไหม ในหนังสือ “โลกน้ีเรำตถำคตกล่ำวว่ำคือตัวตนสกลกำยน้ีเอง ไม่ใช่อ่ืนไกล” หน้าท่ี ๑ คือฝ่าเท้ารองรับโลกธาตุอันนี้ รองรับตัวเราไม่ใช่หรือ พรหมจึงนาไปถึงที่ได้ ถ้าไม่เช่ือก็เอาฝ่าเท้าเดินจงกรมดูสิ จะไปถึง พระนิพพาน ถ้าตั้งใจทา พรหมนาไปถึงที่ไหม หน้าท่ี ๑ จึงหมายถึง ฝ่าเท้าที่รองรับโลกธาตุอันน้ี (ช้ีท่ีตัวเอง) ให้สาเร็จไปถึงมรรคผล นิพพานได้ จริงหรือเปล่า ครั้งพุทธกาลมีไหม พรหมนาไปถึงท่ีได้ พระหัตถบาลเดินจนเท้าแตกไม่ใช่หรือจึงได้สาเร็จพระอรหันต์ ก็ เพราะฝ่าเท้ารองรับโลกอันน้ี (ช้ีไปที่ตัว) ให้ถึงท่ีไม่ใช่หรือ พรหมจึง แปลวา่ เครอื่ งรองรับ รบั โลกธาตุอันนี้ (ชไ้ี ปทต่ี ัว) พรหมหน้าท่ี ๒ คืออะไร หน้าที่ ๒ คือก้นสาหรับนั่ง ใคร เอาหน้าผากน่ัง เหมือนกับหน้าที่ ๑ เอาฝ่าเท้าเดิน หรือใครเอามือ เดิน ทาไมจึงบอกว่าพรหมเป็นหน้าท่ี ๑ หน้ำที่ของพรหมที่ ๑ คือ หน้ำที่สำหรับเดิน ก้นน่ีเป็นหน้ำที่ ๒ ของพรหม มีไว้สำหรับนั่ง ใครจะเอาศีรษะต้ังแทนสาหรับน่ังลงไป เอาก้นน่ังไม่ใช่หรือ องค์ สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้าก็นั่งคู้บัลลังก์ ขาขวาทับขาซ้าย มือขวาทับ มือซ้าย ต้ังกายให้ตรง ดารงสติเฉพาะหน้า พิจารณาอัสสาสะ ปัสสาสะ รู้ตามความเป็นจริงสามารถเข้าถึงอริยสัจ ๔ ตรัสรู้เป็น พระสัพพัญญูสัมมาสัมพุทธเจ้าก็เพราะว่าน่ังคู้บัลลังก์ ก้นจึงเป็น หน้าที่ ๒ เป็นหน้าของพรหม นาโลกอันน้ี (ช้ีไปท่ีตัว) เข้าสู่นิพพาน จริงหรือเปล่า เขาทาหน้าท่ีถูกต้องแล้ว หน้าท่ี ๑ คือฝ่าเท้าก็ทา หน้าท่ีเดนิ หนา้ ที่ ๒ คือ กน้ กท็ าหน้าทสี่ าหรับน่งั ๗๒
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วดั ปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ หน้าท่ี ๓ นึกอยู่ในใจว่าถ้าตอบกันก็คงจะเป็นหลังแน่นอน น่ีล่ะปราชญ์และบัณฑิต ตอนเดินเข้ามาถึงกลัว นึกอยู่ในใจว่าไม่ใช่ ธรรมดา หัวใจสั่นด๊ิก ๆ เลย มีแต่ปราชญ์และบัณฑิต นักสมาทาน นักเจริญภาวนา ผู้แสวงธรรมจริง ๆ โมทนาสาธุ อันที่ ๓ ก็หลัง ถูกต้อง สำมำรถนำโลกอันนี้ (ชี้ไปที่ตัว) เข้ำถึงนิพพำนได้ พักผ่อนได้ไปได้ หลังก็ทำหน้ำท่ีนอน อย่าไปนอนเหมือนกระต่าย นอนขดหมอบลง แล้วหน้าท่ี ๔ คืออะไร หน้ำท่ี ๔ เขำเรียกว่ำ มหำพรหม ก็คือฝ่ำมือ ทำไมเอำฝ่ำมือเป็นมหำพรหม เพรำะ มหำพรหมทำหน้ำที่เลี้ยงพรหมทั้ง ๓ จะทำอะไรก็เอำมือทำ จะ กินขา้ ว นา้ ผกั กเ็ อามือทาใชไ่ หม เอาใสป่ ากเลยี้ งพรหมเหลา่ น้ี ทรง พรหมเอาไว้ จงึ เรยี กวา่ มหาพรหม คอื ฝ่ามอื ไม่ใชห่ น้า น่ลี ่ะพรหม ช่ือว่าพรหมได้อย่างไร พรหมวิหารทาไมจึงมีเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา พรหมข้อที่ ๑ หรือหน้าท่ี ๑ ก็เมตตาไม่ใช่หรือ เมตตำ คือควำมรักใคร่ ปรำรถนำให้ผู้อื่นมีควำมสุข กรุณำ คือ ควำมสงสำร คิดจะช่วยให้พ้นทุกข์ มุทิตำ คือควำมพลอยยินดี เม่อื ผอู้ น่ื ไดด้ ี อเุ บกขำ คอื ควำมวำงเฉย ไมด่ ใี จ ไม่เสียใจเม่ือผู้อ่ืน ถึงควำมวิบัติ อันเป็นวิหำรธรรมของพรหม ญำติธรรม พ่อพระ แม่พระ อยำกจะเข้ำถึงพรหม วหิ ำรธรรม ธรรมเปน็ เคร่อื งอยู่ของ พรหม ทำสิ เขำ้ ถงึ พรหมโลกแน่ พระพุทธเจ้าเคยตรัสไว้ว่า “ดูก่อน พุทธบริษัท ๔ ถ้าพวก ท่านต้องการบญุ จงทาให้สาเร็จตอนมชี วี ิตอยู่ ต้องการกุศลก็ต้องทา ใหส้ าเรจ็ ตอนมีชวี ิตอยู่ อยากไดส้ วรรค์ก็ต้องทาให้สาเรจ็ ตอนมีชีวิต อยู่ อยากเข้าสู่พรหมโลกก็ทาตอนมีชีวิตอยู่ อยากตรัสรู้อนุตตร สัมมาสมั โพธิญาณ เป็นอนุพทุ ธะก็ดี หรอื อยากเข้าสู่นิพพานอันเป็น ๗๓
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทุมวนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ ทางเดินก็ทาให้สาเร็จตอนมีชีวิตอยู่ แม้แต่เรา ตถาคตก็ทาอนุตตร- สัมมาสัมโพธิญาณสาเร็จแล้วจึงได้มาประกาศศาสนา ก็ตอนมีชีวิต อยู่” อยากเป็นพรหมก็ต้องทาให้สาเร็จเป็นพรหม เราเป็นมนุษย์ใช่ ไหม มนษุ ย์แปลวำ่ อะไร แปลวำ่ สัตว์ใจสงู สัตตา คือสัตว์ใหญ่, ปาณา คือสัตว์เล็ก, ภูตา คือภูตผี, ปุคคลา สัตว์บุคคล, อัตตะภะวะปะริยาปันนา สัตว์ท่ีมีอยู่ในตัวตน ของเรานี้, อิตถีโย สัตว์เพศหญิง, ปุริสา สัตว์เพศชาย, อะริยา สัตว์ ประเสริฐ, อะนะริยา สัตว์ไม่ประเสริฐ, เทวา สัตว์เทวดา, มะนุสสา สัตว์ใจสูง, วินิปาติกา สัตว์ใจต่า มนุสสาแปลว่าสัตว์ใจสูง เราเป็น มนุษย์ อยา่ ทาตวั เองให้ขาดทุน มนษุ ย์เปน็ ภพกลาง ๆ วันน้ีมาช้ีแนะเตือนสติให้เข้าใจบ้าง มีแต่ความกังขาสงสัย เต็มหัวอกกันหมด ต้ังแต่พรหมก็ยังไม่รู้ พรหม ๔ หน้า หน้า ๑ คือ อะไร หน้า ๒ หน้า ๓ หนา้ ๔ คืออะไรก็ยังไมร่ ู้ แตก่ ไ็ ปถอื เรือ่ งพรหม วิหาร อันนั้นคือวิหารธรรม เคร่ืองปฏิบัติเข้าสู่หมู่พรหม ถ้าเรา ปฏิบัติตามพรหมวิหาร ๔ พวกเทพที่อยู่บนพวกพรหม จะช้ันไหนก็ ชา่ ง หากภมู ิปัญญาภมู ิใจของเรามนั ละเอยี ดลงไปแลว้ ภมู ชิ ั้นนัน้ เขา จะมาแห่ทันที เขาจะประกาศป่าวร้องเลยว่า น่ี พนายท้ังหลาย สหายเพื่อนเราจะข้ึนมาแล้วจากโลกมนุษย์ เขาดีใจมาก เราเตรียม ไปแห่กับเขาสิ เพราะเขาจะหมดบุญแล้ว เขาจะมาอยู่กับพวกเรา แล้ว พวกพรหมเขาจะมาเอง นาราชรถมาแห่แหนมแี ตรวงอะไรของ เขามาแห่ถ้าพวกเราไป ทำให้มันถึงสิ อยำกได้อยำกถึง เหมือน พระอริยเจ้ำในคร้ังพุทธกำลก็พำกนั ปฏิบัติสำเร็จเป็นพระอรหนั ต์ ก็ตอนมีชีวิตอยู่ไม่ใช่เหรอ แล้วพวกเรำมำเกิดเป็นมนุษย์แล้ว ขำ ๒ แขน ๒ ศีรษะ ๑ อำกำร ๓๒ เหมือนกัน ถ้ำเรำปฏิบัติ ทำจริง ๗๔
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ มันจะไม่ได้หรือ เรำทำกันจริงไหมล่ะ ถำมตัวเอง อย่ำไปถำมคน อนื่ ทาไมคร้งั พทุ ธกาล เม่อื ไปฟงั เทศน์ขององคส์ มเด็จสัมมาสัม พุทธเจ้าแล้วจิตต้ังอยู่ในระดับพระโสดาแลว้ โสดำปัตติมรรค โสดำ ปัตติผล มีศรัทธาแก่กล้า ขออุปสมบท แล้วพวกเราเวลาฟัง ท่าน อาจารย์มหาก็แสดงธรรมให้ฟังอยู่แทบทุกวัน วันน้ี ก่อนหลวงปู่มา ท่านก็มาอธิบายธรรมะ แล้วพวกเราฟัง ก็เลยลืมถามว่าฟังมีอยู่ก่ี อย่าง ถ้าปากอาจารย์มหาหรือปากหลวงปู่พูด กเ็ อาหูฟังใช่ไหม เอา ตาฟังเสียงได้ไหม ตาฟังเสียงได้หรือเปล่า ตาฟังเสียงที่พูดออกจาก ปากไม่ได้หรอก ใครจะเอาตาฟัง หูต้องฟังเสียงที่ออกจากปาก ตาก็ ฟังได้อยู่แต่ฟังเสียงทิพย์ เคยฟังเสียงทิพย์กันไหม เคยได้ยินเสียง ทิพย์ไหม ได้ฟังกันทุกคน นึกถึงตัวเองเวลาเราจะไปไหน มีนัดคนที่ รจู้ ัก พบกนั ตรงนัน้ ตรงนี้ ผู้คนก็อย่มู าก ต่างคนก็ต่างชะเง้อคอมองดู กัน เรานัดเขาแล้วทาไมไม่มา หรือเขาไม่พอใจ ต่างคนก็ต่างมีความ สงสัย พอเห็นกันปั๊บ ถ้าตะโกนเรียกคนมาก ๆ มันก็อาย ไม่ต้องเอา ปากเรียก ใช้มือเรียกเอา ชัดในหัวใจ เอามือพูด (โบกมือ) เอาตาฟัง ไม่ได้ใช้หูฟัง เสียงออกจากมือเป็นเสียงทิพย์ ใครจะไปกล้าตะโกน เรียกกนั ไมอ่ ายชาวบ้านเขาหรือ น่ีพูดเรื่องพรหม ๔ หน้า แล้วก็พูดเร่ืองการฟัง ๒ หัวข้อ แล้ว ให้ไปคดิ ให้มสี ติ และมีปญั ญารับรู้ แล้วจะพูดเร่ืองตอ่ ไป ทาไม จึงเรียกว่า โลกธาตุ (ช้ีไปที่ตัว) ตัวตน ทาไมพระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า “เอถะ ปัสสะถมิ งั โลกงั – สเู จา้ ทั้งหลายจงมาดูโลกนี้” เม่ือชวนให้ พวกเรามาดูโลก ก็ไม่ได้บอกว่าให้มาหลงชม ให้มาบอกความจริง โลกอันน้ี ตัวตนสกลกายอันนี้ ให้เรามีสติสัมปชัญญะ พิจารณาหยั่ง ๗๕
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ ลงแหง่ ความเป็นจริง มันเป็นคุณเป็นโทษ เปน็ ประโยขน์ อยู่ท่ตี วั ตน สกลกายโลกอันน้ี (ช้ีไปท่ีตัว) พระพุทธเจ้าสอนตรงนี้ สอนให้เรามี สติสัมปชัญญะหยั่งลงตรงน้ี (ช้ีไปท่ีตัว) จึงพูดเร่ืองพรหมข้ึนมา จึง พูดเร่ืองการฟัง ฟังแล้วอย่ามาถือเอาเป็นความจริง เป็นของปลอม เป็นสัทธรรมปลอม ให้เราไปพิจารณา เกิดความจริงจึงจะเป็น สัทธรรมแท้ ไม่ใช่มาหลงเชอ่ื อย่างงมงาย เขา้ ใจไหมทพี่ ูดอย่างน้ี พระพุทธเจ้าสอนให้มาดูโลก โลกอันนี้ (ช้ีไปที่ตัว) เต็มไป ด้วยกองสมมติ สมมติอย่างไร ในตัวเรา โลกอันน้ี มีแต่กองสมมติ ท้ังน้ัน ถ้าไม่มีสมมติจะเอาวิมุตติมาจากไหน ถ้าไม่โลกิยะไหนจะ ค้นพบได้ถึงโล-กุตตระ ก็เพราะโลกน้ี (ช้ีไปท่ีตัว) คือตัวกองสมมติ น่ีเอง ทุกวันก็พำกันหลงโลก (ช้ีไปท่ีตัว) หลงมำก่ีภพก่ีชำติกัน แล้ว มีใครจำได้ว่ำก่ีชำติแล้ว เวียนว่ำยตำยเกิดมำกี่ภพก่ีชำติกัน รู้แล้วหรือยัง รู้แต่ว่ำเกิดมำ แต่ไม่รู้ว่ำเกิดมำจำกไหน มำอยู่ใน ท้องแม่ แล้วก็ลอดก้นแม่ขึ้นมำ ก็ว่ำเกิดแล้วเป็นมนุษย์ มำจำก ภพไหนชำติไหน มืดมำใช่ไหม หรือว่ำหลับตำมำเกิด ก็ลืมตำมำ เกิดไม่ใช่หรือ มำเกิดเป็นมนุษย์สักคร้ังหน่ึงแล้วจะให้สว่ำง กลับไปไม่ได้หรือ จะให้ขำดทนุ เปน็ มนุษย์ทำไม เกดิ เปน็ มนุษย์มัน ยำก แสนลำบำกมำก เรำมำเป็นมนุษย์แล้วทำไมถึงจะทำให้ ตวั เองตกจำกมนุษย์ไป ทำไมไม่ทำให้สงู ขึ้น เจริญขน้ึ อะไรมนั เจรญิ อะไรมนั ตา่ กว่ามนษุ ย์ กค็ งสงสยั กนั อกี บอก ให้ฟังเลย ต่ากว่ามนุษย์ก็คือ มะนุสสะเปโต สักแต่ว่าเป็นมนุษย์แต่ จิตใจเป็นเปรต ต่ากว่าน้ันก็มี มะนุสสะติรัจฉำโน เป็นมนุษย์แต่ จิตใจเป็นสัตว์เดรัจฉาน ต่ากว่านั้นก็มี มะนุสสะอบำย เป็นภพท่ีมืด ถ้าสูงกว่ามนุษย์ล่ะ มะนุสสะเทโว กายเป็นมนุษย์แต่ใจเป็นเทวดา ๗๖
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ สูงกว่าน้ัน ก็ มะนุสสะพรหมโน ตัวเป็นมนุษย์แต่จิตใจเป็นพรหม ถึงมีวิหารพรหม ถ้าสูงกว่าน้ันก็ มะนุสสะโลกุตตระ พระอรหันต์ ก็ เข้านิพพานแล้ว เราจะให้ต่าหรือจะให้สูง เพียรให้มาก พยายามให้ มาก และกระทาให้มาก ในส่ิงที่ถูกต้องสิ่งท่ีดีงามสิ วันน้ีพูดให้ฟัง แบบเล่อื น ๆ ลอย ๆ ไม่มีหลักแหลง่ ไมร่ ูว้ า่ จรงิ หรือไมจ่ ริง พากนั ฟัง ก็เช่ือหมด ให้มาดูของจริง แต่กลับพากันมาหลงของจริง หลง อย่างไร กห็ ลงว่านีต่ ัวกู แล้วก็มแี ต่ของกู ตดิ หมด มาติดภพอยู่ตรงน้ี เอง เขาเรยี กว่าจติ เข้าไปถงึ อปุ าทิ มาตดิ สะระณงั วันน้ีก็ พุทธัง สะระณัง คัจฉำมิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉำมิ สังฆัง สะระณัง คัจฉำมิ เห็นพระสงฆ์เป็นสรณะหรือยัง ถามแปลก เนอะ ก็หัวโล้นห่มผ้าเหลืองเป็นพระสงฆ์ ฉันก็มาฟังพระสงฆ์เทศน์ พระตรงนี้ก็ ๕ รูปแล้ว พระตั้งแต่ ๔ รูปก็เรียกว่าสงฆ์ใช่มั้ย สงฆ์ แปลว่าผู้มีพวก ๔ น่ีคือพระสงฆ์ผู้เรียนคาสอน มาเพื่ออธิบายและ ประกาศให้ฟัง แต่ท่ีหลวงปู่ถามคือสงฆ์ที่เป็นสรณะ ทุกคนก็มี พระสงฆ์เป็นสรณะ แต่พากันปฏิบัติอย่างไรถึงไม่รู้ว่าพระสงฆ์เป็น สรณะ ถ้าไม่รู้จัก สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ แล้วจะมีพรหมเกิดขึ้นมา หรือ ถ้าไม่เห็น ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ จะปฏิบัติ ทาความสะอาด ได้อย่างไร จะเข้าสู่นิพพานได้อย่างไร ถ้าไม่เห็นธรรม “ผู้ใดเห็น ธรรม ผู้นั้นเห็นเรำตถำคต ผู้ใดปฏิบัติธรรม ผู้นั้นปฏิบัติเรำ ตถำคต” ธรรมะที่เป็นสรณะอยู่ท่ีไหน เราก็แสวงหาธรรม แสวงหา โมกขธรรมมาตั้งแต่คร้ังพุทธกาล เห็นกันหรือยัง “พระสงฆ์” เห็น กันหรือยัง “พระธรรม” ที่เป็นสรณะอันแท้จริง ของใครของมัน เห็นหรือยัง “พระพุทธ” ใช่เหลือง ๆ (ชี้ไปที่พระพุทธรูป) ท่ีตั้งอยู่นี่ ไหม ๗๗
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ ฟังนะ พระสงฆ์น่ี ในตัวตนสกลกายของเราคือตัวมหาภูต มหาภูต ๔ คือ ดิน น้า ไฟ ลม มาประชุมกัน ตัวเราคือ ธาตุ ๔ น้อม เข้าไปในตัวเอง ใหม้ ีสตสิ ัมปชัญญะ ถา้ เปน็ ดิน นา้ ไฟ ลม แล้วเป็น พระได้อย่างไร แผ่นดินท่ีเราเหยียบ เขาเรียกว่า พสุธา หรือพระ มหาปฐพี แปลว่า ดิน ดังนั้น ดินก็เป็นพระแล้ว น้า คือพระมหานที ไฟ คือพระเพลิง ลม คือพระพาย ในโลกอันน้ีเต็มไปด้วยกองสมมติ สงฆ์ขา้ งนอกก็มีชือ่ ตา่ งกนั สมมติช่อื กม็ าจากมหาภูต ๔ มาจากธาตุ ๔ ดิน น้า ไฟ ลม เหมือนกัน จริงไหม ดูหลักธรรมชาติสิ รู้มั้ย ดิน น้า ไฟ ลม ก็คือพระ ธาตุทั้ง ๔ มาประชุมกันจึงเรียกว่า สงฆ์ เป็น สงฆ์เหมือนกัน ธาตุท้ัง ๔ ประชุมกันเข้า รวมกันเป็นกอง เรียกว่า กองธาตุ มีชื่อสมมติข้ึนต่าง ๆ มา จึงเรียกว่า ธรรม คือสิ่งท่ีทรงไว้ อย่างนี้ เปน็ กฎของธรรมชาติ ใครเปน็ คนประชุมธาตุ ใครเปน็ คนบวชพระ พระอรหนั ต์ ๒ พระองค์ เป็นผู้ประชุมธาตุ พระบิดาและพระมารดา ธาตุดินเป็น พระคุณของพ่อ ในโลกธาตุอันน้ี “เอถะ ปัสสะถิมัง โลกัง – สูเจ้า ท้ังหลายจงมาดูโลกน้ี” เห็นไหมท่ีพระพุทธเจ้าชี้บอก ดูตัวเราเองสิ ไม่ใช่ไปดูคนอ่ืน เข้าใจไหม ดูของจริงอันนี้ (ชี้ไปท่ีตัว) ถ้าเราดูแล้ว ไม่เข้าใจเราจะปล่อยละวางได้อย่างไร ก็มาติดอยู่แค่โลกนี้ (ช้ีไปที่ ตัว) มาหลงอยู่แค่นี้ เพลินอยู่แค่นี้ เวียนว่ายตายเกิดอยู่แค่นี้หรือ เราตัองการมาดูของจริงไม่ใช่หรือ ธาตุดินเป็นของพ่อ ธาตุน้าเป็น ของแม่ ธาตุท้ัง ๒ จึงเป็นมหา มหาปฐพี พระมหานที ยิ่งใหญ่มาก สองธาตุน้ี คือธาตุตัวผู้และธาตุตัวเมีย เป็นรูป ส่วนไฟและลม เป็น นามเป็นธาตุอาศัย ส่ีธาตุประชุมกัน ทูตมาประชุมกัน รู้จักคาว่าทูต ไหม เทวทูตนะ่ จะถามอกี ว่าเคยเหน็ ยมทตู ยมบาลหรือยัง คงจะเคย ๗๘
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ เห็นกันแล้วใช่ไหม รู้จักกันใช่มั้ย มียมโลก ก็มียมราชเป็นเจ้านาย ใหญ่ มยี มทตู และก็ยมบาล อย่ทู ่ไี หน เอาไว้ก่อนเถอะ มาดูตวั ดวู ดั นี้ดีกว่า ดูกายวดั อันน้คี อื วดั สระปทมุ ใช่ไหม มี ชื่อ มีโบสถ์ วิหาร ลาน พระเจดีย์ เรามาเข้าวัดนี้แล้วเราเคยดูวัดใน เราหรือยัง วัดในคือกายวัด วจีวัด มโนวัด ของเรา ถ้ามัวมาถามก็ เสียเวลามาก เม่ือไรจะจบสักที ฟังแล้วก็ไม่เข้าใจ เข้าหูซ้ายออกหู ขวาแล้วจะนาไปปฏิบัติได้อย่างไร เพราะมันฟังไม่จริง ทาไม่จริง ถ้า เราทาจริง มันจะได้ผลจริง กินข้าวถ้ากินแล้วกินอีก คาแล้วคาเล่า เด๋ียวก็เต็มท้องเองไม่ใช่หรือ ไปสงสัยทาไม เราคุยกัน คุยด้วยสัจ ธรรม คุยด้วยความเป็นจริง ไม่ได้คุยเพื่อหลอกลวงกัน ให้เข้าใจกัน ส่ิงเหล่านี้ ดูวัดในเราเอง เขาเรียกว่ากายวัด วัดท่ีควรปฏิบัติก็คือ กาย เข้าวัดในนี่สิ วัดนอกมีพระมาก วัดในก็มีพระมาก วัดในก็คือ สงฆ์ คอื ธาตุ ๔ แล้วธรรมล่ะ ธรรมคือกองสมมติท้ังหลำย ๘๔,๐๐๐ พระ ธรรมขันธ์ ที่พระพุทธเจ้ำบัญญัติข้ึนออกจำกตัวเรำท้ังหมด อยู่ กับตัวเรำ มำเป็นตัวตนเรำ ดูง่าย ๆ พิจารณาง่าย ๆ หลักการ ปฏิบัติ ไม่ใช่วิ่งปฏิบัติ อาจารย์นู่นดัง อาจารย์นู่นดี ทาไมไม่ดู อาจารย์ตัวเอง ผิดก็อาจารย์เรา (ชี้ไปที่ตัว) ถูกก็อาจารย์เรา (ชี้ไปที่ ตัว) ใครจะมารับผิดชอบแทน ใครจะมาถูกแทนเราได้ อาจารย์เรามี พร้อมหมดแล้วไม่ใช่หรือ วิ่งหาครูหาอาจารย์ท่ีไหน สรณะก็คือตัว เรำเป็นสรณะ ไปว่ิงหำสรณะท่ีไหน ธำตุ ๔ มหำภูต ๔ คือสงฆ์ พ่อแม่ประชุมธำตุ ๔ ให้แลว้ เคยแปล “นะโม” ให้ฟัง ทุกส่ิงอย่างมีเหตุเป็นแดนเกิด ทั้งน้ัน นะโมก็มีเหตุเป็นแดนเกิดเหมือนกัน มีผู้บัญญัตินะโมข้ึน ๗๙
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ เหมอื นกัน คือ ๕ เทพเจา้ เปน็ ผูบ้ ัญญตั ิ นะโม–สาตาคริ ยี ะโข, ตสั สะ –อสุรินทร์ราหู, ภะคะวะโต–ท้าวจาตุมหาราชกิ า, อะระหะโต–ท้าว สักกะ, สัมมำสัมพุทธัสสะ–ท้าวมหาพรหม นี่คือเหตุเกิดของนะโม ๕ เทพเจ้ามาอวดฤทธิ์ อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโตยัสสะสิโน เปลง่ แสงรศั มีมาอย่างเฉียบขาด หาขอบเขตประมาณไม่ได้ พอมาถึง องค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้า แสงรัศมีของพวกเทพเหล่าน้ันเหลือ เท่ากับแสงห่ิงห้อย จะไปเทียบกับแสงพระจันทร์แสงพระอาทิตย์ได้ หรือ อายพระพุทธเจ้าก็เลยกล่าวคนละคา ยักษ์ก็กล่าวคาเดียวว่า นะโม อสุรนิ ทรร์ าหูกล่าวคาว่า ตสั สะ ทา้ วจาตมุ หาราชิกากล่าวคา ว่า ภะคะวะโต ท้าวสักกะกล่าวคาว่า อะระหะโต ท้าวมหาพรหมก็ มากลา่ วคาวา่ สัมมำสัมพุทธสั สะ ๕ เทพเจา้ มากล่าวคนละคา น่ีคอื เหตุเกดิ ของนะโม แตจ่ ัดไว้อันดบั ๓ นะ ไวท้ ่ี ๑ ที่ ๒ ไมไ่ ด้ แลว้ ที่ ๒ ล่ะ ถ้ามหาเปรียญเขาแปลนะโม เขาแปลได้ฉะฉานไพเราะ นะโม แปลวา่ ความนอบน้อม, ภะคะวะโต–ต่อพระผูม้ ีพระภาคเจ้า, ตัสสะ –พระองค์น้ัน, อะระหะโต–เป็นพระอรหนั ต์, สัมมำสมั พุทธะ-ตรัสรู้ เองโดยชอบ อันนี้แปลตามหนังสือ แต่ถ้าว่าตามทางปฏิบัติ นะโม รอบที่ ๒ หมายถึง พระพทุ ธเจ้า จดั อยใู่ นรอบที่ ๒ ไว้อนั ดบั ๑ ไมไ่ ด้ นะโมรอบที่ ๑ หมำยถึงพ่อแมข่ องเรำ ถ้าไม่มีพ่อไม่มแี ม่ แล้ว พระพุทธเจ้าจะไดม้ าเกิดหรอื มาตรสั ร้หู รอื ตวั ตนสกลกายไดม้ า จากพ่อแม่ คือพระอรหันต์ ๒ องค์ พระพุทธเจ้ามาอาศัยก้อนธาตุ ก้อนธรรมน้ี มาอาศัยสรณะ คือ สงฆ์อันนี้ (ช้ีไปที่ตวั เอง) ท่ีพอ่ แม่ สรา้ งขน้ึ ผู้ที่สรา้ งตัวตนสกลกายนี้ สรา้ งโลกอนั น้ี (ช้ไี ปทตี่ วั เอง) ตง้ั โลกขน้ึ มา กค็ ือพ่อแม่เรา องคส์ มเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจา้ กต็ ้องมา อาศัย ธัมมัง สะระณงั คจั ฉำมิ สงั ฆัง สะระณัง คัจฉำมิ แล้ว ๘๐
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ พระพทุ ธเจ้า พุทธะ คือใคร ก็คือ จติ วญิ ญาณตวั เรา ตัวพทุ ธะคอื ตวั รู้ พทุ ธะก็คือจติ ใจเรา ไม่ใช่อื่นไกล มาถือสรณะ ๒ คอื มาถือ ธัมมัง สะระณงั คจั ฉำมิ มาถือ สงั ฆัง สะระณัง คัจฉำมิ มาอาศยั ธรรม มา อาศยั สงฆเ์ ป็นสรณะ พระพุทธเจ้ากอ็ าศัยอนั นี้ มารู้ของจรงิ น้ี มา เหน็ ของจรงิ อันน้ี จงึ ประกาศของจรงิ ใหโ้ ลกได้เหน็ ไดร้ ู้ มาเปดิ ให้มี แสงสวา่ งเกิดขึน้ ให้ไดร้ ู้กัน รูโ้ ลกอันนี้ เปดิ โลกอนั นี้ (ชี้ไปทีต่ ัวเอง) ให้ มนั สว่างขึน้ ไมใ่ ห้มืดมามืดไป มาเห็นของจรงิ ทาไมจงึ จัดพระพุทธเจ้าเป็นที่ ๒ ทาไมไมจ่ ดั เปน็ ท่ี ๑ ถ้าไม่ มีนะโมรอบแรก แล้วจะมีนะโมรอบทึ่ ๒ ได้อย่างไร นะโมรอบท่ี ๒ ยังเป็นนามอยู่ พระพุทธเจ้ายังสมมติเป็นนามมาอาศัยมหาภูตอยู่ ลองกลับตัว “นะ” กับตัว “มะ” กันดูสิ จาก นะโม ก็เป็นมโน ใช่ ไหม จึงมาเป็นกองสมมติขึ้นมา ตัวเรำเข้ำมำอำศัยนะโม จึงเป็น มโนคือใจ เป็นตัวพุทธะ จริงหรือไม่จริง เพราะน้า - นะ เป็นของ แม่ โมหรือมะ เป็นของพ่อ ท่ีเรียกว่ำมหำปฐพี พระมหำนที มหำ ปฐพีเป็นธำตุดิน พระคุณของพ่อ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดกู มา้ ม หัวใจ ตบั พงั ผืด ไส้ใหญ่ ไส้นอ้ ย อาหาร ใหม่ อาหารเก่า ของพ่อเรา ทั้งหมดอยู่ในธาตุอันน้ี โลกอันนี้ ในวัด อนั นี้ ทเี่ รียกว่ากายวัด ของแม่ น้าดี เสลด หนอง เลอื ด เหงื่อ มันข้น น้าตา น้ามัน น้ามูก น้าลาย น้าไขข้อ น้ามูตร เป็นของแม่เรา ธาตุ ท้ัง ๒ ตั้งขึน้ ประชุมกนั แล้วเป็นรปู ธรรม แตต่ ้องอาศัยนามธรรม คือ ไฟและลมเข้ามาอาศัย ธาตุ ๔ จงึ ตัง้ ขึ้น สงฆจ์ งึ เกิดขึ้นเพราะอย่างนี้ นี่เขาเรียกว่า สงฆ์ในอันเป็นสรณะ คือพระคุณของพ่อของแม่ เพราะฉะนั้น นะโมรอบที่ ๑ หมายถึงพระคุณของพ่อของแม่ “นะ โม” แปลว่าความนอบน้อม รอบท่ี ๒ หมายถึงพระพุทธเจ้า รอบที่ ๘๑
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ ๓ หมายถงึ เทพเจ้า ทีป่ ราชญแ์ ละบัณฑิตเขาแปลไว้อย่างเพราะ มนั เรอื่ งของเขาท่ีแปลเอาไว้ ถ้าเราจะแปลนะโมรอบที่ ๑ ว่าเป็นพระคุณของพ่อของแม่ จะแปลอย่างไร “นะ” ก็แปลว่าธาตุน้า “มะ” ก็แปลว่าธาตุดิน นะโม – อันว่าน้าและดิน ตัสสะ – ของบิดามารดาน้ัน ภะคะวะโต – บิดาและมารดาเป็นผู้จาแนกธาตุน้าและธาตุดิน อะระหะโต แปลวา่ เสรจ็ ส้ินแลว้ ก็คือจาแนกใหแ้ ล้วจนสน้ิ และสาเร็จดว้ ยอาการ ๓๒ พร้อมสมบูรณ์ขึ้นมาแล้ว สัมมา แปลว่าโดยชอบ อยู่ในครรภ์ ของท่านจนสิ้นแล้วทศมาส ๑๐ เดือนแล้วโดยชอบ สัมพุทโธ - จึง ได้เกิดข้ึนมาเป็นตัวเป็นตน จึงลอดก้นแม่มาเกิดเป็นตัวเป็นตน พ่อ แม่ลาบากหรือเปล่า กว่าพวกเราจะโตเป็นผู้ป็นคนข้ึนมา พ่อแม่รัก เราขนาดไหน เหลือบไม่ให้ไต่ ไรไม่ให้ตอม ไปไหนก็โอบอุ้มไป ไม่ รังเกียจจะข้ีรดเยี่ยวรด พ่อแม่รักเรามาก ท้องฟ้าขาดดาวขาดเดือน ไม่ได้ พ่อแม่ก็เหมือนกัน ขาดลูกไม่ได้ ดีก็ลูก ไม่ดีก็ลูก ใครจะมาว่า ลูกไม่ดีไม่ได้ ลูกฉันดีสม่าเสมอ อย่ามาดูถูกลูกฉัน แต่คิดดูสิ ลูก ๆ ทุกวันเป็นอย่างไร เห็นแล้วเหน่ือยเหลือเกิน เห็นลูกเห็นหลานทุก วันนี้แล้วก็เหน่ือยมาก น่ีหรือลูกของมนุษย์ ลูกผู้มีสัตว์ใจสูงใน ๑๒ จานวนสัตว์ ตัวตนสกลกำยธำตุขันธ์อันนี้เป็นตัวตนของพ่อของแม่ ถ้ำเรำเอำไปทำในส่ิงที่ไม่ดีขึ้นมำ ลองคิดดู จะเป็นบำปเป็นกรรม หรือเปล่ำหนอ เป็นกำรเนรคุณพ่อแม่หรือเปล่ำหนอ ทำไมจึงเอำ ของดไี ปทำในส่ิงท่ีไม่ดี ลองใคร่ครวญคิดดวู ำ่ จรงิ หรือไม่ สะระณัง ก็อยู่ที่ตัวเราใช่ม้ัย ธาตุ ๔ เป็นพระสงฆ์ เป็นสรณะที่พี่ง เป็นก้อน ธรรม ก็คือก้อนธาตุก้อนธรรมธาตุท้ัง ๔ มาประชุมกัน เป็นธรรม ๘๒
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ เป็นกอง เขาเรยี กวา่ กองธาตุกองธรรมเป็นกองสมมติ อาการ ๓๒ มี พร้อมทั้งหมดเป็นธรรมเป็นท่ีพ่ึง เรามีสังฆังมีธรรมเป็นที่พึ่งก็พ่อแม่ เป็นคนใหไ้ มใ่ ช่หรอื แก้วสารพดั นึก เอาแก้วสารพัดนกึ ท่ีพ่อแม่ให้มา ไปทาให้เป็นมลทินให้แตกร้าวทาไม ถามตัวเองสิ พ่อแม่ให้ของดี มาแล้วไปทาใหเ้ ปน็ มลทินทาไม องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาพิจารณาเห็นอันน้ี โอ้ โห พ่อและแม่มีพระคุณถึงขนาดน้ีเชียวหรือ ถ้าเราจะสรรเสริญ พระคณุ ของพ่อของแม่ ไมม่ ที ีส่ ้ินสุดเลย “พระสมั มำสัมพุทธเจ้ำมำ ตรัสรู้แต่ละองค์ ๆ มำขนสรรพสัตว์เข้ำสู่นิพพำน เรำตถำคตไม่ สำมำรถสรรเสริญพระสัพพัญญูของพระสัมมำพระพุทธเจ้ำให้ ส้ินสดุ ได้ฉนั ใด เรำตถำคตกไ็ ม่สำมำรถสรรเสริญพระคุณของบิดำ มำรดำให้ส้ินสุดได้ฉันน้ัน” ฟังดูสิที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ พ่อแม่มี พระคณุ มากถึงขนาดน้ี จึงบญั ญัตศิ ีล ๕ ศลี ๘ ศีล ๑๐ ศีล ๒๒๗ ให้ วิรัติ ให้รักษาก้อนธาตุก้อนธรรมอันเป็นพระคุณของพ่อแม่ อย่า เนรคุณ อย่าเอาแก้วสารพัดนึกไปทาให้เป็นมลทิน อย่าไปทาให้ แตกร้าว ตัวเรานี่คือแก้วอันวิเศษสุด มันเป็นสรณะได้อย่างไร ดูให้ มันชดั ๆ ท่านบัญญัตศิ ลี เพื่อใหร้ ักษา ธัมมงั สะระณังคัจฉำมิ ถ้ำหำกสงฆ์คือมหำภูต ๔ ดิน น้ำ ไฟ ลม มำเป็นสรณะ มำเป็นก้อนธำตุก้อนธรรมเป็นตัวตนมำตั้งอยู่ในท้องแม่แล้ว ตัว พุทธะคือจิตวิญญำนก็เข้ำมำปฏิสนธิ จึงประกอบด้วย พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ คือจิตใจของเรามาเป็นผู้รู้ ผู้ต่ืน ผู้เบิกบาน มารู้ ธรรมรู้สงฆ์ รู้ตรงน้ี (ช้ีไปท่ีตัวเอง) ถ้าไม่รู้เห็นมหาภูตเหล่าน้ี จะเป็น พระไดอ้ ย่างไร จะสาเรจ็ ได้อย่างไร เวลาบวชอปุ ัชฌาย์อาจารย์บอก ตะจะปัญจะกะกัมมัฏฐำน กรรมฐานมีหนังเป็นท่ี ๕ เกสำ โลมำ ๘๓
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ นะขำ ทันตำ ตะโจ -- ตะโจ ทันตำ นะขำ โลมำ เกสำ อุปัชฌาย์ รูปไหนไม่บอกมูลกัมมัฏฐานนี้อุปัชฌาชย์นั้นวิบัติ ไม่สมเป็น อุปัชฌาย์ ขาดจากการเป็นอุปัชฌาย์ จะต้องสอนมูลกัมมัฏฐา หมายถึงฐานอันเป็นที่ต้ังแห่งการงานก็คือตัวตนสกลกาย คือมาดู องค์สงฆ์อนั น้ี (ชี้ไปทีต่ ัวเอง) สังฆงั สะระณัง คจั ฉำมิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉำมิ เวลาเราเดินข้ึนมาบนศาลา เรา เอาขาเราเดินใช่ไหม ไม่ได้เอามือเดิน จะชี้สรณะให้ ช้ีข้อเดียวก็รู้ หมด จะเข้าใจเองถ้าตั้งใจฟัง สรณะแปลว่าที่พึ่งใช่ม้ัย ธัมมัง สะ ระณัง คัจฉามิ ขาเราทาหน้าท่ีเดิน ขาจึงเป็นท่ีพึ่ง นาเรามาถึงที่ได้ ขึ้นมาบนศาลาได้ นี่แหละตัว ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ขาเราเป็น ธรรมและเป็นท่ีพึง่ ของเรา ตาก็เป็นธรรม ทาหน้าทีด่ ู ดวู า่ น่นู ทางข้นึ บนั ไดอย่ทู างนู้น ใช้ตาดู ตาเราเอง อยู่ทีเ่ รา เดินขึน้ มากข็ าเราเอง ท่ี พึ่งของเราเอง ไปหาที่พ่ึงท่ีไหน ที่พึ่งก็คือสรณะ เพราะตาต้องทา หน้าท่ีดู หูก็ต้องทาหน้าที่ฟัง จมูกก็ทาหน้าท่ีหายใจ ถ้าเราไม่เอา จมูกของเราหายใจจะไปยืมจมูกใครมาหายใจ เอาของเราไม่ใช่หรือ จมูกก็เป็นท่ีพ่ึงสาหรับตัวของเรา หูเป็นที่พ่ึงสาหรับฟังของเรา รู้ หรอื ยงั สรณะทนี ้ี ไปหาที่ไหน สังฆัง สะระณัง คัจฉำมิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉำมิ พุทธัง สะระณัง คจั ฉำมิ พุทธังคอื ตวั ใจของเรา รู้แล้ววา่ อันน้ี (ชีไ้ ปทต่ี วั ) น่ี คือสรณะ เห็นไหม ผู้รู้ - พุทธะ ใจเรารู้ว่าอันน้ี (ชี้ไปที่ตัว) คือก้อน สรณะ โลกอันนี้เต็มไปด้วยมหาภูตคือกองสมมติ พระพุทธเจ้ามา เห็นจงึ สมมติมาเปน็ กองเพื่อให้รักษา นะโมรอบท่ี ๒ ถ้าจะแปล เขาจะแปลว่าอย่างไร นะโม อัน ว่าห้วงอมตะธรรม คือห้วงแห่งพระหฤทัยของพระพุทธเจ้าเต็มไป ๘๔
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ ด้วยพระมหากรุณาธิคุณ ห้วงอมตะธรรม ธรรมท่ีเป็นอมตะก็คือ ดนิ น้า ไฟ ลม อนั เปน็ ธรรมชาติ จงึ เรียกรวมกนั วา่ เปน็ มะ และ นะ ห้วงก็คือ นะ ธรรมก็คือ มะ ตัสสะ – ของพระพุทธเจ้าน้ันพระองค์ มาบัญญัติขึ้น ภะคะวะโต – ยังมาจาแนกก้อนธาตุก้อนธรรมอันน้ี (ชี้ไปท่ีตัวเอง) ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ อะระหะโต – ล้วนแต่เป็น ธรรมอันสิ้นอาสวขัย คาสอนของพระพุทธเจ้า สัมมำ - มีเทวดา มารและพรหม สมณพราหมณ์ มนุษย์ เป็นผู้สดับรับฟังและปฏิบัติ แล้วโดยชอบ สัมพุทโธ – ปฏิบัติเองย่อมบรรลุเอง ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ - วิญญูชนจะรู้เฉพาะตน ปฏิบัติได้เฉพาะตน เท่านั้น ปฏิบัติแทนกันก็ไม่ได้ บรรลุก็บรรลุเอง น่ังอยู่ด้วยกันน่ีรู้ จิตใจกันเสียเมือ่ ไร บางคนกต็ ้งั ใจฟังจนเข้าใจ บางคนกไ็ มไ่ ดต้ งั้ ใจฟัง เลย มีแต่ฟุ้งซ่านอยู่ ไปมองดูคนอื่น จิตใจก็ไปแล้ว ไปคิดถึงคนอื่น แล้ว เอ๊ะ เขาจะรู้เหมือนกูหรือเปล่า ตัวเองเป็นคนคิดยังจะไปถาม อีกว่าเขาจะคิดเหมือนกูหรือเปล่า ใครมันจะรู้จิตใจของใคร น่ังอยู่ ดว้ ยกนั น่ี ของใครของมนั ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ เรารู้เฉพาะตัวเรา พระพุทธเจ้าจึงบัญญัติ “วิรัติ” ให้รักษา ถ้าเรายังไปคิดว่าคนน้ันจะ รู้ตามกู คนน้ีจะรู้ดีกว่ากู ศีลข้อปาณา ไปเบียดเบียนกันแล้ว ไม่อยู่ ในความสงบเป็นสมถะเลย ไปเบียดเบียนเขาทาไม ทาตัวเองให้ตก ไปแลว้ ตาหนเิ ขาทาไม เรอ่ื งของเขา ดูตวั เองสิ ถา้ เรายังระงบั ตัวเอง ไม่ได้ก็ถือว่ายังไปเบียดเบียนคนอ่ืนอยู่ นั่นคือศีลข้อปาณา ยังไม่พอ ถ้าอทินนา กูรู้แล้วเว้ยวันน้ี กูรู้คนเดียว ของกูเป็นอย่างน้ี ของมึงจะ เหมือนของกูหรือเปล่า นั่นเห็นไหม อทินนาถือเอาแล้ว ผิดอีก พระพุทธเจ้าสอนให้วิรัติไม่ใช่หรือ ให้รักษาให้สงบระงับเอาไว้ อย่า ๘๕
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ ให้ฟุ้งซ่านไปตามอารมณ์ ที่สมาทานศีล ๕ กัน แค่ศีล ๒ ข้อก็มา เบียดเบียนกันแล้ว มาถือตัวถือตนว่ากูฟังได้ กูเข้าใจ แค่น้ีก็ศีลข้อที่ ๒ แล้วน่ะ มันผิดไปแล้ว จริงหรือไม่ให้พิจารณาเอง เทศน์มาก่ี ชั่วโมงแล้วเน่ีย โดนแล้วบ่ เอวังด้วยประการฉะน้ี ลงง่าย ๆ อย่าไป ลงยาก เอา้ รับพรกนั อจิ ฉติ งั ปัตถติ งั ตุมหงั ขปิ ปะเมวะ สะมชิ ฌะตุ สัพเพ ปูเรนตุ สงั กปั ปา จนั โท ปัณณะระโส ยะถา มะณิ โชติระโส ยะถา ฯ สพั พีตโิ ย วิวัชชนั ตุ สพั พะโรโค วินสั สะตุ มา เต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทฆี ายโุ ก ภะวะ ฯ อะภิวาทะนะสลี สิ สะ นจิ จงั วุฑฒาปะจายิโน จัตตาโร ธัมมา วัฑฒนั ติ อายุ วณั โณ สขุ งั พะลัง ฯ ๘๖
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มที่ ๕ หลวงปสู่ งวน ยุตตะธัมโม วดั ธุดงคนิมิต ต.ปำกแพรก อ.เมือง จ.กำญจนบุรี แสดงเมอ่ื วันอำทิตย์ ที่ ๑๕ กันยำยน พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ ศำลำพระรำชศรัทธำ วดั ปทุมวนำรำม รำชวรวิหำร หลังจากพระราชทานเพลิงหลวงปู่ม่ัน สมัยนั้นอาตมาบวช ได้แค่ ๒ พรรษา หลวงปู่จันทร์แรมไปจาพรรษาที่จังหวัด เพชรบรุ ี คหบดีชอื่ คณุ นายวิลเลียมส์นิมนตห์ ลวงปู่สงิ ห์ ขันตยาคโม ไปโปรดชาวเพชรบุรี สมัยนั้นกรรมฐานสหายหลวงปู่มั่นเน่ียยังไม่มี ใครรู้จัก ส่วนพระธุดงค์น่ะมีมาอยู่แล้ว อันนี้มันเป็นประเพณีมาแต่ นานแล้ว โดยเฉพาะภาคกลางท่ีออกพรรษาแล้วก็ออกธุดงค์กัน ไป ไหว้พระบาท พระฉาย แสวงหาบุญ เท่ียวธุดงค์ไปเรื่อย ๆ มันเป็น ประเพณีมาแต่เก่าก่อน จนเกิดหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ข้ึนมา ประวัติ ๘๗
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ ตอนน้ันก็ไม่ค่อยรู้เท่าไหร่แต่ว่าท่านก็มาฟ้ืนฟูสายพระธุดงค์ข้ึนมา เรียกว่าสายธุดงค์หลวงปู่มั่น ยังไม่ชัดเจนเท่าไร อาจจะจาไม่แม่นก็ ได้เพราะอยู่กันคนละภาคกัน เท่าที่เล่ามาก็มาปฏิบัติธรรมออก ธุดงค์เหมือนกัน ท่านเอาหลักพระไตรปิฎกมาปฏิบัติ คือธุดงค์ ๑๓ เช่น อยู่โคนไม้ อยู่เรือนร้าง อยู่ท่ีว่าง แล้วก็มีอะไรอีกหลาย ๆ ท่ี แล้วก็เดินธุดงค์ ปฏิบัติตามแนว ตะจะปัญจะกะกรรมฐำน เกสา โลมา นขา ทันตา ตะโจ -- ตะโจ ทันตา นขา โลมา เกสา กรรมฐาน ท่ีอุปัชฌาย์สอน สาหรับผู้มาบวชในศาสนา ท่านก็ปฏิบัติไปลาพัง ด้วยตวั เอง ตอนท่ีท่านตรสั รอู้ ะไรนี่กม็ ีคนรุ่นหลงั มาเลา่ ท่านก็เผยแผ่ศาสนาในภาคอีสาน ภาคเหนือ ภาคกลางยัง มาไมถ่ ึง ช่วยกนั เผยแผ่กับหลวงปสู่ ิงห์ ขนั ตยาคโม นอกจากหลวงปู่ สิงห์แล้ว หลวงปู่ฝ้ัน มาตอนหลังมีหลวงปู่เทสก์ หลังจากถวายพระ เพลิงหลวงปู่มั่นแล้ว หลวงปู่เทสก์ท่านมาคานึงว่านักปฏิบัติธรรม ตามภาคตา่ ง ๆ มอี ยูท่ ่ีไหนบา้ ง ท่านกเ็ ลยลาไปทางใต้ ก็มาแวะพักที่ เพชรบุรี วดั สนามพราหมณ์ ในเมือง พอออกจากวัดสนามพราหมณ์ ท่านก็ไปเร่ือย ๆ ไปถึงทางใต้ สมัยนั้น มีมหาช่ือมหาป่ิน ชาว นครปฐมก็ออกธุดงค์เหมือนกัน ก็แบบโบราณอย่างท่ีว่ามาแลว้ เนี่ย วา่ มกี ารออกธุดงคก์ นั ท่านเปน็ นักเทศน์ ทา่ นก็เทศนไ์ ปเร่ือยๆ ทา่ น ไปเทศน์จนถึงทางใต้น่ันแหละ ถึงจงั หวัดพังงา แตท่ ท่ี า่ นแสดงธรรม มันแรงไปหน่อย เพราะสมัยนั้นพระย่อหย่อนในพระธรรมวินัย ก็ น่าจะให้อภัยอยู่นะในสมัยนั้นในเร่ืองความย่อหย่อนนี่ เพราะ พระไตรปิฎกก็ยังไม่ได้แปล ยังอยู่ในภาษาบาลี แล้วพระที่รู้ภาษา บาลีก็น้อย ก็ว่ากันตามครูบาอาจารย์แนะนาให้ทา อย่างเช่นที่ว่า มาแล้วนี่แหละเรอ่ื งออกธดุ งคอ์ ะไรต่ออะไร ฯลฯ ๘๘
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วัดปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ ที่หลวงปู่ม่ันท่านมาปฏิบัติธรรมจนชื่อเสียงโด่งดัง ศาสนา เผยแผ่ออกไปในภาคอีสาน อาตมาเกิดทีหลัง ไม่ทัน อาตมามาบวช พรรษา ๒ ทา่ นถวายพระเพลิงหลวงปู่มัน่ เสร็จแล้ว สมยั นั้น หลวงปู่ สิงห์เป็นประธานในการถวายพระเพลิงศพหลวงปู่ม่ัน การภาวนาก็ เรียกว่าอยู่ในหลักภาวนาพุทโธ น่ังก็พุทโธ นอนก็พุทโธ เดินยืนนั่ง นอนก็พุทโธ เอาพุทโธเป็นหลัก ทาจิตให้สบาย ทาจิตให้นิ่งใน อารมณอ์ ันเดียว จนมีพระผู้ปฏิบตั ิตามไดเ้ ยอะเหมือนกัน แตว่ า่ อนั นี้ มันมาจาก ร.๔ นะ ก่อนจะถึงหลวงปู่มั่นเน่ีย ร.๔ ก่อน เกิดคณะ ธรรมยุตข้นึ มากอ่ น ขอพูดย้อนหลังไปนิดหน่ึง สมัย ร.๔ บวช ท่านบวชที่วัด มหาธาตุฯ กรุงเทพฯ เรานี่แหละ สมัยนั้นก็เรียนภาษาบาลี แปลภาษาบาลี หลวงปู่เทสก์ท่านมาแปลพระไตรปิฎก แปลเร่ือง วินัย ท่านก็อยู่ท่ีวัดมหาธาตุ พระสมัยนั้นการศึกษายังไม่ทั่วถึง ภาษาบาลีก็ยังไม่ได้แปลเป็นภาษาไทย ภาษาจากพระไตรปิฎกว่า อย่างหนึ่ง พระในวัดก็ปฏิบัติอีกอย่างหนึ่ง เอ๊ะ ทาไมไม่ตรงกัน ทา่ นกไ็ ปถามอุปชั ฌาย์ วา่ ทาไมพระปฏิบัติไม่ตรงตามพระวนิ ัย ทา่ น ก็บอกว่า ศาสนามันเสื่อมมาต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาแตกแล้ว ก็ ปฏิบัติตามครูบาอาจารย์กันไป พระองค์ก็บอกว่าไม่ได้หรอก ไม่ได้ บญุ แลว้ ปฏิบัติไม่ตรงพระวินัยไมไ่ ด้บญุ แล้ว ถ้าอย่างน้ันเราไปสึก ไปถืออุโบสถถือศีล ๘ จะได้บุญ มากกว่า ก่อนที่จะสึกก็ไปอธิษฐานในโบสถ์ว่า ศาสนาพุทธยังมีผสู้ ืบ ต่อสมบูรณ์ บริบูรณ์อยู่ไหม ท่ี ถูกต้องตามพระธรรมวินัย พระไตรปิฎกยังมีอยู่ไหม ถ้ามีอยู่พระองค์ก็จะอยู่ต่อ ถ้าไม่มีก็จะลา สิกขา ขอให้พระผู้ที่บวชถูกต้องตามพระธรรมวินัยให้มาภายใน ๓ ๘๙
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ วันถึง ๗ วัน หลังจากนั้น ๓ วัน มีพระมอญข้ามมาจากฝ่ังโน้น ข้าม มาจากท่าพระจันทร์ล่ะม้ัง มาขึ้นท่ีวัดมหาธาตุฯ พระมาพระองค์ก็ ดใี จท่มี พี ระมา ก็ถาม โดยเฉพาะมอญเนี่ยเคร่งในวินยั อย่แู ล้ว คือว่า พระสูตร-ไทย มอญ-วินัย พม่า-ปรมัตถ์ สมัยนั้นนะ ไทยเก่งเรื่อง พระสูตร มอญเชี่ยวชาญเร่ืองพระวินัย พม่าเช่ียวชาญในเรื่อง อภิธรรม ก็เลยถาม พระมอญก็ตอบได้หมด ก็เลยรู้ว่าไม่ถูกต้อง ก็ เลยลาอุปัชฌาย์ไปอยู่ที่วัดราชาธิวาส (เดิมชื่อวัดสมอราย) ก็เป็นวัด ป่า พระอยู่กนั ไม่กี่รปู ทา่ นกไ็ ปอย่ทู ่นี นั่ พาพระมอญไปอยู่ดว้ ย แลว้ ก็ศึกษาพระธรรมวินัยกันใหม่ ปรับปรุงใหม่ แล้วก็ดูในพระไตรปิฎก ดูในสีมา พบลูกสีมา ดูสีมามันเล็ก อ้าว ไม่ตรงอีก สีมาต้องเท่ากับ หัวช้าง สีมาที่ถูกต้องเท่ากับหัวช้าง ไปขุดดูมันเล็ก อ้าว ก็ไม่ถูกต้อง อีก ก็เลยไปทาญัตติใหม่ บวชซ้า ไปต้ังเป็นแพอยู่กลางน้า พระก็ไม่ ครบ เอาพระมาสวดทับ เรียกกันว่าทา ทัฬหีกรรม แปลว่าสวดซ้า อีกคร้ังหนึ่ง เพื่อให้ถูกต้อง แล้วก็มีพระไปจากวัดมหาธาตุฯ อีก มี สมเด็จวันรัตฯ สมเด็จอะไรต่ออะไรไปอยู่ที่วัดราชาด้วยกันเน่ีย ก็ ครบองค์สงฆ์ ก็เลยฟน้ื ฟูการปฏบิ ตั ิธรรมวินัยใหม่ แรก ๆ ก็ทากลุ่มเล็ก ๆ พออยู่ไป มีผู้ศรัทธาเล่ือมใสเพิ่ม ข้ึนมา เลยกลายเป็นหมู่คณะใหญ่ข้ึนมา ท่านก็อยู่เล็ก ๆ อยู่น่ัน แหละ จนสิ้นรัชกาลที่ ๓ ร.๔ ก็ต้องลาสิกขามาเสวยราชย์ฯ ตอนท่ี พระองค์บวชอยู่น่ัน พระองค์แปลพระไตรปิฎกได้เปรียญ ๕ ประโยค ท่านรู้หมด เร่ืองพระไตรปิฎกท่านรู้ ท่านก็บวชใหม่ ท่าน ลาสกิ ขามาแล้วคณะน่ันก็ยังอยู่ จนถงึ ร.๕ ถึงมารับรองวา่ เป็นคณะ ใหม่ นิกายใหม่ เรียกว่าธรรมยุติกนิกำย นิกายเดิมเรียกว่า มหำนิกำย เพราะมีพระเพิ่มขึ้นไง กฎหมายก็ยังไม่รับรอง ก็เลย ๙๐
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ รับรอง เป็นนิกายใหม่ สืบมาจนทุกวันน้ี ก็ฟ้ืนฟูศาสนามาเร่ือย ๆ ตั้งแต่ ร.๔ มา แล้วก็สมเด็จมหาสมณเจ้าฯ มาแปลพระไตรปิฎก แต่งนักธรรมตรี โท เอก ขน้ึ มาใหเ้ รยี น ให้รู้ ให้ถกู ต้องตามพระธรรม วินัย พระก็ปฏิบัติดีขึ้น เป็นที่ต้ังแห่งศรัทธาปสาทะญาติโยมข้ึนมา จนทุกวันนี้ อย่างท่ีเรานั่งอยู่นี่มันเป็นวัดธรรมยุต ได้ข่าวว่า ร.๔ ก็ เคยมาจาพรรษาตรงน้ีเหมือนกนั ทกี่ ลา่ วมานค่ี ือเรอ่ื งนิกายสงฆใ์ นประเทศไทย การประพฤติ ปฏิบัตกิ ็ขยายเจรญิ ข้ึนมาเร่ือย ๆ จนถงึ พวกเราทุกวันนี้ การปฏบิ ัติ ธรรมก็ปฏิบัติตามครูบาอาจารย์บ้าง ครูบาอาจารย์สอนแล้วก็ทา ตามอย่างน้ัน โยมท่ีมาน่ีก็มาปฏิบัติธรรมตามคาสอนพระพุทธเจ้า มารวมเปน็ กลมุ่ เปน็ กอ้ น ก็นับวา่ ดีอยูน่ ะ ทาได้ยากอยู่ ก็เรยี กว่า คน ท่ีต้งั ใจประพฤตปิ ฏบิ ัตธิ รรมก็ยงั มอี ยู่ ศาสนาก็ยงั อยู่ จรงิ ๆ เราไดเ้ กิดมาเป็นมนุษยแ์ ลว้ มบี ญุ กศุ ลแลว้ ยิ่งเราได้ เกิดมาในประเทศไทยด้วย เกิดมาเป็นมนุษย์ กิจฺโฉ มนุสฺสปฏลิ ำโภ การได้เกิดมาเป็นมนุษย์ก็ยาก กิจฺฉ มจฺจำน ชีวิต การมีชีวิตอยู่ก็ ยาก กิจโฺ ฉ พทุ ธฺ ำนมปุ ฺปำโท การเกิดขึ้นของพระพทุ ธเจ้าแต่ละองค์ ก็ยาก เพราะต้องสร้างสมบุญบารมีใช่ไหม ที่ว่าเกิดเป็นมนุษย์ยากก็ ลองดูอยา่ งปจั จุบนั แล้วกนั คนจะลน้ โลกอยู่แล้วแล้วก็เกิดกนั ขนาด ควบคุมก็ยังควบคุมไม่อยู่เพราะความเกิดนี่แหละ เม่ือเราเกิดเป็น มนุษย์แล้ว ได้ลาภอันประเสริฐไว้แล้ว ก็เอาความเป็นมนุษย์เข้ามา เปน็ มนษุ ยก์ ็เรียกไดว้ า่ ไดม้ นษุ ยส์ มบัติ ไม่ใบ้ ไมบ่ ้า ไม่บอด ไม่หนวก มีอวยั วะสมบรู ณ์บรบิ รู ณ์ น่ีคอื ความเปน็ มนุษยข์ องเราสมบรู ณ์ กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลำโภ แล้วก็มีชีวิตอยู่ ไม่พิกลพิการ พอที่จะรองรับ ปฏิบัติธรรมวินัยได้ พระธรรมวินัยพระพุทธเจ้าน้ีจะ ๙๑
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เล่มท่ี ๕ ให้เจรญิ งอกงามไดก้ ต็ อ้ งมศี ีล ศีล ๕ น่ีแหละ ศลี ๕ เรียกว่ำมนษุ ย์ ธรรม ถ้ำไม่มีมนุษย์ธรรมก็ไม่มที ่ีตงั้ ศีล ๕ เปน็ ทตี่ ั้งของพระธรรม ฉะน้ัน ศีล ๕ จึงสำคัญท่ีสุด อย่างพระท่ีเข้ามาบวช ท่านจะถามว่า มนสุ โส สิ ทา่ นเปน็ มนษุ ยห์ รอื ? ตอบว่า อามะ ภนั เต ข้าพเจ้าเป็น มนษุ ย์ ศาสนาพทุ ธเหมาะสมสาหรับมนุษย์เท่านน้ั มนษุ ยก์ ับศีล ๕ น่ันแหละ ปาณาฯ อทินนาฯ กาเมฯ มุสาฯ สุราฯ ศีล ๕ ประการน้ี สาคัญ ทุกวันนี้ บ้านเมืองมันวุ่นวายเดือดร้อน เพราะความเป็น มนุษย์มันหมด มนุษย์ธรรมมันหมดไป มันเสื่อมลงไป ก็เลยวุ่นวาย ทุกวันน้ี ที่มีคนกลุ่มหนึ่งที่มาปฏิบัติธรรมในวันน้ี ก็โห .. น่าปลื้มใจ อยู่นะ แต่ว่าก็เป็นส่วนนิดเดียว หน่ึงในพันหน่ึงในล้านเท่านั้นเอง ท่ีมาน่ี ท่านอุปมาไว้นะ เขาวัว กับขนวัว เขาวัวเป็นของมีค่า มีแค่ นิดเดียว ๒ เขาเท่าน้ันเอง ขนวัวเยอะ แต่ขายไม่ได้ราคา ไม่มีราคา อันน้ีก็ฉันใด คนท่ีต้ังอยู่ในศีลในธรรมก็น้อยลง ๆ แล้วความเจริญ ในทางโลกก็เจริญขึ้นมา ทางวิทยาศาสตร์ก็เจริญข้ึนมา เม่ือ วิทยาศาสตร์เจริญข้ึนมา ศีลธรรมก็ตกต่าไปอีก สังเกตดูทุกวันน้ี มี อะไร มีแต่อุบัติเหตุบ้าง ฆ่ากันบ้าง ทาร้ายกันบ้าง แล้วก็ขาดตัวนี้ แล้วเราจะช่วยกันแก้อย่างไรล่ะ จะแก้อย่างไรให้ความเป็นมนุษย์ ของเรากลับข้ึนมาได้ เรียกว่า มันไม่มีมนุษย์ มันมีแต่คน คน แปลว่ำยุ่ง มนุษยแ์ ปลว่ำประเสรฐิ มันมีแตค่ นน่ะสิ มนั กย็ ุ่งทกุ วันนี้ คาว่าประเสรฐิ มนั ไม่มี ศีลธรรม ศีล ๕ ธรรม ๕ ข้อที่ ๑ (ปำณำฯ) คู่กับเมตตำ ข้อที่ ๒ (อทินนำฯ) คู่กับสันโดษ ข้อที่ ๓ (กำเมฯ) คู่กับควำม สำรวมในกำม ข้อท่ี ๔ (มุสำฯ) คู่กับสัจจะ ข้อท่ี ๕ (สุรำฯ) คู่กับ ๙๒
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ สติ จะต้องมีศีล ๕ พระธรรมจึงจะต้ังขึ้นมาได้ เราก็ต้องพยายาม ประพฤติปฏิบัติตามคาสอนของพระพุทธเจ้า เอาคาสอนของ พระพุทธเจ้าเป็นหลักไว้ก่อน เอาตาราเป็นหลักไว้ก่อนนะ ถ้าเราไม่ มีตารา ไม่มีหลัก มันก็ไปไม่รอดเหมือนกัน ฉะน้ัน ช่วยกันศึกษา สบื สานศาสนาพทุ ธไว้ ทนี ว้ี ่าไง ไม่รู้จะพดู อะไร หมดแลว้ เออ มานั่ง สมาธิ ว่าเรื่องสมาธติ ่อ ทุกวันนี้ แนวการปฏิบัติธรรมมีสองอย่าง หน่ึง สมถะ สอง วิปัสสนำ ที่ว่า พุทโธ ๆ ๆ หายใจเข้า-พุท ออก-โธ ทาให้ใจนิ่งใน อารมณ์อันเดียวเรียกว่า สมถะ วิปัสสนา กาหนดรูปนาม เอารูป นามเป็นอารมณ์ คือใช้ขณิกกะเป็นอารมณ์ เม่ือศึกษาวิปัสสนา ก็ ศึกษาอารมณ์ ๕ อย่าง ตาคู่กับรูป หูคู่กับเสียง จมูกคู่กับกล่ิน ล้ินคู่ กับรส กายคู่กับโผฐฐัพพะ ใจคู่กับอารมณ์ เรียกว่าวิปัสสนา กรรมฐาน ความเกดิ ดับของอารมณ์ท่ีเราสัมผสั มันเปน็ อย่างน้ีทุกวัน เกิดมาก็เป็นอย่างนี้แล้ว แล้วก็ต้องฝึกสติ ต้องมีสติ เอาสติเป็นหลัก อย่างพระบวชใหม่ก็สอนพิจารณาปฏิสังขโย เมื่อบริโภคปัจจัย ๔ เราพิจารณาโดยแยบคายแล้ว ถึงเสพจีวร เราพิจารณาแล้วถึงเสพ บิณฑบาต เราพิจารณาแล้วถึงเสพเสนาสนะ เราพิจารณาแล้วถึง เสพคิลานเภสัช ยาแก้ไข้ ต้องบริโภคด้วยสติ ต้องมีสติ เดินก็มีสติ นั่งก็มีสติ นอนก็มีสติ คู้เหยียดก็ต้องมีสติ เอำสติเป็นหลัก พยายามฝกึ สติไว้ให้มาก ๆ หน่อย เพราะสตินี่สาคญั ทส่ี ุด สติ เตส นิวำรณ สติเป็นเคร่ืองกั้นกระแส กระแสโลภ โกรธ หลง ถ้าขาดสติ ไม่ได้หรอก ท่ีมีเหตุประจาทุกวันน้ี เพราะ อะไรล่ะ เพราะขาดสติตัวเดยี ว ท่ีเราท้งั หลายได้มารวมกันทว่ี ัดปทุม ฯ นี้ เพ่ือต้ังใจปฏิบัติธรรม ตามคาสอนของพระพุทธเจ้า คาสอน ๙๓
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วัดปทมุ วนารามราชวรวิหาร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ ของพระพุทธเจา้ นี้มี อำคำริยวนิ ัย กบั อนำคำรยิ วินัย อาคารยิ วนิ ัย ก็ศีล ๕ ที่เราสมาทานกนั ทุกวนั ๆ น้ี อนาคาริยวนิ ัยกศ็ ลี ๘ ศีลแปลว่ำ ปกติ ปกติแล้วคนเรำไม่ฆ่ำกัน ไม่เบียดเบียน กัน ไม่ฆ่ำ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกำม ไม่พูดเท็จ ไม่ด่ืม สุรำเมรัย น่ีคือปกติ ถ้ำใครไปล่วงศีล ๕ น่ีผิดปกติ เรียกว่ำ ไม่มี ศลี ถ้าใครมศี ีลกค็ อื มีปกติ เรยี กว่ามนษุ ย์ธรรม ความเป็นมนุษย์ ถำ้ ขำดควำมเป็นมนุษย์ ธรรมะก็ต้ังอยู่ไม่ได้ บ้ำนเมืองก็เดือดร้อน ทา่ นพทุ ธทาสได้กล่าวไวว้ ่า “ศีลธรรมไม่กลบั มา โลกาจะวนิ าศ” อนั นกี้ ็เหมอื นกนั ศีลธรรมไม่กลับมา โลกาจะวนิ าศ ธรรมดาธรรมชาติก็ ลงโทษเห็นมั้ยทุกวันน้ี น้าท่วม ไฟไหม้ ทุกอย่าง มันเกิดจากการ ขาดศลี ขาดธรรมน่แี หละ ทีนี้จะทาอย่างไรล่ะเรา พยายามทาตัวให้ดี เอำกำยน้ีเป็น หลักนะ เบื้องบนแต่พ้ืนเท้ำข้ึนมำ เบ้ืองต่ำแต่ปลำยผมลงไป มุ่งหวังจะสรรสร้ำง ทำใจให้อยู่ในอำรมณ์อันเดียว อดีตไม่เอำ อดีตล่วงแล้วเรำไม่เอำ อนำคตยังไม่ถึงก็ไม่เอำ เอำปัจจุบัน ทำ ปัจจุบันให้มันเกิดข้ึนมำได้ ก็มีคาพังเพยว่าไง ใจว่ำงเป็นบุญ ใจ วนุ่ เปน็ บำป ใจเปน็ กลำงคือพระนิพพำน เรำก็ดใู จของเรำแลว้ กัน นะ ดูใจของเรำ ใจมนั วำ่ งม้ยั ใจมันว่ำงหรอื ใจมนั วนุ่ ดูใจทกุ วันน้ี ถำ้ ใจว่ำงก็ดีใหร้ กั ษำเอำไว้ ถำ้ ใจวุ่นเรำก็ตดั ไป ทำใจให้เปน็ กลำง นะ หลวงปู่เทสก์ท่านบอกว่า ผู้ใดทำจิตให้เป็นกลำง ผู้น้ันจะพ้น จำกทุกข์ เน่ียมันเป็นกลางหรือยังทุกวันนี้ ถ้าเป็นกลางเมื่อไรก็ไม่ ทุกข์ ถ้าไม่เป็นกลางก็ทุกข์ ใช่ม้ัย เรามาน่ี กว้ำงศอก ยำววำ หนำ คืบน่ีแหละ เป็นที่ตั้งแห่งพระธรรม เอำร่ำงกำยของเรำนี่แหละ ๙๔
มรดกธรรมศาลาพระราชศรัทธา วดั ปทุมวนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ที่ ๕ เป็นท่ีต้ังแห่งพระธรรมไว้ ทุกคนมีอยู่ ทุกคนก็มี ร่างกายของเราน่ี แหละ กาย -- รูป เสยี ง กลน่ิ รส เรยี กวา่ ธาตุ ๔ ธำตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ เรียกว่ำ รูป ส่วนเวทนำ สัญญำ สังขำร จิต ควำมคิดควำมนึก เรียกว่ำเป็นนำม ทุกวันน้ีมีรูปกับ นาม ๒ อย่างเท่านั้นเอง เราอยู่แค่นี้แหละ รูปกับนาม ร่างกายนี้ ดิน น้า ลม ไฟ เรียกว่ากายก็ได้ เรียกว่า รูป ก็ได้ ความคิดความนึก เรียกว่านาม เรำจะสุขทุกข์ ไม่ใช่สุขท่ีกำย เรำสุขท่ีใจ ใจมันว่าง ก็สุข ใจมันวุ่นก็ทุกข์ ใช่ไหม ทุกวันนี้ มันว้าวุ่น ก็เพราะใจ พอใจให้ ได้ หลวงปู่มน่ั บอกวำ่ ไดส้ มบัติอะไร ไม่เท่ำได้สมบัตคิ ือใจ ใจเปน็ ที่ต้ังแหง่ สมบตั ิท้ังปวง น่ีพวกเราก็มนี ะ มีมย้ั ละ่ มกี ายมีใจทุกคน ท่ี มีใจนี่จะทาอย่างไรให้ได้เป็นสมบัติ เราได้สมบัติแล้วเน่ีย ได้สมบัติ อะไรไม่เท่าได้สมบัติคือใจ ใจคือความคิดความนึก เราควบคุมให้ได้ เราจะได้ใจก็คือเราควบคุมให้ได้ ควบคุมใจให้ได้ เรำจะห้ำมใจ ไม่ให้คิดไม่ให้นึก มันหำ้ มไมไ่ ดห้ รอก ควบคุมได้ ควบคมุ ให้มันคิด ในเร่ืองท่ีเป็นศีลเป็นธรรม คิดขึ้นมาแล้ว ใจมันว่าง ใจมันนิ่ง ใจมัน เปน็ หน่งึ อันน้ีกไ็ ด้แล้ว ได้ใจแลว้ ฝกึ เอาใจให้ไดก้ ่อน พงึ เอาใจให้ได้ เอาแคน่ ก้ี พ็ อแลว้ นะ ทเ่ี รามาน่ี มาเอาใจกันกแ็ ล้วกัน ถ้ำใจมันทุกข์ เอำไม่อยู่ เรำก็พิจำรณำ เบ้ืองบนแต่พื้น เท้ำขึ้นมำ เบ้ืองต่ำแต่ปลำยผมลงไป เบื้องขวำงสถำนกลำง คิด อยู่ในร่ำงกำยเรำนี่แหละ ควำมว้ำวุ่นมันก็จะสงบระงับลงไป มัน จะเย็นลงไป เมื่อใจสงบ เม่ือใจมีสติ ใจสงบก็เย็น เม่ือเย็นก็ว่าง ว่าง ก็ได้บุญแล้ว เท่านี้เอง เอากายเอาใจน่ีเป็นหลักก็แล้วกันนะ เพราะว่ามันอยู่กับตัวเราอยู่แล้วนี่ เรำได้สมบัติอันนี้มำแล้ว สมบัติ คอื ใจ เรำได้มำแลว้ ทกุ คนได้มำแล้ว เรำกเ็ อำอันน้มี ำหำกำไร เอา ๙๕
มรดกธรรมศาลาพระราชศรทั ธา วดั ปทมุ วนารามราชวรวหิ าร ปี ๒๕๖๒ เลม่ ท่ี ๕ จากกายจากใจของเรา เอากายกับใจเป็นกาไรของชีวติ เกดิ แก่ เจ็บ ตาย ไม่มีใครหนีพ้นเลย จะเก่งขนาดไหนก็หนีไม่พ้น แม้แต่ พระพุทธเจ้าเป็นศาสดาเอกของโลกก็หนีไม่พ้นความแก่ ความตาย พระองคก์ ป็ รินพิ พานเชน่ เดยี วกัน เม่ือเราทั้งหลายได้มาบาเพ็ญบุญกุศลในวันนี้ เพื่อมาไหว้ พระสวดมนต์ สมาทานศลี ศีลเราก็มีอยู่แลว้ ศีล ๕ มอี ยแู่ ล้ว ขำ ๒ แขน ๒ เป็น ๔ ศีรษะ ๑ เป็น ๕ เรำได้ศีล ๕ แล้วน่ี รักษำ ๕ อย่ำงนี้ไว้ ไม่ไปทำบำป ก็จะได้มีศีลทันที เราไปสมาทาน ยาจามิ ๆ แต่เราควบคุม ๕ อย่างนี้ไม่ได้ ก็ไม่มีศีล ข้ึนโรงขึ้นศาลทุกวันน้ีก็ เพราะเราควบคุมอวัยวะ ๕ อย่างนี้ไม่ได้ เพราะฉะน้ัน ตัวใจนี่ สาคัญ เอาใจไว้นะ หมดแล้ว ไม่พูดแล้ว หมดวัตถุดิบแล้ว เอาแค่น้ี ไม่มีอะไร แล้ว ขออธิบายธรรมะอย่างละเล็ก ๆ น้อย ๆ นิด ๆ หน่อย ๆ มา เพ่อื เปน็ ธัมมสั สะวะนังไว้ ที่ท่านทง้ั หลายไดม้ าฟงั นี้ เอาแค่นนี้ ะโยม นะ ใครมีปญั หาอะไรกค็ ยุ มา เอวงั แก่นธรรม จริง ๆ เราได้เกิดมาเป็นมนุษย์แล้ว มีบุญกุศลแล้ว ย่ิงเราได้เกิด มาในประเทศไทยด้วย เกิดมาเป็นมนุษย์ กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลำโภ การได้เกิดมาเป็นมนุษย์ก็ยาก กิจฺฉ มจฺจำน ชีวิต การมีชีวิตอยู่ ก็ยาก กิจฺโฉ พุทฺธำนมุปฺปำโท การเกิดข้ึนของพระพุทธเจ้าแต่ ละองค์ ๆ กย็ าก เพราะต้องสร้างสมบญุ บารมี พระธรรมวินัยพระพุทธเจ้านี้จะให้เจริญงอกงามได้ก็ต้องมีศีล ศีล ๕ นี่แหละ ศีล ๕ เรียกว่ำมนุษย์ธรรม ถ้ำไม่มีมนุษย์ธรรม ๙๖
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126