Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสิ่งแวดล้อม

รายงานสิ่งแวดล้อม

Published by cookie087, 2016-12-03 11:38:47

Description: รายงานสิ่งแวดล้อม

Keywords: none

Search

Read the Text Version

รายงานการศึกษา ความอุดมสมบูรณ์ ทางทรัพยากรธรรมชาติ และความมั่งคั่งของชุมชนเกาะลิบง โดยชุมชนท้องถิ่น พฤศจิกายน 2559 1

สารบัญ เนื้อหา หน้าที่ บทที่ 1 กระบวนการท างานส ารวจเกาะลิบง 3 – 7 บทที่ 2 ประวัติของเกาะลิบง 8 – 9 บทที่ 3 วิถีชีวิตและชุมชนเกาะลิบง 10 – 11 บทที่ 4 สวนยาง 12 – 16 บทที่ 5 ภาพพื้นที่สวนยาง 17 – 21 บทที่ 6 การประมงในเกาะลิบง 22 – 26 บทที่ 7 ป่าชายหาด และ ป่าชายเลน 27 – 32 บทที่ 8 การจัดการสิ่งแวดล้อม 33 – 37 บทที่ 9 บทสรุป 38 ภาคผนวก 39 – 45 อ้างอิง 46 ประวัติสมาชิกในกลุ่ม 47 – 50 2

บทที่ 1 กระบวนการท างานส ารวจเกาะลิบง กระบวนการท างานส ารวจเกาะลิบงนี้เริ่มต้นจาก การได้ศึกษาในรายวิชา มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ของปี การศึกษา 2559 แล้วนักศึกษามีความต้องการศึกษาพื้นที่จริงเพื่อส ารวจความเป็นจริงต่างๆทางชีวภาพบน เกาะลิบง งานศึกษาชิ้นนี้ยังสนับสนุนให้ชาวบ้านบนเกาะลิบงสามารถวิเคราะห์ผลกระทบต่อธรรมชาติและ ชุมชนที่จะเกิดขึ้นหากไม่มีการอนุรักษ์สัตว์ทะเลและป่าชายเลนที่มีอยู่ แผนที่แรกเกี่ยวกับพื้นที่เกาะลิบง และ สภาพแวดล้อม โครงการศึกษานี้ต้องการน าเสนอให้เห็นถึงความส าคัญของระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติของ เกาะลิบง อีกทั้งต้องการที่จะสนับสนุนการท าความเข้าใจต่อคุณค่าของเกาะลิบง และ ประชากรที่อยู่บริเวณ นั้น และ ที่ส าคัญ ในขณะที่ท าการพูดคุยในการประชุมเชิงปฎิบัติการ ตัวแทนจากหมู่บ้านเกาะลิบงอธิบายว่า แหล่ง ธรรมชาติที่ส าคัญที่สุดทางเศรษฐกิจท้องถิ่นของเกาะลิบง มี 3 อย่างคือ การท าสวนยางพารา ง การปลูกพืชผัก สวนครัว และ การท าประมง ด้วยเหตุนี้ การศึกษาครั้งนี้จึงเน้นคุณค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติทั้งสามแหล่งนี้ 3

นอกจากนี้ ตัวแทนชาวบ้านเกาะลิบงได้ให้ ความรู้กับนักศึกษา และ อธิบายแผนที่ใน การศึกษา การท ายางพารา การปลูกพืชผักสวน ครัว และ การท าประมง ของแต่ล่ะหมู่บ้านรวม ทั้งหมด 4 หมู่บ้าน หลังจากประชุมเชิงปฎิบัติการ นักศึกษาแต่ ล่ะกลุ่มได้ตัดสินใจเลือกหมู่บ้านที่จะลงมือส ารวจ สอบถามข้อมูลที่ได้ตั้งไว้เพื่อความรวดเร็วต่อวันและ ทีมวิจัยพูดคุยเรื่องวิธีการท างานหาข้อมูล เวลาที่ได้ตั้งไว้จึงท าการแบ่งกลุ่มสอบถามขึ้นมาเพื่อให้ทันต่อเวลาที่ได้ก าหนดไว้ ในช่วงที่ก าลังพูดคุยในประชุมเชิงปฎิบัติการ ตัวแทนจากเกาะลิบง ได้อธิบายว่าแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติที่ส าคัญอยู่ 3 อย่าง คือ การท าสวนยางพารา การปลูกพืชผักสวนครัว และ การท าประมง ด้วยเหตุนี้ การศึกษาครั้งนี้จึงเน้นคุณค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของแหล่งทรัพยากรธรรมชาติทั้งสามแหล่งนี้ นอกจากนี้ ตัวแทนชาวบ้านเกาะลิบงได้ให้ความรู้กับนักศึกษา และ อธิบายแผนที่แหล่งที่ตั้งของ หมู่บ้านนั้นๆ และ ภูมิประเทศโดยรวมของบริเวณนั้น หลังจากประชุมเชิงปฎิบัติการ นักศึกษาแต่ล่ะกลุ่มได้ตัดสินใจเลือกหมู่บ้านที่จะลงมือส ารวจสอบถาม ข้อมูลที่ได้ตั้งไว้เพื่อความรวดเร็วต่อวันและเวลาที่ได้ตั้งไว้จึงท าการแบ่งกลุ่มสอบถามขึ้นมาเพื่อให้ทันต่อเวลาที่ ได้ก าหนดไว้ เพื่อส ารวจรวบรวมข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติในเขตเกาะลิบง ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น การเก็บข้อมูลจะเน้นคุณค่าทางเศรษฐกิจและสังคม ของ ยางพารา พืชผักสวน ครัว และ ประมง นอกจากนี้ งานศึกษาชิ้นนี้ยังได้รวบรวมข้อมูลในด้านอื่นๆ อาทิ ผลไม้และรายได้ของชาวบ้าน ไว้ด้วยเช่นกัน ตัวอย่างค าถามในแบบสอบถาม - จ านวนครัวเรือนในหมู่บ้าน - จ านวนครัวเรือนในหมู่บ้านที่ท าสวนยางพารา และประมง - จ านวนพื้นที่ (เอเคอร์) ที่ใช้ส าหรับการท ายางพารา และ พืชผักสวนครัว - จ านวนน้ ายางที่สามารถเก็บได้ต่อวันต่อครัวเรือน - จ านวนพืชผักที่ครัวเรือนสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ ต่อเดือน ต่อครัวเรือน - จ านวนครัวเรือนที่ท าประมง - รายได้จากการท าสวนยางพารา และประมง 4

ทีมวิจัยสัมภาษณ์ชาวประมงจากหมู่บ้านเกาะลิบงเกี่ยวกับวิถีการท าประมง ในเริ่มแรก การศึกษาชิ้นนี้จัดท าโดยนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เขตการศึกษานอกพื้นที่ ตรัง ต้องการที่จะรวบรวมข้อมูลจากหมู่บ้านทั้ง 4 หมู่บ้านของเกาะลิบง หลังจากนักศึกษได้ลงพื้นที่ระยะหนึ่ง นักศึกษาได้รับข้อมูลจาก จ๊ะไหน เกี่ยวกับข้อมูล เศรษฐกิจของ 4 หมู่บ้านเป้าหมาย และได้ท าการลงพื้นที่จริง เพื่อส ารวจ การท ายางพารา การปลูกพืชผักสวนครัว และ การท าประมง ทีมวิจัยรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เป็นรายกลุ่ม (focus group) เพื่อท าความเข้าใจในการท า ยางพารา การปลูกพืชผักสวนครัว การท าประมง และ คุณค่าอื่นๆ ทางธรรมชาติที่ชาวบ้านยังคงต้องพึ่งพาใน การด ารงชีวิต ไม่ว่าจะเป็นพืชที่เป็นสมุนไพร ความเชื่อทางวัฒนธรรม และ ศาสนา หรือความเกี่ยวข้องทาง สภาพสังคมและการพักผ่อนหย่อนใจ ทีมวิจัยลงพื้นที่ส ารวจข้อมูล การท ายางพารา การปลูกผักสวนครัว และ การท าประมง 5

หลังจากนักศึกษาลงพื้นที่ส ารวจเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงได้รับข้อมูล รายได้ จากการท า ยางพารา ปลูกผักสวน ครัว และ ประมง ดังนี้ 1. ประชากรที่ส ารวจทั้งหมด 20 ครัวเรือน ในเรื่องการท ายางพารา มีรายได้เฉลี่ยนต่อวันขึ้นอยู่กับพื้นที่ ที่ใช้ปลูก ปริมาณต้นยางพารา และ ฝนฟ้าอากาศ หากมีฝนตก ชาวบ้านไม่สามารถกรีดน้ ายางได้ ซึ่ง เฉลี่ยนแล้ว ยางพารา 10 ไร่ สามารถให้รายได้ คือ 20,000 – 25,000 บาท ต่อเดือน 2. ผลผลิตพืชผักสวนครัว ตารางแสดงผลผลิตพืชผักสวนครัว 3. รายได้การท าการประมง ต่อวัน ต่อครัวเรือน จากการส ารวจ ชาวบ้านได้บอกว่า รายได้ต่อวันในการออกไปท าการ ประมงจะอยู่ที่ 10,000 ขึ้นไป ภาพจากการลงส ารวจการท าประมงและรอกดักหมึก 6

นอกจากนี้ทีมวิจัยยังได้พูดคุยกับชาวบ้านในบริเวณจุด เก็บตัวอย่างเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวอย่างมากขึ้น เช่น ท้อองถิ่น สรรพคุณทางยาของพืชนั้นๆ และวิธีการ จับปลา ทีมวิจัยร่วมกับอาจารย์ส ารวจพื้นที่ป่าชายหาด และ ป่าชายเลน ในบริเวณพื้นที่เกาะลิบง ทั้งนี้ ทางทีม วิจัยยังได้รวบรวมข้อมูล ชนิดพันธุ์สัตว์น้ า(ปลิงทะเล ,พะยูน) ที่มีถิ่นอาศัยอยู่ในบริเวณเกาะลิบงอีกด้วย ทีมวิจัยได้ร่วมกันหาข้อมูลพืชป่าชายหาดและป่าชายเลน ทีมวิจัยได้จัดข้อมูลเกี่ยวกับพันธ์สัตว์น้ า (ปลิงทะเล , พะยูน) และได้ความรู้เกี่ยวกับการเกิดของเกาะลิบง ผู้ปกครอง เกาะลิบงคนแรก ทีมวิจัยสอบถามเกี่ยวกับพันธ์สัตว์น้ า(ปลิงทะเล , พะยูน) เสร็จสิ้นการส ารวจในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2559 พร้อมกับลงมือท ารูปเล่มนี้ขึ้นมาให้เสร็จสมบูณ์ใน เดือน พฤศจิกายน 2559 รายงานการศึกษาเกาะลิบงฉบับนี้ท าการศึกษาโดยนักศึกษา อาจารย์ และ ชาวบ้านในบริเวณเกาะลิ บงทั้งสิ้น นอกจากนี้ ทีมวิจัยขอขอบคุณ โต๊ะอีหม่าม นิสิต ชัยฤทธิ์ ผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับรายได้ ความเป็นมาต่างๆ ของเกาะลิบง 7

บทที่ 2 ประวัติของเกาะลิบง เกาะลิบง เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในทะเลตรัง ตั้งอยู่ในพื้นที่ต าบลเกาะลิบง อ าเภอกันตัง ส าหรับพื้นที่ ต าบล เกาะลิบงประกอบด้วยชุมชนจ านวน 8 หมู่บ้าน อยู่บนแผ่นดินใหญ่จ านวน 1 หมู่บ้านได้แก่บ้านเจ้า ไหม บ้านสุไหงบาตู และบ้านมดตะนอย โดยมีบ้านเกาะมุกด์เป็น 1 หมู่บ้านที่แยกอิสระอยู่บนเกาะมุกด์ ส่วน ที่เหลือจ านวน 1 หมู่บ้าน ตั้งอยู่บนเกาะลิบงได้แก่บ้านโคกสะท้อน บ้านหลังเขา บ้านบาตูปูเต๊ะ และบ้าน ทรายแก้ว เกาะลิบงเป็นที่รู้กันดีของผู้คนทั่วไป เนื่องจากเกาะลิบงมีเสน่ห์และอุดมสมบูรณ์เต็มไปด้วย ทรัพยากรมากมาย มีทั้งประเภททรัพยากรประมงที่มีคุณค่า และสร้างอาชีพประมงชายฝั่งแก่ชุมชนบนเกาะ ลิบงมาอย่างยาวนาน เป็นแหล่งหญ้าทะเลที่สมบูรณ์มากที่สุด มีฝูงพะยูนที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย นอกจาก ความโดดเด่นในสิ่งที่กล่าวมาแล้วนั้น เกาะลิบงยังเป็นสถานที่ซึ่งที่มีความส าคัญทางประวัติศาสตร์ มีบันทึก เรื่องราวมานานนับ 200 ปี ชื่อของเกาะลิบงได้ปรากฏอยู่ในเอกสารหลายแห่ง ซึ่งแต่ละแห่งได้เรียกผิดเพี้ยนแตกต่างกันไป เช่น ปู เลาลิบง,ตะลิงโบง,ปลิบง,ตาลิบง, ลิบอง, ปูลูติลิบอง และ ตะลิบง หนังสืออักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทย ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน ได้อธิบายความหมายของ เกาะลิบงเอาไว้ว่าเกาะลิบงได้ชื่อมาจากต้นเหลาชะโอน ซึ่งเป็น ภาษามลายูเรียกว่าลิบง เพราะแต่เดิมเกาะนี้มีต้นเหลาชะโอนมาก ส่วนค าว่า “ปูเลา หรือปูลู” นั้นก็เป็น ภาษามลายูซึ่งแปลว่า “เกาะ” เมื่อน าเอาค าว่าปูลู มารวมเข้ากับค าว่า ลิบงแล้วก็มีความหมายว่า เกาะที่มีต้น เหลาชะโอน “เมื่อพระยาแขก มาตั้งเมืองขึ้นที่บ้านพร้าวแล้ว เมืองนี้ก็รุ่งเรืองมากและ ได้มีสัมพันธไมตรีกับเมือง พม่าต่อมาบุตรชายของเจ้าเมืองทั้งสองก็ได้เป็นเกลอกัน” 8

สุสานพะยาลิบง (โต๊ะปังกาหวา) พระยาลิบง พระยาลิบง นับถือศาสนาอิสลามเป็นคนพื้นเมืองที่มีความรู้ความสามารถเป็นผู้น าชุมชนในต าแหน่ง โต๊ะปังกะหวาของเกาะลิบง ซึ่งเทียบเท่ากับต าแหน่งก านัน ประมาณปี พ.ศ.๒๓๓๐ ซึ่งตรงกับสมัยที่พระยาตรังบริรักษ์(ตรังสีไหน)มาเป็นเจ้าเมืองตรัง ปรากฏ หลักฐานว่าทางราชธานีได้โปรดเกล้าให้โต๊ะปังกะหวา หรือก านันเกาะลิบงท่านนี้เป็นพระเพชภักดีศรี สมุทรสงคราม ด ารงต าแหน่งพระปลัดตรัง ต่อมาเมื่อพระยาตรัง (สีไหน) ต้องคดีและถูกเรียกตัวเข้าไปรับ ราชการที่กรุงเทพฯ นั้น พระเพชรภักดีศรีสมุทรสงครามก็ได้รับการโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกให้เป็นพระยาลิบง ด ารงต าแหน่งเจ้าเมืองตรัง ซึ่งเมืองตรังในสมัยนี้ได้รับการยกฐานะเป็น เมืองตรี ขึ้นตรงกับกรุงเทพฯ พระยาลิบงปกครองเมืองตรังอยู่นานแค่ไหนไม่มีหลักฐานปรากฏชัดเจน ทราบแต่เพียงว่าเมื่อถึงแก่ กรรมทางราชธานีก็ได้โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าปะแงรันบุตรของพระยาลิบงขึ้นเป็นหลวงฤทธิสงคราม ด ารงต าแหน่ง เจ้าเมืองตรังสืบต่อมา ปัจจุบัน มีอีหม่าม นายนิสิต ชัยฤทธิ์ ซึ่งเป็นอีหม่ามประจ ามัสยิดเกาะลิบง และเป็นกรรมการอิสลาม ประจ าจังหวัดตรัง ซึ่งปัจจุบันท่านได้รับผิดชอบดูแลมัสยิด 6 มัสยิดด้วยกัน นอกจากนี้ยังเป็นอาจารย์พิเศษ และวิทยากรอิสลามศึกษาของโรงเรียนบ้านบาตูปูเต๊ะ 9

บทที่ 3 วิถีชีวิตและชุมชนเกาะลิบง “ลิบง” เป็นเกาะใหญ่ที่สุดในทะเลตรัง เกาะใหญ่แห่งนี้ประกอบด้วย 4 หมู่บ้าน เป็นที่อยู่อาศัยของ ผู้คนจ านวนเกือบสามพันคน เกือบทั้งหมดนับถือศาสนาอิสลาม เพราะเป็นชุมชนที่อาศัยอยู่กลางทะเลใต้ คน ลิบงจึงมีอาชีพท าประมง และสวนยางพารา เป็นหลัก แม้ว่าจะเป็นเกาะที่อยู่ห่างไกลจากแผ่นดินใหญ่ แต่การ คมนาคมในปัจจุบันก็มีความสะดวกสบายมากขึ้น การติดต่อ สัมพันธ์กับสังคมภายนอกก็มีมากขึ้นตามไปด้วย ท่าเรือลิบง หลายคนอาจจะรู้จัก “เกาะลิบง” เพราะเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของ “พะยูน” ฝูงใหญ่จ านวนกว่า 60 ตัว ซึ่งเงือกทะเลนี้เมื่อหลายปีก่อนเคยตกอยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการสูญพันธ์ เนื่องจาก “หญ้าทะเล” พืชอาหาร ของพะยูน ถูกเรืออวนรุน อวนลากท าลาย ซึ่งชาวบ้าน ร่วมกับภาคีหลายฝ่ายพยายามต่อสู้เพื่อปกป้อง “ พยูน” ฝูงสุดท้ายนี้ร่วมกันจนส าเร็จ ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรทั้งบนบกและทะเล วิถีชีวิตของชุมชนที่เรียบง่าย ท่ามกลาง ธรรมชาติที่งดงามเงียบสงบ เป็นเสน่ห์ของเกาะลิบงที่ดึงดูดให้ผู้คนภายนอกต้องการไปเยี่ยมเยือนโดยเฉพาะ เมื่อความสวยงามของทะเลตรังถูกเลือกมาเป็นจุดขายด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด จนมีชื่อเสียงหอมห วาน ระดับประเทศ และกระแสการท่องเที่ยวทางเลือกได้ถูกจุดประกายขึ้นกลายเป็นกระแสของคนร่วมสมัย นักท่องเที่ยว ธุรกิจท่องเที่ยว ค่อยๆ รุกคืบเข้ามาสู่ลิบงพร้อมๆ กับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชนแม้ว่า วันนี้ความเปลี่ยนแปลงในชุมชนลิบงจะยังมีไม่มากนักแต่ก็พอจะมองเห็นได้ อย่างน้อยที่สุดก็เป็นความเปลี่ยนแ ปลงในส่วนของความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในชุมชน และวิถีค่านิยมที่ต่างไป 10

เรือหางยาว สะปิอี เทศน า สมาชิก อบต. เกาะลิบง ก ล่าวว่า ข้อดีของการท่องเที่ยวคือ ท าให้คนในชุมชนมีง าน มี รายได้เพิ่ม จากการเรือทัวร์ ขับรถร ับส่งนักท่องเที่ยว ค่าเช่าบังกะโลหลังละ 300-400 บาท/วัน ให้เช่า มอเตอร์ไซด์ 300 บาท /วัน ผลกระทบ ส าหรับผลกระทบทางวัฒนธรรมมีบ้าง เพราะเริ่มมีการน าเอาคาราโอ เกะเข้ามาบริการนักท่องเที่ยวหรือสุรา เบียร์ มาขาย ซึ่งเป็นคนนอกที่เข้า มาอยู่ใหม่ ก็พยายามใช้มาตรการ ทางสังคมจัดการ เราก็พ ยายามใช้ความสามัคคี ส่วนผู้ใหญ่ยังมีวิถีชีวิตดั้งเดิม นั่งร้านกาแฟ แบบอิสลาม แต่ สิ่งที่น่าเป็น ห่วงคือ วัยรุ่น เยาวชน ซึ่งตามค่านิยมใหม่ได้ง่าย และเริ่มอาจมีพฤติกรรมเปลี่ยนไปคือไม่ค่อยฟัง ค า สอนผู้ใหญ่ หัวดื้อ และเริ่มมีการทะเลาะวิวาทบ้าง ท่าเรือลิบง สะพานหลีกภัย 11

บทที่ 4 สวนยาง ยางแผ่นจะดีหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับวิธีการผลิตราคายางในท้องตลาดก็แตกต่างไปตามคุณภาพของแผ่น ยาง ถ้าหากเกษตรกรเจ้าของสวนยางสามารถผลิตยางแผ่นคุณภาพดีออกจ าหน่ายก็จะได้ราคาสูงกว่ายางแผ่น ที่มีคุณภาพต่ า การท ายางแผ่นชั้นดีนั้นมีหลักการง่ายๆคือ ท ายางให้สะอาด รีดยางแผ่นให้บาง สีของแผ่นยางว สม่ าเสมอ มีขนาดมาตรฐาน ใช้น้ าและน้ ากรดถูกส่วนซึ่งมีวิธีการและขั้นตอนการท าดังต่อไปนี้ การท ายางแผ่นจากยาง ขั้นตอนที่ 1 เก็บยาง กรีดยางได้น้ ายางออกมา ขั้นตอนที่ 2 เก็บใส่ถัง น าน้ ายางที่ได้มาใส่ถังส าหรับท าน้ ายาง 12

ขั้นตอนที่ 3 ขายยาง ราคา 45 บาท : 1 กิโลกรัม ขั้นตอนที่ 4 การท าความสะอาดอุปกรณ์ ความสะอาดเป็นสิ่งส าคัญที่สุดในการท ายางแผ่นชั้นดี ต้องท าความสะอาดอุปกรณ์ท ายางแผ่นทุก ชนิด ก่อนและหลังจากใช้งานเครื่องมือการท ายางแผ่นควรให้เปียกน้ าก่อนใช้ทุกครั้ง เพื่อความสะดวกในการ ท าความสะอาดหลังใช้เสร็จ อุปกรณ์ที่จ าเป็นในการท ายางแผ่น 1. ลอกยางแม่พิมพ์ 2. ถังส าหรับใส่น้ ายางและน้ า 3. เครื่องรีดยาง 4. น้ าส้มฆ่ายาง ขั้นตอนที่ 5 การกรองน้ ายาง กรองน้ ายางด้วยเครื่องกรองลวด ขั้นตอนนี้จะได้ ยางกับขี้ยาง ขั้นตอนที่ 6 ใส่น้ ายางที่กรองมาลงพิมพ์ยาง ใส่น้ ายางที่กรองมาลงในพิมพ์ยาง 10 ลิตร 13

ขั้นตอนที่ 7 การผสมน้ าส้มฆ่ายางลงในน้ ายาง ใส่น้ าส้มฆ่ายางลงไปในอัตราส่วน 1:50 ขั้นตอนที่ 8 รอน้ ายางแข็งตัว รอยางแข็งโดยใช้เวลาประมาณ 10 นาที รอยางแข็งตัว ขั้นตอนที่ 9 ลอกน้ ายาง จะได้ก้อนยางที่แข็งแล้วมาเป็นแผ่นๆจากแผ่นลอก 14

ขั้นตอนที่ 10 น าก้อนยางไปล้างน้ า น าก้อนยางไปล้างน้ าเปล่ารอขั้นตอนการรีด รูปการน าก้อนยางที่ได้มาล้างน้ า ขั้นตอนที่ 11 น าก้อนยางมารีด น าก้อนยางจากที่ล้างน้ ามารีดกับเครื่องรีดยาง และเมื่อรีดเสร็จจะมีถังกะลามังมารองรับ และจะได้ แผ่นยาง การก้อนยางให้เป็นแผ่น หยิบแผ่นยางจากกะลามังมาตั้ง ขั้นตอนที่ 12 ผึ่งแผ่นยาง น าแผ่นยางที่ได้จากการรีดมาผึ่งให้แห้ง 15

การท ายางแผ่นจากขี้ยาง ขั้นตอนที่ 1 การกรองน้ ายาง จะได้ขี้ยางแยกออกมาจากน้ ายาง ยางก้อน ขั้นตอนที่ 2 น าขี้ยางไปเข้าเครื่อง น าขี้ยางไปเข้าเครื่องรีดยาง ขั้นตอนที่ 3 ผึ่งแผ่นขี้ยาง น าแผ่นขี้ยางที่ได้หลังจากเข้าเครื่องรีดยางมาผึ่ง 16

บทที่ 5 ภาพพื้นที่สวนยาง การเตรียมดิน การเตรียมดิน เมื่อเผาปรนเสร็จให้เตรียมดินโดยการไถ 2 ครั้ง พรวน 1 ครั้ง ในกรณีที่เป็นพื้นที่ลาดเท มาก เช่น เนินเขาชันเกิน 15 องศา จะต้องท าขั้นบันไดหรือชานดินเพื่อป้องกันมิให้น้ าฝนชะล้างเอาหน้าดินไหล ไป ตามน้ า อาจท าเฉพาะต้นหรือท ายาวเป็นแนวเดียวกัน ล้อมเป็นวงกลมรอบไปตามไหล่เขาหรือเนินก็ได้ โดย ให้ระดับขนานไปกับพื้นดิน ขั้นบันไดควรกว้างน้อยที่สุด 1.50 เมตร แต่ละขั้นให้ตัดดินลึกและเอียงเข้าไป ในทางเนินดิน ตรงขอบด้านนอกท าเป็นคันดินสูงประมาณ 30 เซนติเมตร กว้าง 60-70 เซนติเมตร ระยะ ระหว่างขั้นบันไดประมาณ 8-10 เมตร ชนิดของต้นพันธุ์ยาง 1. ต้นตอตา คือ ต้นกล้ายางที่ได้รับการติดตาด้วยยางพันธุ์ดีหลังจากที่ติดตาเรียบร้อยแล้ว จึงถอน ขึ้นมาตัดแต่งราก และตัดต้นเดิม เหนือแผ่นตาประมาณ 2 ฝ นิ้วทิ้ง แล้วน าต้นตอที่ได้ไปปลูกทันที ต้นตอตาจะ เป็นต้นพันธุ์ที่ไม่มีดินห่อหุ้มรากหรือเรียกว่าต้นเปลือกราก 2. ต้นติดตาช าในถุงพลาสติกหรือยางช าถุง คือ ต้นตอตาที่น้ ามาช าในถุงพลาสติกขนาดกว้าง 4 ฝ นิ้ว ยาว 14 นิ้ว หรือขนาดใหญ่กว่านี้ที่บรรจุดินไว้เรียบร้อยแล้ว ดูแลบ ารุงรักษาจนตาแตกออกมาเป็นใบได้ขนาด 1-2 ฉัตร อายุประมาณ 3-5 เดือน และมีใบในฉัตรยอดแก่เต็มที่ 3. ต้นยางที่ปลูกด้วยเมล็ดแล้วติดตาในแปลง คือ การปลูกสร้างสวนยางโดยใช้เมล็ดปลูกในแปลง โดยตรง เมื่อเมล็ดเจริญเติบโตเป็นต้นกล้าที่มีขนาดเหมาะสมจึงท าการติดตาในแปลงปลูก ต้นพันธุ์ยางทั้ง 3 ชนิดดังที่กล่าวมาแล้วเหมาะสมที่จะปลูกในภาคตะวันออกและภาคใต้ แต่ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือแนะน าให้ปลูกด้วยต้นยางช าถุงเพียงอย่างเดียวเท่า นั้น วิธีปลูก การ ปลูกยางพาราจะแตกต่างกันไปตามชนิดของต้นพันธุ์ยางซึ่งในที่นี้จะกล่าวเฉพาะ การปลูกด้วยต้น ตอตาและต้นยางช าถุงเท่านั้น เนื่องจากการปลูกด้วยเมล็ดแล้วติดตาในแปลงมีขั้นตอนที่ยุ่งยากและเสียค่าใช้ จ่ายในการดูแลรักษามาก จึงไม่ค่อยมีผู้นิยมท ากันในปัจจุบัน 1. การปลูกด้วยต้นตอตา น าดินบนที่ผสมปุ๋ยร้อคฟอสเฟตเรียบร้อยแล้วใส่รองก้นหลุมแล้วกลบหลุม ให้เต็ม ด้วยดินล่าง จากนั้นใช้เหล็กหรือไม้แหลมขนาดเล็กกว่าต้นตอตาเล็กน้อยปักน าเป็นรูตรงกลาง หลุมให้ ลึกเท่ากับ ความยาวของรากแก้ว แล้วน าต้นตอปักลงไป กดดินให้แน่น พูนดินบริเวณโคนต้นเล็กน้อยอย่าให้ กลบแผ่นตา พยายามให้รอยต่อระหว่างรากกับล าต้นอยู่ระดับปากหลุมพอดี 17

2. การปลูกด้วยต้นยางช าถุง 2.1 วิธีปลูกยางในภาคตะวันออกและภาคใต้ น าดินที่ผสมปุ๋ยร้อคฟอสเฟตเรียบร้อยแล้วใส่ รองก้นหลุม จากนั้นน าต้นยางช าถุงไปตัดดินที่ก้นถุงออกประมาณ 1 นิ้ว เพื่อตัดปลายรากที่คดงอแล้ว วางลงไปในหลุม โดยให้ดินปากถุงหรือรอยต่อระหว่างล าต้นและรากอยู่ในระดับพื้นดินปากหลุมพอดี ถ้าต่ าเกินไปให้ใส่ดินรองก้นหลุมเพิ่ม หรือถ้าสูงเกินไปให้เอาดินในหลุมออก จัดต้นยางให้ตรงกับแนว ต้นอื่น ใช้มีดกรีดด้านข้างถุงพลาสติกจากก้นถุงถึงปากถุงให้ขาดจากกัน กลบดินล่างที่เหลือลงไปจน เกือบเต็มหลุม อย่างเพิ่งกดแน่น ค่อยๆดึงถุงพลาสติกที่กรีดไว้แล้วออกอัดดินข้างถุงให้แน่น แล้วกลบ ดินเพิ่มจนเต็มหลุม อัดให้แน่นอีกครั้ง พูนโคนเล็กน้อยเพื่อป้องกันน้ าขัง จากนั้นปักไม้หลักและใช้ เชือกผูกยึดต้นยางไว้เพื่อป้องกันลมโยก 2.2 วิธีปลูกยางในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ให้ปลูกแบบลึก โดยใช้มีดคมๆ ตัดดินก้นถุงออก ประมาณ 1 นิ้ว เพื่อตัดปลายรากที่คดงอจากนั้นวางยางช าถุงลงในหลุมปลูกให้ถุงแนบชิดกับดิน เดิม ก้นหลุมจัดต้นยาง ให้ตรงแนวกับต้นอื่น ใช้มีดกรีดด้านข้างถุงพลาสติกจากก้นถุงถึงปากถุงให้ขาดจาก กัน กลบดินบนที่ผสมปุ๋ยร้อคฟอสเฟตแล้วลงในหลุมประมาณครึ่งหนึ่งของถุง อย่างเพิ่งกดแน่น ค่อยๆ ดังถุงพลาสติกที่กรีดไว้ออก อัดดินที่ถมข้างถุงให้แน่นแล้วกลบดินเพิ่มให้เต็มหลุม อัดให้แน่นอีกครั้ง หลังจากปลูกต้นยางช าถุงเสร็จแล้ว ควรปักไม้หลักและใช้เชือกผูกยึดต้นยางเพื่อป้องกันลมโยกและหา เศษวัชพืชคลุม ดินบริเวณโคนต้นไว้ด้วย การเตรียมหลุมปลูก หลุมปลูกยางโดยทั่วไปจะมีขนาดกว้าง x ยาวxลึก เท่ากับ 50 x 50 x 50 เซนติเมตร การขุดหลุมปลูก ควรแยกดินบนและดินล่างไว้คนละส่วน ตากดินทิ้งไว้ 10- 15 วัน จากนั้นย่อยดินบนให้ร่วนแล้วผสมปุ๋ยร้อค ฟอสเฟต อัตรา 170 กรัมต่อหลุม 18

ระยะปลูก 1. พื้นที่ราบ ถ้าต้องการปลูกพืชแซมในระหว่างแถวของต้นยาง - ในภาคใต้และภาคตะวันออกให้ใช้ระยะปลูกระหว่างต้น 2.50 เมตร ระหว่างแถว 8 เมตร จะได้จ านวน 80 ต้นต่อไร่ - ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้ใช้ระยะปลูกระหว่างต้น 2.50 เมตร ระหว่างแถว 7 เมตร จะได้จ านวน 91 ต้นต่อไร่ ถ้าต้องการปลูกพืชคลุมดินในระหว่างแถวของต้นยาง - ในภาคใต้และภาคตะวันออกให้ใช้ระยะปลูกระหว่างต้น 2.50 เมตร ระหว่างแถว 7 เมตร จะได้จ านวน 91 ต้นต่อไร่ - ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้ใช้ระยะปลูกระหว่างต้น 3 เมตร ระหว่างแถว 6 เมตร จะได้ จ านวน 88 ต้นต่อไร่ 2. พื้นที่ลาดหรือพื้นที่เชิงเขา ตั้งแต่ความชัน 15 องศาขึ้นไปต้องท าแนวขั้นบันไดโดยใช้ระยะระหว่าง ขั้นบันไดอย่างน้อย 8 เมตร ระยะระหว่างต้น 2.50 หรือ 3 เมตร เมื่อก าหนดระยะปลูกได้แล้วก็ท าการวางแนว และปักไม้ท าแนวเพื่อขุดหลุมปลูกต่อ ไป แนวปลูกควรวางตามทิศทางลม การเว้รระยะห่างระหว่างต้น 19

การปลูกซ่อม หลังจากปลูกแล้วอาจมีต้นยางบางต้นตายไปเนื่องจากอากาศแห้งแล้ง ถูกโรคและแมลงท าลาย หรือ ต้นที่ปลูกไม่สมบูรณ์ จ าเป็นต้องปลูกซ่อม ซึ่งควรท าให้เสร็จภายในช่วงฤดูฝน ต้นพันธุ์ที่เหมาะส าหรับปลูกซ่อม คือ ยางช าถุง เพราะจ าท าให้ต้นยางที่ปลูกในแปลงมีขนาดไล่เลี่ยกัน ส่วนต้นยางที่มีอายุเกิน 1 ปี ไปแล้วไม่ควร ปลูกซ่อม เพราะจะถูกบังร่มไม่สามารถเจริญเติบโตทันต้นอื่นได้ ฤดูการปลูกยางพารา ในพื้นที่ชุ่มชื้น เขตปลูกยางเดิม ช่วงฤดูแล้งเริ่มเข้าฤดูแล้ง เดือนมกราคม เตรียมพื้นที่เก็บไม้ออกจาก พื้นทีให้หมด ไถพรวนและวางแนวขุดหลุมปลูก ถ้าผสมปุ๋ยอินทรีย์รองก้นหลุม ควรให้เสร็จก่อนปลูกยางในฤดู ฝน 1 เดือน ฝนเริ่มมาเดือน พฤษภาคม ถ้าพื้นที่มีความชื้นเพียงพอก็สามารถปลูกต้นยางช าถุงได้ การปลูกต้น ตอควรมีความชื้นเต็มที่ขณะปลูกไม่น้อยกว่า 2 เดือน หลังปลูก 15 วัน ถึง 1 เดือนควรปลูกซ่อม ต้องปลูกซ่อม ให้เสร็จก่อนหมดฝนอย่างน้อย 2 เดือน ในช่วงกลางฤดูฝนมักจะ มีฝนทิ้งช่วงให้ฝักของเมล็ดยางแห้งแตกร่วง หล่น การตกของเมล็ดยางช่วงนี้เรียกว่า เมล็ดยางในปี(เป็นเมล็ดที่ส าคัญในการ ขยายพันธุ์ยาง) ประมาณเดือน กรกฎาคม-กันยายน ขึ้นอยู่กับพื้นที่ เมล็ดยางเหล่านี้น ามาปลูกท ากล้ายางเพื่อติดตาในแปลง ปลูก หรือน าไป ท าเป็นวัสดุปลูกขยายพันธุ์ต่อไป พื้นที่ปลูกยางใหม่เขตแห้งแล้ง(ฤดูฝนสั้นกว่าเขต ปลูกยางเดิม) ควรปลูกยางในช่วงต้นฤดูฝนประมาณ เดือนมิถุนายน ด้วยต้นยางช าถุง 2 ฉัตร ปลูกซ่อมด้วยวัสดุปลูกอย่างเดียวกันให้เสร็จภายในเดือนสิงหาคม- กันยายน โดยปรกติเขตแห้งแล้ง ฝนเริ่มมาเดือนพฤษภาคม ฝนจะทิ้งช่วงให้เมล็ดยางในปีร่วงหล่น เดือน กรกฎาคม-สิงหาคม หมดฝนเข้าสู่ฤดูหนาวเดือน พฤศจิกายน ข้อระวังในการปลูก 1. หลังจากปลูกยางแล้วถ้ามีฝนตกหนัก ให้ออกตรวจดูหลุมปลูกยาง ถ้าหลุมปลูกยางต้นใดที่ปลูกแล้ว เหยียบดินไม่ แน่น จะท าให้ดินยุบเป็นแอ่ง ซึ่งจะขังน้ า และอาจท าให้โคนต้นยางบริเวณคอดินไหม้ และต้นยาง ตายได้ ดังนั้นจึงต้องเกลี่ยดิน บริเวณปากหลุม ให้เรียบอยู่เสมอในช่วงที่มีฝนตกหนัก 20

2. ขณะโกยดินลงก้นหลุม อย่าให้ดินกระแทกต้นยางแรงๆ เพราะอาจจะท าให้ต้นยางฉีกหรือหัก ซึ่งจะ ท าให้ต้นยางตาย ถ้าปลูกด้วยความระมัดระวังตามสมควร ก็จะท าให้อัตราการตายของต้นยางหลังปลูกต่ ามาก 3. ทิศทางการหันแผ่นตา การปลูกยางช าถุง หรือต้นตอตา ลงแปลงสวนยาง ควรหันแผ่นตาไปทางทิศ ตะวันตก เพื่อ ป้องกันอาการไหม้แสงแดดที่โคนต้นยาง หลังจากส่วนล าต้นของต้นตอเดิมหลุดออกไป ถ้ามี อาการไหม้แสงแดด ให้ใช้สีน้ ามัน ทาทับป้องกันเชื้อรามอดแมลงเข้าท าลาย ท าให้ต้นยางไม่แข็งแรงลมพัดหัก ได้ง่าย บรรทุกยางแผ่นตาแห้งไปส่งต่อโรงงาน สมาชิกในกลุ่มในการส าสวจเก็บข้อมูล 21

บทที่ 6 การประมงในเกาะลิบง หมู่บ้านที่ท าประมงเป็นอาชีพหลักมี4หมู่บ้านได้แก่ 1.หมู่บ้านหลังเขา 2.หมู่บ้านปาตูปูเต๊ะ 3. หมู่บ้านพร้าว4.หมู่บ้านทรายแก้วแม้กระทั่ง4หมู่บ้านนี้จะท าประมงเป็นอาชีพหลักแต่ด้วยสภาพสิ่งแวดล้อมที่ แตกต่างกันจึงท าให้วิธีการท าประมงของทั้ง4หมู่บ้านแตกต่างกันเล็กน้อยซึ่งอยู่ติดริมหาดทราย พื้นที่ตรงนี้มี เนินเขาล้อมรอบอยู่ติดกับทะเลอันดามันทั้ง4หมู่บ้านระยะทางในการเดินทางก็ไม่ได้ไกลไม่ใกล้กันมากอยู่ติดกับ ทะเลอันดามัน ชาวประมงที่นี่แบ่งเขตการจับปลาออกเป็น 3 โซนหลัก โซนที่1 เป็นบริเวณที่มีน้ าลึกกว่าและมักจะได้ปลาตัวใหญ่กว่าชาวประมงจะออกเรือไปบริเวณนี้ได้เพียงไม่กี่ เดือนต่อปีเพราะต้องใช้เรือขนาดใหญ่กว่าและมีค่าใช้จ่ายสูงกว่าและจะไม่ออกเรือช่วงมรสุมรวมถึงช่วง หน้าแล้ง โซนที่2 บริเวณริมฝั่งสาหรับจับปลาตัวเล็กตัวน้อย กุ้ง หอย และปูเป็นหลัก โซนที่3 บริเวณนี้มักพบปลาขนาดกลาง นักศึกษาได้ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและสัมภาษณ์ชาวบ้านทั้ง 4 หมู่บ้านเกี่ยวกับการท าประมงในเกาะลิบง ทั้ง 4 หมู่บ้านแบบเบื้องต้น ซึ่งได้ข้อมูล ดังนี้ ประมงในหมู่บ้านทั้ง 4 หมู่บ้าน หมู่บ้านหลังเขา หมู่บ้านบาตูปูเต๊ะ หมู่บ้านทรายแก้ว หมู่บ้านบ้านพร้าวแต่ละ หมู่บ้านจะมีการท าประมงที่คล้ายคลึ่งกันในการหาปลา กุ้ง หอย ปู หมึกหมู่บ้านหลังเขาจะมีการออกประมง มากที่สุด 22

สอบถามข้อมูลจากชาวบ้านเกาะลิบง ในการสอบถามชาวประมงทั้งหมดที่ออกเรือไปจับปลาในเกาะลิบงจะเป็นผู้ชายแต่ละครั้งที่ออกเรือไป จับปลาพวกเขาจะออกเรือไปประมาณ 5 กิโลเมตรเพื่อวางตาข่ายปากเสือในช่วงเช้าก่อนน้ าจะลงอีกรอบตา ข่ายปากเสือแต่ละผืนที่ชาวประมงขึงไว้มีความกว้าง 70 ฟุต และทอดลงในทะเลลึกประมาณ 5 ฟุต ชาวประมงจะใช้วัสดุคล้ายลูกบอลพลาสติกหรือกระป๋องพลาสติกเพื่อขึงตาข่ายและทุ่นไว้ให้ลอยน้าตลอดเวลา และจะใช้ก้อนหินเพื่อถ่วงปลายตาข่ายปากเสือเพื่อให้กระแสน้ าที่ไหลในทิศทางเหนือ-ใต้พัดพาปลาและสัตว์น้า มาติดที่ตาข่ายชาวประมงส่วนใหญ่จะวางตาข่ายไว้ 10 จุดและตกลงแบ่งอาณาเขตจับปลากันเองในหมู่ ชาวประมงในเวลา 24 ชั่วโมงชาวประมงจะออกเรือเพื่อไปวางตาข่าย 1 ครั้ง และเพื่อไปเก็บปลา กุ้ง หอย ปู หมึกตามเวลาน้ าขึ้น 2 ครั้ง น้ าลง 2 ครั้ง รวมเป็น 5 ครั้ง ตามที่นักศึกษาไปสังเกตการ หาดทรายแก้ว หาดหมู่บ้านหลังเขา 23

ตาข่ายปากเสือ ตาข่ายปากเสือแต่ละผืนที่ชาวประมงขึงไว้มีความกว้าง 70 ฟุต และทอดลงในทะเลลึกประมาณ 5 ฟุต ชาวประมงจะใช้วัสดุคล้ายลูกบอลพลาสติกหรือกระป๋องพลาสติกเพื่อขึงตาข่ายและทุ่นไว้ให้ลอยน้าตลอดเวลา และจะใช้ก้อนหินเพื่อถ่วงปลายตาข่ายปากเสือ ปลามอง ปลาทามัก 24

ปลาช่อน ปลาอินทรีย์ ที่พักอาศัยของชาวประมงหมู่บ้านพร้าว หาดบ้านพร้า 25

ลอบไซปู ปูม้า หมึกกระดอง หมึกหอม ลอบไซหมึก 26

บทที่ 7 ป่าชายหาดและป่าชายเลน ป่าชายหาด (อังกฤษ: Beach Forest) เป็นลักษณะของป่าประเภทหนึ่ง จัดเป็นป่าละเมาะหรือป่า โปร่งไม่ผลัดใบขึ้นอยู่ตามบริเวณหาดชายหรือเนินทรายริมทะเล หรือชายฝั่ง เป็นป่าที่มีขนาดเล็กเกิดขึ้น ด้านหลังของสันทรายตามแนวชายฝั่ง น้ าทะเลท่วมไม่ถึง สภาพดินเป็นดินทรายและมีความเค็มสูง เป็นป่าที่มี ความแตกต่างจากป่าทั่ว ๆ ไปอย่างเห็นได้ชัดเจน คือ ไม่มีความอุดมสมบูรณ์ สภาพโดยทั่วไปแห้งแล้ง ใบไม้ใน ป่าจะเป็นลักษณะหงิกงอ แต่นี่คือลักษณะของป่าชายหาดที่สมบูรณ์ ต้นไม้ป่าชายหาด ภาพ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อภาษาไทย สรรพคุณ Hibiscus ปอทะเล เปลือกปอทะเลใช้ท า tiliaceus เชือก ใบเป็นยารักษา ผล Terminalia หูกวาง เปลือกและผลมีรส catappa ฝาดมาก ใช้แก้อาการ ท้องเสีย ย้อมหนังสัตว์ ท าหมึก เมล็ดใน รับประทานได้ และให้ น้ ามันคล้ายน้ ามันอัล มอนด์ Lumnitzera ฝาดดอกขาว เนื้อไม้ ใช้ก่อสร้าง แข็งแรงทนทาน ยอด อ่อน รสเปรี้ยว ใช้ ประกอบอาหาร ยอดอ่อนแก้ท้องอืด เฟ้อ 27

Calophyllum กระทิง ทั้งต้นและใบ สามารถ inophyllum น ามาใช้ท าเป็นยาเบื่อ ปลาได้ น้ ามันจาก เมล็ดน ามาใช้ผสมท า เป็นน้ ามันไบโอดีเซลได้ Pinus kesiya สนสามใบ -แก่นมีสรรพคุณเป็นยา Royle ex ระงับประสาท แก่ Gordon ฟุ้งซ่าน (แก่น) -เป็นยาปิดธาตุ (ชัน สน) -ช่วยแก้อาการ อ่อนเพลีย (แก่น) Thespesia โพทะเล ไม้โพทะเลน ามาท า populnea เครื่องเรือน เปลือกใช้ท าเชือก ใบ ใช้รักษาแผล Cerbera ตีนเป็ดทะเล สามารถใช้ประโยชน์ใน odollam การท าเป็นสารเคมีฆ่า เหาได้ Atalantia มะนาวผี ใบมะนาวผี มีสรรพคุณ monophylla ช่วยแก้โรคทางเดิน หายใจ Atalantia monophylla)AtalaA 28

Vitex pinnata ตีนนก เปลือกต้น แก่น และ ราก น ามาบดให้เป็นผง ใช้ละลายกับน้ าดื่มเป็น ยาแก้ไข้ Derris indica หยีน้ า เปลือกไม้มีกัมสีด า ใช้ แก้พิษปลา ป่าชายเลน ป่าชายเลน หรือ ป่าโกงกาง (อังกฤษ: Mangrove forest หรือ Intertidal forest) คือเป็นกลุ่มสังคม พืชซึ่งขึ้นอยู่ในเขตน้ าลงต่ าสุดและน้ าขึ้นสูงสุด บริเวณชายฝั่งทะเล ปากแม่น้ าหรืออ่าว อีกความหมายหนึ่ง หมายถึง สังคมพืชที่ประกอบด้วยพันธุ์ไม้หลายชนิดหลายตระกูล และเป็นพวกที่มี ใบเขียวตลอดปี (evergreen species) ซึ่งมีลักษณะทางสรีรวิทยาและความต้องการสิ่งแวดล้อมที่คล้ายกัน ซึ่งส่วนใหญ่ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้สกุลโกงกาง(Rhizophora spp.) เป็นไม้ส าคัญและมีไม้ตระกูลอื่นบ้าง ต้นไม้ป่าชายเลน ภาพ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อภาษาไทย สรรพคุณ Rhizophora โกงกางใบเล็ก เปลือกของต้นโกงกางใบ apiculata เล็กและใบใหญ่ เป็น แหล่งที่มีสารแทนนิน และฟีนอลธรรมชาติที่มี ราคาถูกที่สุด ซึ่งสารชนิด นี้สามารถน าไปใช้ ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น ท าสี ท าหมึก ยา ใช้ ในการฟอกหนัง ใช้ท า กาวส าหรับติดไม้ 29

Rhizophora โกงกางใบใหญ่ เปลือกของต้นโกงกางมี mucronata สารแทนนินและฟีนอล จากธรรมชาติสูงมาก อีก ทั้งยังมีราคาถูกที่สุด ซึ่ง สารดังกล่าวสามารถ น าไปใช้ประโยชน์ได้ หลายอย่าง เช่น ท ายา ท าหมึก ท าสี ใช้ในการ ฟอกหนัง ใช้ท ากาว ส าหรับติดไม้ เป็นต้น Acrostichum ปรงทะเล ปลูกประดับสวน ริมน้ า aureum ริมบ่อ น้ าตก ล าธาร ทน ดินเค็ม ยอดอ่อนกินสด ลวกจิ้มน้ าพริก การใช้ประโยชน์ด้าน สมุนไพร หัว ฝนกับน้ า ปูนใส หรือแช่น้ าหอยโข่ง ทาแก้ไฟลามทุ่ง ล าลาบ เพลิง เริม งูสวัด Xylocarpus ตะบูนขาว 1.ใช้เป็นยาบ ารุงร่างกาย granatum (เปลือก,เมล็ด) 2.ช่วยแก้อหิวาต์ (เปลือก ,ผล) แก้อหิวาตกโรค 3.เปลือกและเมล็ดมี สรรพคุณเป็นยาแก้ อาการไอ (เปลือก,เมล็ด) ช่วยแก้อาการท้องร่วง (เปลือก,เมล็ด) 4.ใช้เป็นยาแก้บิด (เปลือก,เมล็ด) 30

Xylocarpus ตะบูนด า ตะบูนด า สรรพคุณใช้ moluccensis เป็นยาบ ารุงร่างกาย (ผล ,เมล็ด) เปลือกไม้ใช้เป็นยาลดไข้ (เปลือกไม้) สรรพคุณตะบูนด า ช่วย แก้อาการไอ (ผล,เมล็ด) เปลือกและผลช่วยแก้ อหิวาตกโรค (ผล,เปลือก) เปลือกและผลใช้ต้มกับน้ า ดื่ม ช่วยรักษาแผลภายใน ได้ (เปลือก,ผล) ผลใช้ต้มกับน้ าดื่มช่วยแก้ อาการท้องเสีย (ผล ,เปลือกไม้) Sonneratia ล าพู ผลสุก มีรสเปรี้ยว กินแก้ caseolaris ท้องผูก ผลที่ยังไม่สุก มี รสฝาด ต าคั้นน ้า รับประทานขับพยาธิ ขับ เสมหะ ต าเป็นยาพอกแก้ ปวด แก้บวม แก้เคล็ด ต าคั้นน้ า หมัก แล้วใช้ทา แผล ห้ามเลือด Ceriops โปรงขาว เปลือก มีรสฝาดจัด Decandra เฝื่อนเล็กน้อย ใช้เปลือก ต้มกับน้ ารับประทานแก้ ท้องร่วง แก้อาเจียน แก้ บิด แก้มูกเลือด ใช้ เปลือกต้มน ้าชะล้าง บาดแผล ต าพอกใช้ห้าม เลือดในบาดแผลสด เล็กน้อยได้ดี 31

Ceriops tagal โปรงแดง เปลือก ใช้ต้มกับน้ าไว้ชะ ล้างบาดแผล Sonneratia ovata ล าแพน ทั้งต้น ต้มกับน้ า แก้ อุจจาระติดโลหิตสดๆ โลหิตช้ า เผาไฟเอาขี้เถ้า ละลายน้ าสุก ดื่มแก้ เมื่อยเข็ดตามข้อกระดูก Avicennia แสมด า น าลูกแสมต้มนี้ไปคลุก officinalis เกลือรับประทาน หรือ น าไปผสมกับแป้งมัน ส าปะหลัง แป้งข้าว เจ้า หัวกะทิ น้ าตาลปี๊บ แล้วน าไปนึ่ง ลูกแสมที่ นิยมน ามาท าขนมจะเป็น ผลอ่อน เปลือกสีเขียว อ่อน ถ้าผลแก่จะใช้ท า ขนมไม่ได้ 32

บทที่ 8 การจัดการสิ่งแวดล้อม 1. การอนุรักษ์พะยูน จากการส ารวจแหล่งหญ้าทะเล และได้สังเกตพฤติกรรมของพะยูน ที่เกาะลิบง จังหวัดตรัง พบว่า พะยูนจะเริ่มเข้ามาหากินหญ้าทะเลในช่วงที่น้ าทะเลก าลังขึ้น และกินหญ้าทะเลอยู่นานราว 2-3 ชั่วโมง พะยูน จะกินหญ้าทะเลพร้อมทั้งขึ้นมาหายใจทุกๆ 1-2 นาที และจึงด าลงไปกินหญ้าทะเลต่อ บางตัวจะกินหญ้าทะเล ต่อในบริเวณใกล้ๆ ที่เดิม ในขณะที่บางตัวจะว่ายน้ าเปลี่ยนที่ไปประมาณ 1-5 เมตร โดยที่ลักษณะทิศทางการ กินหญ้าทะเลของพะยูนไม่แน่นอน มีทั้งการหันด้านหัวสู่ชายฝั่ง หันหัวออกทะเล ล าตัวขนานกับชายฝั่ง หรือ ล าตัวท ามุมเฉียงกับชายหาด ซึ่งพะยูนส่วนใหญ่ที่พบจะกินหญ้าทะเลอยู่ห่างจากชายฝั่งมากกว่า 1 กิโลเมตร ในขณะที่น้ าลงมากพะยูนจะไปอาศัยอยู่ในร่องน้ าห่างชายฝั่งประมาณ 4-5 กิโลเมตร (สังเกตพบเห็นพะยูนอยู่ ในร่องน้ าหลังน้ าลงประมาณ 2 ชั่วโมง) ซึ่งสอดคล้องกับกับการศึกษาของสุวรรณและคณะ (2536) โดยพะยูน อาจจะกินหญ้าทะเลในช่วงน้ าขึ้น ทั้งกลางวันและกลางคืน โดยพะยูนที่เกาะปาเลาส่วนใหญ่จะเข้ามากินหญ้า ทะเลในตอนกลางคืน เพื่อหลีกเลี่ยงจากอันตรายจากคนและสิ่งแวดล้อมอย่างอื่น และจะกินหญ้าทะเลวันละ ประมาณ 30 กิโลกรัม โดยใช้ปากเล็มหรืองับทั้งต้นพืชแล้วส่ายล้างสิ่งเกาะติดอื่นๆ แล้วกลืนทันทีโดยไม่เคี้ยว พะยูนอาจจะอาศัยประจ าถิ่นหรือเคลื่อนย้ายถิ่นตามฤดูกาล และพบว่าแม่และลูกพะยูนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิด กันเป็นอย่างมาก ทั้งในขณะหากินและในขณะที่ว่ายน้ า ลูกพะยูนและแม่จะว่ายน้ าหากินอยู่ใกล้ๆ กัน บางครั้ง อาจจะห่างกันแต่จะอยู่ในรัศมีประมาณ 1 เมตร ขณะที่ขึ้นมาหายใจพร้อมกันลูกพะยูนจะอยู่ชิดช้างล าตัวแม่ 33

หรืออยู่บนหลังของแม่ และขณะที่ก าลังว่ายน้ าออกจากแหล่งหญ้าทะเลก็จะว่ายอยู่เคียงกันตลอด จากการ ติดตามสังเกตพฤติกรรมการกินหญ้าทะเลของแม่และลูกพะยูน พบว่าลูกพะยูนจะโผล่ขึ้นมาหายใจบ่อยกว่าแม่ พะยูน โดยในขณะที่แม่พะยูนก าลังกินหญ้าทะเลอยู่ ลูกพะยูนโผล่ขึ้นมาหายใจ 2-3 ครั้ง แล้วแม่พะยูนจึงโผล่ ขึ้นมาหายใจครั้งหนึ่ง ความเชื่อ: ชาวบ้านเชื่อว่าการกินเนื้อพะยูนท าให้มีพลังและเป็นเหมือนยาอายุวัฒนะ เนื้อพะยูนน าไปปรุงเป็น อาหารได้หลายอย่าง เช่น แกง ผัด ทอด เนื้อแดดเดียว และเนื้อเค็ม น้ ามันพะยูนใช้ทาแก้ปวดเมื่อยและแก้น้ า ร้อนลวก น้ าตาเป็นยาเสน่ห์ ส่วนกระดูกฝนผสมกับน้ ามะนาวกินแก้พิษจากการถูกเงี่ยงหรือหนามของปลาแทง กระดูกใช้ท าเป็นเครื่องราง เขี้ยวท าหัวแหวน และหนังใช้ท าไม้เท้าในต่างประเทศ ก็มีความเชื่อเรื่องการใช้ ประโยชน์จากชิ้นส่วนต่างๆของพะยูนเช่นกัน น้ ามันพะยูนใช้รักษาโรคต่างๆ ได้หลายโรค เชื่อว่าน้ ามันพะยูนใช้ รักษาโรคไมเกรนได้ หนังพะยูนใช้ท าเครื่องหนัง หรือน าไปต้มเคี่ยวจนได้กาว ส่วนเขี้ยวหรืองาพะยูนใช้ท าด้าม กริช เป็นของที่ระลึกหรือของฝาก ลักษณะเด่น: รูปทรงกระสวยคล้ายโลมา ด้านหลังล าตัวสีเทาอมชมพู หรือน้ าตาล โดยด้านท้องมีสีอ่อนกว่า ใน วัยอ่อนล าตัวมีสีเทาอมชมพูและด้านท้องมีสีชมพู ริมฝีปากอยู่ด้านล่างโดยมีลักษณะกลมหนา โดยส่วนของจมูก และปากเรียกรวมกันว่า Muzzleมีขนสั้น ๆ กระจายทั่วล าตัวและขนเส้นใหญ่อยู่อย่างหนาแน่นบริเวณปาก ตา และหูมีขนาดเล็ก โดยไม่มีใบหู รูจมูกอยู่ชิดกันโดยมีลิ้นปิด โดยจะเปิดเฉพาะเวลาส่วนหัวหายใจเข้าเมื่อส่วนหัว โผล่พ้นน้ า มีหัวนม (nipple) อยู่ด้านหลังของครีบข้างในทั้งสองเพศ โดยจะมีขนาดใกล้เคียงกันในวันเด็ก แต่ใน ตัวเต็มวัยตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าชัดเจน ส่วนหางมีลักษณะเป็นแฉกคล้ายโลมา ส าหรับตัวผู้เมื่อเป็นตัวเต็ม วัยจะมีเขี้ยวงอกพ้นริมฝีปากออกมา ขนาดและน้ าหนัก: ยาวที่สุด 3.3 เมตร (ในประเทศไทยพบยาวที่สุด 2.87 เมตร) หนักที่สุด 400 กิโลกรัม (ใน ประเทศไทยพบหนักที่สุด 358 กิโลกรัม) ในเพศผู้และเพศเมียขนาดไม่ต่างกันมาก ขนาดแรกเกิด 1-1.5 เมตร และหนักประมาณ 20 กิโลกรัม (ในประเทศไทยเคยพบขนาดเล็กที่สุด 0.97 เมตร หนัก 14 กิโลกรัม) อาหารและถิ่นอาศัย: พะยูนกินหญ้าทะเลชนิดต่างๆเป็นอาหาร โดยกินสาหร่ายเป็นบางครั้ง พะยูนใน ธรรมชาติกินอาหาร 3-5% ของน้ าหนักตัวต่อวัน แต่พะยูนในที่เลี้ยงสามารถกินอาหารได้มากถึง 10% ของ น้ าหนักตัวต่อวัน พะยูนจะอาศัยอยู่บริเวณใกล้ฝั่งที่มีแหล่งหญ้าทะเล ชีววิทยาและพฤติกรรม: พะยูนเริ่มเข้าวัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุ 9-10 ปี ระยะเวลาตั้งครรภ์ 13-14 เดือน ให้ลูก ครั้งละ 1 ตัว ลูกพะยูนแรกเกิดจะหัดกินหญ้าทะเลพร้อมกินนมแม่ ซึ่งแม่พะยูนจะดูแลลูกประมาณ 2 ปี พะยูน มีอายุยืนยาวประมาณ 70 ปี โดยปกติมักพบพะยูนอยู่เป็นกลุ่มเล็ก 5-6 ตัว จนถึงฝูงขนาดใหญ่ขนาดมากกว่า 34

100 ตัว ภายในฝูงพะยูนจะพบลักษณะความเป็นสังคมสูง แต่บางครั้งก็พบพะยูนหากินเพียงตัวเดียว พะยูน ว่ายน้ าได้เร็วเฉลี่ย 10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ส่วนใหญ่จะว่ายน้ าเป็นระยะทางสั้นๆ วิธีการจัดการกับพะยูนเกยตื้นและการจัดการซากพะยูน: เมื่อได้รับแจ้งข่าว ต้องบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ สถานที่ที่จะไปรับ เบอร์โทรศัพท์ ชื่อและที่อยู่ของผู้ที่จะติดต่อได้เมื่อไปถึง พร้อมทั้งให้ค าแนะน าเบื้องต้นพอ สังเขปแก่คนในพื้นที่ เจ้าหน้าที่หรือชาวบ้านในการปฏิบัติต่อพะยูนทั้งในกรณีที่มีชีวิต (Live Specimen) หรือ ตาย (Carcass) ควรมีการประเมินสภาพของพะยูนเพื่อจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้ตรงกับการใช้งาน เช่น พะยูนมี ชีวิต หรือตาย ขนาดใหญ่หรือขนาดเล็ก หากมีชีวิต บาดเจ็บมากน้อยอย่างไร สาเหตุ: ที่ท าให้พะยูนมาเกยตื้นนั้นมีหลายปัจจัย ทั้งที่เกิดจากสภาพธรรมชาติ โรคภัย และมนุยษ์ บางแห่งมี การมาเกยตื้นของพะยูนติดต่อกันหลายวัน หรือการมาเกยตื้นกินเนื้อที่ความยาวของชายหาดหลายกิโลเมตร ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะชี้ชัดว่าปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งท าให้สัตว์เหล่านี้มาเกยตื้น กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพะยูนกลับ: กฎหมายที่ส าคัญ เกี่ยวกับการอนุรักษ์พะยูน ได้แก่ พระราชบัญญัติการ ประมง พ.ศ.2490 และพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2490 และอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่า และพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์หรือ CITES (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2549) พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติฉบับนี้ปรับปรุงจากพระราชบัญญัติสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2503 เดิมอยู่ในความรับผิดชอบกรมป่าไม้เพียงกรมเดียว แต่ฉบับนี้ให้กรมประมง รับผิดชอบสัตว์น้ าด้วย ตามบัญชีแนบท้ายพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 ให้ไว้ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2535 ก าหนดให้พะยูนเป็นสัตว์สงวนที่ ล าดับที่ 15 พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.2490 ก าหนดให้พะยูน รวมซากหรือส่วนใดส่วนหนึ่งเป็น 'สัตว์น้ า' ค าว่าสัตว์ น้ า หมายความว่า สัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ าหรือมีวงจรชีวิตส่วนหนึ่งอยู่ในน้ าหรืออาศัยอยู่ใน บริเวณที่น้ าท่วมถึง เช่น ปลา กุ้ง ปู แมงดาทะเล หอย เต่า กระ ตะพาบน้ า จระเข้ รวมทั้งไข่ของสัตว์น้ านั้น สัตว์น้ าจ าพวกเลี้ยงลูก ด้วยนม ปลิงทะเล ฟองน้ า หินปะการัง กัลปังหา และสาหร่ายทะเล ทั้งนี้รวมทั้งซากหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของ สัตว์น้ าเหล่านั้น และหมายรวมถึงพันธุ์ไม้น้ าตามที่ได้มีพระราชกฤษฎีการะบุชื่อ พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2504 ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ ปัจจุบันได้ออกพระราช-กฤษฎีกาให้หมู่ เกาะต่างๆ เช่น หมู่เกาะสุรินทร์ หมู่เกาะสิมิลัน อ่าวพังงา จังหวัดพังงา หาดในยาง หาดไม้ขาว (อุทยานสิริ นาถ) อ าเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ตะรุเตา จังหวัดสตูล เกาะช้าง จังหวัดตราด หมู่เกาะ พีพี-ดอน จังหวัดกระบี่ หมู่เกาะอ่างทอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นเขตอุทยานแห่งชาติ (อุทยานแห่งชาติทาง ทะเล มีทั้งหมด 14 แห่ง) ซึ่งมีผลท าให้สัตว์ รวมถึงสัตว์น้ า ด้วยในเขตอุทยานได้รับความคุ้มครอง 35

อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศว่าด้วยชนิดสัตว์ป่า และพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์หรือ CITES (The Convention on International Trade Endangered Species of Wild Fauna and Flora) วิธีการอนุรักษ์ ของไซเตส จะใช้วิธีการสร้างเครือข่ายทั่วโลก เพื่อควบคุมการค้าระหว่างประเทศ (International Trade) ทั้ง สัตว์ป่า พืชป่าและผลิตภัณฑ์ ส าหรับพะยูนซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อยู่ในบัญชีหมายเลข 1 ล าดับ 86 เป็น ชนิดพันธุ์ที่ห้ามค้าโดยเด็ดขาด ยกเว้น เพื่อการศึกษา วิจัย และเพาะพันธุ์เท่านั้น ซึ่งได้รับความยินยอมจาก ประเทศที่น าเข้าเสียก่อน การอนุรักษ์และการจัดการพะยูน: 'การอนุรักษ์พะยูน' พะยูนได้รับการประกาศให้เป็นสัตว์ป่า คุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า ต่อมาเมื่อมีการปรับปรุงพระราชบัญญัติในปี พ.ศ.2535 ด้วยสถานการณ์ใกล้สูญพันธุ์ของพะยูนท าให้พะยูนได้รับการประกาศให้เป็นสัตว์ป่าสงวนของไทย ปัจจุบันได้มี ส ารวจประชากรของพะยูนทางอากาศ ตลอดจนพฤติกรรมต่างๆ ของพะยูน รวมถึงนิเวศวิทยาของหญ้าทะเล และออกพระราชบัญญัติอนุรักษ์แหล่งหญ้าทะเล ซึ่งเปรียบเสมือนบ้านและแหล่งอาหารของพะยูนเพื่อเป็นแนว ทางการจัดการและอนุรักษ์พะยูนอย่างยั่งยืน การใช้มาตรการทางกฎหมายอย่างเดียวย่อมไม่เกิดผลส าเร็จในการอนุรักษ์พะยูน สิ่งส าคัญที่ควรท าควบคู่ไป กับกฎหมายคือ การสร้างให้เกิดการเรียนรู้ ความเข้าใจ เรื่องพะยูนและหญ้าทะเลแก่ประชาชนทั่วไป โดยเน้น ที่ชุมชนชายฝั่งทะเลที่มีวิถีชีวิตอยู่ใกล้ชิดกับพะยูนมากที่สุด ชุมชนใดมีความเข้มแข็งพอ พะยูนและหญ้าทะเลก็ อยู่ได้ แนวทางการอนุรักษ์พะยูนในประเทศไทยควรจะครอบคลุมประเด็น ดังนี้ 36

การจัดท าแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการอนุรักษ์พะยูนในประเทศไทย 1. การให้การศึกษาและรณรงค์ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจถึงความส าคัญของพะยูนกับระบบ นิเวศหญ้าทะเลให้กับทุกภาคส่วน โดยเฉพาะในพื้นที่ชายฝั่งทะเล เพื่อให้เข้าใจและเห็นความส าคัญของพะยูน และหญ้าทะเล 2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา และช่วยอนุรักษ์พะยูนและหญ้าทะเลตามแนวทางที่ถูกต้อง โดยมีส่วนราชการหรือองค์กรอิสระอื่นๆ เป็นที่ปรึกษาและให้ข้อมูลทางด้านวิชาการ 3. ส ารวจ และวิจัยชีววิทยาประชากรพะยูนและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการฟื้นฟูพะยูน 4. ป้องกันการท าการประมงที่ผิดกฎหมายหรือใช้เครื่องมือที่เป็นภัยคุกคามต่อพะยูน 5. รณรงค์การดูแลความสะอาดชายฝั่งและเข้มงวดการทิ้งขยะและของเสียลงสู่ทะเล 6. ติดตามตรวจสอบ เฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมชายฝั่ง 7. สร้างศูนย์ช่วยเหลือและพยาบาลสัตว์ทะเล เพิ่มประสิทธิภาพหน่วยปฏิบัติการช่วยเหลือ พร้อมอุปกรณ์การ ปฏิบัติงาน 8. คุ้มครองป้องกันและเฝ้าระวังการลักลอบจับและการขนย้ายพะยูน 9. จัดระเบียบการท่องเที่ยวและส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการท่องเที่ยวในแหล่งสัตว์ทะเลหา ยากอย่างเหมาะสมและยั่งยืน 10. จัดท าแผนพัฒนาบุคลากรและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านการอนุรักษ์พะยูน 11. จัดท าแผนบริหารจัดการแหล่งอาศัยของพะยูนเชิงพื้นที่ให้เหมาะสมและยั่งยืน 37

บทที่ 9 บทสรุป ข้อมูลที่น าเสนอในรายงานนี้เป็นเพียงส่วนน้อยเมื่อเทียบกับภาพรวมทั้งหมดของเกาะลิบงในเชิงพื้นที่ ทรัพยากรธรรมชาติและทิวทัศน์อันน่าตื่นตาตื่นใจของเกาะลิบงเป็นเหมือนกระจกสะท้อนถึงความหลากหลาย และความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศที่ยังคงหล่อเลี้ยงผู้คนมากมายให้อิ่มเอมไม่ว่าจะเป็น สวนยางพารา ประมง การดักรอกหมึก และ อื่นๆอีกมากมาย เป็นสิ่งจ าเป็นต่อมนุษย์ ซึ่งคนบนเกาะลิบงใช้ในการสร้างรายได้ และหล่อเลี้ยงชีวิตคนบนเกาะเกือบทั้งหมด ข้อมูลในเล่มนี้ยังกล่าวถึงความอดทน และ การใช้ชีวิตร่วมกันของคนในกลุ่ม การช่วยเหลือเผื่อแผ่กัน ของทีมวิจัย ท าให้นักศึกษาหรือคนที่อยากท างานวิจัยรุ่นต่อไปสามารถน าเอาแบบอย่างความช่วยเหลือ การ แบ่งงาน แบ่งหน้าที่กัน เพื่อให้งานส าเร็จรุล่วงไปได้ด้วยดี ทีนเวลาที่ก าหนด ทีมวิจัยหวังว่ารายงานการวิจัยเล่มนี้จะเป็นชนวนจุดประกาย องค์ความรู้ และ เห็นถึงความส าคัญของ ธรรมชาติ ของสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ ให้ทุกคนเห็นถึงความส าคัญในการรักษา อนุรักษ์ ธรรมชาติที่มีอยู่นี้ให้ สมบูรณ์อย่างนี้ตลอดไป 38

ภาคผนวก ผลไม้และผักที่ส ารวจบนเกาะลิบง ล าดับ ผลไม้และผักที่พบ ที่ บนเกาะลิบง ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1 มะพร้าว X X X X X X X X X X X X 2 กล้วยน้ าว้า X X X X 3 ระก า X X 4 ขนุน X X X X 5 มะม่วงหิมพานต์ X X X 6 มะนาว X X X X X X X X X X X X 7 มะขาม X X X X 8 มะละกอ X X X X X X X X X X X X 9 กระเจี๊ยบ X X X X 10 กระท้อน X X X X 11 กล้วยไข่ X X X 12 มะม่วง X X 13 ฝรั่ง X X X 14 ผักบุ้ง X X X X X X X X X X X X 15 พริกขี้หนู X X X 16 ผักหวาน X X X X X X X X X X X X 17 ผักคะน้า X X X X X X X X X X X X 18 ผักกวางตุ้ง X X X X X X X X X X X X 19 พริกไทย X X X X X X X X X 20 หัวหอม X X X X 39

วิถีชีวิตชุมชน ลอบดักปลาหมึก ความหมาย ลอบ หมายถึง เครื่องมือประมงที่ใช้ดักจับปลาหมึกหอมหรือหมึกกระดอง จะมี ลักษณะเป็นรูปโค้งคล้ายๆ ครึ่งวงกลม มีความกว้าง 75 ซม. ความยาว 105 ซม. และความสูง 55-60 ซม. ไม้ ที่ใช้จะเป็นไม้มะพลาหรือไม้ทุเป็นไม้เนื้อเหนียว ลักษณะและวิธีการใช้งาน ปลาหมึกเป็นสัตว์เศรษฐกิจที่พบมากในแถวชายฝั่งเกาะลิบงโดยธรรมชาติ ปลาหมึกกล้วยหรือ ปลาหมึกหอม มักหาอาหารในที่ที่มีกิ่งไม้ใบหญ้าบริเวณริมฝั่งทะเล การจับปลาหมึกนอกจากจะใช้เรือประมง ในการไดปลาหมึกแล้ว ยังสามารถใช้ลอบเป็นเครื่องมือจับปลาหมึกที่ท าขึ้นเอง เพื่อใช้บริโภคในครัวเรือน เนื่องจากการไปศึกษาที่เกาะลิบงซึ่งเป็นหมู่บ้านที่ยึดการประกอบอาชีพการท าประมงเป็นหลักและจะ เห็นได้ว่าจะพบเห็นลอบดักปลาหมึกนั้นมีอยู่ทั่วไปหมดเกือบตลอดทางเดินบริเวณชายฝั่ง ซึ่งสิ่งที่พวกข้าพเจ้า ได้พบเห็นนั้นท าให้พวกข้าพเจ้านั้นเกิดความสนใจที่จะศึกษาว่าอุปกรณ์ชิ้นนี้ มีการท าให้ปลาหมึกนั้นมาเข้าอยู่ ข้างในได้อย่างไงและมีวิธีการที่จะวางตรงไหน เวลาไหนที่จะออกไปวางลอบและมีการท าอย่างไร 40

พรรณพืชไม้พื้นที่ป่าชายเลน ล าดับที่ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อภาษาไทย สรรพคุณ/วิธีการใช้ในชุมชน 1 Rhizophora apiculata โกงกางใบเล็ก เปลือกน ามาต้มแก้ท้องร่วง 2 Rhizophora mucronata โกงกางใบใหญ่ เปลือกต้นน ามาต้มน้ า รักษาเรื้อรัง 3 Lumnitzera racemosa ฝาด ดอกขาว ยอดอ่อนแก้ท้องอืด เฟ้อ 4 Cerbera odollam ตีนเป็ดทะเล ผลเผาต าผสมน้ ามันพืช แก้ปวดเมื่อยตามข้อ 5 Nypa fruticans จาก ใบ แก้ลม ขับเสมหะ 6 Phoenir paludosa เป้งทะเล หัวต้มน้ าดื่ม แก้เสียดท้อง 7 Auicennia alva แสมขาว ก้านและใบเผาไฟรมควัน แก้พิษจากสัตว์น้ าทุกชนิด 8 Auicennia Officinalis แสมด า ก้านและใบเผาไฟรมควัน แก้พิษจากสัตว์น้ าทุกชนิด 9 Lumnitzera httorea ฝาด ดอกแดง เนื้อไม้ใช้สร้างบ้านเรือน 10 Hibiscus tihiaceus ปอทะเล เปลือกใช้ท าเชือก และ หมันยาเรือ 11 Barringtonia asiatica จิกทะเล เปลือกต้นท าเป็นยาแก้ภายนอก 12 Sonneratia caseolaris ล าพู รากหายใจ ท าเป็นทุ่งรอยในการประมง 13 Sonneratia ovata ล าแพน รากหายใจ ท าเป็นทุ่งรอยในการประมง 14 Clerodendrum inerme ส ามะง่า ใบสด ต้มน้ า นาล้างบาดแผลฆ่าเชื้อ 15 Premna obtusifolid ช้าเลือด ใบน ามาขยี้ มีกลิ่นเหม็นมาก ไว้ป้องกันตัว 16 Solanum trilobaturn มะแว้งเครือ รากใช้เป็นยาแก้ไอ 17 Azima sarmentosa พุงดอ รากแก้ว แก้ลม 18 Ceriops tagal โปรงแดง เปลือกต าให้ละเอียด ฟอกแผล ห้ามเลือด พังกาหัวสุมดอก 19 Bruguiera sexangula ล าต้นใช้ท าฟืน ขาว พังกาหัวสุมดอก 20 Bruguiera gymnorrhiza ฝักเชื่อม รับประทานเป็นของหวานคล้ายสาเกเชื่อม แดง 41

การท ายางแผ่น ยางแผ่นจะดีหรือไม่ดีนั้นขึ้นอยู่กับวิธีการผลิต ราคายางในท้องตลาดก็แตกต่างกันไปตามคุณภาพของ แผ่นยาง ถ้าหากเกษตรกรเจ้าของสวนยางสามารถผลิตยางแผ่นคุณภาพดีออกจ าหน่าย ก็จะได้ราคาสูงกว่า ยางแผ่นที่มีคุณภาพต่ า การท ายางแผ่นชั้นดีนั้นมีหลักการง่ายๆ คือ ท ายางให้สะอาด รีดยางแผ่นให้บาง สีของ แผ่นยางสม่ าเสมอ มีขนาดมาตรฐาน ใช้น้ าและน้ ากรดถูกส่วน 42

ตารางเวลาในการเกี่ยวยางพารา 43

ฤดูกาลการจับสัตว์ 44

การเกษตร 45

อ้างอิง เว็บไซต์ค้นหาชื่อวิทยาศาตร์ของพันธ์พืช http://medplant.mahidol.ac.th/pharm/search.asp เว็บไซต์ค้นหาพะยูน http://guru.sanook.com/2950/ 46

ประวัติสมาชิกในกลุ่ม รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 3 ล าดับ รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกุล ต าแหน่ง ลายมือชื่อ 1 5911029802005 นาย ชาคริต โคจรนา ประธาน 2 5911029802012 นาย ธนฤต รัตนสิมานนท์ รองประทาน 3 5911029802001 นส. สุกัญญา โสะหาบ เลขานุการ 4 5911029802002 นส. จินดารัตน์ รามจันทร์ เลขานุการ 5 5911029802028 นส. อาลาตี แมเละ เหรัญญิก 6 5911029802003 นส. จุฬารัตน์ ดวงจันทร์ ปฏิคม 7 5911029802029 นส. โนร์ฟาตีฮะห์ เจ๊ะอุมา ประชาสัมพันธ์ 8 5911029802018 นส. อรวรรณ พลฤทธิ์ ประชาสัมพันธ์ 9 5911029802019 นาย ณัฐกิตติ์ อานันท์สันติ สวัสดิการ 10 5911029802013 นาย ศุภกฤท ทับเที่ยง สวัสดิการ 47

1.นายชาคริต โคจรนา ก าลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ชั้นปีที่ 1 2.นาย ธนฤต รัตนสิมานนท์ ก าลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ชั้นปีที่ 1 3.นางสาว สุกัญญา โสะหาบ ก าลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ชั้นปีที่ 1 4.นางสาว จินดารัตน์ รามจันทร์ ก าลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ชั้นปีที่ 1 48

5.นางสาว อาลาตี แมเละ ก าลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ชั้นปีที่ 1 6.นางสาว จุฬารัตน์ ดวงจันทร์ ก าลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ชั้นปีที่ 1 7.นางสาว โนร์ฟาตีฮะห์ เจ๊ะอุมา ก าลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ชั้นปีที่ 1 8.นางสาว อรวรรณ พลฤทธิ์ ก าลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ชั้นปีที่ 1 49

9.นาย ณัฐกิตติ์ อานันท์สันติ ก าลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ชั้นปีที่ 1 10.นาย ศุภกฤท ทับเที่ยง ก าลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ชั้นปีที่ 1 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook