Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายสิ่งแวดล้อมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

กฎหมายสิ่งแวดล้อมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

Published by TECH IHRD, 2021-02-01 07:38:43

Description: กฎหมายสิ่งแวดล้อมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

Search

Read the Text Version

กฎหมายสงิ แวดล้อม และกฎหมายทีเกียวขอ้ ง

องคค์ วามรู้จากการจัดกิจกรรมแลกเปล่ยี นเรียนรู้ หัวข้อ กฎหมายสิ่งแวดล้อมและกฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ ง วนั ท่ี 25 ตลุ าคม 2562 ณ หอ้ งประชุมศูนยว์ จิ ยั สุขภาพสัตวน์ ้าสงขลา อ้าเภอเมอื ง จังหวัดสงขลา --------------------- ในการปฏิบัติงานของสานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16 (สงขลา) ต้องใช้ความรู้ด้านกฎหมายส่ิงแวดล้อม และกฎหมายท่ีเกยี่ วขอ้ งที่หลากหลาย แต่ละสว่ นงานทม่ี กี ารปฏบิ ัติงานและมีการใช้กฎหมายเพ่อื ประกอบในการ ปฏิบัติงาน จึงร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้นักวิชาการส่วนงานอ่ืนๆ ได้รับทราบ และเป็นแนวทางในการ ปฏบิ ัตงิ าน ดังนี้ 1. ส่วนควบคมุ คุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม กฎหมายทีเ่ กย่ี วข้องกบั การควบคมุ มลพษิ ท่สี าคัญ ไดแ้ ก่ 1.1 รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย (1) หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตรา 43(2) บุคคลและชุมชนย่อมมี สทิ ธิจดั การ บารงุ รกั ษา และใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความหลากหลายทางชีวภาพ... (2) หมวด 4 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย มาตรา 50(8) บุคคลมหี นา้ ท่ีร่วมมือและสนับสนุน การอนุรักษ์และคุ้มครองส่ิงแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมท้ังมรดกทาง วฒั นธรรม (3) หมวด 5 หน้าท่ขี องรัฐ มาตรา 57(2) รัฐตอ้ งอนรุ ักษ์ คมุ้ ครอง บารงุ รักษา ฟนื้ ฟู บรหิ าร จดั การ และใชห้ รือจัดใหม้ กี ารใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และความหลากหลายทางชีวภาพ ใหเ้ กดิ ประโยชนอ์ ย่างสมดุลและยงั่ ยนื โดยตอ้ งใหป้ ระชาชนและชมุ ชนในท้องถนิ่ ท่เี กี่ยวข้องมีส่วนรว่ มดาเนินการ และได้รบั ประโยชน์จากการดาเนินการดงั กล่าวด้วยตามที่กฎหมายบัญญตั ิ 1.2 พระราชบญั ญตั ิการสาธารณสุข พ.ศ.2535 เป็นกฎหมายที่มีเนื้อหาครอบคลุมปญั หาดา้ นสาธารณสุขสง่ิ แวดล้อม เพื่อคุ้มครองสุขภาพ อนามัยของประชาชนเป็นสาคัญ มกี ารกระจายอานาจในการบังคับใช้กฎหมายลงสู่องค์กรในระดับท้องถิน่ ท่ีถือว่า เปน็ หนว่ ยงานท่ีใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด โดยมเี จา้ พนักงานท้องถ่นิ และเจ้าพนักงานสาธารณสุข เป็นกลไก ของรัฐในการกากบั ดูแลเปน็ สาคญั ซึง่ มบี ทบาททแ่ี บง่ แยกอยา่ งชัดเจน กล่าวคอื ในการควบคุมดแู ลใหเ้ ป็นไปตาม กฎหมายในระดับท้องถิ่น จะมอบหมายให้เจ้าพนักงาน ท้องถ่ิน เ ป็น ผู้ควบคุมดูแลก าร ประก อบกิ จก าร ที่เ ป็น อันตรายตอ่ สขุ ภาพ หรือกิจกรรมก่อใหเ้ กิดเหตรุ าคาญรบกวนแกป่ ระชาชนใหม้ กี ารปฏิบัตติ ามกฎหมาย โดยมเี จ้า พนักงานสาธารณสขุ ซง่ึ เปน็ เจ้าพนกั งานสายวิชาการเป็นผใู้ หค้ าชว่ ยเหลือแนะนา สาระสาคัญของ พระราชบัญญัติการสาธารสุข พ.ศ.2535 ที่เก่ียวข้องกับปัญหามลพิษ สิ่งแวดล้อม อาทิ หมวด 3 การกาจัดส่ิงปฏิกูลและมูลฝอย หมวด 5 เหตุราคาญ และ หมวด 7 กิจการท่ีเป็น อันตรายต่อสขุ ภาพ (1) มาตรา 4 กาหนดให้บุคคลตอ่ ไปน้ีเปน็ “เจ้าพนกั งานท้องถ่ิน” (1.1) นายกองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั สาหรับในเขตองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด (1.2) นายกเทศมนตรีสาหรับในเขตเทศบาล (1.3) นายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบลสาหรับในเขตองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล (1.4) ผวู้ ่าราชการกรุงเทพมหานครสาหรบั ในเขตกรุงเทพมหานคร (1.5) นายกเมอื งพทั ยาสาหรับในเขตเมืองพทั ยา (1.6) ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอื่น สาหรับในเขตองค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ินน้ัน (2) มาตรา 4 ให้ความหมายของ “เจ้าพนักงานสาธารณสุข” ว่า เจ้าพนักงานซ่ึงได้รับ แต่งตงั้ ให้ปฏบิ ัตกิ ารตามพระราชบญั ญัตนิ ี้

2 (3) หมวด 5 เหตุราคาญ มาตรา 25 ในกรณีที่มีเหตุอันอาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนแกผ่ ู้ อยอู่ าศัยในบริเวณใกล้เคยี งหรอื ผ้ทู ีต่ ้องประสบกบั เหตนุ น้ั ดงั ต่อไปน้ี ให้ถอื ว่าเป็นเหตรุ าคาญ ไดแ้ ก่ (3.1) แหล่งนา้ ทางระบายน้า ท่อี าบน้า สว้ ม หรอื ที่ใสม่ ูลหรอื เถา้ หรือสถานท่อี น่ื ใด ซึง่ อยู่ในทาเลไม่เหมาะสม สกปรก มีการสะสมหรือหมักหมมส่ิงของมีการเททิ้งสิ่งใดเป็นเหตุให้มีกล่ินเหม็นหรือ ละอองสารเป็นพิษ หรือเป็นที่น่าจะเปน็ ท่ีเพาะพนั ธุ์พาหะนาโรค หรือก่อให้เกดิ ความเสื่อมหรอื อาจเป็นอนั ตราย ตอ่ สขุ ภาพ (3.2) การเลย้ี งสัตวใ์ นที่หรือโดยวธิ ใี ด หรอื มีจานวนเกินสมควรจนเป็นเหตุให้เสื่อมหรือ อาจเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ (3.3) อาคารอันเป็นที่อยู่ของคนหรือสัตว์ โรงงานหรือสถานที่ประกอบการใดไม่มีการ ระบายอากาศ การระบายน้า การกาจัดส่ิงปฏิกูล หรือการควบคุมสารเป็นพิษหรือมีแต่ไม่มีการควบคุมให้ ปราศจากกล่นิ เหม็นหรอื ละอองสารเป็นพิษอยา่ งพอเพยี งจนเปน็ เหตใุ ห้เส่ือมหรืออาจเป็นอันตรายตอ่ สขุ ภาพ (3.4) การกระทาใดๆ อนั เปน็ เหตุให้เกิดกลิ่น แสง รังสี เสยี ง ความร้อน ส่ิงมพี ษิ ความ สนั่ สะเทือน ฝุน่ ละออง เขม่า เถา้ หรอื กรณอี ่ืนใด จนเปน็ เหตใุ ห้เสื่อมหรืออาจเปน็ อันตรายตอ่ สขุ ภาพ (3.5) เหตุอื่นใดทรี่ ฐั มนตรีกาหนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ภาพประกอบ สรปุ ลักษณะของเหตรุ าคาญ “องคป์ ระกอบของเหตรุ ำคำญ ตอ้ งมกี ำรกระทำท่อี ำจก่อให้เกดิ ควำมเดอื ดร้อนแก่ผอู้ ยู่อำศัยใน บริเวณใกล้เคียง (หรือผู้ท่ีต้องประสบกับเหตุนั้น) และควำมเดือดร้อนน้ันต้องเป็นเหตุให้เส่ือมหรืออำจเป็น อนั ตรำยต่อสุขภำพ” (4) หมวด 7 กิจการทเ่ี ปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ (4.1) มาตรา 31 กาหนดให้รฐั มนตรมี ีอานาจในราชกจิ จานุเบกษา กาหนดให้กจิ การใด เปน็ กิจการที่เปน็ อนั ตรายต่อสขุ ภาพ

3 (4.2) มาตรา 32 กาหนดใหร้ าชการส่วนทอ้ งถนิ่ มีอานาจออกขอ้ กาหนดของท้องถน่ิ (1) กาหนดประเภทของกิจการท่ีเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ตามมาตรา 31 บางกิจการหรือทุกกิจการให้เป็นกิจการท่ี ต้องมีการควบคุมภายในท้องถ่ินนั้น และ (2) กาหนดหลักเกณฑ์และเง่ือนไขทั่วไปสาหรับให้ผู้ดาเนนิ กิจการตาม (1) ปฏบิ ตั เิ กยี่ วกับการดูแลสภาพหรือสขุ ลกั ษณะของสถานที่ที่ใช้ดาเนนิ กจิ การและมาตรการป้องกนั อันตรายต่อ สขุ ภาพ ซ่ึงกาหนดประเภทกจิ การท่เี ปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพโดยสรุป ดังน้ี - กจิ การทเ่ี กย่ี วกับสัตวเ์ ลี้ยง - กิจการทเี่ กีย่ วกบั สัตวแ์ ละผลิตภณั ฑ์ - กิจการท่ีเก่ียวกับอาหาร เคร่ืองดื่ม น้าด่ืม ยกเว้นในสถานที่จาหน่ายอาหาร การเร่ขาย การขายในตลาด และการผลิตเพือ่ บริโภคในครวั เรอื น - กจิ การเกยี่ วกับยา เวชภัณฑ์ อปุ กรณก์ ารแพทย์ เครือ่ งสาอาง ผลิตภัณฑ์ทา ความสะอาด - กิจการที่เกี่ยวกบั การเกษตร - กจิ การท่เี ก่ียวกบั โลหะหรือแร่ - กิจการที่เก่ียวกบั ยานยนต์ เครอื่ งจกั รหรือเครือ่ งกล - กิจการทเี่ กี่ยวกบั ไม้หรอื กระดาษ - กจิ การทีเ่ กย่ี วกับการบรกิ าร - กจิ การที่เก่ียวกบั สงิ่ ทอ - กิจการทเ่ี กี่ยวกบั หนิ ดนิ ทราย ซีเมนต์ หรอื วตั ถทุ ่คี ลา้ ยคลงึ - กิจการที่เกี่ยวกับปโิ ตรเลียม ปโิ ตรเคมี ถ่านหิน ถา่ นโค้ก และสารเคมีต่างๆ - กิจการอืน่ ๆ 1.3 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 เป็นกฎหมายที่กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการกากับดูแลการประกอบกิจการโรงงาน อุตสาหกรรมทุกประเภท (107 ประเภท) และมีการกาหนดมาตรการเพ่อื จัดการกับผู้ประกอบกิจการโรงงานที่ฝ่า ฝนื หรือไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายน้ี ตลอดจนในกรณีที่การประกอบกิจการท่ีมีสภาพอันอาจก่อให้เกิดอันตรายความ เสยี หายหรือความเดือดร้อนแก่บคุ คลหรอื ทรพั ย์สนิ ทอ่ี ยู่ในโรงงานหรือใกล้เคยี งกับโรงงาน มีหน่วยงานสาคัญท่ีมี อานาจกากับดูแลตรวจสอบการประกอบกิจการโรงงานเพื่อบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายฉบับนี้ ได้แก่ กรม โรงงานอุตสาหกรรม สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กทม. เมืองพัทยา และ เทศบาล) โดยมีพนกั งานเจา้ หนา้ ทีเ่ ป็นกลไกของรฐั ในการกากบั ดแู ล บทบัญญัติตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2562 ประกอบด้วย หมวด 1 การประกอบ กิจการโรงงาน หมวด 2 การกากบั และดูแลโรงงาน หมวด 3 บทกาหนดโทษ และบทเฉพาะกาล ทั้งน้ี มีพระราชบัญญัตโิ รงงาน ฉบับแก้ไขใหม่ คือ ฉบบั ท่ี 2 และฉบับที่ 3 ซึง่ มีสาระสาคัญ ประการหนึง่ เกี่ยวกบั การแก้ไขขอบเขตการเป็นโรงงาน จากเดมิ ตอ้ งมีเครอื่ งจกั ร 5 แรงม้า หรือคนงาน 7 คน มา เป็น 50 แรงมา้ หรือคนงาน 50 คน (“โรงงาน” หมายความวา่ อาคาร สถานท่ี หรอื ยานพาหนะทใี่ ชเ้ ครื่องจักรมี กาลังรวมตั้งแต่ 50 แรงม้าหรือกาลังเทียบเท่าต้ังแต่ 50 แรงม้าข้ึนไป หรือใช้คนงานตั้งแต่ 50 คนข้ึนไป โดยใช้ เครื่องจักรหรือไม่ก็ตามเพ่ือประกอบกิจการโรงงาน ทั้งน้ี ตามประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กา หนดใน กฎกระทรวง) พร้อมท้ังมีการกาหนดให้ผู้ตรวจสอบเอกชนท่ีมาตรวจสอบโรงงานหรือเคร่ืองจักรแทนพนักงาน เจ้าหน้าที่ได้ โดยผู้ตรวจสอบเอกชนนั้นจะต้องได้รับอนุญาตตรวจสอบรับรองจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมก่อน และการกากับดูแลผู้ตรวจสอบเอกชนที่มีความเข้มงวด กล่าวคือ หากผู้ตรวจสอบเอกชนจัดทารายงานเท็จ จะมี โทษจาคุกหรือปรับ หรือท้ังจาท้ังปรับ สาหรับพระราชบัญญัติโรงงาน ฉบับที่ 3 พ.ศ.2562 ซึ่งมีผลบังคับใชว้ นั ท่ี

4 27 ตุลาคม 2562 มีสาระสาคัญเพ่ิมเติมที่สาคัญประการหนึ่งเก่ียวกับอานาจหน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถ่ิน 1.4 กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องในการด้าเนินงานการติดตามตรวจสอบแหล่งก้าเนิดมลพิษและ บังคับการตามกฎหมาย (1) กาหนดมาตรฐานควบคมุ การระบายมลพษิ จากแหลง่ กาเนดิ มลพษิ (มาตรา 55) (2) กาหนดประเภทแหล่งกาเนิดมลพิษท่ีจะต้องถูกควบคุมการปล่อยมลพิษออกสู่ สิ่งแวดล้อม (มาตรา 68 และมาตรา 69) (3) การตรวจสอบและควบคมุ โดยพนกั งานเจา้ หน้าท่ี (มาตรา 65-มาตรา 67) (4) เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ (มาตรา 80-มาตรา 87) 1.5 ประเภทแหล่งก้าเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คณุ ภาพส่งิ แวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ.2535 (1) มลพิษทางน้า ได้แก่ อาคารบางประเภท โรงงานและนิคมอุตสาหกรรม ที่ดินจัดสรร การเล้ียงสุกร สถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิง บ่อเพาะเล้ียงสัตว์น้าชายฝั่ง ท่าเทียบเรือประมง สะพานปลา และ กิจการแพปลา บอ่ เพาะเล้ียงสตั วน์ า้ กรอ่ ย บอ่ เพาะเล้ยี งสตั วน์ ้าจดื และระบบบาบดั นา้ เสยี รวมของชุมชน (2) มลพษิ ทางอากาศ ไดแ้ ก่ โรงไฟฟา้ โรงไฟฟ้าเกา่ โรงไฟฟา้ แมเ่ มาะ โรงงานเหล็ก เตาเผา ศพ เตาเผามูลฝอย โรงงานปูนซีเมนต์ ท่าเรือ โรงโม่ บด หรือย่อยหิน เตาเผามูลฝอยติดเชื้อ คลังน้ามันเชื้อเพลงิ โรงสขี ้าว สถานประกอบกจิ การหลอมและต้มทองคา และสถานประกอบกิจการทใี่ ชห้ มอ้ ไอน้า (3) มลพิษทางเสยี งและความสนั่ สะเทือน ได้แก่ เหมืองหิน 1.6 เจา้ พนกั งานควบคมุ มลพษิ ทาหน้าท่ี (1) ตรวจสอบแหล่งกาเนิดมลพิษตามท่ีรัฐมนตรีประกาศกาหนดประเภทแหล่งกาเนิด มลพษิ และกาหนดมาตรฐานควบคมุ การระบายมลพิษจากแหลง่ กาเนิด (2) บังคับใช้กฎหมายกับผ้ทู ีฝ่ ่าฝนื กฎหมาย (ทางปกครอง อาญา และแพ่ง) (3) ประสานกับเจ้าพนักงานตามกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องเพื่อบังคับใช้กฎหมาย และ/หรือให้ คาปรกึ ษาแนะนา 1.7 ประเด็นการบังคบั ใช้กฎหมาย 1.7.1 การตรวจสอบแหล่งกาเนิดมลพษิ ทางนา้ ตามมาตรา 69 (1) เขา้ ข่ายแหล่งกาเนิดมลพษิ (2) มีระบบบาบัดน้าเสียเป็นของตนเองและมีการระบายน้าท้ิง ไม่เป็นไปตาม มาตรฐาน (3) ไม่มรี ะบบบาบดั นา้ เสยี : มีการจัดการมลพิษทางนา้ อย่างไร ลกั ลอบปลอ่ ยนา้ เสีย ลงระบบบาบัดน้าเสียรวมหรอื สิง่ แวดลอ้ มหรอื ไม่ 1.7.2 การตรวจสอบการปฏบิ ัติตามมาตรา 80 (1) การบนั ทกึ ขอ้ มลู ตามแบบ ทส.1 (2) การบนั ทกึ ข้อมูลตามแบบ ทส.2 1.8 มาตรการบังคับทางปกครอง กรณีฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามค้าสั่งเจ้าพนักงานควบคุม มลพษิ ปรับรายวัน ตามมาตรา 58 ตามพระราชบญั ญัติวธิ ีปฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 (1) แนะนาตัวและแจ้งเหตแุ ห่งการเขา้ ตรวจสอบ (2) ใบอนญุ าตที่เก่ียวข้อง : เข้าข่ายเป็นแหล่งกาเนิดมลพิษหรือไม่ (3) ข้อมลู ระบบบาบัดน้าเสีย (4) การเกบ็ ตวั อย่างน้าทง้ิ : กรณที ีแ่ หล่งกาเนิดมีการระบายนา้ ทง้ิ ออกสู่ภายนอก

5 (5) การปฏบิ ตั ิตามกฎกระทรวงมาตรา 80 : แบบบนั ทึกทส.1 และหลักฐานการรายงาน ทส.2 ล่าสุด 1.9 การด้าเนินการตามกฎกระทรวงตามบทบัญญัติในมาตรา 80 แห่งพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรกั ษาคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535 1.9.1 สาระสาคญั ของกฎกระทรวงฯ (1) เขา้ ขา่ ยแหลง่ กาเนิดมลพษิ ตามที่กฎหมายกาหนด (2) มีระบบบาบัดน้าเสียเป็นของตนเอง ซง่ึ หมายความถงึ มีกระบวนการบาบดั นา้ เสีย และใหห้ มายรวมถงึ ท่อ ส่ิงปลกู สร้าง เคร่ืองมือ เคร่อื งใช้ อุปกรณ์ และวสั ดุท่จี าเปน็ ต้องใช้ในการบาบัดน้าเสียของ ระบบบาบัดนา้ เสยี ด้วย 1.9.2 เจา้ ของหรอื ผูค้ รอบครองแหลง่ กาเนดิ มลพิษหรอื ผูค้ วบคุมระบบบาบัดนา้ เสียหรอื ผู้ รบั จ้างใหบ้ รกิ ารบาบัดน้าเสีย มีหน้าที่ (1) จัดเก็บสถิตแิ ละข้อมูลซ่ึงแสดงผลการทางานของระบบบาบดั นา้ เสยี ในแต่ละวนั ตามแบบ ทส. 1 และจัดเก็บไว้ ณ สถานท่ีตงั้ แหล่งกาเนิดมลพิษนั้นเปน็ เวลา 2 ปี (2) จัดทารายงานสรุปผลการทางานของระบบบาบัดนา้ เสียในแตล่ ะเดอื น ตามแบบ ทส. 2 เสนอต่อ เจา้ พนักงานท้องถิ่น ภายในวนั ที่ 15 ของเดอื นถดั ไป 1.9.3 เจ้าพนกั งานทอ้ งถ่นิ มีหน้าท่ี (1) รบั รายงานสรปุ ผลการทางานของระบบบาบดั น้าเสยี (แบบ ทส.2) (2) ออกใบรับเพื่อเป็นหลักฐานให้แก่ผู้เสนอรายงานภายใน 7 วันนับแต่วันที่ได้รับ รายงาน (3) รวบรวมรายงานเสนอตอ่ เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษทีม่ ีอานาจในเขตทอ้ งถ่ินนั้น อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ซ่ึงอาจจัดทาความเหน็ เพอ่ื ประกอบการพิจารณาของเจ้าพนกั งานควบคุมมลพิษเสนอ ไปพร้อมกบั รายงานทร่ี วบรวมส่งไปนัน้ ดว้ ยกไ็ ด้ 1.9.4 เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ มีหน้าท่ี เก็บรวบรวมรายงานและใช้เป็นข้อมูลในการ ดาเนินการตรวจสภาพการทางานของระบบบาบัดน้าเสียหรืออุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ รวมท้ังตรวจบันทึก รายละเอียด สถิติหรือข้อมูลเก่ียวกับการทางานของระบบหรืออุปกรณ์และเคร่ืองมือดังกล่าวหรือเมื่อมีเหตุอัน สมควรสงสัยว่ามกี ารไมป่ ฏิบัตติ ามพระราชบัญญตั สิ ่งเสริมและรักษาคณุ ภาพส่งิ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 1.9.5 บทลงโทษ (1) มาตรา 104 เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 80 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หนง่ึ ปี หรือปรับไม่เกินหนง่ึ แสนบาท หรือทั้งจาทง้ั ปรับ (2) มาตรา 106 เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษ ผู้ควบคุมหรือ ผู้รับ จ้างให้บริการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียผู้ใดไม่จัดเก็บสถิติ ข้อมูล หรือไม่ทาบันทึกหรือรายงานตามมาตรา 80 ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไม่เกนิ หนึง่ เดอื น หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ หน่ึงหมน่ื บาท หรือทั้งจาทัง้ ปรบั (3) มาตรา 107 ผู้ควบคมุ หรอื ผูร้ ับจ้างให้บรกิ ารผู้ใดทาบันทึกหรือรายงานใดที่ตนมี หนา้ ที่ตอ้ งทาตามพระราชบัญญตั นิ ี้ โดยแสดงขอ้ ความอนั เปน็ เท็จ ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไม่เกนิ หนึ่งปี หรือปรับไม่ เกนิ หน่ึงแสนบาท หรือทง้ั จาทัง้ ปรับ 1.10 การจัดการเรอ่ื งร้องเรียนปัญหามลพษิ กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม พ.ศ.2545 กาหนดให้กรมควบคุมมลพิษมีภารกิจเก่ียวกับการกากับ ดูแล อานวยการ ประสานงาน ติดตามและประเมินผลเกี่ยวกับการฟ้ืนฟู คุ้มครองและรักษาส่ิงแวดล้อม โดยมีอานาจหน้าท่ีสาคัญประการหน่งึ คือดาเนินการเก่ียวกับเรอ่ื งร้องทกุ ข์ด้านมลพิษ และดาเนนิ การตามกฎหมายว่าดว้ ยการส่งเสริมและรักษาคณุ ภาพ ส่ิงแวดล้อมแห่งชาติด้านการควบคุมมลพิษ และกฎหมายอื่นท่ีเก่ียวข้อง โดยกฎหมายที่ให้อานาจกรมควบคุม

6 มลพิษดาเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนด้านมลพิษ ได้แก่ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 ซ่ึงเป็นกฎหมายหลักท่ีเกย่ี วกับการป้องกัน ควบคุม และแก้ไขปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม โดยกาหนดอานาจหน้าที่ระหว่างส่วนราชการให้เกิดการประสานงานและทาหน้าท่ีร่วมกันในการส่งเสริมและ รักษาคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม สานกั งานสง่ิ แวดล้อมภาคท่ี 16 (สงขลา) ในฐานะหนว่ ยงานท่ีมีหนา้ ที่สาคัญประการหน่ึง คือ เนินการเกี่ยวกับเร่ืองร้องทุกข์ด้านมลพิษ จึงได้สรุปการแนวทางปฏิบัติงานด้านการจัดการเร่ืองร้องเรียน ปัญหามลพิษข้ึน เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการเร่ืองร้องเรียนของเจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงาน เพื่อเป็นแนวทาง สาหรับเจ้าหน้าที่ในการจัดการเร่ืองร้องเรียนของส่วนท่ีเก่ียวข้อง ให้มีมาตรฐานถือปฏิบัติเป็นแนวทางเดียวกัน ตามระยะเวลาที่กาหนด 1.10.1 ขอบเขต ครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนการรับแจ้งเรื่องร้องเรียนจากประชาชน การ ดาเนินการเรอื่ งร้องเรยี นทั้งกรณีตรวจสอบข้อเท็จจริงและกรณีประสานหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง การติดตามผลการ ดาเนินงานและการยตุ ิเรือ่ งรอ้ งเรยี น 1.10.2 หนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ (1) ผู้บรหิ ารหน่วยงาน เปน็ ผูว้ นิ ิจฉัย/สั่งการใหม้ ีการรับเรอ่ื งรอ้ งเรียน ตรวจสอบ ข้อเท็จจริง ประสานหน่วยงานที่เก่ียวข้อง และพิจารณาผลการตรวจสอบข้อเท็จจริง การติดตามผล ลงนามใน หนงั สอื ขออนมุ ัตยิ ุติเรอ่ื งและการแจ้งผู้รอ้ งเรียน (2) เจ้าหน้าที่ส่วนที่ได้รับมอบหมาย ทาหน้าท่ีช้ีแจงอานาจหน้าท่ี ให้คาแนะนา ช่องทางหน่วยงานที่มีอานาจจัดการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน รับแจ้งเร่ืองร้องเรียนจากประชาชน ดาเนินการ ตรวจสอบข้อเท็จจรงิ และดาเนินการในฐานะเจา้ พนกั งานควบคุมมลพษิ และประสานขอความร่วมมอื หนว่ ยงานท่ี เกีย่ วข้องเพื่อดาเนินการตามอานาจหนา้ ท่ี รวมทั้งติดตามผลการดาเนนิ การ และประสานผรู้ ้องเรียน (3) ฝ่ายคุณภาพส่งิ แวดล้อมและหอ้ งปฏิบัติการ เป็นผู้ตรวจวเิ คราะห์ตวั อย่างทาง ห้องปฏิบตั ิการ (4) กองนิตกิ าร เปน็ ผู้ดาเนินการมาตรการบังคับทางปกครอง กรณเี รอื่ งรอ้ งเรียน เป็นแหลง่ กาเนดิ มลพิษตามพระราชบัญญัติสง่ เสรมิ และรกั ษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มกี ารฝ่า ฝืนหรือไมป่ ฏบิ ัติตามคาส่งั 1.10.4 คา้ จ้ากัดความ (1) การร้องเรียน หมายถึง การท่ีประชาชนบอกเล่าเรื่องราวต่อหน่วยงานของรัฐ เพื่อขอให้ช่วยเหลือ แก้ไข บรรเทาความเดือดร้อน หรือตรวจสอบข้อเท็จจริง อันเนื่องมาจากการได้รับความ เดือดรอ้ น ความไมเ่ ป็นธรรมหรอื พบเหน็ การกระทาผดิ กฎหมาย (2) มลพิษ หมายถึง ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอ่ืนๆ รวมท้ังกากตะกอน หรือส่ิงตกค้างจากสิ่งเหล่าน้ันที่ถูกปล่อยทิ้งจากแหล่งกาเนิดมลพิษ หรือที่มีอยู่ในส่ิงแวดล้อมตามธรรมชาติ ซ่ึง ก่อให้เกิดหรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็นพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัย ของประชาชนได้ และให้หมายความรวมถึง รังสี ความร้อน แสง เสียง กลิ่น ความส่ันสะเทือน หรือเหตุราคาญ อน่ื ๆ ทเ่ี กดิ หรือถูกปลอ่ ยออกจากแหลง่ กาเนิดมลพิษ (3) การจัดการเร่ืองร้องเรียนปัญหามลพิษ หมายถึง การรับแจ้งเรื่องร้องเรียน ความเดือดร้อนจากปัญหามลพิษจากประชาชน การดาเนินการเร่ืองร้องเรียนท้ังกรณีตรวจสอบข้อเท็จจริงและ กรณีประสานหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง รวมถงึ การตดิ ตามผลการดาเนนิ การแกไ้ ขปญั หา และการแจ้งตอบผูร้ ้องเรียน เพื่อยตุ ิปญั หาการรอ้ งเรียน

7 1.11 แหล่งก้าเนิดมลพิษที่ถูกควบคุมตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ ส่งิ แวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ.2535 ได้แก่ (1) การปล่อยน้าเสียจากอาคารขนาดใหญ่ ตลาด ร้านอาหารที่ดินจัดสรร ฟาร์มสุกร สถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิง เป็นต้น และการปล่อยมลพิษทางอากาศ เช่น กล่ินเหม็นจากโรงงานอุตสาหกรรม ฝนุ่ ละอองจากโรงสขี า้ ว เปน็ ตน้ (2) โรงงานอุตสาหกรรม หรือเขตประกอบการอุตสาหกรรม ปล่อยน้าเสีย อากาศเสีย หรอื ก่อใหเ้ กดิ เสียงดงั และความสัน่ สะเทอื น (3) นิคมอุตสาหกรรม หรือโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม ปล่อยน้าเสีย อากาศเสีย หรือ ก่อให้เกิดเสยี งดงั และความสัน่ สะเทอื น (4) การลักลอบท้ิงวัตถุอันตราย เช่น มีภาชนะบรรจุสารเคมีมาท้ิงในท่ีสาธารณะ หรือมี การรัว่ ไหลของสารเคมี (5) การปลอ่ ยนา้ เสีย การเท หรือทง้ิ เคมีภณั ฑ์ นา้ มนั ลงสแู่ ม่นา้ ลาคลอง หรอื น้าทะเล (6) กรณีการกระทาใดๆ ท่ีก่อให้เกิดเหตุเดือดร้อนราคาญ เช่น เสียงดังจากร้านอาหาร/ สถานประกอบการ (7) เสียงดัง ฝุ่นละอองจากการก่อสร้างอาคาร/ถนน กล่ินเหม็นจากการเล้ียงสัตว์ กอง ขยะ/ควันจากการเผาไหม้ การเผาถ่าน และการเผามลู ฝอย 1.12 การด้าเนินงานเร่ืองร้องเรยี นตามลักษณะปญั หาเร่ืองร้องเรียน หน่วยงานที่รับแจ้งเหตุ ดาเนินการเรื่องร้องเรยี นตามลักษณะปัญหาดงั นี้ ลักษณะปัญหาเร่ืองรอ้ งเรียน สว่ นท้องถนิ่ หน่วยงานรบั แจง้ เหตุ ส่วนกลาง สว่ นภมู ิภาค แหลง่ กาเนิดมลพษิ ที่ถูกควบคุมตามพระราชบญั ญตั ิ - เทศบาล/อบต. - สานกั งานสง่ิ แวดล้อมภาค - กรมควบคมุ มลพษิ ส่งเสริมและรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ. - สานกั งานเขต (เฉพาะพน้ื ท่ี - สานกั งาน 2535 เช่น การปลอ่ ยน้าเสยี จากอาคารขนาดใหญ่ กทม.) ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ตลาด รา้ นอาหารท่ีดินจดั สรร ฟาร์มสกุ ร สถานี สิ่งแวดล้อมจังหวัด บรกิ ารน้ามนั เช้อื เพลิง เปน็ ตน้ และการปล่อย - ศูนยด์ ารงธรรมจงั หวัด มลพษิ ทางอากาศ เชน่ กลิน่ เหมน็ จากโรงงาน อตุ สาหกรรม ฝ่นุ ละอองจากโรงสขี า้ ว เป็นต้น โรงงานอุตสาหกรรม หรอื เขตประกอบการ - เทศบาล/อบต. - สานกั งานอุตสาหกรรม - กรมโรงงานอุตสาหกรรม อตุ สาหกรรม ปลอ่ ยน้าเสีย อากาศเสยี หรอื - สานกั งานเขต (เฉพาะพน้ื ที่ จังหวัด - กรมควบคุมมลพิษ กอ่ ให้เกิดเสยี งดงั และความส่ันสะเทอื น กทม.) - สานกั งานสิ่งแวดล้อมภาค - สานกั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมจงั หวดั - ศูนย์ดารงธรรมจงั หวดั นิคมอุตสาหกรรม หรือโรงงานในนคิ มอตุ สาหกรรม - - นิคมอตุ สาหกรรมนน้ั ๆ - การนิคมอตุ สาหกรรม ปล่อยน้าเสีย อากาศเสยี หรอื ก่อใหเ้ กิดเสียงดงั และ - สานักงานสิ่งแวดลอ้ มภาค แห่งประเทศไทย ความสน่ั สะเทือน - สานักงาน - กรมควบคมุ มลพษิ ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดลอ้ มจังหวดั - ศนู ยด์ ารงธรรมจังหวัด การลักลอบทง้ิ วัตถอุ นั ตราย เช่น มภี าชนะบรรจุ - สถานีตารวจภูธร - สานกั งานอตุ สาหกรรม - กรมโรงงานอตุ สาหกรรม สารเคมมี าทง้ิ ในที่สาธารณะ หรอื มีการรัว่ ไหลของ - เทศบาล/อบต. จงั หวดั - กรมควบคุมมลพษิ สารเคมี - สานักงานเขต (เฉพาะพน้ื ที่ - ศนู ย์ดารงธรรมจงั หวัด กทม.) การปล่อยนา้ เสยี การเท หรอื ท้ิงเคมภี ัณฑ์ นา้ มันลง - เทศบาล/อบต. - กรมเจา้ ทา่ - กรมโรงงานอุตสาหกรรม สู่แม่นา้ ลาคลอง หรอื นา้ ทะเล - สานักงานเขต (เฉพาะพน้ื ท่ี - กรมควบคมุ มลพษิ - กรมควบคมุ มลพษิ กทม.)

8 ลักษณะปัญหาเรื่องรอ้ งเรียน สว่ นท้องถิ่น หน่วยงานรบั แจ้งเหตุ สว่ นกลาง - กรมควบคมุ มลพษิ กรณกี ารกระทาใดๆ ทกี่ ่อให้เกดิ เหตุเดอื ดร้อน - เทศบาล/อบต. สว่ นภมู ิภาค ราคาญ (3) เช่น - สานักงานเขต (เฉพาะพ้นื ที่ - เสยี งดงั จากร้านอาหาร/สถานประกอบการ กทม.) - กรมทรพั ยากรทางทะเล - เสียงดัง ฝ่นุ ละอองจากการก่อสรา้ งอาคาร/ถนน และชายฝั่ง - กลน่ิ เหม็นจากการเลย้ี งสตั ว์ กองขยะ/ควันจาก การเผาไหม้ การเผาถ่าน และการเผามูลฝอย - สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัด - กรมทรพั ยากรทางทะเล และชายฝ่ัง

9 2. สว่ นยุทธศาสตร์สงิ่ แวดลอ้ ม 2.1 การประเมนิ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA) (1) เป็นการคาดการณเกี่ยวกับผลกระทบในทางบวกและทางลบของโครงการพฒั นาท่ีจะมี ต่อสภาพแวดล้อมในทุกๆ ดา้ น การพจิ ารณาและเสนอมาตรการที่จะใช้ในการลดและปอ้ งกนั ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและ วางแผนการติดตามตรวจสอบผลกระทบสงิ่ แวดล้อมของโครงการเพ่อื ป้องกนั และลดผลเสยี หายที่จะเกดิ ขึ้น (2) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม หมายความวา่ กระบวนการศึกษาและประเมินผลท่ี อาจเกิดขึ้นจากการดาเนินโครงการหรือกิจการหรือการดาเนินการใดของรั ฐหรือท่ีรัฐจะอนุญาตให้มี การ ดาเนินการทีอ่ าจมีผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติ คณุ ภาพส่งิ แวดล้อม สุขภาพ อนามัย คณุ ภาพชีวติ หรือสว่ น ไดเสยี อ่นื ใดของประชาชนหรอื ชุมชนทง้ั ทางตรงและทางออม โดยผา่ นกระบวนการมีสว่ นรว่ มของประชาชน เพ่ือ กาหนดมาตรการป้องกันแกไขผลกระทบดังกล่าว ผลการศึกษาเรียกว่า รายงานการประเมินผลกระทบ ส่งิ แวดลอ้ ม (3) ประเด็นท่ีแกไขเพ่ิมเติมจากพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม แหง่ ชาติ พ.ศ.2535 (3.1) กระบวนการ EIA ประกอบด้วย (1) การกล่ันกรองโครงการ (Screening) (2) การกาหนดขอบเขตการศึกษา (Scoping) (3) การประเมินผลกระทบ (Impact Assessment) และการจัดทา รายงาน (EIA Report) (4) การพิจารณารายงาน (Review) (5) การตัดสินใจ (Decision making) และ (6) การ ตดิ ตามและประเมนิ ผล (Monitoring & Evaluation) (3.2) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ EIA ปัจจุบัน ได้แก่ เจ้าของโครงการ ประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สถาบันการศึกษา NGOs นิติบุคคลผู้มีสิทธ์ิทารายงาน คณะกรรมการชานาญ การ และหนว่ ยงานอนญุ าต (4) การประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดลอ้ มแหง่ ชาติ (ฉบับที่ 2) (4.1) รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบ้ืองต้น (Initial Environmental Examination : IEE) กรณขี นาดเล็ก อย่ใู นพนื้ ทอ่ี ่อนไหว อาจจะมผี ลกระทบ (4.2) รายงานการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA) กรณมี ผี ลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มพน้ื ทีท่ ัว่ ไป

10 (4.3) รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมสาหรบั โครงการหรือกิจการหรือการ ดาเนินการท่อี าจมผี ลกระทบตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม สขุ ภาพ อนามยั คณุ ภาพชวี ติ หรอื ส่วน ไดเสยี สาคัญอ่ืนใดของประชาชนหรอื ชุมชนหรอื สงิ่ แวดลอ้ มอย่างรนุ แรง (Environmental and Health Impact Assessment : EHIA) กรณขี นาดใหญ่ ผลกระทบมาก (5) SEA : Strategic Environmental Assessment มาตรา 47 ในกรณีท่ีมีการประเมิน ส่ิงแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ตามระเบียบหรือกฎหมายอื่นใดไวแลว การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้ คานึงถึงผลการประเมินสิ่งแวดลอ้ มระดบั ยุทธศาสตร์ ดงั กล่าวดว้ ย (6) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมมีอานาจออกกฎกระทรวง ว่าด้วยการอนุญาตผู้จัดทารายงาน เพิ่มค่าธรรมเนียมใบอนุญาตจาก 4,000 บาท/ปี เป็น 5,000 บาท/ป คา่ ธรรมเนยี มคาขอรับใบอนญุ าต 40 บาท (7) การพิจารณารายงาน (Review) (7.1) โครงการของรัฐหรือรัฐร่วมเอกชนท่ีต้องเสนอคณะรัฐมนตรี (มาตรา 49) สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ คณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ และคณะรัฐมนตรี โดยมีบุคคลหรือสถาบนั เสนอรายงาน/ความเหน็ โดยไมม่ กี าหนดเวลา (7.2) โครงการของรัฐที่ไม่ต้องเสนอคณะรัฐมนตรี และโครงการเอกชน (มาตรา 50, 51/1) สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม พิจารณาภายใน 30 วัน คณะกรรมการ ผู้เช่ียวชาญ พิจารณาภายใน 45 วัน ส่งกลับให้เจ้าของโครงการปรับแก้ไขภายใน 180 วัน และส่งให้ คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญพิจารณาให้ความเห็นชอบภายใน 30 วัน หากเจ้าของโครงการส่งเกินเวลา 180 วัน หรือคณะกรรมการผู้เชีย่ วชาญไมใ่ ห้ความเห็นชอบ เปน็ อนั จบกระบวนการแต่ไม่ตัดสทิ ธใิ์ ห้เสนอรายงานเขา้ มาใหม่ (8) การตัดสินใจ (Decision making) ให้หน่วยงานอนุญาตนามาตรการที่กาหนดไวใน รายงานไปกาหนดเป็นเง่อื นไขในการสั่งอนญุ าต ให้นารายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการไปกาหนดเป็นเงอื่ นไข ในการต่ออายุใบอนุญาตด้วยกาหนดกรอบเวลาในการนารายงานที่ได รับความเห็นชอบไปขออนุมัติ/อนุญาต ภายใน 5 ปี (9) การติดตามและประเมนิ ผล (Monitoring & Evaluation) กาหนดกลไกการรายงานผล monitor กาหนดโทษปรับไมเกิน 1 ล้านบาท กรณีไมส่งรายงาน monitor กรณีท่ีปรากฏการหลีกเล่ียงหรอื ไม ปฏบิ ตั ิตามมาตรการ ให้สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเสนอแนะหน่วยงานของ รัฐหรือหนว่ ยงานอนุญาตใหด้ าเนนิ การทางกฎหมายเพ่อื บังคับใหผ้ ู้ดาเนนิ การปฏิบตั ิตามมาตรการใหถ้ ูกตอ้ ง และ ให้หน่วยงานฯ แจ้งผลการดาเนินการให้สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทราบ ภายใน 90 วัน (10) การเปลี่ยนแปลงในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับท่ี 2)

11 2.2 กองทุนสิง่ แวดล้อม (1) กองทุนสิ่งแวดล้อม จัดต้ังขึ้นในกระทรวงการคลัง ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและ รักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 เพ่ือเป็นกลไกทางการเงินท่ีสร้างแรงจูงใจให้ส่วนราชการ องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน องค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมเข้ามามีส่วนร่วมในการปอ้ งกันและ รักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ ตามหลักการผู้ก่อให้เกิดมลพิษเป็นผู้จ่ายโดยให้ การสนบั สนุนเงนิ ทัง้ ในลกั ษณะเงินอดุ หนนุ และเงนิ กู้ (2) องค์กรและกลไกการบรหิ ารกองทุน (2.1) คณะกรรมการบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 ได้กาหนดองค์กรและกลไกการบริหารจัดการกองทุนสิ่งแวดล้อม อยู่ ภายใต้การกากบั ดูแลของคณะกรรมการ จานวน 2 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแหง่ ชาติ เป็นกรรมการ ในระดับนโยบายที่มีหน้าท่ีกากับการบริหารงานกองทุนส่ิงแวดล้อมของคณะกรรมการกองทุนส่ิงแวดล้อม และ คณะกรรมการกองทุนส่ิงแวดล้อม เป็นกรรมการระดับการบริหารและจัดการกองทุนสิ่งแวดล้อม ซึ่งแต่งต้ังขึ้น ตามมาตรา 24 แห่งพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสริมและรกั ษาคุณภาพสิง่ แวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ.2535 คณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อมอาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพ่ือพิจารณาและ ปฏบิ ัติการอย่างหนงึ่ อยา่ งใดตามทค่ี ณะกรรมการกองทนุ สง่ิ แวดล้อมจะมอบหมายก็ได้ ปัจจุบันคณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม ได้มีการแต่งต้ังคณะอนุกรรมการ เพื่อทา หน้าที่กล่ันกรองโครงการท่ีเสนอขอรับการสนับสนุนเงินจากกองทุนสิ่งแวดล้อม รวม 2 คณะ คือ 1) คณะอนุกรรมการกล่ันกรองโครงการด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ 2) คณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการดา้ นการจัดการมลพิษ (2.2) องค์กรและกลไกการสนับสนุนการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ฝ่ายเลขานุการ คณะกรรมการกองทุนส่ิงแวดล้อม ซึ่งทาหน้าที่โดยสานักงานกองทุนสิ่งแวดล้อม หน่วยงานในสังกัดสานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ทาหนา้ ทฝี่ ่ายเลขานุการคณะกรรมการกองทุนสงิ่ แวดล้อม และบริหารจัดการกองทุนส่งิ แวดลอ้ ม ร่วมกับผู้จัดการกองทุนส่ิงแวดลอ้ ม ซงึ่ ไดร้ บั การแต่งตง้ั จากคณะกรรมการ กองทุนส่ิงแวดลอ้ ม ผู้จัดการกองทุนสิ่งแวดล้อม ทาหน้าท่ีโดยกรมบัญชีกลาง โดยกองกากับและพัฒนา ระบบเงินนอกงบประมาณ อยู่ภายใต้การดาเนินงานของกรมบัญชีกลาง ทาหน้าที่ในการเก็บรักษาเงินและ ทรัพย์สินของกองทุนสิ่งแวดล้อม และเป็นผู้จัดการเงินให้แก่โครงการของส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วน

12 ท้องถิ่น เอกชน และองค์กรเอกชนด้านส่ิงแวดล้อม ที่ดาเนินกิจกรรมเก่ียวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สง่ิ แวดล้อม และ บมจ. ธนาคารกรุงไทย เป็นผูจ้ ดั การกองทนุ สง่ิ แวดล้อม มหี น้าทอ่ี นุมัตสิ นิ เชอื่ ทาสญั ญากู้ จา่ ย เงินกองทุนให้กับผู้กู้ รับชาระหนี้คืนให้กับกองทุนและรับผิดชอบในหน้ีสูญ และมีหน้าที่จัดสรรเงินกู้ท่ีให้องค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ รฐั วสิ าหกจิ และเอกชน จดั ทาระบบบาบัดนา้ เสีย อากาศเสยี ระบบกาจดั ของเสยี หรอื ติดตั้ง อปุ กรณ์เพ่อื การป้องกันมลพษิ ในสถานประกอบการตนเอง (2.3) ขอบเขตการใชจ้ ่ายเงินกองทนุ - เงินอุดหนนุ แกส่ ว่ นราชการและองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นเพือ่ ก่อสร้างระบบ บาบัดนา้ เสียรวมและของเสียรวม ตามมาตรา 23(1) - เงินกู้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรฐั วิสาหกิจ เพ่ือก่อสร้างระบบบาบดั นา้ เสีย ของเสยี อากาศเสีย สาหรับใชใ้ นกจิ การของตนเอง ตามมาตรา 23(2) - เงินกู้แก่เอกชน เพ่ือก่อสร้างระบบบาบัดน้าเสีย ของเสีย อากาศเสีย หรือ อุปกรณ์อ่ืนใด เพ่ือการควบคุมบาบัดหรือขจัดมลพิษท่ีเกิดจากกิจกรรมหรือการดาเนินกิจการของตนเอง หรือ บุคคลนน้ั ๆ เปน็ ผู้ไดร้ บั ใบอนุญาตรบั จา้ งใหบ้ ริการบาบดั น้าเสีย/ของเสยี รวม ตามมาตรา 23(3) - เงินอุดหนุน แก่ส่วนราชการ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/องค์กรเอกชนด้าน สิ่งแวดล้อม/ภาคเอกชน/ทสม./สภาองค์กรชุมชน/องค์การมหาชน/สถาบันการศึกษาใน สังกั ด กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน/คณะกรรมการหมู่บ้าน เพื่อดาเนนิ กิจกรรมการสง่ เสริมและ รกั ษาคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม ตามมาตรา 23(4) 3. สว่ นเฝา้ ระวังคณุ ภาพส่ิงแวดล้อม 3.1 มาตรฐานคณุ ภาพอากาศและเสียง (1) มาตรฐานคุณภาพอากาศฉบับล่าสุด คือ ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง เคร่ืองวัด และตรวจวดั ค่าเฉล่ยี ของก๊าซหรอื ฝุ่นละอองในบรรยากาศทั่วไประบบอนื่ หรือวธิ ีอน่ื ท่ีกรมควบคมุ มลพิษเห็นชอบ ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม 136 ตอนพิเศษ 259 ง, วนั ที่ 18 ตลุ าคม 2562 (เพม่ิ วิธีการตรวจวดั กา๊ ซและฝนุ่ ประเดน็ หลัก คือ การเพิ่มวิธกี ารตรวจวัดฝุ่น PM10 และ PM2.5 ด้วยวิธีการกระเจิงของแสง (Light Scattering) ทั้งนี้ต้อง เป็นไปตาม Federal Equivalent Method (FEM) ที่ US EPA กาหนด) (2) มาตรฐานคณุ ภาพอากาศในบรรยากาศท่วั ไป สารมลพษิ ค่าเฉล่ียความ ค่ามาตรฐาน วธิ ีการตรวจวดั ทม่ี า เขม้ ขน้ ในเวลา 1. กา๊ ซคารบ์ อนมอนอกไซด์ (CO) 1 ชว่ั โมง ไม่เกนิ 30 ppm Non-Dispersive Infrared 1 (34.2 มก./ลบ.ม.) Detection 8 ช่ัวโมง ไมเ่ กนิ 9 ppm (10.26 มก./ลบ.ม.) 2. ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) 1 ชัว่ โมง ไม่เกนิ 0.17 ppm Cavity Attenuated Phase 1, 4, 9 (0.32 มก./ลบ.ม.) Shift Spectroscopy (CAPS) 1 ปี ไม่เกิน 0.03 ppm (0.057 มก./ลบ.ม.) 3. กา๊ ซโอโซน (O3) 1 ชั่วโมง ไมเ่ กิน 0.10 ppm Ultraviolet Absorption 1, 3, 9 (0.20 มก./ลบ.ม.) Photometry 8 ช่วั โมง ไม่เกนิ 0.07 ppm (0.14 มก./ลบ.ม.) 4. กา๊ ซซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์ (SO2) 1 ปี ไม่เกิน 0.04 ppm Pararosaniline UV- 1, 3, 9 (0.10 มก./ลบ.ม.) Fluorescence 24 ชั่วโมง ไม่เกนิ 0.12 ppm 1 ชั่วโมง (0.30 มก./ลบ.ม.) UV-Fluorescence ไมเ่ กนิ 0.3 ppm (780 มคก./ลบ.ม.)

13 สารมลพษิ คา่ เฉล่ยี ความ คา่ มาตรฐาน วธิ กี ารตรวจวดั ท่ีมา 5. ตะกั่ว (Pb) เข้มข้นในเวลา 1 6. ฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กนิ 100 ไมครอน ไมเ่ กนิ 1.5 มคก./ลบ.ม. Atomic Absorption 1, 3 7. ฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน 1 เดือน Spectrometer 1, 3, 9 ไมเ่ กิน 0.33 มก./ลบ.ม. 8. ฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ 2.5 ไมครอน 24 ชวั่ โมง ไม่เกิน 0.10 มก./ลบ.ม. Gravimetric-High Volume 1, 3, 9 1 ปี ไม่เกิน 0.12 มก./ลบ.ม. ไมเ่ กิน 0.05 มก./ลบ.ม. 1. Gravimetric-High Volume 24 ชว่ั โมง 2. Beta Ray Attenuation 1 ปี ไมเ่ กิน 0.05 มก./ลบ.ม. 3. TEOM ไม่เกนิ 0.025 มก./ลบ.ม. 4. Light Scattering 24 ชั่วโมง 5. Dichotomous Air Sampler 1 ปี 1. Beta Ray Attenuation 2. TEOM 3. Light Scattering 4. Dichotomous Air Sampler ท่มี า : 1. ประกาศคณะกรรมการส่งิ แวดล้อมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 10 (พ.ศ.2538) ลงวนั ท่ี 17 เมษายน 2538 เร่ือง กาหนดมาตรฐานคณุ ภาพอากาศใน บรรยากาศโดยทั่วไป. ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม 112 ตอนท่ี 42ง. วนั ท่ี 25 พฤษภาคม 2538. 2. ประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 21 (พ.ศ.2544) ลงวนั ท่ี 9 เมษายน 2544 เรือ่ ง กาหนดมาตรฐานคา่ กา๊ ซซัลเฟอรไ์ ด ออกไซดใ์ นบรรยากาศโดยทว่ั ไปในเวลา 1 ชวั่ โมง. ราชกิจจานุเบกษา เลม่ 118 ตอนพเิ ศษ 39ง. วนั ที่ 30 เมษายน 2544. 3. ประกาศคณะกรรมการส่งิ แวดล้อมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 24 (พ.ศ.2547) ลงวนั ท่ี 9 สงิ หาคม 2547 เร่ือง กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศใน บรรยากาศโดยทัว่ ไป. ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 121 ตอนพิเศษ 104ง. วันท่ี 22 กันยายน 2547. 4. ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 28 (พ.ศ.2550) ลงวันที่ 10 เมษายน 2550 เรอ่ื ง กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศใน บรรยากาศโดยท่วั ไป. ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม 124 ตอนพเิ ศษ 58ง. วันท่ี 14 พฤษภาคม 2550. 5. ประกาศกรมควบคมุ มลพิษ ลงวนั ท่ี 26 มถิ ุนายน 2550 เร่อื ง เครือ่ งวัดหาค่าเฉลี่ยของกา๊ ซหรอื ฝ่นุ ละอองซงึ่ ทางานโดยระบบอน่ื ท่ีกรม ควบคุมมลพษิ เห็นชอบ. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพเิ ศษ 98ง. วันที่ 16 สงิ หาคม 2550. ยกเลกิ 6. ประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอ้ มแห่งชาติ ฉบับท่ี 33 (พ.ศ.2552) ลงวนั ที่ 17 มิถุนายน 2552 เร่อื ง กาหนดมาตรฐานค่ากา๊ ซไนโตรเจน ไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยทว่ั ไป. ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ 126 ตอนพเิ ศษ 114ง. วนั ที่ 14 สงิ หาคม 2552. 7. ประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอ้ มแหง่ ชาติ ฉบับที่ 36 (พ.ศ.2553) ลงวันท่ี 28 มกราคม 2553 เร่ือง กาหนดมาตรฐานฝนุ่ ละอองขนาด ไม่เกนิ 2.5 ไมครอนในบรรยากาศโดยทว่ั ไป. ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 127 ตอนพเิ ศษ 37ง. วันท่ี 24 มนี าคม 2553. 8. ประกาศกรมควบคุมมลพษิ ลงวันท่ี 14 มถิ นุ ายน 2553 เรอ่ื ง วิธตี รวจวัดคา่ ฝุ่นเฉลี่ยของฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน. ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม 127 ตอนพเิ ศษ 84 ง. วันท่ี 9 กรกฎาคม 2553. ยกเลิก 9. ประกาศกรมควบคมุ มลพิษ ลงวันท่ี 2 สิงหาคม 2562 เรื่อง เคร่อื งวดั และตรวจค่าเฉลี่ยของกา๊ ซหรือฝุน่ ละอองในบรรยากาศโดยทั่วไประบบ อื่นหรอื วิธีอื่นทก่ี รมควบคมุ มลพิษเหน็ ชอบ. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136 ตอนพิเศษ 259 ง. วนั ท่ี 18 ตุลาคม 2562. NEW (3) ดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index : AQI) คานวณจากฝุ่นและอากาศ รวม 6 รายการ ไดแ้ ก่ (1) ฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) (2) ฝุน่ ละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) (3) ก๊าซโอโซน (O3) (4) ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) (5) ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) และ (6) ก๊าซ ซลั เฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ดชั นีคณุ ภาพอากาศของประเทศไทยแบง่ เปน็ 5 ระดบั คือ ต้งั แต่ 0 ถึง 201 ข้ึนไป

14 เกณฑข์ องดชั นคี ุณภาพอากาศของประเทศไทย การคา้ นวณดัชนีคณุ ภาพอากาศรายวันของสารมลพิษทางอากาศแต่และประเภท ทมี่ า : เวบ็ ไซดก์ รมควบคมุ มลพษิ www.pcd.go.th

15 (4) คา่ มาตรฐานสารอินทรียร์ ะเหยงา่ ยในบรรยากาศโดยท่วั ไป สารมลพิษ คา่ เฉล่ยี 24 ชั่วโมง ค่าเฉลยี่ 1 ปี* (µg/m3) (µg/m3) 1. อะซทิ ลั ดีไฮด์ (Acetaldehyde) 860 - 2. อะครอลีน (Acrolein) 0.55 - 3. อะคริโลไนไตร (Acrylonitrile) 10 - 4. เบนซีน (Benzene) 7.6 1.7 5. เบนซิลคลอไรด์ (Benzyl Chloride) 12 - 6. 1,3 - บิวทาไดอนี (1,3 - Butadiene) 5.3 0.33 7. โบรโมมีเธน (Bromomethane) 190 - 8. คารบ์ อนเตตระคลอไรด์ (Carbon Tetrachloride) 150 - 9. คลอโรฟอร์ม (Chloroform) 57 0.43 10. 1,2 - ไดโบรโมอีเธน (1,2 - Dibromoethane) 370 - 11. 1,4 - ไดคลอโรเบนซนี (1,4 - Dichlorobenzene) 1,100 - 12. 1,2 - ไดคลอโรอเี ธน (1,2 - Dichloroethane) 48 0.4 13. ไดคลอโรมเี ธน (Dichloromethane) 210 22 14. 1,2 - ไดคลอโรโพรเพน (1,2 - Dichloropropane) 82 4 15. 1,4 – ไดออกเซน (1,4 - Dioxane) 860 - 16. เตตระคลอโรเอทธลิ ีน (Tetrachloroethylene) 400 200 17. 1,1,2,2 - เตตระคลอโรอเี ธน (1,1,2,2 – Tetrachloroethane) 83 18. ไตรคลอโรเอทธิลีน (Trichloroethylene) 130 23 19. ไวนลิ คลอไรด์ (Vinyl Chloride) 20 10 หมายเหตุ : 1. (*) คา่ มัชฌมิ เลขคณติ (Arithmetric Mean) 2. การคานวณค่าสารอินทรีย์ระเหยงา่ ยในบรรยากาศโดยท่วั ไปให้คานวณผลทคี่ วามดัน 1 บรรยากาศ หรือ 760 มลิ ลิเมตรปรอท และที่ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซยี ส ท่มี า : 1. ประกาศคณะกรรมการสงิ่ แวดล้อมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 30 (พ.ศ.2550) ลงวันท่ี 14 กนั ยายน 2550 เรือ่ ง กาหนดมาตรฐานค่าสารอินทรีย์ระเหย ง่ายในบรรยากาศโดยท่วั ไปในเวลา 1 ปี. ราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 143ง. วันท่ี 28 กนั ยายน 2550. 2. ประกาศกรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ.2551) ลงวนั ที่ 18 ธนั วาคม 2551 เรือ่ ง กาหนดค่าเฝา้ ระวงั สาหรับสารอนิ ทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ โดยท่ัวไปในเวลา 24 ชั่วโมง. ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 126 ตอนพเิ ศษ 13ง. วันที่ 27 มกราคม 2552. (5) มาตรฐานระดับเสียงโดยท่วั ไป ค่ามาตรฐาน การตรวจวดั ระดบั เสียงโดยทั่วไป ระดับเสียง 1. คา่ ระดับเสยี ง 1. การตรวจวดั คา่ ระดบั เสยี งสงู สดุ ให้ใชม้ าตรฐานระดับเสียงตรวจวดั ระดบั เสียงในบรเิ วณท่ีมคี นอยูห่ รือ สูงสุด ไมเ่ กนิ อาศัยอยู่ 115 เดซเิ บลเอ 2. การตรวจวัดค่าระดับเสียงเฉล่ีย 24 ชั่วโมง ให้ใชม้ าตรระดับเสยี งตรวจวัดระดับเสยี งอย่างตอ่ เนื่อง 2. คา่ ระดับเสียง ตลอดเวลา 24 ช่ัวโมงใดๆ เฉล่ีย 24 ชว่ั โมง 3. การต้ังไมโครโฟนของมาตรระดบั เสยี งทบี่ ริเวณภายนอกอาคาร ใหต้ งั้ สงู จากพน้ื ไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร ไม่เกิน 70 เดซิ โดยในรศั มี 3.50 เมตรตามแนวราบรอบไมโครโฟน ตอ้ งไม่มกี าแพงหรือส่ิงอื่นใดที่มีคณุ สมบตั ใิ นการ เบลเอ สะทอ้ นเสยี งกีดขวางอยู่ 4. การตง้ั ไม่โครโฟนของมาตรระดับเสียงท่บี รเิ วณภายในอาคาร ให้ต้ังสงู จากพืน้ ไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร โดยในรศั มี 1.00 เมตร ตามแนวราบรอบไมโครโฟน ต้องไมม่ ีกาแพงส่ิงอน่ื ใดทม่ี คี ณุ สมบตั ใิ นการสะท้อน เสยี งกีดขวางอยู่ และตอ้ งหา่ งจากชอ่ งหน้าตา่ งหรอื ชอ่ งทางท่เี ปดิ ออกนอกอาคารอย่ายงน้อย 1.50 เมตร ท่มี า : ดดั แปลงจาก 1. ประกาศคณะกรรมการสงิ่ แวดล้อมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 15 (พ.ศ.2540) เร่อื ง กาหนดมาตรฐานระดบั เสยี งโดยทัว่ ไป มาตรา 32(5) แหง่ พระราชบัญญตั ิส่งเสริมและรักษาคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ.2535 ณ วนั ท่ี 12 มีนาคม 2540 2. ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพษิ เร่อื ง วิธีการตรวจวัดระดับเสยี งพนื้ ฐาน ระดับเสยี งขณะไม่มกี ารรบกวนการตรวจวัด และคานวณระดับ เสยี งขณะมีการรบกวน การคานวณค่าระดบั การรบกวน และแบบบนั ทึกการตรวจวัดเสยี งรบกวน ประกาศ ณ วันที่ 31 สงิ หาคม 2550 3. ประกาศกรมควบคุมมลพษิ เร่ือง การคานวณคา่ ระดับเสียง ประกาศ ณ วันที่ 11 สงิ หาคม 2540

16 4. สว่ นส่งเสรมิ การจัดการสิง่ แวดลอ้ ม 4.1 กฎหมายเก่ียวกับการจัดการมลู ฝอยและส่ิงปฏิกูล ไดแ้ ก่ (1) พระราชบญั ญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 (2) พระราชบญั ญตั ิเทศบาล พ.ศ.2496 (3) พระราชบัญญัติองคการบรหิ ารสวนจังหวดั พ.ศ.2540 (4) พระราชบญั ญัตอิ งคการบรหิ ารสวนตาบล พ.ศ.2537 (5) พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 (6) พระราชบญั ญตั ิระเบยี บบริหารเมอื งพทั ยา พ.ศ.2542 4.2 กฎหมายหามทิงมูลฝอยและสิง่ ปฏิกลู ได้แก่ (1) พระราชบัญญตั ริ กั ษาคลอง ร.ศ.121 (2) พระราชบญั ญัตกิ ารเดนิ เรือในนานน้าไทย พ.ศ.2456 (3) พระราชบญั ญตั กิ ารชลประทานหลวง พ.ศ.2485 (4) ประมวลกฎหมายอาญา (5) พระราชบญั ญัตอิ ทุ ยานแหงชาติ พ.ศ.2504 (6) พระราชบัญญัตริ กั ษาคลองประปา พ.ศ.2526 (7) พระราชบญั ญตั ิทางหลวง พ.ศ.2535 (8) พระราชบญั ญัติรกั ษาความสะอาดและความเปนระเบยี บเรียบรอยของบานเมอื ง พ.ศ.2535 4.3 กฎหมายสา้ หรบั การบรรเทา ระงับและเยียวยาความเสียหายอันเกดิ จากมลู ฝอยและสิง่ ปฏกิ ูล ไดแ้ ก่ (1) มาตรการทางปกครอง ได้แก่ พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และ พระราชบญั ญตั ริ กั ษาความสะอาดและความเปนระเบยี บเรียบรอยของบานเมือง พ.ศ.2535 (2) การดาเนินคดีแพ่ง ได้แก่ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และพระราชบัญญัติ สง่ เสริมและรกั ษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2535 4.4 มาตราที่เก่ียวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอยตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คณุ ภาพสงิ่ แวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ.2535 มคี วามเกี่ยวข้องในสว่ นที่ 6 มลพษิ อื่นและของเสยี อันตราย มาตรา 78 และ 79 ดังนี้ (1) มาตรา 78 การเก็บรวบรวมการขนสง่ และการจัดการดว้ ยประการใดๆ เพอื่ บาบัดและ ขจัดขยะมลู ฝอยและของเสยี อน่ื ท่อี ยูใ่ นสภาพเป็นของแขง็ การป้องกนั และควบคมุ มลพิษทีเ่ กิดจากหรือมที ี่มาจาก การทาเหมอื งแร่ทง้ั บนบกและในทะเล การป้องกนั และควบคมุ มลพิษที่เกิดจากหรือมีทมี่ าจากการสารวจและขุด เจาะนา้ มันก๊าซธรรมชาตแิ ละสารไฮโดรคาร์บอนทกุ ชนิด ทัง้ บนบกและในทะเลหรือการป้องกันและควบคุมมลพิษ ท่ีเกิดจากหรือมีที่มาจากการปล่อยทิ้งน้ามันและการท้ิงเทของเสียและวัตถุอ่ืนๆ จากเรือเดินทะเล เรือบรรทุก น้ามัน และเรือประเภทอืน่ ให้เป็นไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการนั้น (2) มาตรา 79 ในกรณีท่ีไม่มีกฎหมายใดบัญญัติไว้โดยเฉพาะ ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนา ของคณะกรรมการควบคุมมลพิษมีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดชนิดและประเภทของของเสียอันตรายที่เกิด จากการผลิตการใช้สารเคมีหรอื วตั ถอุ ันตรายในกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม เกษตรกรรม การสาธารณสุข และกิจการอย่างอ่ืนให้อยู่ความควบคุม ในการนี้ให้กาหนดหลักเกณฑ์มาตรการและวิธีการเพื่อควบคุมการเก็บ รวบรวมการรักษาความปลอดภัยการขนส่งเคลื่อนย้ายการนาเข้ามาในราชอ าณาจักรการส่งออกไปนอก ราชอาณาจักรและการจัดการบาบัดและกาจัดของเสียอันตรายดังกล่าวด้วยวิธีการท่ีเหมาะสมและถูกต้องตาม หลักวิชาทเ่ี กีย่ วข้องดว้ ย

17 4.5 ประกาศกรมควบคุมมลพษิ และประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ทเ่ี กี่ยวกับการบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอย ไดแ้ ก่ (1) ประกาศกรมควบคมุ มลพิษ เรอื่ ง แนวทางการพิจารณาคดั เลือกรูปแบบเทคโนโลยีการ จดั การขยะมลู ฝอยทเ่ี หมาะสมสาหรบั องคกรปกครองสวนทองถนิ่ (2) ประกาศกรมควบคมุ มลพษิ เรอ่ื ง แนวทางในการจดั การขยะมูลฝอยดว้ ยเตาเผาอย่างมี ประสิทธิภาพ (3) ประกาศกรมควบคมุ มลพษิ เรื่อง คุณลกั ษณะทเ่ี หมาะสมเบื้องตนสาหรับเชือ้ เพลิงขยะ จากขยะมูลฝอยชุมชน (4) ประกาศกรมควบคมุ มลพษิ เรอื่ ง หลักเกณฑการออกแบบและกอสร้างสถานที่คัดแยก และแปรสภาพขยะมูลฝอยชุมชนเพอื่ ผลติ เปน็ เชือ้ เพลงิ ขยะเบอื้ งตน (5) ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง หลักเกณฑในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นท่ี การออกแบบ กอสรา้ ง และการจัดการสถานทีฝ่ งกลบมลู ฝอยอยา่ งถกู หลักสขุ าภบิ าล (6) ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เร่ือง หลักเกณฑในการพิจารณาความเหมาะสมของพ้นื ที่ การออกแบบ กอสราง และการจัดการสถานทกี่ าจดั มลู ฝอยโดยเตาเผา (7) ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง หลักเกณฑในการพิจารณาความเหมาะสมของพ้นื ท่ี การออกแบบ กอสราง และการจดั การสถานที่หมักปุยจากมูลฝอย (8) ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง หลักเกณฑในการพิจารณาความเหมาะสมของพืน้ ท่ี การออกแบบ และกอสรางสถานีขนถายขยะมูลฝอย (9) ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการของเสียอันตรายจาก ชุมชนสาหรบั องคกรปกครองสวนทองถ่ิน (10) ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เร่ือง หลักเกณฑทางวิชาการเก่ียวกับคุณลักษณะของ ถงุ พลาสตกิ ใสมลู ฝอยและที่รองรับมลู ฝอยแบบพลาสตกิ ท่ีใชในท่สี าธารณะและสถานสาธารณะ (11) ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เร่ือง หลักเกณฑในการคัดเลือกพ้ืนท่ีตั้งสถานท่ีฝังกลบ กากของเสีย (12) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม เร่อื ง กาหนดใหเตาเผามูลฝอย เปนแหลงกาเนดิ มลพิษทีจ่ ะตองถกู ควบคุมการปลอยทิง้ อากาศเสยี ออกสูบรรยากาศ (13) ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุม การปลอยทิ้งอากาศเสยี จากเตาเผามูลฝอย (14) ประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม เรือ่ ง กาหนดมาตรฐานควบคุม การปล่อยทิ้งอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอย (15) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เร่ือง กาาหนดให้เตาเผามูล ฝอยเป็นแหลง่ กาาเนดิ มลพษิ ทจ่ี ะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสยี ออกสู่บรรยากาศ (16) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม เรอ่ื ง กาหนดมาตรฐานควบคุม การปล่อยท้ิงอากาศเสยี จากเตาเผามูลฝอยตดิ เช้อื (17) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม เรื่อง กาหนดให้เตาเผามูลฝอย ตดิ เช้อื เปน็ แหลง่ กาาเนดิ มลพษิ ทีจ่ ะต้องถกู ควบคมุ การปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสบู่ รรยากาศ

18 4.6 ข้อกฎหมายท่ีเปลี่ยนไปตามพระราชบญั ญัติการสาธารณสุข (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2560 (มี ผลใชบ้ งั คบั 19 ธันวาคม 2560) (1) การเพ่ิมกลไกการขับเคล่ือนการบังคับใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ได้แก่ คณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (คสจ.) / คณะกรรมการสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร (คสก.) คณะกรรมการ พจิ ารณาอทุ ธรณ์ (คพธ.) และคณะกรรมการเปรียบเทียบ (2) เพม่ิ มาตรการคุม้ ครองประชาชนใหม้ ากขึ้น ได้แก่ มาตรา 28/1 ใหอ้ านาจเจ้าพนักงาน ท้องถิ่นประกาศเขตพ้ืนท่ีควบคุมเหตุราคาญ (เชิงรุก) และมาตรา 54 วรรคสอง กาหนดประเภท/ขนาดของ กิจการ การรบั ฟงั ความคดิ เห็นและหลกั เกณฑ์ วิธีการและเงอื่ นไขการพิจารณากอ่ นอนุญาต 4.7 บทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 (1) การบรหิ ารจัดการเรือ่ งมูลฝอย มี 3 รปู แบบ คือ ดาเนินการเอง มอบใหผ้ ้อู ืน่ ดาเนนิ การ และอนญุ าตใหเ้ อกชนดาเนินการเป็นธรุ กจิ (2) ตราข้อบัญญัติของท้องถ่ิน เช่น ห้ามท้ิงในที่/ทางสาธารณะ กาหนดให้มีท่ีรองรับ กาหนดวิธีการ เก็บ ขน กาจัด กาหนดอัตราคา่ ธรรมเนยี ม กาหนดหลกั เกณฑแ์ ละอตั ราคา่ บรกิ ารขัน้ สงู ของผูไ้ ด้รับ อนุญาต 4.8 ประกาศกระทรวงสาธารณสุขท่เี กีย่ วกบั การบริหารจดั การขยะมลู ฝอย ได้แก่ (1) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง กาหนดคุณสมบัติของเจ้าหน้าที่ควบคุมกากับใน การจดั การมลู ฝอยท่วั ไป พ.ศ.2560 (2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กาหนดมาตรการควบคุมกากับการขนมูลฝอย ทว่ั ไปเพ่ือปอ้ งกันการลักลอบทิ้ง พ.ศ. 2560 (3) ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง ลักษณะและเงื่อนไขการปอ้ งกันการปนเปื้อนของ น้าใต้ดินจากน้าชะมูลฝอย และการรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพน้าใต้ดินจากสถานท่ีฝังกลบอย่างถูกหลัก สขุ าภิบาล พ.ศ.2560 (4) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง หลักเกณฑ์การคัดเลือกสถานท่ีตั้งสาหรับการฝัง กลบมลู ฝอยอย่างถูกหลักสขุ าภบิ าล พ.ศ.2560 (5) กฎกระทรวง สขุ ลกั ษณะการจัดการมูลฝอยทวั่ ไป พ.ศ.2560 (6) กฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนยี มการออกใบอนญุ าตหนงั สือรับรองการแจ้ง และการ ใหบ้ ริการในการจัดการสง่ิ ปฏกิ ลู หรอื มูลฝอย พ.ศ.2559 (7) กฎกระทรวงควบคมุ สถานประกอบกจิ การทเี่ ป็นอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ พ.ศ.2560 (8) กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยสขุ ลกั ษณะการจัดการส่งิ ปฏกิ ลู พ.ศ.2561 (9) กฎกระทรวงว่าด้วยสขุ ลกั ษณะของสถานทจ่ี าหนา่ ยอาหาร พ.ศ.2561

19 4.9 กฎกระทรวง สขุ ลักษณะการจัดการมูลฝอยทวั่ ไป พ.ศ.2560 4.10 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ก้าหนดมาตรการควบคุมกา้ กับการขนมลู ฝอย ท่วั ไปเพื่อป้องกนั การลกั ลอบทงิ พ.ศ.2560 4.11 ประกาศกระทรวงมหาดไทยทเี่ กี่ยวกับการบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอย พ.ศ.2560 มสี าระสาคัญในเรื่องการจดั การมูลฝอยตามประกาศน้ี ใหร้ าชการสว่ นท้องถนิ่ ดาเนินการ ตามหลักการพัฒนาอย่างย่ังยืน โดยจัดให้มีระบบจัดการและกาจัดมูลฝอยท่ีมีประสิทธิภาพ เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม สามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านอื่นๆ ได้ และราชการส่วนท้องถิ่นต้องรณรงค์สร้างความรับรู้ ความเข้าใจ และจิตสานึก ให้ประชาชนในท้องถ่ินมีส่วนร่วมในการลดปริมาณ และคัดแยกมูลฝอย เพ่ือนา กลับมาใช้ใหม่ มีความตระหนักรู้และรับผิดชอบในการจัดการมูลฝอย ณ แหล่งกาเนิดมูลฝอย รวมตลอดท้ัง เปิดเผยขอ้ มูลและรายงานผลการดาเนินงานให้ประชาชนทราบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook