Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย4_เรียนรู้ภูมิศาสตร์ - แก้ไข13-3-65 pdf

หน่วย4_เรียนรู้ภูมิศาสตร์ - แก้ไข13-3-65 pdf

Published by Jirayut Putta, 2022-03-13 15:18:18

Description: หน่วย4_เรียนรู้ภูมิศาสตร์ - แก้ไข13-3-65 pdf

Search

Read the Text Version

สอ่ื การสอนออนไลน์ วชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 เรอ่ื ง เรยี นรูภ้ มู ศิ าสตร์ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โดย คณุ ครูจริ ยทุ ธ พฒุ ตาลดง ตาแหน่งครูชานาญการ โรงเรยี นเทศบาลแสนสขุ

4หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ เรยี นร้ภู ูมศิ าสตร์ ตวั ชว้ี ดั • สืบค้นและอธิบายขอ้ มลู ลักษณะทางกายภาพในภูมภิ าคของตนด้วยแผนทแ่ี ละรูปถ่าย • อธบิ ายลักษณะทางกายภาพทีส่ ง่ ผลต่อแหล่งทรพั ยากรและสถานท่สี าคัญในภมู ิภาคของตน • วิเคราะหส์ ิง่ แวดลอ้ มทางกายภาพทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ ลกั ษณะการตง้ั ถ่ินฐานและการยา้ ยถน่ิ ของประชากรในภูมภิ าคของตน • วเิ คราะหอ์ ิทธพิ ลของส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติทกี่ ่อให้เกดิ วถิ กี ารดาเนินชีวิตในภูมภิ าคของตน • นาเสนอตัวอยา่ งท่สี ะทอ้ นให้เหน็ ผลจากการรักษาและทาลายส่งิ แวดล้อม และเสนอแนวทางในการจดั การสิง่ แวดล้อมในภูมภิ าคของตน

ภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของไทย ประเทศไทยแบง่ ภมู ภิ าคต่าง ๆ ตามลักษณะทางภมู ิศาสตรไ์ ด้ 6 ภาค ดงั นี้

ลกั ษณะกายภาพ ลักษณะภมู ิประเทศ เป็นภูเขาท่ตี ่อเน่ืองกนั เป็นทวิ เขา วางตัวเป็นแนวยาวจากทางเหนอื ลงไปทางใต้ ระหวา่ งทวิ เขาจะเป็นทีห่ บุ เขาและแอ่งท่ีราบอยู่ระหว่างภเู ขา ลกั ษณะภมู ิอากาศ เปน็ แบบร้อนช้ืนสลับแล้งหรอื แบบทงุ่ หญา้ เมืองร้อน อุณหภมู ิเฉลย่ี 24 - 27 องศาเซลเซยี ส มี 3 ฤดู คือ ฤดฝู น ฤดหู นาว ฤดูรอ้ น ทรพั ยากรธรรมชาติ ดนิ สว่ นใหญใ่ นภาคเหนือ มคี วามอุดมสมบรู ณ์ปานกลางถงึ ต่า เปน็ แหล่งต้นนา่้ หลายสาย มีพืน้ ท่ีป่าไม้มากทส่ี ดุ เช่น ป่าดบิ เขา ปา่ สนเขา ป่าเบญจพรรณ แรส่ า่ คัญ เช่น ดบี ุก เหล็ก ทังสเตน แมงกานีส เปน็ ตน้

ลักษณะกายภาพท่สี ง่ ผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานทสี่ า่ คญั ในภูมิภาค เป็นภูเขาที่ยาวตอ่ เน่อื งติดต่อกนั เปน็ ทิวเขา มที รพั ยากรปา่ ไมท้ อี่ ดุ มสมบูรณ์ เป็นภาคทม่ี ีพน้ื ที่ป่าไมม้ ากทส่ี ุดของประเทศ ดอยอินทนนท์ จงั หวดั เชียงใหม่ มีทศั นยี ภาพ กว๊านพะเยา จงั หวัดพะเยา เป็นบงึ นา้ จืด ท่สี วยงาม มีอากาศหนาวเยน็ ตลอดปี ใหญส่ ดุ ของภาคเหนือ ภชู ฟ้ี า้ จงั หวัดเชยี งราย มีลกั ษณะ แม่นา้ น่าน จงั หวัดนา่ น ต้นน้าเกดิ จาก เปน็ หน้าผาสูงเป็นแนวยาว ปลายสุด ทิวเขาหลวงพระบาง ไหลลงมาทางใต้ ของหนา้ ผาเรียวแหลมยน่ื ไปในอากาศ ผ่านพืน้ ท่ี 11 จังหวัด ดอยแม่อูคอ จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ชว่ งแรกเริ่มของฤดูหนาวมาเยือน น้าพรุ อ้ นแจซ้ ้อน จงั หวัดลาปาง ดอกบวั ตองจะบานสะพร่ังเต็มดอย เกดิ จากน้าร้อนท่อี ยใู่ ตด้ ินถกู แรงดัน

ลกั ษณะการตั้งถ่นิ ฐานในภูมิภาค ภาคเหนือ การตั้งถิน่ ฐานจะอย่บู รเิ วณแอง่ ทรี่ าบระหวา่ งหบุ เขา ท่ีมีแมน่ ่้าไหลผา่ น เช่น แอง่ เชียงใหม่ – ลา่ พนู แอง่ แพร่ และบรเิ วณพน้ื ทส่ี งู เป็นการตง้ั ถนิ่ ฐาน ของชาวไทยภูเขา

ลกั ษณะการย้ายถิ่นในภมู ภิ าค การย้ายถน่ิ เข้า ภาคเหนอื ประชากรยา้ ยถิ่นฐานมาอยบู่ ริเวณแอ่งที่ราบ เพราะมคี วามอดุ มสมบูรณ์ และบริเวณพืน้ ทส่ี งู ส่าหรบั ประกอบอาชพี เพราะเป็นแหลง่ ท่องเทย่ี ว การย้ายถน่ิ ออก การยา้ ยถน่ิ ออกเกิดในพ้นื ทส่ี งู และภูเขา ทีม่ ีความยากล่าบากในการประกอบอาชีพ หา่ งไกลจากศูนย์กลางของจังหวดั

สง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาตกิ บั วิถีการด่าเนินชวี ิต ภาคเหนือ ลกั ษณะทอี่ ยอู่ าศัย สรา้ งบ้านเรอื นปิดทึบ มีหน้าต่างน้อย หลงั คาเตี้ย เพ่ือให้ภายในตัวบา้ นอบอนุ่ และปอ้ งกนั อากาศหนาว อาหารพื้นบา้ น นยิ มบรโิ ภคข้าวเหนยี ว และกับขา้ วทีใ่ ช้วัตถุดิบที่หาง่าย ในท้องถิน่ การประกอบอาชีพ ผคู้ นสว่ นใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม มีการทานา แบบข้นั บันได ปลกู พืชเมอื งหนาว เช่น สตรอว์เบอร์รี วัฒนธรรมประเพณี มพี ธิ บี วชต้นไม้เพอื่ ชว่ ยอนุรกั ษ์ป่าไม้ใหอ้ ดุ มสมบูรณ์

ลกั ษณะกายภาพ ลกั ษณะภูมิประเทศ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศจะเปน็ ท่ีราบลมุ่ และทีร่ าบลกู ฟูก ลกั ษณะภมู ิอากาศ เปน็ แบบรอ้ นชนื้ สลบั แลง้ หรือแบบทงุ่ หญ้าเมืองร้อน อณุ หภูมิเฉล่ีย 26 - 30 องศาเซลเซียส มี 3 ฤดู คอื ฤดูร้อน ฤดฝู น และฤดหู นาว ทรัพยากรธรรมชาติ พ้ืนดินของภาคกลางมคี วามอุดมสมบูรณส์ ูง มีแหล่งน่้าตามธรรมชาติทสี่ มบรู ณ์ ภาคกลางมีพืน้ ที่ปา่ ไม้น้อย พชื พรรณจะเป็นป่าเบญจพรรณและป่าดบิ แรส่ า่ คญั ได้แก่ หินปูน ยิปซมั ปิโตรเลยี ม เปน็ ตน้

ลักษณะกายภาพที่สง่ ผลต่อแหลง่ ทรพั ยากรและสถานท่ีสา่ คัญในภูมิภาค เป็นพนื้ ทีท่ ่ีมีภเู ขาหรือท่สี งู น้อย เป็นภูเขาเตยี้ และเปน็ เขาโดด พน้ื ที่มลี ักษณะเด่นที่ เป็นพ้นื ทรี่ าบผนื ใหญ่สดุ แผก่ ว้างจากตอนบนลาดลงสอู่ า่ วไทย สโุ ขทยั อย่ไู ม่ไกลจากแม่นา้ ยม ในอดตี มี หว้ ยขาแขง้ จงั หวดั อทุ ยั ธานี มีความ การขดุ ตระพงั ไว้โดยรอบ เพ่อื กกั เก็บนา้ อดุ มสมบรู ณท์ างธรรมชาติ ได้รบั การขน้ึ ทะเบยี นเปน็ แหลง่ มรดกโลกจากยูเนสโก ไวใ้ ชใ้ นยามขาดแคลน ภทู บั เบกิ จังหวดั เพชรบูรณ์ มีอากาศ เยน็ ตลอดปี เปน็ แหล่งปลกู กะหล่าปลพี นื้ ทใี่ หญ่ เข่ือนป่าสกั ชลสทิ ธิ์ จงั หวดั ลพบุรี สรา้ งขึน้ เพื่อกักเกบ็ นา้ จากแมน่ า้ ป่าสัก บึงบอระเพ็ด จงั หวัดนครสวรรค์ เป็นบึง น้าจืดขนาดใหญ่สดุ ของไทย

ลกั ษณะการตั้งถ่นิ ฐานในภมู ิภาค ภาคกลาง การตัง้ ถนิ่ ฐานจะมคี วามหนาแน่นทางตอนลา่ งของภาค ตามริมแมน่ ่า้ สายส่าคัญ เชน่ แมน่ ้า่ เจา้ พระยา แมน่ ่้าทา่ จีน เนอ่ื งจากดินตะกอนท่ีพดั มาทบั ถม จงึ มคี วามอุดมสมบรู ณ์

ลักษณะการยา้ ยถิ่นในภูมภิ าค การยา้ ยถน่ิ เข้า ภาคกลาง ประชากรย้ายถนิ่ ฐานมาอยบู่ ริเวณท่ี ราบลุ่มแม่นา่้ เพราะมีความอดุ มสมบูรณ์ โดยเฉพาะบริเวณภาคกลางตอนล่าง การยา้ ยถน่ิ ออก การย้ายถ่ินออกเกิดในพนื้ ที่ที่ประสบภัยแล้ง เนอ่ื งจากเกิดความยากล่าบากในการด่าเนินชีวติ

สง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาติกบั วถิ ีการด่าเนินชีวิต ภาคกลาง ลักษณะทอ่ี ยู่อาศยั สรา้ งบ้านเรือนยกพ้ืนสงู มีหน้าตา่ งมากเพ่ือช่วยระบาย ความรอ้ น มีหลังคาลาดชันเพ่อื ระบายนา้ ฝน อาหารพน้ื บา้ น นิยมบริโภคข้าวเจา้ และกบั ขา้ วทีเ่ ปน็ วตั ถดุ บิ ที่หาได้ งา่ ยในทอ้ งถน่ิ เช่น ปลา หมู ผัก เปน็ ต้น การประกอบอาชพี ผ้คู นสว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทานา วฒั นธรรมประเพณี ในชว่ งวันเพ็ญเดือนสบิ สอง จะมีประเพณีลอยกระทง ซง่ึ สะทอ้ นให้เห็นความผูกพันของผคู้ นกบั สายนา้

ลกั ษณะกายภาพ ลักษณะภมู ปิ ระเทศ พ้นื ท่เี ป็นท่ีราบสงู มแี อง่ ที่ราบคล้ายถว้ ยอย่ตู รงกลาง ลกั ษณะพื้นทีบ่ ริเวณด้านตะวนั ตกและด้านใตจ้ ะเป็นแนวเทอื กเขาสงู ลกั ษณะภมู อิ ากาศ เปน็ แบบร้อนชนื้ สลบั แลง้ อุณหภมู เิ ฉลย่ี 24 - 28 องศาเซลเซียส มี 3 ฤดู คอื ฤดรู ้อน ฤดฝู น และฤดหู นาว ทรัพยากรธรรมชาติ สว่ นใหญ่เป็นดินทราย มีความอุดมสมบรู ณ์ต่า แมน่ ่้าจะมีต้นก่าเนดิ จากพ้ืนทป่ี า่ บนทวิ เขาทางตะวนั ตกและทางใต้ของภาค ปา่ ไม้ จะเปน็ ปา่ เตง็ รังหรอื ปา่ แดง ป่าเบญจพรรณ ปา่ ดิบ และป่าสนเขา แรส่ า่ คญั ได้แก่ เหล็ก ยิปซัม ทองแดง เปน็ ต้น

ลกั ษณะกายภาพทสี่ ง่ ผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานทส่ี า่ คัญในภมู ิภาค เป็นทร่ี าบสงู มีปา่ ไม้หลายชนดิ ขึ้นผสมผสานกันสว่ นใหญจ่ ะเป็นปา่ เตง็ รงั และ ปา่ เบญจพรรณ มีพน้ื ทีป่ า่ เสอ่ื มโทรมกระจายอยทู่ วั่ ไป มีทรัพยากรสัตวป์ ่าน้อย ภูกระดึง จงั หวดั เลย บริเวณผาหมากดูก นักท่องเทยี่ วนิยมมาชมดวงอาทติ ยล์ ับขอบฟ้า เข่อื นลาตะคอง จงั หวดั นครราชสีมา มที ิวเขาโอบล้อม ช่วยกักเก็บนา้ ไวใ้ ช้หนา้ แลง้ ทะเลบวั แดง บงึ หนองหาน กุมภวาปี จังหวดั อุดรธานี ดอกบวั จะเบ่งบานช่วงฤดหู นาว ทุ่งกุลาร้องไห้ จงั หวดั ร้อยเอ็ด จากพ้ืนทแ่ี ห้งแลง้ ปัจจุบนั เปน็ แหล่ง ปลูกขา้ วหอมมะลิช้ันเย่ยี ม ผาแตม้ จงั หวัดอบุ ลราชธานี อย่ใู กล้กับแมน่ า้ โขง มภี าพเขียนประวัตศิ าสตร์ เปน็ จดุ ทช่ี มดวงอาทิตย์ข้ึน

ลกั ษณะการต้งั ถ่นิ ฐานในภูมิภาค ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ การตั้งถ่นิ ฐานจะหนาแนน่ บรเิ วณใกลแ้ มน่ ่า้ เช่น บรเิ วณแอ่งโคราช รองลงมาคือบริเวณแอง่ สกลนคร และบรเิ วณรมิ แมน่ ้่าโขง

ลักษณะการยา้ ยถน่ิ ในภมู ิภาค การยา้ ยถ่ินเขา้ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ประชากรยา้ ยถน่ิ ฐานมาอยู่บริเวณแอ่งโคราช แอง่ สกลนคร พ้นื ทร่ี าบล่มุ แมน่ ้่า และพืน้ ที่ ทเี่ ป็นศูนย์กลางของภมู ิภาค การย้ายถ่นิ ออก การยา้ ยถ่ินออกเกิดในพ้ืนท่ีแห้งแลง้ ขาดแคลนสาธารณูปโภค

สง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาตกิ ับวิถีการด่าเนนิ ชีวติ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ลกั ษณะทีอ่ ยอู่ าศยั สร้างบ้านมใี ตถ้ นุ สูงเพอื่ ป้องกันน้าท่วมและใชท้ า กิจกรรมต่างๆ มีหลงั คาลาดเอียงเพอ่ื ระบายน้าฝน อาหารพน้ื บา้ น นยิ มบริโภคขา้ วเหนียว และใช้ปลารา้ เปน็ สว่ นประกอบ ในการทาอาหาร การประกอบอาชพี ผู้คนสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทาไร่ ทานา วฒั นธรรมประเพณี ประเพณบี ุญบง้ั ไฟ เปน็ การยิงบง้ั ไฟไปบนท้องฟา้ บูชาพญาแถน เพ่ือขอฝน

ลกั ษณะกายภาพ ลักษณะภมู ิประเทศ มที วิ เขาและทสี งู อยทู่ างตอนกลาง มเี นินเขา ที่ดอนและที่ราบอยู่โดยรอบ บางสว่ น เป็นท่ีราบสลับกบั เนินเขาคลา้ ยลกู ฟกู ลาดลงส่อู า่ วไทย ลักษณะภมู อิ ากาศ เป็นแบบร้อนชืน้ สลับแล้ง ตอนล่างของภาคได้รับอทิ ธพิ ลจากทะเลมาก อากาศมคี วามชุ่มชนื้ สูง อภุ ณหภมเิ ฉล่ยี 26 - 29 องศาเซลเซยี ส มี 3 ฤดูคอื ฤดรู อ้ น ฤดฝู น และฤดูหนาว ทรพั ยากรธรรมชาติ ส่วนใหญ่เป็นดนิ รว่ นที่เกดิ จากการผกุ รอ่ น บริเวณทวิ เขาสูงของภาคจะเป็นแหล่งตน้ นา้่ สายส่าคัญ แตเ่ ป็นแมน่ า่้ สายสน้ั มีพื้นท่ีป่าทยี่ ังอดุ มสมบรู ณก์ ระจายทั่วทั้งภาค แร่ส่าคัญ ได้แก่เหลก็ ทรายแกว้ และพลอย เป็นต้น

ลกั ษณะกายภาพที่สง่ ผลต่อแหล่งทรพั ยากรและสถานที่สา่ คญั ในภูมภิ าค มลี กั ษณะทางกายภาพท่ีหลากหลาย มที ้งั ภเู ขา พื้นท่ีราบ และชายฝัง่ ทะเล พื้นที่จะมปี า่ ไม้ขึน้ อย่างหนาแนน่ และเปน็ แหล่งตน้ น้่าลา่ ธารของภมู ภิ าค ละลุ จงั หวัดสระแกว้ เกิดจากดนิ ถูก เกาะช้าง จังหวดั ตราด น้าฝนกัดเซาะจนยบุ ตวั คงความอุดมสมบูรณ์ของป่าดิบเขา แก่งหนิ เพงิ จังหวดั ปราจนี บรุ ี ท้องทะเลและชายหาด เปน็ แก่งหนิ ขนาดใหญ่กลางลาน้าใส ท่าเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบรุ ี เนินนางพญา หาดคงุ้ วมิ าน จังหวดั จนั ทบุรี ทา่ เรอื น้าลึกหลกั ทางภาคตะวันออก จะมองเหน็ ทะเลสวยไดไ้ กลสุดตา ในการขนสง่ สินค้าระหว่างประเทศ

ลกั ษณะการตั้งถ่นิ ฐานในภูมภิ าค ภาคตะวันออก การตัง้ ถิ่นฐานจะอยบู่ ริเวณพื้นทร่ี าบทต่ี อ่ เน่อื งกบั ชายฝง่ั อ่าวไทย เพราะเป็นพน้ื ท่รี าบสลบั เนนิ เขา มฝี นตกชุก เช่น บริเวณท่รี าบลมุ่ แมน่ ่า้ บางปะกง และมกี ารตัง้ ถนิ่ ฐานบริเวณแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางทะเล รวมถึงแหล่งนคิ มอตุ สาหกรรม

ลกั ษณะการย้ายถ่นิ ในภมู ิภาค การย้ายถ่นิ เขา้ ภาคตะวันออก ประชากรยา้ ยถิ่นฐานมาอยบู่ ริเวณท่รี าบ ชายฝัง่ บริเวณทีม่ ีการตง้ั นิคมอตุ สาหกรรม และท่าเรอื จะมีประชากรย้ายถิ่นเข้ามาอยู่ จา่ นวนมาก การยา้ ยถิน่ ออก การย้ายถน่ิ ออกเกดิ ในพ้นื ทต่ี อนบน และทาง ตะวนั ตกของภาค ท่ีมสี ภาพภูมปิ ระเทศ ไมเ่ อ้อื อ่านวยตอ่ การด่าเนินชีวิต

สิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติกบั วิถกี ารดา่ เนนิ ชวี ติ ภาคตะวนั ออก ลักษณะที่อยอู่ าศัย มีการสร้างบา้ นเรอื นคล้ายภาคกลาง คอื เปน็ บา้ น มีใต้ถุนสงู มหี ลงั คาทรงสงู อาหารพ้ืนบ้าน นิยมใช้วัตถุดิบจากทะเล เชน่ กุ้ง หอย ปู ปลา และผกั ที่หาไดง้ ่ายในทอ้ งถ่ิน การประกอบอาชีพ ผคู้ นส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ทาสวน ทาไร่ และมกี ารทาประมงเพาะเล้ยี งสัตวน์ า้ วฒั นธรรมประเพณี ประเพณีวันไหล ทม่ี ีการเลน่ นา้ สาดนา้ เหมือนอยา่ ง ประเพณีสงกรานต์

ลกั ษณะกายภาพ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ มีทวิ เขาสงู วางตัวในแนวเหนอื - ใต้ อย่ทู างดา้ นตะวันตก ถัดจากทิวเขาจะเป็นพนื้ ทรี่ าบและพ้นื ทรี่ าบลุ่มน้า่ ลกั ษณะภมู ิอากาศ เป็นแบบรอ้ นชื้นสลบั แล้ง เปน็ พืน้ ทีอ่ บั ฝน อณุ หภูมิเฉลี่ย 26 - 30 องศาเซลเซยี ส ทางตอนบนของภาคมอี ากาศเย็น มี 3 ฤดู คือ ฤดฝู น ฤดหู นาว และฤดรู ้อน ทรพั ยากรธรรมชาติ ดินมีความอุดมสมบรู ณต์ า่ ยกเวน้ บริเวณทร่ี าบลมุ่ น่้าจะมคี วามอดุ มสมบรู ณ์มาก มปี รมิ าณน่า้ น้อย เน่อื งจากเปน็ พ้ืนทอี่ บั ฝน เปน็ ภาคที่พื้นท่ปี ่าไมย้ งั อุดมสมบูรณ์ และมีสัตว์ป่าอาศัยอย่มู าก แร่ส่าคญั ไดแ้ ก่ ฟลูออไรด์ รตั นชาติ และไพลิน เปน็ ต้น

ลกั ษณะกายภาพทส่ี ง่ ผลตอ่ แหลง่ ทรัพยากรและสถานทส่ี า่ คญั ในภมู ภิ าค เป็นเทอื กเขาทย่ี าวตอ่ เน่ืองมาจากภาคเหนอื คอื ทิวเขาถนนธงชัยและทวิ เขาตะนาวศรีเปน็ ขอบด้านตะวันตก นา้ ตกทีลอซู จังหวัดตาก เป็นนา้ ตก เขื่อนศรนี ครนิ ทร์ จังหวดั กาญจนบรุ ี ใหญ่สดุ ของประเทศ ตน้ นา้ มาจาก การชลประทานและผลติ กระแสไฟฟ้า ผนื ป่าอ้มุ ผางอันอดุ มสมบูรณ์ แม่นา้ แควใหญ่ จงั หวดั กาญจนบุรี นาเกลอื จังหวดั เพชรบุรี กระบวนการ มีสะพานขา้ มแม่น้าแคว ผลิตสว่ นใหญย่ ังพ่ึงพาธรรมชาติ ตลาดน้า จังหวัดราชบรุ ี เป็นผลมาจาก อา่ วมะนาว จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ การมีแม่น้าลาคลองแวดลอ้ มและใช้เรอื เป็นพาหนะ มลี ักษณะโคง้ เกือบเป็นวงกลม มีชายหาดทรายขาวรอบอ่าว

ลกั ษณะการตั้งถ่นิ ฐานในภูมภิ าค ภาคตะวนั ตก การตัง้ ถิน่ ฐานจะอยูแ่ ถบตอนกลางดา้ นตะวันออก ของภูมภิ าค ไดแ้ ก่ พ้ืนที่รมิ แมน่ ่้าปงิ ที่ราบล่มุ แมน่ ่้า แมก่ ลอง ทรี่ าบแม่นา้่ เพชรบุรี และบริเวณชายฝงั่ ดา้ น อา่ วไทย

ลกั ษณะการยา้ ยถ่นิ ในภูมภิ าค การย้ายถ่นิ เข้า ภาคตะวนั ตก ประชากรยา้ ยถ่นิ ฐานมาอยบู่ ริเวณตอนกลาง ของภูมิภาคเพราะมีที่ราบลมุ่ แม่น่้า มีความอดุ มสมบูรณ์และบริเวณชายฝั่งทะเล การยา้ ยถิ่นออก การยา้ ยถ่ินออกเกิดในพน้ื ทตี่ อนบน และทาง ตะวนั ตกของภาค เนื่องจากพ้ืนทท่ี รุ กันดาร มีความแหง้ แลง้

ส่งิ แวดล้อมทางธรรมชาติกบั วถิ ีการด่าเนินชีวิต ภาคตะวนั ตก ลักษณะทีอ่ ยู่อาศยั สร้างบา้ นเรอื นแบบท้องถิ่น ใชว้ สั ดทุ ห่ี างา่ ยในท้องถิน่ อาหารพ้นื บา้ น บริโภคพชื ผักต่างๆ ท่ีหาได้จากป่า และสัตว์นา้ ตาม แหลง่ นา้ ธรรมชาติ การประกอบอาชพี ประกอบอาชพี เกษตรกรรม และประมงเพาะเลย้ี ง สัตวน์ า้ วฒั นธรรมประเพณี มีประเพณีการแขง่ เรอื ยาว ซ่งึ สะท้อนวิถชี ีวติ ของ ผคู้ นทีม่ คี วามผูกพันต่อสายน้า

ลกั ษณะกายภาพ ลกั ษณะภมู ิประเทศ เป็นแบบคาบสมทุ ร มีทิวเขาสูงอยตู่ รงกลาง และมีท่รี าบชายฝงั่ ทะเลขนาบอยทู่ ง้ั 2 ด้าน ลักษณะภมู อิ ากาศ เปน็ แบบร้อนชื้นเพราะมที ะเลขนาบอยู่ท้งั 2 ด้าน จึงไดร้ ับอิทธพิ ลจากทะเล และลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้อยา่ งเตม็ ท่ี ทา่ ใหม้ ีฝนตกชุกตลอดปี อณุ หภูมิเฉลี่ย 26 - 28 องศาเซลเซียส มี 2 ฤดู คือ ฤดูร้อนและฤดฝู น ทรพั ยากรธรรมชาติ เปน็ ดนิ ทีน่ า้่ ทว่ มถงึ มีความอดุ มสมบูรณต์ า่ แหล่งนา่้ เกิดจากทวิ เขาทางตะวนั ตก และทางตอนกลางของภาคใต้ ปา่ ไมจ้ ะเปน็ ปา่ ดบิ ป่าเบญจพรรณ ป่าชายเลน และป่าพรุ แรส่ า่ คัญ ได้แก่ ดีบกุ พลวง ทงั สเตน ฟลอู อไรต์ ถ่านหนิ และปโิ ตรเลยี ม เปน็ ต้น

ลกั ษณะกายภาพที่ส่งผลตอ่ แหลง่ ทรัพยากรและสถานทสี่ ่าคัญในภมู ิภาค มีลักษณะเป็นคาบสมุทร มีทิวเขาอยู่ด้านตะวันตกและตอนกลางของภาค ขนาบด้วยทะเล พ้ืนทร่ี าบจะเป็นที่ราบแคบ ๆ ตามแนวชายฝง่ั มคี วามชมุ่ ชน้ื สูง ทา่ เรอื ระนอง จังหวัดระนอง ท่าเรือน้าลกึ ที่ชว่ ย สะพานตณิ สูลานนท์ จังหวัดสงขลา ขนสง่ สนิ คา้ ทางภาคใตต้ อนบนส่ตู า่ งประเทศ ยาว 2,640 กโิ ลเมตร โดยสรา้ งข้าม ทะเลสาบผา่ นทางเกาะยอ หมูเ่ กาะอ่างทอง จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี อุทยานธรณีสตลู จงั หวัดสตลู อยใู่ นเขตน้าตื้น ประกอบด้วยต่างๆ 42 เกาะ เปน็ อุทยานธรณโี ลกแหง่ แรกของไทย ทะเลน้อย จงั หวดั พทั ลุง เป็นทะเลสาบนา้ จืด เขาตาปู จงั หวัดพงั งา เป็นเขาหินปนู มสี ่วนเชอ่ื มตอ่ กบั ทะเลสาบสงขลา ขนาดเลก็ เกิดจากน้าทะเลกัดเซาะฐานจนคอดก่วิ

ลกั ษณะการตั้งถ่นิ ฐานในภมู ภิ าค ภาคใต้ สภาพพื้นที่เป็นคาบสมุทรมีทวิ เขาทอดตวั ยาว การต้ังถ่นิ ฐานจะอยูบ่ ริเวณทร่ี าบ เชน่ บรเิ วณชายฝงั่ ทั้งสองดา้ นและตามเกาะต่างๆ

ลกั ษณะการยา้ ยถ่นิ ในภมู ภิ าค การยา้ ยถ่ินเข้า ภาคใต้ ประชากรยา้ ยถิน่ ฐานมาอยบู่ รเิ วณพนื้ ท่รี าบชายฝงั่ ทะเล หมู่เกาะ การยา้ ยถิ่นออก การย้ายถิน่ ออกเกิดในบริเวณตอนกลาง ของภาคทเี่ ป็นทิวเขาสงู

สิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติกบั วถิ กี ารด่าเนนิ ชีวิต ภาคใต้ ลักษณะทอ่ี ยอู่ าศยั สร้างบา้ นเรือนยกพ้นื สูงมีหลงั คาลาดชัน วางเสาบน ตอม่อเพ่ือใหส้ ามารถเคล่ือนยา้ ยได้เม่ือเกิดนา้ ทว่ ม อาหารพ้ืนบา้ น รบั ประทานอาหารรสจดั ใช้เครอื่ งเทศมาก ใชว้ ัตถุดิบ ทไ่ี ด้จากสัตว์น้าจดื และนา้ เค็ม การประกอบอาชพี ผูค้ นสว่ นใหญ่ประกอบอาชพี ประมงนา้ เคม็ วัฒนธรรมประเพณี มีประเพณลี อยเรอื ชาวเลเพอ่ื เป็นการสะเดาะเคราะห์ และเซน่ ไหว้บรรพบุรษุ

การจดั การส่งิ แวดลอ้ มในภมู ภิ าค ลดปรมิ าณขยะ ประหยดั พลังงาน ดแู ลรักษาสิง่ แวดลอ้ ม ร่วมกนั รณรงค์ • ดแู ลรกั ษาความสะอาด • ปดิ กอ๊ กน่า้ ใหส้ นิท • พกขวดนา้่ สว่ นตวั เพอื่ ลด • ไม่ให้เกษตรกรใชส้ ารเคมี ปรมิ าณการใช้พลาสตกิ ในบริเวณตา่ งๆ เมอื่ ไมไ่ ด้ใชง้ าน ในการเพาะปลกู • ไมท่ ง้ิ ขยะลงในแหลง่ น่า้ • ปดิ ไฟและถอดปลกั๊ ไฟ • ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก • ไม่เด็ด หรอื หักก่งิ ไมเ้ ลน่ เพอื่ ลดปรมิ าณขยะทย่ี อ่ ย • ปลูกต้นไมใ้ นบริเวณต่างๆ หรอื ท้งิ ขยะลงบนพ้นื เม่อื ไม่ได้ใชง้ าน สลายยาก • ควรแยกขยะก่อนน่าไปท้งิ • เม่อื ต้องเดินทางไปที่ใกล้ๆ เช่น บา้ น โรงเรยี น ชุมชน • รกั ษาแหล่งนา้่ และตน้ ไม้ ควรเดิน หรือใช้บริการรถ ในชุมชนของตน สาธารณะ

การทา่ ลายสิ่งแวดลอ้ มในภมู ิภาค มลพิษ มลพษิ ดินเส่ือม ทรพั ยากรชายฝงั่ ทะเล ทางน่้า ทางอากาศ คุณภาพ ลดลง ปา่ ไมถ้ ูกทา่ ลาย เกดิ จากการปล่อยนา้ เสีย เกดิ จากหลายเหตุ เช่น เกิดจากการปลูกพืชที่ไม่ เกิดจากการบกุ รุกพืน้ ที่ ท้งิ ขยะหรอื สารเคมี ปา่ ชายเลน ส่งผลให้ ลงในแหล่งน้า ควนั เสียจากยานพาหนะ เหมาะสมกับคณุ สมบัติ น้าทะเลเซาะชายฝงั่ และสูญเสยี แหลง่ ควนั จากการเผาขยะ เกดิ จากการลักลอบตดั ไม้ ของดิน การปลูกพืชชนิด เพาะพันธสุ์ ตั วน์ า้ สารเคมีจากโรงงาน การทาไรเ่ ลื่อนลอย เดยี วซา้ กันมากเกินไป อตุ สาหกรรม ไฟป่า การขยายตัวของชมุ ชนเมือง การใชส้ ารเคมี ตามธรรมชาติ ส่งผลให้เกดิ ความแหง้ แลง้ ในการเพาะปลกู

แนวทางในการจัดการสงิ่ แวดลอ้ มในภูมิภาค หนว่ ยงานหรอื องคก์ รตา่ งๆ การป้องกนั การเก็บกกั การแก้ไขและฟนื้ ฟู การรกั ษา การแบ่งเขต การสงวน 12 3 4 5 6 ใช้กฎหมายและให้ รวบรวมทรัพยากร ช่วยให้ทรพั ยากรและ ทาให้ทรัพยากรทีเ่ ส่อื ม แบ่งประเภทของ การเกบ็ รกั ษา ความร้คู วามเข้าใจ เอาไว้ เช่น เก็บกักนา้ สิ่งแวดลอ้ มมาอยู่ในสภาพ โทรมกลบั สสู่ ภาพเดิม ทรพั ยากรในการอนุรกั ษ์ ทรัพยากรไว้ไมใ่ ห้ แกป่ ระชาชน ในฤดูฝนนามาใชใ้ น ดีและใช้ประโยชนไ์ ด้ เช่น อทุ ยานแหง่ ชาติ สูญส้ินไป ฤดแู ล้ง

แนวทางในการจัดการสิ่งแวดล้อมในภูมิภาค บคุ คลท่ัวไป อนุรกั ษ์ ใชอ้ ยา่ งย่ังยืน น่ากลบั มาใช้ใหม่ ใชอ้ ยา่ งประหยดั ใช้ส่งิ อืน่ ทดแทน การซ่อมแซม 12 3 4 56 ใชท้ รพั ยากรให้เกิด ใชท้ รัพยากรใน ของทใี่ ช้แล้ว นากลบั มา ใช้เท่าท่ีจาเป็น ชว่ ยลดการใช้ ซอ่ มแซมของใช้ ประโยชนส์ ูงสดุ และ ปริมาณท่ีเหมาะสม ใชไ้ ดอ้ กี เช่น ขวดน้า และคมุ้ ค่ามากที่สุด ทรพั ยากรธรรมชาติ ต่างๆท่ชี ารุดเพื่อลด ทาใหท้ รัพยากรฟื้น เชน่ ใชถ้ ุงผ้าแทน การใชท้ รพั ยากร เกิดผลเสียต่อ ถงุ พลาสติก สิง่ แวดลอ้ มน้อยที่สดุ ตวั ใหมไ่ ด้ทัน ถุงพลาสตกิ

จบการนาเสนอขอขอบพระคุณครบั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook