Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore best Practice

best Practice

Published by zuzaa.vayla, 2022-06-07 18:20:23

Description: best 65

Search

Read the Text Version

นางสาวชญั ญช์ นพร ชานาญป่ า ครู กศน.ตาบลลาดหญา้

คำนำ วิธีปฏิบัติที่ดี เรื่อง การปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้รูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ให้เป็น “ครู กศน.ตำบล ต้นแบบ” เป็นวิธีการปฏบิ ัติที่คิดค้นและพฒั นาขึน้ เพื่อใช้เป็นเครือ่ งมอื ในการทำงาน ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น อีกทั้งเป็นเครื่องมือช่วยแก้ปัญหาในการทำงานที่ไม่มีระบบของ การทำงานใน ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล ไปสู่การทำงานอย่างมืออาชีพ ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจากการดำเนินการ อย่างตอ่ เน่อื ง ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2564 ถึงเดอื นมีนาคม 2565 สามารถแก้ปัญหาไดเ้ ปน็ อย่างดี เป็นท่ีน่าพอใจ เกดิ ผลงานเป็นทปี่ ระจักษ์ จนเป็นทยี่ อมรับจากหน่วยงานต้นสงั กัด ภาคเี ครอื ข่าย และชุมชน ขอขอบคุณ ผบู้ รหิ าร และบคุ ลากร ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอ เมืองกาญจนบุรี องค์กรนักศึกษา และ ผูม้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งทุกทา่ น ทีใ่ หค้ วามรว่ มมอื เป็นอย่างดีจนการดำเนินงาน ประสบความสำเร็จ หวังเป็นอย่างยิ่งวา่ วิธีปฏิบัติที่ดี การปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้รปู แบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ใหเ้ ปน็ “ครู กศน.ตำบล ตน้ แบบ”จะเป็นประโยชนก์ ับครู กศน.ตำบล หนว่ ยงาน กศน. หรอื ผู้ทสี่ นใจ ในการนำไปประยุกต์ใช้เพอื่ แกป้ ญั หาการบริหารจัดการ และการปฏบิ ตั ิงานของ กศน.ตำบล ในโอกาสตอ่ ไป นางสาวชัญญ์ชนพร ชำนาญปา่ ครู กศน.ตำบลลาดหญา้ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองกาญจนบรุ ี

สารบัญ หนา้ คำนำ สารบัญ รายงานวธิ ปี ฏิบตั ิทด่ี .ี ............................................................................................................... 1 บทสรุป.................................................................................................................................... 1 ความเป็นมาและความสำคัญ.................................................................................................. 1 วัตถุประสงค.์ .......................................................................................................................... 2 เปา้ หมาย.........................................………….………………………………………......…………………… 2 ขั้นตอนการดำเนินงาน..........…………………………………...……………………………......…..….……… 2 ผลการดำเนนิ งาน...........................…………………..……………………….….....…………….………….. 8 บทเรยี นทีไ่ ดร้ ับ................................…………………..………………………………….......……………….. 9 ปัจจยั แห่งความสำเรจ็ .................................………..…………………………………………………........ 9 จุดเด่นหรอื ลกั ษณะพเิ ศษ............................………..…………………………....…………………..…….. 9 ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนา…………………………………………….……….....……..……….. 10 การเผยแพรแ่ ละการขยายผล.....................………..………………………..……….……………......….. 10 บรรณานุกรม.........………..……………………………………………..……………………………………………….. 11 ภาคผนวก......………..……………………………………………..…………………………...…………..…………….. 12 เอกสารและภาพประกอบ……………………………………………………………………………........……....…...13 คณะผู้จัดทำ................................................................................................................................... 14

ชอ่ื ผลงาน การปฏบิ ตั ิงานให้มปี ระสทิ ธิภาพ โดยใช้รูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ให้เปน็ “ครู กศน.ตำบล ตน้ แบบ” ผู้เสนอผลงาน นางสาวชญั ญ์ชนพร ชำนาญปา่ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลลาดหญ้า สถานศึกษา ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมอื งกาญจนบรุ ี สังกดั สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั กาญจนบุรี บทสรุป การปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้รูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ให้เป็น “ครู กศน.ตำบล ต้นแบบ” ใช้หลักการสำคัญ หลักปรัชญาคิดเป็น ซึ่งเป็นความคิดที่เกิดจากความเชื่อว่า มนุษย์โลกทุกคนต้องการมีความสุข ความสุขของคนแต่ละคนแตกต่างกัน หากแต่ละคนสามารถปรับตนเอง ให้กับเข้าสภาพแวดล้อมที่ตนดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างกลมกลืน ในการเสริมสร้างบุคคลให้เป็นคนคิดเป็น ต้องใช้ ทกั ษะการคดิ การแก้ไขปัญหาโดยใช้ข้อมูลอยา่ งรอบด้านก่อนการตดั สินใจลงมอื ปฏิบตั ิ ทั้งขอ้ มูลตนเอง ข้อมูล วิชาการและข้อมูลสงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม “การคิดเป็น” เป็นการคิดเพือ่ แก้ปัญหา คือ มีจุดเริ่มต้นที่ปัญหาแล้ว พิจารณาไตร่ตรองถึงข้อมูล 3 ด้าน คือ ข้อมูลด้วยตนเอง ข้อมูลสังคมและสิ่งแวดล้อม และข้อมูลวิชาการ ประกอบการตัดสินใจ จากนั้นก็ลงมือกระทำ หากสามารถทำให้ปัญหาหมดไป กระบวนการคิดแก้ปัญหายุตลิ ง แต่หากบุคคลยังไม่พอใจแสดงวา่ ยงั มีปญั หาอยู่ ก็จะเร่มิ กระบวนการคิดพิจารณาทางเลอื กใหม่อีกครั้ง และเม่ือ กระบวนการน้ียตุ ิลง เมื่อบุคคลพอใจและมีความสุข และการ“คิดเป็น” เป็นการคิดแบบพอเพียง พอประมาณ ไม่มาก ไม่น้อยเป็นทางสายกลาง สามารถอธิบายไดด้ ว้ ยเหตุผล พร้อมทจ่ี ะรับผลกระทบท่เี กิดโดยมีความรอบรู้ ในวชิ าการทเี่ กีย่ วข้องอย่างร้จู ริง สามารถนำความรู้มาใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ ใช้สติปัญญาในการดำเนิน ชีวิต ซึ่งแนวคิดนี้สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั่นเอง เป็นการ บูรณาการเอาการคิด การกระทำ การแก้ปัญหา ความเหมาะสมและความพอดี มารวมไว้ในคำว่า “คิดเป็น” คอื การคดิ เป็นทำเป็นอยา่ งเหมาะสมจนเกดิ ความพอดี และแกป้ ญั หาได้ดว้ ย กระบวนการแก้ปัญหาตามปรัชญา “คิดเป็น” 1. ขั้นสำรวจปัญหา เม่อื เกิดปัญหา ย่อมต้องเกดิ กระบวนการคิดแก้ปัญหา 2. ขั้นหาสาเหตุของปัญหา เป็นการหาข้อมูลมาวิเคราะห์ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นนัน้ เกิดขึ้นได้อย่างไร มีอะไร เปน็ องคป์ ระกอบของปญั หาบ้าง • สาเหตจุ ากตนเอง พืน้ ฐานของชีวิต ครอบครวั อาชพี การปฏิบตั ิตน คุณธรรมจริยธรรม • สาเหตุจากสังคม บุคคลท่ีอยู่แวดลอ้ ม ตลอดจนความเช่ือ ประเพณี วัฒนธรรมของสงั คมและ ชุมชนนัน้ • สาเหตุจากการขาดวชิ าการความรู้ตา่ งๆ ที่เกีย่ วขอ้ งกบั ปัญหา

3. ขั้นวิเคราะห์ปัญหา หาทางแก้ปัญหา เป็นการวิเคราะห์ทางเลือกในการแก้ปัญหา โดยใช้ข้อมูลด้าน ตนเอง สังคม วชิ าการ มาประกอบในการวิเคราะห์ 4. ขนั้ ตดั สนิ ใจ เมื่อได้ทางเลอื กแลว้ จงึ ตัดสินใจเลอื กแกป้ ัญหาในทางทม่ี ขี ้อมูลตา่ งๆ พรอ้ ม 5. ข้นั ตัดสินใจไปสกู่ ารปฏิบตั ิ เมอ่ื ตดั สินใจเลอื กทางใดแลว้ ตอ้ งยอมรับวา่ เปน็ ทางเลือกที่ดีท่ีสุดในข้อมูล เท่าทมี่ ขี ณะน้นั ในกาละนัน้ และในเทศะนน้ั 6. ขัน้ ปฏิบัตใิ นการแกป้ ัญหา ในขนั้ นเี้ ป็นการประเมินผลพรอ้ มกนั ไปด้วย ถา้ ผลเป็นที่ • พอใจ กจ็ ะถอื วา่ พบความสขุ เรียกวา่ “คดิ เปน็ ” • ไมพ่ อใจ หรือผลออกมาไมไ่ ดเ้ ปน็ ไปตามทีค่ ดิ ไว้ หรอื ข้อมลู เปลีย่ น ตอ้ งเรมิ่ ตน้ กระบวนการคดิ แก้ปญั หาใหม่ และยังมกี ารนำการทำงานภายใต้วงจรคณุ ภาพ PDCA ซ่งึ จากการดำเนินการอย่างตอ่ เน่ือง ตงั้ แต่เดอื น มีนาคม 2564 ถึง เดือนมีนาคม 2565 ทำให้เกิดผลงานเป็นที่ประจักษ์ อันได้แก่ รางวัลต่าง ๆ ที่ได้รับ ทั้งบุคลากร สถานศึกษา และผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ผู้รับบริการ จนเป็นที่ยอมรับจากหน่วยงานต้นสังกัด ภาคีเครือขา่ ย และสงั คม

ความเปน็ มาและความสำคญั ผู้จัดทำเป็นครู กศน.ตำบลลาดหญ้า จาการปฏิบัติงานพบสภาพปัญหา ที่เกิดจากการ ดำเนินงานตามภาระกจิ ของรปู แบบการทำงานของ กศน.ตำบล ได้แก่ การจัดการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน การจดั การ ศึกษาต่อเนื่อง การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และกิจกรรมตามนโยบายเร่งด่วน งานที่ได้รับมอบหมาย งาน ภาคีเครือคา่ ย หลายดา้ น ซงึ่ นำข้อมลู มาวิเคราะห์ โดยการ SWOT เพื่อหาข้อผิดพลาด/จุดดอ้ ย ที่ควรพัฒนาให้ การดำเนินงานของ การทำงาน บทบาทหน้าท่ี ในตำแหน่งกศน.ตำบลลาดหญ้า มีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงข้ึนที่ ผู้จัดทำ จึงได้คิดรูปแบบการทำงานให้มีประสิทธิภาพ โดยคิดค้นกระบวนการทำงาน การปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้รูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ให้เป็น “ครู กศน.ตำบล ต้นแบบ” โดยเรมิ่ จากกระบวนการ “คดิ เปน็ ” ในการทำงานหรือการตัดสินใจเป็นการคิดวเิ คราะห์โดยใช้ข้อมูล 3 ด้าน คือด้านตนเอง ด้านสังคม และด้านวิชาการเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการทำงาน รวมถึง การนำวงจร คุณภาพ PDCA มาใช้ในการดำเนนิ งาน เพื่อนำมาใชใ้ นการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มคี ณุ ภาพ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพ่ือศึกษาและออกแบบรูปแบบการปฏิบัติงานใหม้ ปี ระสิทธิภาพ โดยใช้รปู แบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ให้เปน็ “ครู กศน.ตำบล ต้นแบบ”ใหส้ ามารถขบั เคล่ือนงานการศกึ ษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๒. เพอ่ื เพิ่มประสทิ ธิภาพการปฏิบัติงานของครู กศน.ตำบลลาดหญ้า ดว้ ยโมเดล การปฏิบตั ิงาน ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ โดยใชร้ ูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ใหเ้ ปน็ “ครู กศน.ตำบล ตน้ แบบ” เปา้ หมาย ครู กศน.ตำบลลาดหญ้า ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอ เมอื งกาญจนบรุ ี ท่ีปฏิบัตงิ าน ระหวา่ ง เดือนมีนาคม 2564 ถึง เดือนมีนาคม 2565 ขนั้ ตอนการดำเนินงาน สภาพกอ่ นการพฒั นาการวิเคราะหส์ ภาพปญั หาของ กศน.ตำบลลาดหญา้ จากสภาพการบรหิ ารจดั การ การดำเนินงานท่ผี า่ นมา พบปัญหา อปุ สรรค ท่ีไดจ้ ากการศกึ ษาข้อมลู จากเอกสาร และรายงานสรปุ เป็นประเดน็ สำคญั ดังนี้ ดา้ นการบริหารจดั การ ๑. ครู กศน.ตำบลลาดหญ้า ยังขาดระบบการบรหิ ารจัดการองคก์ รดา้ นขอ้ มูลพืน้ ฐานในพน้ื ท่ี ตำบลลาดหญา้ ขอ้ มลู ท่ีเช่ือมโยงท่นี ำมาใช้ในการทำงาน ๒. ครู กศน.ตำบลลาดหญา้ ยังขาดระบบการบรหิ ารจดั การดา้ นเอกสารและสารสนเทศท่มี ี ประสิทธิภาพและพร้อมใช้งาน

๓. ครู กศน.ตำบลลาดหญ้า ยงั ขาดการประชาสมั พนั ธใ์ นส่อื ตา่ งๆและสอื่ สังคมออนไลน์ให้กบั ตน้ สงั กดั ภาคีเครอื ข่าย และผูม้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง ได้รบั ทราบ 4. ครู กศน.ตำบลลาดหญา้ ยงั ขาดความรอบคอบเกี่ยวกบั เอกสาร การทำงานยังมกี ารแกไ้ ขใน รายละเอียดของเอกสาร ดา้ นบุคลากร ๑. ครู กศน.ตำบลลาดหญ้า จบไม่ตรงเอกทีส่ อนในรายวชิ าบงั คบั ๒. ครู กศน.ตำบลลาดหญา้ ยังขาดการทำงานเปน็ ทีม ๓. ครู กศน.ตำบลลาดหญ้า ยังขาดการมีสว่ นร่วมระหวา่ ง กศน.ตำบล ดว้ ยกนั ดา้ นแหล่งเรยี นรู้/ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ๑. แหลง่ เรยี นรใู้ นตำบลลาดหญ้า ขาดการประชาสัมพันธ์ ๒. ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ขาดการสง่ เสริมใหม้ กี ารจดั กจิ กรรมการถา่ ยทอดความรู้ 3. การใชป้ ระโยชนด์ ้านการศกึ ษา จากแหลง่ เรยี นร/ู้ ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ถือวา่ ยงั นอ้ ย 4. ข้อมลู แหลง่ เรยี นรู้/ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ยังไม่เป็นปจั จบุ นั

การออกแบบขน้ั ตอนเพอ่ื การพัฒนา จากการศึกษาสภาพปัญหาการปฏิบัติงานของครู กศน.ตำบลลาดหญ้า จึงได้จัดทำกรอบ แนวคิดในการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยได้ใช้หลักทฤษฎีและหลักวิชาการที่เกี่ยวข้อง และนำวงจร คุณภาพPDCA ของเดมม่ิง (Deming Cycle) มาใช้ในการดำเนินการท้ังการขับเคล่อื นในภาพรวมและการ ขับเคลื่อนแบบการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้รูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ให้เป็น “ครู กศน.ตำบล ตน้ แบบ”พร้อมทัง้ ระบกุ ารประเมนิ ผลของความสำเรจ็ ศกึ ษาแนวทางและทฤษฎี ดังนี้ ที่เกีย่ วขอ้ งเพ่ือในการพฒั นา สภาพปญั หาทเ่ี กิดข้ึน -ปรัชญาคิดเปน็ -บรบิ ทพน้ื ทก่ี ารปฏิบตั ิงาน -แนวคิดเก่ยี วกบั การบริหารองคก์ ร -ระบบเอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ ง -แนวคิดเก่ยี วกบั การบริหารการศึกษา -สอบถามจากเพอื่ นรว่ มงาน -แนวคิดเกี่ยวกับทัศนคติ -ขาด ข้อมลู สงั คมสง่ิ แวดลอ้ ม และ -แนวคดิ เกี่ยวกับการทำงานเป็นทีม ขอ้ มูลวชิ าการ ทีจ่ ะนำมาใชใ้ นการ -แนวคดิ เกี่ยวกับการสร้างแรงจงู ใจ ปฏิบตั งิ าน -แนวคิดเก่ียวกบั การมสี ว่ นรว่ ม -แนวคิดเก่ียวกบั ความพงึ พอใจ สรา้ งการปฏบิ ตั ิงานใหม้ ีประสทิ ธิภาพ โดยใชร้ ูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ใหเ้ ป็น “ครู กศน.ตาบล ตน้ แบบ” ทดลองการใช้ การปฏบิ ตั ิงานใหม้ ี ประสิทธิภาพ โดยใชร้ ูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ใหเ้ ป็น “ครู กศน.ตาบล ตน้ แบบ” ประเมินผลการใช้ โมเดลการปฏบิ ตั งิ านใหม้ ี ความสาเรจ็ จากการใชโ้ มเดล ประสิทธิภาพ โดยใชร้ ูปแบบ KRU SU การปฏบิ ตั ิงานใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ โดยใชร้ ูปแบบ MODEL (ครู สุ โมเดล) ใหเ้ ป็น “ครู กศน.ตาบล ตน้ แบบ” KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ใหเ้ ป็น “ครู กศน.ตาบล ตน้ แบบ” ภาพประกอบท่ี 1 กรอบแนวคดิ ในการพัฒนาท่แี สดงให้เห็นความเชอื่ มโยงสมั พนั ธร์ ะหว่างปัญหา รางวลั ท่ีไดร้ บั จากการใชใ้ ชโ้ มเดล แนวคดิ ทฤษฎีและหลักวิชาการที่ใช้ วธิ ีการพัฒนา และความสำเรจ็ ที่พึงประสงค์ การปฏิบตั ิงานใหม้ ปี ระสิทธิภาพ โดยใชร้ ูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ใหเ้ ป็น “ครู กศน.ตาบล ตน้ แบบ”

การดำเนนิ การตามขน้ั ตอนการพฒั นา ๑. ขนั้ วางแผน (Plan) ๑.๑ นำปรชั ญา “คิดเปน็ ” ปรับพืน้ ฐานความคดิ ทว่ี ่า ความต้องการของแตล่ ะบุคคลไม่เหมือนกัน แต่ทุกคนมีจุดรวมของความต้องการที่เหมือนกัน คือ ความสุข คนเราจะมีความสุขเมื่อตนเองและสังคม สิ่งแวดล้อมประสมกลมกลืนกันได้ โดยการปรับตัวเราเองให้เข้ากับสังคมหรือสิ่งแวดล้อม หรือโดยการปรับ สังคมและสิ่งแวดล้อมให้เข้ากับตัวเรา หรือปรับทั้งตัวเราและสังคมสิ่งแวดล้อมให้ประสมกลมกลืนกัน หรือเข้า ไปอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับตน คนที่สามารถทำได้เช่นนี้เพื่อให้ตนเองมีความสุขนั้น จำเป็นต้องเป็นผู้มี การคดิ สามารถคดิ แกป้ ัญหา รู้จักตนเอง รจู้ กั สงั คมและสิ่งแวดล้อม และมีองค์ความรู้ทจ่ี ะนำมาคดิ แก้ปัญหาได้ จงึ จะเรยี กได้วา่ ผู้น้นั เป็นคนคิดเป็น โดยในการวเิ คราะห์ปญั หา และความต้องการบนพื้นฐานความต้องการของ แตล่ ะบคุ คลไม่เหมอื นกัน วางแผนการทำงานใหต้ รงกับกล่มุ เปา้ หมาย ตรงกับสภาพปัญหา โดยคำนงึ ถึง ต้นน้ำ กลางนำ้ และปลายน้ำ ๑.๒ ศกึ ษาแนวคิดทฤษฎที ่เี ก่ียวขอ้ ง ได้แก่ แนวคดิ เกี่ยวกับการบริหารองคก์ ร การบริหาร การศกึ ษา ภาวะผู้นำ การสรา้ งแรงจูงใจ ทศั นคติ การทำงานเปน็ ทมี การมสี ว่ นรว่ ม ความพึงพอใจ เพือ่ นำมาประยกุ ตใ์ ช้ในการสร้างรูปแบบการบริหารจัดการ และวิธกี ารดำเนนิ งานใหป้ ระสบความสำเร็จ ๑.๓ สรา้ งโมเดล “ต้นแบบ ครู กศน.ตำบล” โดยใช้รปู แบบปฏิบตั งิ าน KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) จากแนวคดิ และทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง และนำวงจรคุณภาพ PDCA ของเดมม่งิ (Deming Cycle) มาควบคุมการดำเนนิ งาน เพื่อเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพของบคุ ลากรในการปฏิบตั งิ าน และการแก้ไขปญั หาท่เี กดิ ขึน้ ใน ด้านตา่ งๆไดด้ ยี ิ่งขึ้น โดย กำหนดขน้ั ตอนตามช่อื ของผ้จู ดั ทำผลงาน 5 ข้นั ตอน ดงั นี้ K : Knowledge ความรู้ทีเ่ กิดจากกระบวนการเรียนรู้ R : Responsibility มีความรบั ผิดชอบ ประกอบด้วยความดีมวี ินัย U : Understand เขา้ ใจงาน เขา้ ใจคน S : system กลมุ่ ขององค์ประกอบตา่ งๆ ทท่ี ำงานรว่ มกัน เพอื่ จดุ ประสงคอ์ ันเดยี วกนั U : unity team การทำงานรว่ มกนั มีความสามัคคี และความพรอ้ มเพรียงกัน

การปฏิบัติงานใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ โดยใช้รูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ให้เปน็ “ครู กศน.ตำบล ตน้ แบบ” ๑.๔ นำรูปแบบโมเดลการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้รูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ให้เป็น “ครู กศน.ตำบล ต้นแบบ” เสนอผู้บริหารสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองกาญจนบรุ ี เพ่ือขออนุมตั ิใหด้ ำเนินการ ๑.๕ ทดลองใช้โมเดลการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้รูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ให้เป็น “ครู กศน.ตำบล ต้นแบบ” กับบุคลากรของ กศน.ตำบลลาดหญ้า จำนวน 1 คน โดย ขับเคลื่อนไปพรอ้ มกับการปฏิบัตงิ านตามภารกิจและนโยบายของสำนักงาน กศน. และสำนักงาน กศน.จังหวัด กาญจนบุรี ระหว่างเดือน มีนาคม 2564 - มนี าคม 2565 ๑.๖ สรปุ ผลทไ่ี ดจ้ ากการทดลองกบั ครู กศน.ตำบล จำนวน ๑ คน และปรบั ปรงุ รปู แบบโมเดลการ ปฏิบตั งิ านให้มปี ระสิทธิภาพ โดยใช้รูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล)ใหเ้ ปน็ “ครู กศน.ตำบล ตน้ แบบ” ให้มปี ระสิทธภิ าพย่ิงขึ้น เพ่ือนำไปใชก้ ับ กศน.ตำบล ในสงั กัดทกุ คนในปงี บประมาณ 2565 ๒. ขั้นดำเนนิ การ (Do) นำโมเดลการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้รูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ให้เป็น “ครู กศน.ตำบล ต้นแบบ” ไปใช้กับครู กศน.ตำบลลาดหญ้า ในปีงบประมาณ 2565 เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของบุคลากรในการปฏิบัติงาน ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นด้านต่างๆ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ภายใตว้ งจรคณุ ภาพ PDCA ดงั นี้

K : Knowledge ความรู้ที่เกดิ จากกระบวนการเรยี นรู้ 1) การบง่ ช้คี วามรู้ คอื การระบุประเดน็ ความรู้ รูปแบบ และผ้รู ู้ท่ีสอดรบั กับนโยบาย ขอบเขต และเปา้ หมายขององค์กร - ทำงานบนพ้นื ฐานหลักการทาํ งาน กศน. ตําบล ยึดชุมชนเปน็ ฐานในการดําเนนิ งานและการ จัดการเรียนรู้ โดยใช้ต้นทุนของชุมชน เช่น อาคาร สถานที่ แหล่งวิทยาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณี มีการประสานเครือข่ายในชุมชนร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วน ในชุมชน/สังคม เข้ามามีส่วนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดําเนินกิจกรรม กศน . ตําบล ทั้งในฐานะผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ ร่วมคิด ร่วมทํา ร่วมแก้ปัญหา บูรณาการกระบวนการเรียนรู้ และ จดั ประสบการณ์ การเรียนรใู้ ห้สอดคล้องกับวิถชี วี ติ ของชุมชน มคี ณะกรรมการ กศน. ตําบล ท่ีเป็นคนในชุมชน ใหก้ ารสง่ เสรมิ สนบั สนุน ติดตามดูแลและร่วมประเมนิ ผลการดาํ เนินงาน กศน. ตําบล ผลการดำเนินงานท่ปี ระสบความสำเร็จ สามารถประสานงานเครอื ขา่ ยในพน้ื ที่ ให้มีสว่ นร่วม ในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.ตำบลลาดหญ้า ให้มีประสิทธิภาพ ได้แก่ สามารถขยายภาคีเครือข่ายเพิ่มขึ้นทุกปี โดยมีการจดบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับภาคีเครือข่าย และส่งเสริมให้องค์การบริหารส่วนตำบลลาดหญ้า สนับสนุนงบประมาณและ กิจกรรมของ กศน.ตำบลลาดหญ้า ได้แก่ จ่ายค่าสาธารณูปโภคทุกเดือน เป็นต้น (ในปีงบประมาณ 2562 องค์การบริการส่วนตำบลลาดหญ้า ไดร้ ับรางวัลท่ี 2 ระดับประเทศ สาขาภาคีเครือข่ายภาครฐั ดีเดน่ ) 2) การสร้างและแสวงหาความรู้ คือ การรวบรวมความรู้ใหม่ รักษาความรู้เดิม และกรอง ความรู้ท่ีไม่ใช้ออกจากแหลง่ รวบรวม และเปนการเรียนรูโดยการแลกเปลี่ยนประสบการณกับผูอื่น การเรียนที่ ตองมี การประชุมระดมสมองเพื่อหาวิธีการที่ดีและเหมาะสมในการดําเนินการ เนื่องจากเปนการเรียนรู ในลักษณะทีมงานยอยท่มี ีสมาชกิ จํานวนหน่ึงทตี่ องมกี ารทาํ งานรวมกัน 3) การจดั ความรู้ใหเ้ ปน็ ระบบ คอื การวเิ คราะหแ์ ละคัดแยกความร้เู ปน็ กลุม่ ประเดน็ ให้งา่ ยต่อ การเข้าถึงอย่างมีขั้นตอน เมือได้ความรู้มาเพียงพอแล้วก็นำมาจัดหมวดหมู่ให้ชัดเจน และจัดเก็บไว้ในรูปแบบ ต่างๆ ทั้ง เอกสาร หนงั สือ Youtube ในรูปแบบวดิ โี อ และ E-book เปน็ ต้น - จัดทำรายงานผลการจัดกจิ กรรมในรูปแบบวิดีโอลงในช่อง Youtube กศน.ตำบลลาดหญ้า

คิวอารโ์ คต๊ ชั้นหนงั สือออนไลน์ กศน.ตำบลลาดหญ้า

จดั ทำรายงานผลกจิ กรรมในรูปแบบ E-BOOK สามารถเผยแพร่ในรูปแบบออนไลน์ ใหผ้ ้อู ืน่ สามารถเขา้ ถงึ ข้อมลู ไดง้ ่าย 4) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ คือ การปรับปรุงให้ความรู้มีรูปแบบมาตรฐาน ไม่ซ้ำซ้อน มีความสมบูรณ์ มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ และนำความรู้ที่จัดเก็บเป็นหมวดหมู่ไว้แล้วมาทบทวน กลั่นกรอง ให้มคี วามทนั สมัย 5) การเข้าถึงความรู้ คอื การสรา้ งแหล่งเผยแพร่ทีส่ ามารถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา และมกี ารจัดช่องทาง เผยแพร่ความรู้ทางช่องทางตา่ งๆ ที่หลากหลาย เพื่อให้บุคลากรสามารถเข้าถึง ความรู้ได้สะดวก รวดเร็ว และ ทั่วถึง

จัดทำเพจ กศน.ตำบลลาดหญา้ เปน็ ช่องทางการเผยแพร่ทาง Facebook ช่องทาง glide app กศน.ตำบลลาดหญา้

6) การแบง่ ปันแลกเปล่ียนความรู้ คือ การนำความรู้เข้าสู่เวทีแลกเปล่ยี นท่ีมีฐานความรู้หรือฐานข้อมูล รองรบั ให้ง่ายตอ่ การเข้าถงึ และสบื คน้ 7) การเรียนรู้ คือ การใชค้ วามร้เู ป็นส่วนหนง่ึ ของงาน เป็นวงจรความร้ทู มี่ กี ารเรยี นร้แู ละพฒั นาใหเ้ กิด ประสบการณใ์ หม่อยูเ่ สมอ เช่น กจิ กรรมการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ เช่น แลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ ห้กับผู้มาศกึ ษาดูงาน กศน.ตำบล ต้นแบบ 5 ดพี รีเมี่ยม เป็นตน้

นอกจากการเรยี นรูรว่ มกนั แลว้ ยังมีการเรียนรู้โดยใหผรู วมงานวจิ ารณและแนะนํา คือ การเรยี นรู ที่ตองมีการเสนอแนะและใหขอคิดเห็นเมื่อมีการดําเนินการปฏิบัติ และอาจมีการปรับปรุงการปฏิบัติ เพื่อความสําเร็จของดําเนินการนำองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ มาจัดทำข้อมูลใน วางแผนการพัฒนา ดงั น้ี 1) ศึกษาเรียนรู้พฤติกรรมของผู้ร่วมปฏิบัติงาน บุคคลที่ร่วมงาน ภาคีเครือข่าย ทุกคน โดยใช้วิธีการสังเกต และการพูดคุยแบบไม่เป็นทางการเพื่อสร้างความคุ้ยเคย ความเป็นกันเอง สร้างความ ไว้วางใจ และเปน็ กลั ยาณมิตรโดยรวบรวมและสรปุ เปน็ ประเด็น จำนวน 5 ประเดน็ ไดแ้ ก่ 1.1) ความรู้ ความสามารถในการปฏบิ ตั ิงาน 1.2) จุดแข็งและจดุ ออ่ นในการปฏิบัติงาน 1.3) ความชอบ และความถนดั หรือคณุ ลักษณะพิเศษทเี่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัตงิ าน 1.4) ความต้องการในการแก้ไขปัญหาหรือพฒั นา 1.5) นสิ ัยและเจตคตติ ่อการปฏิบตั ิงาน 2) ศึกษาบรบิ ทพ้ืนทปี่ ฏิบตั งิ าน โดยศึกษาข้อมูลด้านกายภาพ สภาพแวดลอ้ ม ชุมชน สังคม ประเพณี วฒั นธรรม ความเชอ่ื การเมอื ง ปกครอง การศกึ ษา การประกอบอาชพี เศรษฐกิจ เปน็ ต้น โดยศกึ ษาจากเอกสารของสถานศึกษา ข้อมูลจากหน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้อง และลงพ้ืนท่ีจริง 3) ศกึ ษากลุม่ เปา้ หมายและผ้ทู มี่ ีส่วนเกย่ี วขอ้ ง ได้แก่ นักศึกษาการศกึ ษา ขั้นพื้นฐาน ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ผู้รับบริการศึกษาตามอัธยาศัย กรรมการสถานศึกษา ผู้นำชุมชน โดยใชร้ ูปแบบการสัมภาษณ์แบบไม่เปน็ ทางการ ขั้นดำเนินการ (Do) สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและสร้างทีมงานที่เข้มแข็ง สร้างความร่วมมือร่วมใจ เพอื่ ใหป้ ฏิบตั ิงานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และการแกไ้ ขปญั หาตามแผนท่วี างไว้ R : Responsibility มีความรับผดิ ชอบ ประกอบดว้ ยความดมี วี นิ ยั (ขยัน/ตั้งใจทำงานอย่างเต็มความสามารถ) ขยันตั้งใจทำงานหรือเรียกว่า การปฏิบัติงานเชิงรุก ซึ่งปฏิบัติงาน อย่างเต็มกำลังความสามารถและเป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลา องค์ความรู้และทักษะในการ ปฏิบตั งิ านเป็นปัจจยั สำคญั ท่ีจะทำใหง้ านประสบความสำเรจ็ นอกจากนี้ ยังต้องมที ัศนคติเชงิ บวก และความคดิ สร้างสรรค์ รวมทั้งมีเทคนิคในการทำงาน รู้จักนำข้อมูลพื้นฐานจากการเรียนรู้ นำเทคนิคที่ช่วยให้งานมี ประสทิ ธภิ าพมากขึ้น

- ใหบ้ ริการเปดิ กศน.ตำบลลาดหญ้า ทกุ วนั ตั้งแตเ่ วลา 08.30 – 17.00 น. - ใหบ้ รกิ ารกับประชาชนทกุ กลุ่มเป้าหมายโดยไม่เลือกปฏิบตั ิ - เสยี สละเวลาส่วนตนในการปฏิบตั ิงานชว่ ยเหลอื ชุมชน - เป็นแบบอยา่ งท่ีดีในการทำงานรปู แบบ ครู กศน.ตำบล S : system ระบบ คือ กลุ่มขององค์ประกอบต่างๆ ที่ทำงานร่วมกัน เพื่อจุดประสงค์ อันเดียวกัน ลักษณะสำคญั ของวธิ รี ะบบ เปน็ การทำงานร่วมกนั ของบุคคลที่เกย่ี วข้องในระบบนั้นๆ เปน็ การใช้ทรัพยากรทีม่ ีอยู่อยา่ งเหมาะสม เป็นการแบ่งปัญหาใหญ่ๆออกเป็นปัญหายอ่ ย ๆเพื่อสะดวกในการแกไ้ ข เน้นใช้การทดลองให้ เหน็ จริงเลือกแก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบ โดยเลอื กทพ่ี อจะแกไ้ ขไดแ้ ละเป็นปญั หาเร่งดว่ นกอ่ น เน้นการนำระบบสารสนเทศ (Information System) มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นระบบท่ีช่วยในการจัดการข้อมูลทีต่ ้องการใช้ในการจดั การข้อมลู ในการจดั การเรียนการสอน เช่น ระบบ การเก็บข้อมูลสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชนในชมุ ชน ในรปู แบบทน่ี ำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการ จัดเก็บข้อมูลได้สะดวกรวดเร็วขึ้น ซึ่งในปัจจุบันส่วนใหญ่ถือว่าเป็นยุคแห่งการติดต่อสื่อสารเลยก็ว่าได้ เน่ืองจากมกี ารติดต่อกันผ่านทางชอ่ งทางท่ีหลากหลายไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ทันใจ แมผ้ ้สู อื่ สารน้นั จะอยู่ห่างกันคนละ ทวีปเลยก็ตาม แต่นั้นก็ไม่ใช่อุปสรรคแต่อย่างใด ซึ่งในปัจจุบันได้มีเทคโนโลยีเข้ามามากมา ยผู้คนใช้ โทรศัพท์มือถือเพยี งแค่เครื่องเดียวในการทำธุรกิจกิจการต่างๆ ในการทำงานหรือแม้แต่ในการไปเที่ยวพักผอ่ น ก็สามารถนำโทรศัพท์มาใช้ได้ ซึ่งประโยชน์ของโทรศัพท์มือถือนั้นมีอยู่มากมายซึ่งจะกล่าวต่อไปน้ี กศน.ตำบลลาดหญ้า จึงปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาและประชาชน ในการจัดกิจกรรม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาอัธยาศัย เนน้ การใชง้ านผา่ นมอื ถือ เน้นการเขา้ ถงึ โดยการใช้โทรศัพท์มือถือ เริ่มตั้งแต่การนำในรูปแบบ Google Form ได้แก่การสำรวจความต้องการทางออนไลน์ การเก็บข้อมูลผู้เรียน การสำรวจความพงึ พอใจ การติดตามผู้เรียน เปน็ ต้น จึงได้คิดค้นนวตั กรรมในการจัดการเรียนการสอนผ่านมือถือ มาใช้กับนักศกึ ษาและประชาชน ใน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ในรูปแบบ Application (แอพพลิเคชั่น) ชื่อนวตั กรรม Glide app กศน.ตำบลลาดหญ้า ซ่ึงจดั ทำในรปู แบบการใช้งานให้ตรงกบั ความ ตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมาย ดังนี้ 1. กลุ่มเปา้ หมายนักศกึ ษา 2. กล่มุ เปา้ หมายประชาชน

Glide app กศน.ตำบลลาดหญ้า จัดทำเพื่อช่วยเหลือผู้เรียนในการเข้าถึงข้อมูลได้ด้วยตนเอง เพื่อวางแผนในการเรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อีกทั้งยังสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านมือถือ ได้ทุกที่ ทุกเวลา และยังเป็นที่รวบรวมเอกสาร ตา่ ง ๆ สามารถดาวน์โหลดไปใช้ได้ตลอดเวลา สามารถประหยดั เวลา ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ซ่ึงเป็น การตอบโจทย์ในการจัดการเรียนการสอนในช่วงสถานการณก์ ารระบาดของโรคโควดิ 19 และในยุคเทคโนโลยี ดิจิทัลเข้ามามีบทบาทในการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน นวัตกรรม Glide app กศน.ตำบลลาดหญ้า เริ่มทดลองใช้ มาในภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ไดม้ ีการทดลองใช้ และมีการพัฒนาตามความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมาย มาถึงในภาคเรียน 1 ปีการศึกษา 2565 นี้ และจากการที่ กศน.ตำบลลาดหญ้า เป็นสถานที่ศึกษาดูงานในดา้ น การขับเคลือ่ นตามนโยบาย กศน.ตำบล ต้นแบบ 5 ดี พรีเมีย่ ม ซึ่งได้รับรางวลั ชนะเลิศ (ระดับภาคกลาง) จึงได้ แลกเปลี่ยนเรียนรูเ้ กีย่ วกับการนำนวัตกรรม Glide app กศน.ตำบลลาดหญ้า มาช่วยในการจดั การเรียนการ สอนให้มีประสิทธิภาพ มี กศน.อำเภอตา่ ง ๆ ท่ีสนใจ ได้นับไปปรบั ใชใ้ หเ้ ข้ากบั บรบิ ทพื้นที่

U : unity team การทำงานร่วมกัน(รวมกันเป็นหนึ่งเดียว) ความสามัคคี, ความพร้อม เพรียงกัน สร้างทีมงานให้มีความเข้มแข็ง มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยใช้หลักการมีส่วนร่วม หลักประชาธิปไตย เคารพความคิดเห็น ซึ่งกันและกัน และการทำงานเป็นทีม โดยสร้างทีมงาน ในด้านต่าง ๆ ตามความถนัด เพื่อเสริมสร้างศักยภาพ ให้ร่วมกันขับเคลื่อนงานและกิจกรรมตามแผนงานที่วางไว้พร้อมกันน้ี ยังสร้างและพัฒนาทีมงานองค์กรนักศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมทั้งการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดการศึกษาต่อเนื่อง และการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย การพัฒนาสถานศึกษา การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ การพฒั นา กศน.ตำบล และกิจกรรมของชุมชน อย่างตอ่ เน่อื ง ๓. ข้ันตรวจสอบ (Check) ตรวจสอบและประเมินผล การใช้รูปแบบการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้รูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล)ให้เป็น “ครู กศน.ตำบล ต้นแบบ”ไปใช้ในการดำเนินงานกับบุคลากร (ครู กศน.ตำบลลาดหญา้ ) โดยประเมนิ ความสำเรจ็ ดงั น้ี ๓.๑ ความสำเร็จของการปฏิบัติงานตามนโยบายตามภารกิจและนโยบายของสำนักงาน กศน. และสำนักงาน กศน.จงั หวัดกาญจนบุรี ๓.๒ รางวัลทไ่ี ด้รบั จากหนว่ ยงานต้นสังกัด และภาคีเครือข่าย ๔. ขน้ั ปรบั ปรุงและพัฒนา (Action) สะท้อนผลการปฏิบตั ิงานของบุคลากร(ครู กศน.ตำบลลาดหญา้ ) ตามสภาพจรงิ พร้อมแนะนำใน การปรบั ปรุงแกไ้ ข ในส่วนที่บกพร่องของบคุ ลากรแตล่ ะคน ส่งเสริมใหเ้ กิดการพัฒนา ในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กบั การปฏบิ ัติงาน และธำรงให้เกิดคณุ ภาพของการปฏบิ ัตงิ านอย่างตอ่ เน่ือง ผลการดำเนินงาน จากการนำรูปแบบการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้รูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล)ให้เป็น “ครู กศน.ตำบล ตน้ แบบ” ไปใชใ้ นการดำเนินงานกบั บุคลากร (ครู กศน.ตำบลลาดหญ้า) ตง้ั แตเ่ ดือนมีนาคม 2564 ถงึ มนี าคม 2565 จนประสบความสำเรจ็ และมีผลงานท่ีเกดิ ขนึ้ กับนกั ศึกษาบคุ ลากร สถานศกึ ษา และผลสำเรจ็ ตามนโยบาย ดงั นี้ ◊ ผลท่เี กดิ กบั บคุ ลากร -รางวัลยอดเยี่ยม ระดับประเทศ บุคลากรประเภทพนักงานราชการและลูกจ้าง (NFE Awards) ประจำปี 2564 ◊ ผลที่เกิดกบั นักศกึ ษา - จำนวนผู้เข้าการทดสอบระดับชาติด้านการศึกษาระบบนอกโรงเรียน N-NET คดิ เป็นร้อยละ 100

- จำนวนผู้เขา้ สอบปลายภาคเรียนที่ 2/2564 คดิ เปน็ ร้อยละ 88.8 (ลำดบั 2 ) ◊ ผลทเี่ กิดกบั สถานศึกษาในการพฒั นา - ได้รับงบประมาณสนบั สนุนจากองค์การบริหารสว่ นตำบลลาดหญ้า - เป็นสถานที่ศกึ ษาดูงานใหก้ บั หน่วยงาน กศน.อื่น ๆ - ครูได้เป็นวิทยากรถ่ายทอดองคค์ วามรู้ในการทำงาน ◊ ผลงานที่ตอบสนองตามนโยบาย - สามารถนำเดก็ ที่หลดุ จากระบบการศกึ ษา กลับเข้ามาเรียนจำนวน 10 ราย บทเรียนที่ไดร้ บั 1. การวิเคราะห์สภาพปญั หาและความต้องการของบุคลากรในการปฏบิ ตั งิ านเชงิ ลกึ ท่ถี กู ตอ้ ง และนำมาวางแผนแก้ไขปัญหารว่ มกนั อยา่ งเปน็ ระบบ โดยใช้หลกั การมสี ่วนรว่ ม ใหท้ กุ คนกล้าแสดงออก ทางความคิด และการปฏบิ ัติ ในการแก้ไขปญั หาท่ีเกิดขน้ึ อยา่ งเต็มที่ สามารถทำใหก้ ารปฏิบตั ิงานของ บุคลากรมปี ระสิทธภิ าพเพิ่มมากขน้ึ 2. เจตคตทิ ดี่ แี ละความศรทั ธาในวิชาชีพ มสี ว่ นสำคญั ในการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัตงิ านของ บุคลากรให้ประสบความสำเร็จ 3. องคก์ รนกั ศกึ ษาท่เี ข้มแข็งมสี ว่ นสำคัญในการสง่ เสริมการดำเนนิ งานและการจดั กจิ กรรมของ บุคลากร รวมถงึ สถานศกึ ษา ให้ประสบความสำเร็จ 4. ภาคเี ครือข่ายให้ความสำคญั ในการสง่ เสริมและร่วมจดั กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ปจั จยั แหง่ ความสำเร็จ 1. ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา สง่ เสรมิ สนับสนนุ และเปิดโอกาสในการคดิ การพฒั นา และดำเนนิ การ อย่างต่อเนื่อง 2. แรงจูงใจ ความเชอ่ื มน่ั เจตคติ และความศรัทธาในวชิ าชพี เป็นส่วนสำคัญท่ีทำใหบ้ ุคลากร สามารถปฏบิ ตั งิ านจนประสบความสำเรจ็ จุดเด่นหรือลักษณะพิเศษ เป็นวธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ ่ีสงั เคราะห์ขึน้ โดยอาศยั แนวคิดทฤษฎีท่เี ก่ยี วกับการบรหิ ารจัดการ มาประยุกต์เข้ากับชือ่ ของผ้พู ฒั นาจงึ ทำใหเ้ ป็นเอกลักษณ์

ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนา 1. การเพ่มิ ประสิทธภิ าพการปฏิบัตงิ านใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยใช้รปู แบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล)ให้เปน็ “ครู กศน.ตำบล ตน้ แบบ” ที่พฒั นาข้นึ หน่วยงานและสถานศกึ ษาอืน่ ๆ ของ กศน. สามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ หมาะสมและเกดิ ประโยชนไ์ ด้ 2. ควรมีการศกึ ษารูปแบบการบรหิ ารจดั การองคก์ รเพอื่ เพม่ิ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั งิ าน รูปแบบอ่นื ๆเพ่อื นำมาบูรณาการและประยุกตใ์ ชร้ ่วมกัน การเผยแพร่และการขยายผล การเพิ่มประสิทธภิ าพการปฏิบัติงานของบุคลากร โดยใชร้ ูปแบบการปฏิบัตงิ านใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ โดย ใชร้ ูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ใหเ้ ปน็ “ครู กศน.ตำบล ตน้ แบบ” ไดเ้ ผยแพร่ให้กบั สถานศกึ ษา และผู้ทส่ี นใจดังนี้ 1. เผยแพร่เปน็ เอกสารทางวิชาการใหก้ ับสถานศกึ ษาสังกดั กศน. อาทิ สำนักงาน กศน.จงั หวัด กาญจนบรุ ี กศน.อำเภอเมอื งกาญจนบุรี กศน.ตำบลหนองบัว กศน.ตำบลหนองหญ้า กศน.ตำบลบ้านใต้ กศน.ตำบลวังดง้ และกศน.ตำบลท่ามะขาม เปน็ ตน้ 2. เผยแพร่ผลงานผา่ น facebook 2.1 Facebook กศน.ตำบลลาดหญา้ 2.2 เพจ กศน.ตำบลลาดหญ้า 2.3 Facebook ของผู้พฒั นา Su Chunchaporn 3. เผยแพรผ่ ลงานผา่ น Gild Apps 3.1 Gild Apps ของผูพ้ ฒั นา Su Chunchaporn 4. เผยแพร่ในรูปแบบ E -Book ผ่าน https://pubhtml5.com/bookcase/haxf การเผยแพร่ผลงาน รปู แบบการปฏิบตั ิงานให้มีประสทิ ธิภาพ โดยใช้รูปแบบ KRU SU MODEL (ครู สุ โมเดล) ใหเ้ ปน็ “ครู กศน.ตำบล ต้นแบบ”

4. เผยแพร่ในรูปแบบ E -Book ผ่าน https://pubhtml5.com/bookcase/haxf



บรรณานุกรม “การบรหิ ารการศกึ ษา”. [ออนไลน์] . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://cyberu.northcm.ac.th/mdata/35/PDF_File/Chapter1.pdf , [สบื คน้ เมื่อวนั ที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๘] “ทฤษฎีเกีย่ วกับการสรา้ งแรงจูงใจ”. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.novabizz.net/management-106.html , [สบื คน้ เมอ่ื วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘] “ทฤษฎีความพึงพอใจ”. [ออนไลน์] . เขา้ ถึงได้จาก http://thongkred99.blogspot.com/2013/07/blog- post_1289.html , [สืบคน้ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘] ธติ มิ า ไชยมงคล . “ทฤษฏีภาวะผนู้ ำ และทฤษฎกี ารบริหาร”. [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก http://www.teacher.ssru.ac.th , [สบื คน้ เมอ่ื วันท่ี ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘] “ปจั จยั สคู่ วามสำเรจ็ ในการทำงานเปน็ ทีม”. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://ajsuthasinee.files.wordpress.com , [สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘] แพรภัทร ยอดแกว้ . “ทศั นคติหรอื เจตคต”ิ . [ออนไลน์] . เข้าถึงได้จาก https://www.gotoknow.org/posts/280647 , [สบื ค้นเมอื่ วันท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘] มลู นิธิชัยพฒั นา . “หลกั การทรงงาน”. [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก http://www.chaipat.or.th/index.php , [สืบคน้ เม่อื วันท่ี ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘] วโิ รจน์ สารรัตนะ . ๒๕๕๗ . “การบริหารการศึกษาในและสาํ หรบั ศตวรรษท่ี ๒๑”. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.mbuisc.ac.th/phd/thesis/administration.pdf , [สบื คน้ เมื่อวันท่ี ๒๗ มถิ ุนายน ๒๕๕๘] สร้อยตระกูล (ตวิ ยานนท)์ อรรถมานะ. ๒๕๕๐ . “พฤติกรรมองค์การ : ทฤษฎีและการ ประยุกต์ (พิมพ์ครงั้ ท่ี ๔)”. กรุงเทพฯ : สามลดา . สาคร มหาหิงค.์ “เทคนิคการมีสว่ นร่วม”. [ออนไลน์] . เข้าถึงไดจ้ าก https://www.facebook.com/techniques/posts/765832483430524 , [สบื คน้ เม่อื วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘] สุพานี สฤษฏว์ านชิ . ๒๕๔๖ . การบริหารเชิงกลยทุ ธ์ แนวคดิ และทฤษฎ(ี พมิ พ์ครั้งท่ี ๒) . กรงุ เทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชัน .

สุเทพ พงศศ์ รวี ฒั น์ . “คณุ ลักษณะภาวะผูน้ ำการเปล่ยี นแปลงในสถานศึกษา”. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก suthep.crru.ac.th/leader27.doc , [สืบค้นเมอ่ื วนั ที่ ๒๗ มิถนุ ายน ๒๕๕๘] สำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา . “หนง่ึ โรงเรยี นหน่ึงนวตั กรรม”. [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก http://www.ksp.or.th , [สืบคน้ เมอ่ื วนั ท่ี ๖ กนั ยายน ๒๕๖๐] สำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั . ๒๕๕๑ . มาตรฐาน กศน.ตำบล . กรุงเทพฯ: กลุ่มส่งเสริมปฏิบัตกิ าร. ปรชั ญาคดิ เป็น / (3) แนวคดิ และปรัชญา / แนวคดิ \"คิดเป็น\"ของ ดร.โกวทิ วรพพิ ัฒน์. แนวคดิ \"คดิ เปน็ \"ของ ดร.โกวทิ วรพิพัฒน.์ mediathailand

ภาคผนวก

ผลงานรางวัล อา้ งอิงจาก ประกาศสำนกั งานปลัดกระทรวง สำนกั งาน กศน. เร่อื งผลการพจิ ารณาคดั เลือกบุคลากรตน้ แบบ กศน. (NFE Awards) ประจำปี 2564 ไดร้ ับรางวัลยอดเยี่ยม บคุ ลากรตน้ แบบประเภทพนกั งานราชการและลูกจ้าง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook