Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์การ

หน่วยที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์การ

Published by Pattana.ctc, 2021-02-04 04:41:17

Description: หน่วยที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์การ

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 2 การเพม่ิ ประสิทธิภาพในองคก์ าร การเพิม่ ประสิทธิภาพในองคก์ าร เป็นกระบวนการ วางแผนที่มุ่งจะพฒั นาความสามารถขององคก์ าร เพ่อื ใหส้ ามารถที่จะบรรลุและธารงไวซ้ ่ึงระดบั การ ปฏิบตั ิงานที่พอใจที่สุด ซ่ึงสามารถวดั ไดใ้ นแง่ของ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความเจริญเติบโตของ องคก์ าร

ประสิทธิผล หมายถึง ความสาเร็จในการที่ สามารถดาเนินกิจการกา้ วหนา้ ไป และสามารถ บรรลุเป้าหมายต่างๆ ที่องคก์ ารต้งั ไว้ ประสิทธิภาพ หมายถึง การเปรียบเทียบทรัพยากร ที่ใชไ้ ปกบั ผลท่ีไดจ้ ากการทางานวา่ ดีข้ึนอยา่ งไร แค่ไหน ในขณะที่กาลงั ทางานตามเป้าหมายของ องคก์ ร

ไม่ดี (ไม่ประหยดั ) ทรัพยากร ดี (ประหยดั ) 100,000 บาท สงู มปี ระสิทธิผล แต่ไม่มี มที ้งั ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ (เป้าหมายบรรลุผลสาเร็จ และการ การบรรลุ ประสิทธิภาพ ใชท้ รัพยากรประหยดั และไดผ้ ล เป้าหมาย (แสดงวา่ ไดม้ ีปัญหาเกิดการ รวมท้งั มีผลผลิตสูงในงานหลาย 50,000 ชิ้น สิ้นเปลืองในการใชท้ รัพยากรใน ดา้ น) บางแห่ง) ต่ำ ไม่มที ้งั ประสิทธิผลและ มปี ระสิทธิภาพ แต่ไม่มปี ระสิทธิผล (แสดงวา่ การใชท้ รัพยากรไม่เกิด ประสิทธิภาพ การสิ้นเปลืองใดๆ แต่ผลงานทา (เป้าหมายไม่อาจบรรลุผลสาเร็จ ไม่ไดต้ ามเป้าหมายที่ต้งั ไว)้ และเกิดการสิ้นเปลืองใน กระบวนการผลิตการทางาน)

การเพ่ิม หมายถึง จานวนที่มากข้ึน ผลผลิตท่ีมี คุณภาพสูงข้ึน รูปแบบของผลผลิตสวยงามข้ึน การบริการท่ีรวดเร็วข้ึน

สรุปไดว้ ำ่ เราควรตอ้ งการท่ีจะใหอ้ งคก์ ารมีการเปลี่ยนแปลง ในทิศทางท่ีกา้ วหนา้ ข้ึนในอนาคต โดยใชค้ วามรู้ ทางดา้ นการบริหารและการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ประยกุ ตเ์ ป็นหลกั และทิศทางท่ีกา้ วหนา้ ขององคก์ าร ในอนาคต เป็นระบบท่ีองคก์ ารไดจ้ ดั รูปแบบให้ เอ้ืออานวยต่อการพฒั นาทรัพยากรมนุษยแ์ ละสร้างกลุ่ม การทางานท่ีมีประสิทธิภาพใหท้ างานอยา่ งมี ประสิทธิผลกบั องคก์ าร

ปรัชญาและอดุ มการณ์การเพม่ิ ประสิทธิภาพในองคก์ าร การเพิม่ ประสิทธิภาพในองคก์ ารมีมาอยา่ งต่อเนื่อง เดิมมุ่ง ใหอ้ งคก์ ารบรรลุตามเป้าหมาย เท่าน้นั แต่ปัจจุบนั ไดข้ ยาย ขอบเขตกวา้ งๆ เช่น การเพม่ิ คุณภาพและขวญั กาลงั ใจ ไป จนถึงการศึกษาเฉพาะเจาะจง เช่น การศึกษาอตั ราการเกิด อุบตั ิเหตุ และการขาดงาน

ปรัชญาและอุดมการณ์การเพม่ิ ประสิทธิภาพในองคก์ าร เกณฑท์ ี่ใชศ้ ึกษาความมีประสิทธิภาพขององคก์ าร Jonh P. Campbell ไดส้ รุปไว้ ประกอบดว้ ย 30 เกณฑ์ เช่น ประสิทธิผลรวม ผลผลิต ประสิทธิภาพ กาไร คุณภาพ อุบตั ิเหตุท่ีเกิดข้ึน การขาดงาน ความพอใจในงาน ความคล่องตวั และการปรับตวั ความขดั แยง้ และสามคั คีบุคคล การบริการขอ้ มูลและการติดต่อส่ือสาร ความมง่ั คง

วิธีการใชต้ วั เกณฑว์ ดั ประสิทธิภาพขององคก์ าร 1. เกณฑว์ ดั ผลสาเร็จตามเป้าหมาย ยดึ หลกั สาคญั วา่ องคก์ ารทุกองคก์ ารมีจุดมุ่งหมายที่จะใหส้ าเร็จใน เป้าหมายอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรือหลายอยา่ ง เช่นยอดขาย ตอ้ งทาเป้าหมายใหไ้ ด้ 500,000 บาท

วิธีการใชต้ วั เกณฑว์ ดั ประสิทธิภาพขององคก์ าร 2. เกณฑก์ ารบริหารประสิทธิภาพเชิงระบบ ผบู้ ริหาร ตอ้ งกาหนดระบบข้ึนมาเป็นเกณฑก์ ารทางานเลย วา่ องคก์ ารมีระบบการทางานอยา่ งไร

วธิ ีการใชต้ วั เกณฑว์ ดั ประสิทธิภาพขององคก์ าร 3. เกณฑก์ ารบริหารประสิทธิภาพโดยอาศยั กลยทุ ธ์ตาม สภาพแวดลอ้ มเฉพาะส่วน เช่นฝ่ ายขายเกณฑจ์ ากยอดขาย ฝ่ าย ผลิตเกณฑจ์ ากยอดการผลิต 4. การใชว้ ิธีการแขง่ ขนั คุณค่า ในเร่ืองของการสร้างความ ไดเ้ ปรียบ คุณคา่ ของการทา หรือวธิ ีการทางาน ตอ้ งมีเกณฑก์ ารวดั วธิ ีการวดั ดว้ ย เช่น โครงสร้างองคก์ ารมีสภาพคลอ้ งตวั

รูปแบบของมนุสมั พนั ธ์ : คนและความคล่องตวั ความคล่องตวั มาตรการเสริมสร้างประสิทธิภาพ รูปแบบของระบบเปิ ด : ความคล่องตวั และองคก์ าร - เสริมสร้างความสามคั คี (ระยะส้นั ) - เสริมสร้างใหเ้ กิดความคล่องตวั และต่ืนตวั - การเพ่ิมคุณค่าและพฒั นาทรัพยากร (ระยะส้นั ) - การเติบโต การจดั หาทรัพยากรและการ บุคคล (ระยะยาว) สนบั สนุนประสิทธิภาพ (ระยะยาว) มุ่งคน มุ่งองคก์ ร - บริหารขอ้ มูลและจดั ความร่วมมือ (ระยะส้นั ) - การวางแผน การกาหนดเป้าหมายและการ - ความมงั่ คงมีระเบียบและมีคุณภาพ ประเมินผล (ระยะส้นั ) (ระยะยาว) - การเพ่มิ ผลผลิตและการเพ่มิ ประสิทธิภาพ กระบวนการวธิ ีทางาน : การควบคุมและคน (ระยะยาว) เป้าหมายและผลงาน : องคก์ ารและการควบคุม การควบคุม

การสร้างองคก์ ารแห่งคุณภาพ 1. การลดตน้ ทุน 2. เพ่มิ ผลผลิตอยา่ งต่อเน่ือง 3. การปรับปรุงคุณภาพอยา่ งต่อเน่ือง

นิสยั แห่งคุณภาพ 7 ประการ 1. ความเป็นระเบียบเรียบร้อย 2. การทางานเป็นทีม 3. การปรับปรุงคุณภาพอยา่ งต่อเน่ือง 4. การมุ่งท่ีกระบวนการ 5. การศึกษาและฝึกอบรม 6. การประกนั คุณภาพ 7. การส่งเสริมใหพ้ นกั งานมี ส่วนร่วม

กลยทุ ธ์การบริหารเชิงคุณภาพ P = Plan คือ การวางแผนงาน จากวตั ถุประสงค์ / เป้าหมาย วา่ ใครจะทาอะไร ท่ีไหน เมื่อไหร่ อยา่ งไร D = Do คือ การปฏิบตั ิข้นั ตอนตามแผน C = Check คือ การตรวจสอบผลการดาเนินงานวา่ มีปัญหาอะไรเกิดข้ึนบา้ ง A = Action คือ การปรับปรุงแกไ้ ขส่วนที่มีปัญหา





1. การวางแผนงานก่อนการปฏิบตั ิ ควรวางแผน 1.1 ข้นั การศึกษา ขอ้ มูล วธิ ีการ 1.2 ข้นั เตรียมงาน เตรียมสถานที่ คน อุปกรณ์ 1.3 ข้นั ดาเนินงาน วางแผนการปฏิบตั ิแต่ละฝ่ าย 1.4 ข้นั ประเมินผล ประเมินผลอยา่ งเป็นระบบ

2. การปฏิบตั ิตามแผน ทราบข้นั ตอน/วธิ ีการ ทาใหเ้ ตรียมการล่วงหนา้ ได้ 3. การตรวจสอบ ประกอบดว้ ย 3.1 ตรวจสอบเป้าหมาย 3.2 มีเครื่องมือเชื่อได้ 3.3 มีเกณฑก์ ารตรวจสอบที่เชื่อถือได้ 3.4 กาหนดเวลาการตรวจสอบที่แน่นอน 3.5 บคุ คลผทู้ าหนา้ ที่ตรวจสอบตอ้ งเชื่อถือได้

4. การปรับปรุงแกไ้ ข สามารถแกไ้ ขขอ้ บกพร่อง ไดท้ ุกข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน

กิจกรรม 5 ส.  สะสาง (Seri) = คดั แยก/ขจดั สิ่งของท่ีไม่ตอ้ งการออก  สะดวก (Seiton) = จดั วางสิ่งของใหเ้ ป็นระเบียบ  สะอาด (Seiso) = จดั วางสิ่งของท่ีตอ้ งการใชใ้ หเ้ ป็นระเบียบเรียบร้อย  สุขลกั ษณะ (Seiketsu) = รักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ใหค้ งอยเู่ พ่อื สุขภาพอนามยั และสุขอนามยั ท่ีดี  สร้างนิสัย (Shitsuke) = สร้างสังคมท่ีมีวนิ ยั ปฏิบตั ิตามกฎขอ้ บงั คบั ขององคก์ ร

กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ (QCC) ความหมาย QCC (Quality Control Cycle) หมายถึง การควบคุมคุณภาพดว้ ยกิจกรรมกลุ่ม การควบคุมคุณภาพ คือ การบริหารงานดา้ นวตั ถุดิบ / กระบวนการผลิต / ผลผลิต เพอ่ื ใหส้ ินคา้ มีคุณภาพตาม ความตอ้ งการของลกู คา้

กิจกรรมกลุ่ม คือ ความร่วมมือร่วมใจของ ผบู้ ริหาร พนกั งาน วธิ ีการ เคร่ืองจกั ร ในการทางาน กิจกรรม QCC คือ กิจกรรมที่สร้างความร่วมมือ ร่วมใจสร้างผลงานใหไ้ ดค้ ุณภาพตามเป้าหมาย

หลกั การของกลุ่มกิจกรรม QCC 1. ทุกคนในกลุ่มมีส่วนร่วมในการแกไ้ ขปัญหาและ ปรับปรุงงาน 2. การปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นไปตามอิสระ โดยนา เครื่องมือการแกป้ ัญหามาใช้ 3. มีการควบคุมและติดตาม ตลอดจนดาเนินการ ปรับปรุงอยา่ งต่อเน่ือง

ข้นั ตอนและวธิ ีการดาเนินกิจกรรม QCC 1. จดั ต้งั กลุ่มกิจกรรม QCC 2. คน้ หาปัญหาท่ีเกิดข้ึนในองคก์ ร 3. คดั เลือกปัญหา 4. กาหนดเป้าหมายในการแกไ้ ขปัญหา 5. สารวจสภาพปัจจุบนั 6. วเิ คราะห์สาเหตุของปัญหาและวางแผนแกไ้ ข (P)

ข้นั ตอนและวธิ ีการดาเนินกิจกรรม QCC 7. ปฏิบตั ิตามแผน (D) 8. ตรวจสอบผลการแกไ้ ข (Check) 9. กาหนดเป็นมาตรฐานในการแกไ้ ข (Action) 10. สรุปผลและวางแผนแกไ้ ขปัญหาเรื่องต่อไป

การปรับร้ือระบบ (Re-Engineering) ปฏิรูปการบริหารแบบเดิมท้งั หมด นาวธิ ีการทางาน แบบใหม่และเทคโนโลยใี หม่เขา้ มาบริหารแทน

การปรับร้ือระบบ (Re-Engineering) วตั ถุประสงค์ ลดค่าใชจ้ ่าย เพ่ิมประสิทธิภาพของงาน การบริการรวดเร็วทนั ความตอ้ งการของลูกคา้ ประหยดั เวลา

กิจกรรม TQC และ TQM มีเป้าหมายเดียวกนั คือ การสร้างความพงึ พอใจ ใหก้ บั ลูกคา้ ดว้ ยความร่วมมือ ร่วมใจของบุคลากร ทุกคนในองคก์ าร

กิจกรรม TQC และ TQM สามารถแกป้ ัญหาการทางาน 1. คุณภาพ (Q) 2. ตน้ ทุน (C) 3. การส่งมอบ (D) 4. ความปลอดภยั (S) 5. ขวญั กาลงั ใจ (M)

คุณลกั ษณะสาคญั ของระบบ TQC 1. ทุกคนมีส่วนร่วม 2. มีการปฏิบตั ิในทุกแผนกงาน 3. มีการปฏิบตั ิในทุกๆ ข้นั ตอน การทาธุรกิจ 4. ส่งเสริมใหม้ ีความใส่ใจ ปรับปรุงมาตรฐาน การทางานทวั่ ท้งั บริษทั

คุณลกั ษณะสาคญั ของระบบ TQC 5. ควบคุมและปรับปรุง QCDSM 6. ใหค้ วามสาคญั ต่อวธิ ีการแกไ้ ขปัญหา แบบควบคุมคุณภาพ 7. ใชป้ ระโยชน์จากเครื่องมือและ วิธีปฏิบตั ิแบบควบคุณภาพ

ความสาเร็จขององคก์ ารในยคุ โลกาภิวฒั น์ สภาพแวดลอ้ ม ใส่ใจและใกลช้ ิดลูกคา้ ปฏิบตั ิการฉบั ไว มีการมุ่งสนใจในธุรกิจ ชดั เจน การบริหารงาน วสิ ยั ทศั น์ของผนู้ า การมุ่งปฏิบตั ิ การ ดาเนินการแบบยดึ หลกั เกณฑแ์ ละ เหตุผลนอ้ ยลง

ความสาเร็จขององคก์ ารในยคุ โลกาภิวฒั น์ โครงสร้าง จดั โครงสร้างแบบง่ายๆ มีการกระจาย อานาจ การอ่อนในท่าแต่แขง็ ในที ทรัพยากรมนุษย์ สร้างบรรยากาศใหม้ ีความเช่ือถือ ระหวา่ งกนั การเพิ่มผลผลิตโดย อาศยั การเห็นชอบร่วมกนั การมุ่ง ผลระยะยาว

จบการนาเสนอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook