51
OBEC 52 PISA CENTER
การตรวจให้คะแนน (coding guide) OBEC PISA CENTER
ประเภทคาถามกับการตรวจใหค้ ะแนน 54 OBEC PISA CENTER คาถามปรนัย (Objective Question) ตรวจดว้ ยเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ (Autocoded) คาถามอตั นัย (Open-response questions) ตรวจด้วยคน (Human coded)
กจิ กรรม: พจิ ารณาการตรวจให้คะแนน OBEC 55 PISA CENTER จงจาแนกลักษณะคาถามแต่ละแบบว่า สามารถตรวจใหค้ ะแนนได้ดว้ ย เครื่องคอมพิวเตอร์ (Autocoded) หรือดว้ ยมนุษย์ (human coded) Question type ประเภทคำถำม Autocoded or humวิธaีกnำรcตoรdวeจd? 1M) uหltลipาlยeตcวั hเoลiือceก((oเnลeือกanคsาwตeอrบoเnดlyีย)ว) 2M) uหltลipาlยeตcวั hเoลiือceก((mเลoือreกtมhาaกnกoวnา่ eหaนn่ึงsคwาeตr)อบ) 3A)nตswอบerใyชe่sหoรrือnoไม่ใช่ 4In) tปerฏaิสctมั wพitนั hธa์/โgrตaต้pอh,บdกiaบั gกraรmาฟ, pแicผtuนrภeาoพr tรaูปblภeาพ หรือตาราง 56SMO))epaจเneตttบั cneิมhคnrปieู่cnหรesgpะร/cooืโอonrยmเdรsคeeี pยใrlงqหienลutส้giาeoดมsntบับioูรnณ์ 7) คาถามแบบปลายเปิ ด
OBEC 56 PISA CENTER ตรวจด้วยเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ (Auto coded)
OBEC 57 PISA CENTER ตรวจด้วยเครอื่ งคอมพิวเตอร์ (Auto coded)
OBEC 58 PISA CENTER ตรวจด้วยเครอื่ งคอมพิวเตอร์ (Auto coded)
OBEC 59 PISA CENTER xxxxxxxxxxxxxxxxx ตรวจดว้ ยคน (Human coded)
สรปุ การตรวจใหค้ ะแนนในการสอบ PISA 60 OBEC PISA CENTER ประเภทคำถำม วิธีกำรตรวจ 1) หลายตวั เลือก (เลือกคาตอบเดียว) Autocoded 2) หลายตวั เลือก (เลือกมากกวา่ หน่ึงคาตอบ) Autocoded 3) ตอบ ใช่ หรือ ไม่ใช่ Autocoded 4) ปฏิสัมพนั ธ์/โตต้ อบกบั กราฟ แผนภาพ รูปภาพ หรือตาราง Autocoded 5) เติมประโยคใหส้ มบูรณ์ 6) จบั คู่ หรือเรียงลาดบั Autocoded 7) คาถามแบบปลายเปิ ด Autocoded human coded
การตรวจให้คะแนน (coding guides) 61 OBEC PISA CENTER 1.คาถามที่มีคาตอบทถ่ี กู ต้องเพยี งคาตอบเดียว ตัวเลอื กสาหรบั การใหค้ ะแนน (coding) คือ •คะแนนเต็ม (Full credit) = คาตอบถกู ต้องท้งั หมด •ไม่ได้คะแนน (No credit) = คาตอบผิด •ไม่มคี าตอบ (No response) = ไมต่ อบ/ไม่ไดท้ า
การกาหนดรหสั ของเกณฑ์การใหค้ ะแนน OBEC 62 PISA CENTER เพอ่ื ทาให้การใหค้ ะแนนโดยเคร่อื งคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ ไปอยา่ งงา่ ย ไม่ซบั ซ้อน แตล่ ะรหสั ของเกณฑ์การให้คะแนน จะใชต้ ัวเลข: •Code 1 คะแนนเต็ม (Full credit) •Code 0 ไม่ได้คะแนน (No credit) •Code 9 ไม่มคี าตอบ (No response)
เกณฑก์ ารให้คะแนน (coding guides) OBEC 63 PISA CENTER 2. บางคาถามอาจยอมใหน้ ักเรยี นได้คะแนนบางสว่ น สาหรับคาตอบทม่ี สี ่วนถูกบ้าง ตวั เลอื กสาหรับการให้คะแนน คือ • คะแนนเตม็ (Full credit) = คาตอบถูกตอ้ งทง้ั หมด • คะแนนบางสว่ น (Partial credit) = คาตอบถูกตอ้ งบางส่วน • ไม่ไดค้ ะแนน (No credit) = คาตอบผดิ • ไมม่ คี าตอบ (No response) = ไมต่ อบ/ไม่ทา
การกาหนดรหสั เกณฑก์ ารให้คะแนน OBEC 64 PISA CENTER รหัสของเกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบมบี างคาถามทีอ่ าจยอม ใหน้ กั เรยี นได้คะแนนบางสว่ น จะใชต้ วั เลข: •Code 2 คะแนนเตม็ (Full credit) •Code 1 ไดค้ ะแนนบางสว่ น (Partial credit) •Code 0 ไมไ่ ด้คะแนน (No credit) •Code 9 ไม่มคี าตอบ (No response)
กจิ กรรม: เปรยี บเทยี บข้อสอบ PISA กบั ขอ้ สอบ Non PISA65 OBEC PISA CENTER
สรุปกิจกรรม เปรยี บเทียบขอ้ สอบ PISA กบั Non PIS6A6 OBEC PISA CENTER PISA Item Non PISA item 1. มีเรอ่ื งราว/บรบิ ท 1. ไมต่ อ้ งมเี รอ่ื งราว/บรบิ ท 2. ใชข้ อ้ มลู จากสถานการณจ์ รงิ 2. ใชแ้ บบจาลอง 3. ใชข้ อ้ มลู จากสถานการณ์ 3. สามารถตอบคาถามไดเ้ ลย หรอื เพ่อื วิเคราะหค์ าตอบ ใชค้ วามรูเ้ ดมิ ในการตอบได้
สรุปองค์ประกอบของข้อสอบ PISA OBEC 67 PISA CENTER ▪ สถานการณป์ ระกอบคาถาม (stimulus materials) ▪ คาถาม (questions) ▪ การตรวจใหค้ ะแนน (coding guide)
68 การใช้กรอบการประเมินความฉลาดรู้ ดา้ นวิทยาศาสตร์ (PISA framework 2015) ในการระบุสิง่ ที่ต้องการ ประเมนิ ในขอ้ สอบเสมือน PISA (PISA-style tasks) OBEC PISA CENTER
ข้อสอบ PISA ไมไ่ ด้ใชเ้ พ่ือวัดความรู้ (knowledge) 69 OBEC PISA CENTER •ขอ้ สอบ PISA เปน็ ขอ้ สอบประเมนิ ทกั ษะ ซึ่งวดั ความสามารถ ของผ้สู อบในการใชค้ วามรูท้ างวิชาการเพอื่ แกป้ ัญหาในชีวติ จรงิ ซึง่ บางปญั หาผสู้ อบอาจค้นุ เคยและบางปญั หาผสู้ อบอาจไม่คนุ้ เคย •ข้อสอบแบบอ่ืนๆ ที่ไมใ่ ชข่ ้อสอบ PISA (non-PISA tests) มักเปน็ ขอ้ สอบทเี่ นน้ ประเมนิ ความรู้ตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ (subject knowledge) แมว้ า่ การทดสอบนนั้ อาจทดสอบทกั ษะ ของผู้สอบดว้ ย
กรอบการประเมนิ ดา้ นความรู้ในการสอบ PISA70 OBEC PISA CENTER • การสอบ PISA ไม่ไดม้ งุ่ เนน้ การวัดความรูท้ างวิชาการ (subject knowledge) แต่ OECD PISA มกี ารตงั้ สมมติฐานเก่ียวกับความรู้ ทางวิชาการและความสามารถของนักเรยี นอายุ 15 ปี ท่วั โลก โดย คาดหวังว่า นักเรยี นจะสามารถใชค้ วามรู้ทางวิชาการนี้ในการ แกป้ ญั หาทอ่ี ยู่ในคาถามของการสอบ PISA • กรอบโครงสร้างการประเมนิ ความฉลาดรูด้ ้านวทิ ยาศาสตร์ กาหนด ข้อมลู ทวั่ ไปเกีย่ วกบั การสอบและขอ้ มูลเกีย่ วกับส่งิ ท่จี ะถูกทดสอบ เช่น ความรทู้ างวชิ าการและทักษะทจี่ ะถูกประเมนิ ในการสอบ PISA • ขอ้ สอบ PISA จะใชป้ ระเมินทักษะและความร้ทู ่ีกาหนดไว้ในกรอบ การประเมินเทา่ นนั้ ผู้สรา้ งข้อสอบและผทู้ รงคุณวฒุ ิท่ตี รวจแก้ไข ขอ้ สอบ ควรตรวจวา่ ข้อสอบแตล่ ะขอ้ ทเ่ี ขียนนนั้ สอดคลอ้ งกับ กรอบการประเมินหรอื ไม่
กรอบการประเมินมคี วามทันสมยั หรอื ไม?่ OBEC PISA CENTER • OECD PISA สร้างกรอบการประเมินใหมส่ าหรบั หวั ข้อทจี่ ะเป็นส่วน หลัก (major domain) ในปหี น้า กรอบการประเมนิ จะมีการผลิต ออกมาในรูปของรา่ งเอกสาร และมีการตพี มิ พ์เป็นเอกสารฉบับ สมบูรณ์ในภายหลงั ดงั นั้น จงึ ควรทราบกรอบการประเมินทท่ี นั สมัย ลา่ สดุ กอ่ นจะเรมิ่ เขยี นขอ้ สอบเสมอื น PISA • สง่ิ ท่คี วรรู้: คณิตศาสตร์ เป็นสว่ นหลกั ในปี 2012, วิทยาศาสตร์ เปน็ ส่วนหลักในปี 2015 การอ่าน เป็นส่วนหลกั ในการสอบปี 2018 • ดังนนั้ การสอบ PISA ในปี 2021 คณิตศาสตร์ จะเป็นสว่ นหลัก
กรอบโครงสรา้ งการประเมินความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาส72ตร์ OBEC PISA CENTER
การระบุองคป์ ระกอบของคาถามเสมือน PISA OBEC (Tagging PISA-style questions) PISA CENTER • การระบรุ ะดบั ความรแู้ ละทกั ษะ (demand) ชนิดความรู้ สมรรถนะ ลักษณะบรบิ ทของคาถามเสมือน PISA สามารถทาได้ โดยการใช้ รายการประเมนิ องค์ประกอบของคาถามเสมือน PISA แต่ละข้อตาม ตารางสารวจข้อสอบตามกรอบวิทยาศาสตร์ (Tagging Grid) • การวิเคราะห์คาตอบของผูส้ อบตอ่ คาถามเสมือน PISA ทไี่ ด้รับการ ระบุสมรรถนะและลกั ษณะของบริบทแล้ว จะช่วยใหผ้ ู้สอนสามารถ จาแนกจดุ ออ่ นและจดุ แข็งของผู้สอบได้ และช่วยใหแ้ ก้ไขจุดอ่อน ของผเู้ รียนในเร่ืองน้ัน ๆ ได้
ตารางสารวจข้อสอบตามกรอบวิทยาศาส7ต4 ร์ OBEC PISA (Tagging Grid) CENTER
ระดับความรูแ้ ละทักษะในข้อคาถาม 75 OBEC (Levels of demand in questions) PISA CENTER ทาไมขอ้ สอบจึงควรมคี าถามทม่ี รี ะดับความรู้ และทกั ษะแตกต่างกัน? ความสามารถต่า ความสามารถสงู ข้อสอบ PISA ต้องการวิเคราะห์เพื่อ จาแนก (discriminate) ผ้สู อบทุกช่วงระดบั ความสามารถ เชน่ กนั
การใชค้ าถามเพอื่ จาแนกระดบั ของผูส้ อบ OBEC 76 PISA CENTER คาถามเสมือน PISA ที่ให้กบั ผูส้ อบจะถูกนยิ ามตามระดบั ความรู้ และทกั ษะ ดงั นี้ 1.คาถามท่ตี ้องการระดบั ความรแู้ ละทกั ษะสูง (high demand questions) ออกแบบมาเพ่อื ท้าทายผสู้ อบท่มี ีความสามารถสูงทส่ี ุด 2.คาถามทตี่ ้องการระดับความรู้และทักษะปานกลาง (medium demand questions) ออกแบบมาเพือ่ ท้าทายผู้สอบท่ีมี ความสามารถปานกลาง 3.คาถามทตี่ อ้ งการระดบั ความรูแ้ ละทกั ษะตา่ (low demand questions) ออกแบบมาเพ่ือทา้ ทายผ้สู อบทมี่ ีความสามารถน้อยที่สุด
การใช้คาถามจาแนกระดบั ของผสู้ อบ OBEC 77 PISA CENTER โดยท่วั ไป คาถามที่ตอ้ งการระดับความรู้และทักษะสงู จะอยูท่ ี่ ระดบั 5 และ 6 ขณะที่คาถาม ทต่ี ้องการระดับความรแู้ ละทกั ษะ ปานกลาง จะอยทู่ ี่ระดับ 3 และ 4 และคาถามท่ีตอ้ งการระดบั ความรแู้ ละทักษะต่า จะอย่ทู รี่ ะดบั 1 และ 2 วัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ ใหม้ ี คาถามที่ต้องการระดบั ความรูแ้ ละทกั ษะปานกลางเป็นส่วนใหญ่ และมคี าถามที่ต้องการระดบั ความรูแ้ ละทักษะต่าและระดบั ความรู้ และทักษะสงู ในจานวนท่ีน้อยกว่า ในการสอบ PISA ปี 2012 และ 2015 ระดับคะแนนเฉล่ยี ดา้ นวิทยาศาสตร์ของนกั เรียนไทยอยูท่ ่ี ระดบั 2
ระดับความร้แู ละทกั ษะท่ีใช้ในคาถาม OBEC 78 PISA CENTER HIGH LEVEL 6 THAI STUDENTS DEMAND LEVEL 5 MEDIUM LEVEL 4 DEMAND LEVEL 3 LOW LEVEL 2 DEMAND LEVEL 1
ระดบั ความรูแ้ ละทกั ษะในการตอบขอ้ คาถาม 79 OBEC PISA (Levels of demand in questions) CENTER ระดับต่า (low demand) • ผสู้ อบสามารถหาคาตอบ/ทาสาเรจ็ ในขนั้ ตอนเดียว • จาได้ ระลกึ ได้ จาคาศัพทไ์ ด้ เป็นขอ้ เท็จจริง ทฤษฎีหรอื แนวคดิ • หาข้อมลู ได้จากข้อความ กราฟ ภาพ หรือตาราง ทใี่ ห้
ระดับความรู้และทกั ษะที่ใชใ้ นการตอบข้อคาถา8ม0 OBEC (Levels of demand in questions) PISA ระดับปานกลาง CENTER (medium demand) • ใช้และประยุกต์องค์ความรู้ (conceptual knowledge) เพ่อื บรรยายหรืออธิบายปรากฏการณ์ • เลอื กกระบวนการทเ่ี หมาะสม ซง่ึ มีมากกวา่ หรือเทา่ กับ 2 ขนั้ ตอน • จัดระบบ แสดงขอ้ มูล แปลความหมาย หรือใชช้ ดุ ขอ้ มลู อย่างงา่ ย หรือกราฟ
ระดับความรแู้ ละทักษะท่ใี ช้ในการตอบข้อคาถา8ม1 OBEC (Levels of demand in questions) PISA ระดบั สูง CENTER (high demand) • วเิ คราะหส์ ถานการณ์หรือข้อมลู ท่ีซบั ซอ้ น • สงั เคราะหห์ รือประเมินโดยใช้หลกั ฐาน •ใหเ้ หตผุ ล ประเมินคุณค่าจากหลักฐานทม่ี ีอยู่ •พัฒนาและวางแผนการแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ หลายขัน้ ตอน
กจิ กรรม พิจารณาขอ้ สอบสถานการณ์เรื่อง “การออกกาลงั กาย”82 OBEC PISA CENTER
กจิ กรรม พจิ ารณาขอ้ สอบเร่อื ง “การออกกาลงั กาย” OBEC 83 PISA CENTER
กจิ กรรม พจิ ารณาขอ้ สอบเร่อื ง “การออกกาลงั กาย” OBEC 84 PISA CENTER
กจิ กรรมท่ี 7 พจิ ารณาขอ้ สอบเร่อื ง “การออกกาลงั กาย” OBEC 85 PISA CENTER
จากขอ้ สอบเรอ่ื ง “การออกกาลังกาย” OBEC 86 PISA CENTER ผลการวิเคราะหข์ อง OECD Medium 57 % Low 82 % Medium 45 %
กิจกรรม: รจู้ กั สมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ จงจับคูท่ ักษะ (skills) ทีก่ าหนดใหก้ บั สมรรถนะทางวิทยาศาสตรใ์ หถ้ กู ตอ้ ง สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ 3 ดา้ น : • การอธิบายปรากฏการณใ์ นเชิงวิทยาศาสตร์ (Explain phenomena scientifically) • การประเมนิ และออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความร้ทู าง วิทยาศาสตร์ (Evaluate and design scientific enquiry) • การแปลความหมายข้อมูลและหลักฐานในเชิงวิทยาศาสตร์ (Interpret data and evidence scientifically)
สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ OBEC 88 PISA CENTER การอธบิ ายปรากฎการณเ์ ชิงวิทยาศาสตร์ (Explain Phenomena Scientifically) นักเรยี นสามารถในการรับรู้ ใหค้ าอธบิ าย เสนอ และประเมินคาอธิบาย ท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและเทคโนโลยี ➢ นาความรทู้ างวทิ ยาศาสตรม์ าใช้สรา้ งคาอธบิ ายทส่ี มเหตุสมผล ➢ ระบุ ใช้ และสร้างแบบจาลอง และการนาเสนอขอ้ มูลเพื่อใชใ้ นการอธบิ าย ➢ เสนอสมมติฐานเพ่ือใช้ในการอธิบาย ➢ พยากรณก์ ารเปลีย่ นแปลงในเชงิ วิทยาศาสตร์และใหเ้ หตผุ ลท่ีสมเหตสุ มผล ➢ อธิบายถงึ ศักยภาพของความรทู้ างวทิ ยาศาสตรท์ ส่ี ามารถนาไปใช้เพ่อื สงั คม
สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ OBEC 89 PISA CENTER ประเมนิ และออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Evaluate and Design scientific enquiry) สามารถอธิบาย ออกแบบ และประเมนิ คุณค่ากระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ และสามารถระบุปญั หาทางวิทยาศาสตร์ที่จะใช้ตรวจสอบได้ ➢ ระบปุ ัญหาท่ตี ้องการสารวจตรวจสอบจากการศกึ ษาทางวิทยาศาสตร์ทีก่ าหนดให้ ➢ แยกแยะได้วา่ ประเดน็ ปัญหาหรอื คาถามใดสามารถตรวจสอบไดด้ ้วยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ ➢ เสนอวธิ สี ารวจตรวจสอบปัญหาทางวทิ ยาศาสตร์ทีก่ าหนดให้ ➢ ประเมินวธิ สี ารวจตรวจสอบปญั หาทางวิทยาศาสตรท์ ก่ี าหนดให้ ➢ บรรยายและประเมนิ วธิ กี ารต่าง ๆ ทน่ี กั วทิ ยาศาสตร์ใช้ในการยืนยนั ถึงความน่าเช่อื ถือของ ขอ้ มูล ความเปน็ กลาง และการสรุปอ้างองิ จากคาอธบิ าย
สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ OBEC 90 PISA CENTER แปลความหมายขอ้ มูลและใชป้ ระจักษพ์ ยานเชงิ วทิ ยาศาสตร์ (Interpret data and evidence scientifically) สามารถวิเคราะห์และประเมนิ ขอ้ มลู คากลา่ วอา้ ง ขอ้ โต้แยง้ และลงขอ้ สรุปทางวิทยาศาสตร์ไดอ้ ย่างเหมาะสม ➢ แปลงข้อมูลทน่ี าเสนอในรูปแบบหนึ่งไปสู่รูปแบบอื่น ➢ วเิ คราะห์และแปลความหมายข้อมูลทางวทิ ยาศาสตร์ และลงขอ้ สรุป ➢ ระบขุ อ้ สนั นิษฐาน ประจกั ษพ์ ยาน และเหตผุ ล ในเรอ่ื งท่ีเกย่ี วกับวิทยาศาสตร์ ➢ แยกแยะระหวา่ งข้อโต้แย้งที่มาจากประจกั ษพ์ ยานและทฤษฎที างวทิ ยาศาสตร์ กับที่มาจากการพิจารณาจากสงิ่ อนื่ ➢ ประเมนิ ข้อโตแ้ ยง้ ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละประจกั ษพ์ ยานจากแหล่งท่ีมาทหี่ ลากหลาย (เช่น หนงั สอื พมิ พ์ วารสาร บทความ ส่ืออนิ เทอรเ์ นต็ )
สดั ส่วนคาถาม แบ่งตามสมรรถนะทางวิทยาศาสต91ร์ OBEC PISA CENTER สมรรถนะ รอ้ ยละของคาถาม ทั้งหมด การอธิบายปรากฏการณ์ในเชงิ วทิ ยาศาสตร์ การประเมินและออกแบบกระบวนการสืบ 40-50 เสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 20-30 การแปลความหมายข้อมลู และหลกั ฐานในเชิง วิทยาศาสตร์ 30-40
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Knowledge)92 OBEC PISA CENTER กรอบการประเมนิ ปี 2006 กรอบการประเมินปี 2015 ความรู้ด้านเนื้อหา ความรดู้ า้ นเนือ้ หา (Content knowledge) (Content knowledge) ความรเู้ กยี่ วกบั วทิ ยาศาสตร์ ความรดู้ า้ นกระบวนการ (Knowledge about Science) (Procedural knowledge) ความรู้เกี่ยวกบั การได้มาของความรู้ (Epistemic knowledge) การกระจายของขอ้ สอบวิทยาศาสตรใ์ น PISA 2015 จาแนกตามชนิดของความรู้
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Knowledge9)3 OBEC PISA CENTER 1. ความรู้ดา้ นเนอื้ หา (Content Knowledge) เปน็ ความรู้เกีย่ วกบั ข้อเทจ็ จริง แนวคิด และทฤษฎเี กีย่ วกบั โลกธรรมชาติ โดย PISA เลือกประเมินความรูใ้ นสาขาวชิ าหลกั ได้แก่ ฟิสกิ ส์ เคมี ชีววิทยา วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ ระบบทางกายภาพ (Physical Systems) ระบบสิง่ มีชวี ิต (Living Systems) ระบบของโลกและอวกาศ (Earth and Space Systems)
ความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Knowledg94e) OBEC PISA CENTER
ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Knowledge)95 OBEC PISA CENTER
ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Knowledge96) OBEC PISA CENTER 2. ความรดู้ ้านกระบวนการ (Procedural Knowledge) เป็นความรูเ้ กี่ยวกับกระบวนการทีน่ กั วิทยาศาสตร์ใชใ้ น การสรา้ งความร้วู ทิ ยาศาสตร์ และกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เช่น การตรวจสอบซา้ เพอ่ื ลดความไมแ่ นน่ อน การเลือกเครือ่ งมอื / วธิ ีการที่นา่ เชื่อถอื การควบคุมตวั แปร การวัดเชิงปริมาณ เชิงคณุ ภาพ การออกแบบทดลอง สารวจ และสืบค้นขอ้ สนเทศ
ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Knowledge9)7 OBEC PISA CENTER 2. ความร้ดู ้านกระบวนการ (Procedural Knowledge) ลักษณะท่วั ไปของความร้ดู า้ นกระบวนการทจ่ี ะทดสอบ เชน่ 2.1 ความรู้เกีย่ วกบั ตัวแปร ไดแ้ ก่ ตัวแปรต้น ตวั แปรตาม ตัวแปรควบคุม 2.2 ความรเู้ กีย่ วกบั การวดั เช่น การวัดเชงิ ปริมาณ [การวัดคา่ ] การวัด เชงิ คณุ ภาพ [การสังเกต] การใช้มาตรา ตวั แปรต่อเนอ่ื งและไมต่ ่อเน่ือง 2.3 วธิ ีการวดั และการลดความคลาดเคลื่อนจากการวดั เชน่ การทาซา้ และการหาคา่ เฉล่ยี ของการวดั 2.4 กระบวนทาซา้ เพือ่ ให้ได้ผลที่ใกลเ้ คยี งกนั (การวดั ซ้าๆ แล้วยงั ให้คา่ เทา่ เดมิ ) และการยนื ยนั ความถูกตอ้ งของขอ้ มูล (ค่าทีว่ ัดไดต้ อ้ งตรงกับ ค่าทแ่ี ทจ้ รงิ )
ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Knowledge98) OBEC PISA CENTER 2. ความรดู้ ้านกระบวนการ (Procedural Knowledge) 2.5 วิธีการสรุปและนาเสนอขอ้ มลู ในรปู แบบตาราง แผนผัง แผนภาพ ท่ีนาไปใชไ้ ด้อย่างเหมาะสม 2.6 เทคนิคการควบคมุ ตวั แปร และการออกแบบการทดลองทม่ี ีการควบคมุ บทบาทของตวั แปร หรอื ใชก้ ารทดลองแบบสุม่ และมกี ลมุ่ ควบคุม เพือ่ หลีกเลี่ยงข้อคน้ พบทผี่ ิดพลาด 2.7 การออกแบบวิธกี ารทีเ่ หมาะสมในการแสวงหาคาตอบทางวทิ ยาศาสตร์ เชน่ การทดลอง การสารวจ การศกึ ษาภาคสนามเพ่ือหาแบบรปู ของ ปรากฏการณ์
ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Knowledge99) OBEC PISA CENTER 3. ความรู้เกย่ี วกบั การไดม้ าของความรู้ (Epistemic Knowledge) เปน็ ความรเู้ กย่ี วกับบทบาท หลกั การ ลกั ษณะทจ่ี าเป็นตอ่ กระบวนการสรา้ งความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ เข้าใจถึงบทบาทและหนา้ ทขี่ อง กระบวนการต่างๆ ต่อการได้มาซง่ึ ความรู้ เช่น การต้ังสมมุตฐิ าน การสังเกต การจาลอง การอภปิ รายโต้แยง้ ซ่งึ ตามกรอบแนวทางของ PISA ได้นาเสนอ ไว้เปน็ 2 ประเด็น ไดแ้ ก่ 3.1 แนวคดิ และการใหค้ านยิ ามเก่ยี วกบั ลกั ษณะสาคญั ของ วิทยาศาสตร์ 3.2 บทบาทของแนวคิดและลักษณะสาคัญทใี่ ชใ้ นการประเมิน ความร้ทู ่ไี ดจ้ ากวิทยาศาสตร์
ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Knowledg10e0 ) OBEC PISA CENTER 3.1 แนวคิดและการใหค้ านยิ ามเกย่ี วกับลักษณะสาคัญของวิทยาศาสตร์ 1. ธรรมชาตขิ องการสังเกตทางวทิ ยาศาสตร์ ข้อเท็จจริง สมมติฐาน แบบจาลองและทฤษฎี 2. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของวิทยาศาสตร์ (เพือ่ สร้างคาอธบิ าย เกย่ี วกบั ธรรมชาติ) ทีแ่ ตกตา่ งจากเทคโนโลยี (เพื่อสรา้ งส่ิงอานวย ความสะดวกตามความจาเปน็ ของมนษุ ย์) จึงส่งผลต่อการกาหนด ประเด็นคาถามและขอ้ มลู ทางวทิ ยาศาสตร์ท่ตี ่างกับทางเทคโนโลยี 3. คา่ นิยมทางวทิ ยาศาสตร์ เช่น การเปิดเผยขอ้ มลู สสู่ าธารณชน (การ ตีพิมพข์ อ้ คน้ พบทางวิทยาศาสตร์) การขจดั อคติ และความลาเอียง 4. ธรรมชาตขิ องการให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ เช่น นิรนัย-อุปนยั การลงขอ้ สรุป การเปรยี บเทียบ อปุ มา อุปมยั และการใชแ้ บบจาลอง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116