Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานประวัติ

งานประวัติ

Published by jingjom, 2020-07-02 11:47:24

Description: งานประวัติ

Search

Read the Text Version

พฒั นาการ และ การสรา้ งสรรคด์ า้ น ตา่ งๆ ของ ทวีปยโุ รป

พฒั นาการและการ สรา้ งสรรคด์ า้ นต่างๆ ทวีปยโุ รปเป็ นดนิ แดนท่ีมมี นษุ ยอ์ าศยั อยมู่ า ตงั้ แตย่ คุ หินเกา่ เมอื่ ประมาณ ๑๐๐๐๐ ปี มาแลว้ เป็ นดนิ แดนท่กี ารตง้ั ชมุ ชนและสงั คม มานานนบั พนั ปี ตลอดระยะเวลาดงั กลา่ ว จนถึงปัจจบุ นั จะเห็นไดว้ า่ ชาวยโุ รปได้ สรา้ งสรรคค์ วามเจริญและการเปล่ยี นแปลง มาสสู่ งั คมโลกมากมาย พฒั นาการและการ สรา้ งสรรคต์ า่ งๆ ของทวีปยโุ รปสามารถ แบง่ ออกได้ ดงั น้ี

๑) พฒั นาการดา้ นการเมือง การปกครอง โดยทวั่ ไปกลา่ วไดว้ า่ ในอดตี ดนิ แดนสว่ นใหญ่ ของทวีปยโุ รปมกี ษตั ริยเ์ ป็ นประมขุ สงู สดุ แมแ้ ตใ่ นสมยั กรีกเรืองอานาจเมอื่ กวา่ ๕๐๐ ปี กอ่ นคริสตศ์ กั ราช ระบอบการปกครอง แบบกษตั ริยก์ ็เป็ นท่รี จู้ กั กนั แพร่หลายแลว้ ในสมยั จกั รวรรดโิ รมนั (๒๗ ปี กอ่ น คริสตศ์ กั ราช-ค.ศ.๔๗๖) พระประมขุ สงู สดุ เรียกวา่ ซีซารห์ รือจกั รพรรดซิ ึ่งทรง ปกครองอาณาบริเวณกวา้ งขวางครอบคลมุ พ้ืนท่ใี นยโุ รปและบางสว่ นของเอเชยี และ แอฟริกา

๑) พฒั นาการดา้ นการเมือง การปกครอง(ต่อ) เมอื่ จกั รวรรดโิ รมนั ลม่ สลายลงใน ค.ศ. ๔๗๖ ยโุ รปไดเ้ ขา้ สสู่ มยั กลาง ที่ระยะแรกๆ บา้ นเมอื งแตกแยกจากการเขา้ รกุ รานของ พวกชนเผา่ เยอรมนั ท่อี พยพลงมาจากตอน เหนอื ระบอบการปกครองแบบรวมศนู ย์ อานาจของโรมสลายตวั บา้ นเมอื งไรข้ อื่ แป ประมวลกฎหมายโรมนั ท่ีใชบ้ งั คับทวั่ ทงั้ จกั รวรรดถิ กู ละทงิ้ เกดิ เป็ นระบอบการ ปกครองแบบฟิ วดลั (feudalism)

๑) พฒั นาการดา้ นการเมือง การปกครอง(ต่อ) และมกี ารใชก้ ฎหมายจารีตประเพณี (customary law) ของพวกอนารยชนแทน ประมวลกฎหมายโรมนั อยา่ งไรก็ดี กษตั ริยก์ ็ ยงั คงไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็ นเจา้ ของแผน่ ดนิ และไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็ นพระประมขุ (แต่ ไมม่ อี านาจ) แตใ่ นปลายสมยั กลางกษตั ริย์ ตา่ งสามารถสถาปนาอานาจปกครองแบบ รวมศนู ยอ์ านาจและสรา้ งรัฐชาติ (nation state) ทรี่ วมดนิ แดนตา่ งๆ เขา้ เป็ นชาติ เดยี วกนั ได้ ซ่ึงพระราชอานาจในการปกครอง ของกษตั ริยใ์ นดนิ แดนตา่ งๆ มพี ฒั นาการที่ แตกตา่ งกนั

๑) พฒั นาการดา้ นการเมือง การปกครอง(ต่อ) มดี งั น.้ี .. -ระบอบกษตั ริยภ์ ายใตร้ ฐั ธรรมนญู ในองั กฤษ พระเจา้ จอหน์ ทรงยอมรบั แมก นาคารต์ า ท่ีขนุ นาง พระ พอ่ คา้ และประชาชน รวมตวั กนั บีบบงั คับใหพ้ ระองคย์ อมรบั ขอ้ ตกลงทเ่ี ป็ นลายลกั ษณอ์ กั ษรในการจากดั พระราชอานาจไมใ่ หใ้ ชพ้ ระราชอานาจเกนิ ขอบเขตในการเก็บภาษอี ากร การลงโทษและ อ่ืนๆ ตอ่ มาไดเ้ กดิ รัฐสภา ที่ประกอบดว้ ย สภาขนุ นาง และ สภาสามญั ท่ีมสี ว่ นสาคญั ในการลดอานาจสิทธ์ขิ องกษตั ริย์

๑) พฒั นาการดา้ นการเมือง การปกครอง(ต่อ) -ระบอบกษตั ริยแ์ บบสมบรู ณาญาสิทธริ าชย์ สว่ นฝรงั่ เศสและประเทศมหาอานาจในอดตี อ่นื ๆกลบั มพี ฒั นาการระบอบการปกครอง แบบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์ ฝรงั่ เศสใน ค.ศ. ๑๖๑๔ หลงั เกิดเหตคุ วาม วนุ่ วายและสงครามกบั สเปน สภาฐานนั ดร ซึ่งเป็ นตวั แทนของชนชนั้ ตา่ งๆ ไดป้ ระกาศ ยบุ ตวั และประกาศให้ “อานาจอธิปไตร สงู สดุ เป็ นของกษตั ริยเ์ พราะทรงเป็ นผไู้ ดร้ ับ มงกฎุ จากพระเป็ นเจา้ ” จึงทาใหไ้ มม่ กี าร เรียกประชมุ สภาฐานนั ดรอีกเลยเป็ นเวลา ๑๗๕ ปี จนกอ่ นเกิดการปฏิวตั ฝิ รงั่ เศส ค.ศ. ๑๗๘๙ ทาใหก้ ษตั ริยฝ์ รงั่ เศสไมม่ สี ภาที่จะ ควบคมุ การใชพ้ ระราชอานาจ พระราช อานาจของกษตั ริยจ์ งึ ไดเ้ พิ่มพนู ขนึ้ อีก

๑) พฒั นาการดา้ นการเมือง การปกครอง(ต่อ) -ระบอบการปกครองในทวีปยโุ รปสมยั ปัจจบุ นั ๑) ระบอบประชาธปิ ไตย เป็ นระบอบทเี่ นน้ ความเป็ นปัจเจกบคุ คลนยิ ม เหตผุ ลนยิ ม และเสรีภาพ หลกั การสาคัญของ แนวความคิดประชาธิปไตย คือ สทิ ธิ เสรีภาพของประชาชน และความเสมอภาค ภายใตก้ ฎหมาย การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยมตี น้ กาเนดิ มาตง้ั แตส่ มยั กรีก โบราณ เมอื่ กวา่ ๕๐๐ ปี กอ่ นคริสตศ์ กั ราช โดยนครรัฐเอเธนสเ์ ป็ นดนิ แดนแหง่ แรกทใี่ ห้ สิทธิแกพ่ ลเมอื งเพศชายทีเ่ ป็ นเสรีชนทกุ คน มสี ิทธใิ นการเลือกตงั้ และเขา้ นงั่ ในสภา ทงั้ ยงั ดารงตาแหนง่ ผปู้ กครองได้ ระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตยเป็ นระบอบการ ปกครองทีป่ ระชาชนมอี านาจสงู สดุ โดยมี รฐั สภาทาหนา้ ทีเ่ ป็ นตวั แทนของประชาชน

๑) พฒั นาการดา้ นการเมือง การปกครอง(ต่อ) - ระบอบเผด็จการคอมมวิ นสิ ต์ เป็ นระบอบการปกครองทอี่ า้ งอดุ มการณ์ ของลทั ธิมากซใ์ นการสรา้ งสงั คมท่ี ปราศจากชนชน้ั และมคี วามเสมอภาคกนั ใน ดา้ นตา่ งๆ โดยชนชน้ั แรงงานเป็ นผปู้ กครอง ประเทศระบอบเผด็จการคอมมวิ นสิ ตม์ ี พรรคการเมอื งเพียงพรรคเดยี ว ผนู้ าพรรค คอมมวิ นสิ ตแ์ ละผนู้ ารฐั เป็ นคนเดยี วกนั สหภาพโซเวียตเป็ นประเทศแรกทมี่ กี าร ปกครองในระบอบเผด็จการคอมมวิ นสิ ต์ ประเทศอนื่ ปกครองในระบอบเผด็จการ คอมมวิ นสิ ตอ์ กี ๑๖ ประเทศ แตเ่ มอ่ื สหภาพ โซเวียตลม่ สลายลงก็เหลือเพียงไมก่ ่ีประเทศ สว่ นบรรดาประเทศบริวารของสหภาพโซ- เวยี ตเดมิ ก็ตอ้ งปฏิรปู การปกครองตนเอง ในแนวทางของระบอบการปกครองแบบ ประชาธปิ ไตยดว้ ย

๒) พฒั นาการดา้ นเศรษฐกจิ -ระหวา่ งสมยั กลางตอนตน้ ชาวไรช่ าวนา สว่ นใหญต่ า่ งสญู เสียอสิ รภาพและกลายเป็ น ทาสตดิ ท่ดี นิ ตอ้ งอยใู่ นสงั กดั ของขนุ นาง เจา้ ของที่ดนิ และดารงชวี ติ อยใู่ นเขตแมเนอร์ และเขตหมบู่ า้ นซ่ึงเป็ นเขตที่อยอู่ าศัยของ พวกทาสตดิ ทด่ี นิ และชาวไรช่ าวนาบางคนที่ เป็ นเสรีชน เศรษฐกจิ ในเขตแมเนอรเ์ ป็ น เศรษฐกจิ พอเลีย้ งตนเอง ที่ชาวไรช่ าวนา ตา่ งประกอบอาชพี พอกินพอใชแ้ ละผลติ สนิ คา้ เพ่อื ใชเ้ องหรือแลกเปลีย่ นกนั การคา้ ท่ี เคยร่งุ เรืองในสมยั จกั รวรรดโิ รมนั ตอ้ ง หยดุ ชะงกั เป็ นเวลากวา่ ๕๐๐ ปี กอ่ นท่ยี โุ รป จะฟื้ นตวั จนสามารถสรา้ งความเป็ นปึ กแผน่ และปลอดภยั จากการรกุ รานของพวก อนารยชน จานวนประชากรไดเ้ พ่มิ มากขนึ้ และสามารถผลิตสินคา้ เพื่อการคา้ ขายทง้ั ภายในประเทศและสง่ ออกได้

๒) พฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจ (ต่อไป) -ในปลายสมยั กลาง ชาวยโุ รปไดส้ รา้ ง นวตั กรรมการคิดคน้ สิ่งประดษิ ฐแ์ ละ เทคโนโลยที สี่ าคญั คือ การประดษิ ฐป์ ื นใหญ่ ทเ่ี ปล่ยี นแปลงวธิ กี ารรบ และเคร่ืองพิมพท์ ี่ ผลติ หนงั สือไดม้ ากและมรี าคาถกู รวมทง้ั ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ กอ่ ใหเ้ กิดสมยั แหง่ การคน้ พบและการสารวจโดยคริสโตเฟอร์ โคลมั บสั คน้ พบทวีอเมริกาใน ค.ศ. ๑๔๙๒ และ วาสโก ดา กามา แลน่ เรือออ้ ม แหลมกดู๊ โฮป ในทวปี แอฟริกาสอู่ ินเดยี ใน ค.ศ. ๑๔๙๘

๒) พฒั นาการดา้ นเศรษฐกจิ (ต่อไป) -ซ่ึงนบั วา่ ยโุ รปไดเ้ ขา้ สปู่ ระวตั ศิ าสตร์ สมยั ใหม่ ทงั้ เป็ นกา้ วสาคญั ที่ทาให้ วฒั นธรรมตะวนั ตกแพรก่ ระจาย มกี าร เผยแพร่คริสตศ์ าสนาทงั้ นกิ าย โรมนั คาทอลกิ และนกิ ายโปรเตสแตนตอ์ ยา่ ง กวา้ งขวาง เมอื่ นานาประเทศในยโุ รป สามารถควบคมุ และยดึ คลองตลาดการคา้ ในดนิ แดนโพน้ ทะเลใต้ ทาใหเ้ กิดการปฏวิ ตั ิ ทางการคา้ (Commercial Revolution) ที่ พอ่ คา้ เร่งผลติ สนิ คา้ จานวนมาก กอ่ ใหเ้ กิด การพฒั นาในดา้ นเศรษฐกิจท่มี รี ปู แบบ ตา่ งๆ มาจนถึงปัจจบุ นั

๒) พฒั นาการดา้ นเศรษฐกจิ (ต่อไป) มดี งั น.้ี ... -เศรษฐกิจแบบพาณิชยนิยม เป็ นระบบเศรษฐกจิ ท่ีเกดิ ขนึ้ และพฒั นา พรอ้ มๆ กบั การกอ่ ตวั ของรัฐชาติ เป็ น รปู แบบของเศรษฐกิจคริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๖-๑๘ โดยรัฐเขา้ ควบคมุ อตุ สาหกรรมและ การคา้ ภายในประเทศ สง่ เสริมการดาเนนิ ธรุ กจิ ของพอ่ คา้ การสง่ สนิ คา้ ออก และกดี กนั การนาเขา้ สนิ คา้ จากตา่ งประเทศลทั ธิ พาณิชยนยิ มเป็ นผลจากความเชอ่ื วา่ การ ควบคมุ และการดาเนนิ ธรุ กิจตา่ งๆ จะทาให้ รัฐมนั่ คง เขม้ แข็ง

๒) พฒั นาการดา้ นเศรษฐกจิ (ต่อไป) ดงั นน้ั จงึ ถือเป็ นหนา้ ท่แี ละความจาเป็ นของ รฐั ที่จะตอ้ งดาเนนิ การทกุ วิถีทางเพ่ือเป็ น เจา้ ของทรัพยากรและโภคทรัพยต์ า่ งๆ และ เขา้ ครอบครองดนิ แดนตา่ งๆ แลว้ จดั ตง้ั เป็ น อาณานคิ ม เผยแผศ่ าสนา ทา้ ยท่สี ดุ ก็ กอ่ ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ กนั เองและเขา้ สู่ สงคราม กลายเป็ นสงครามท่ีลกุ ลามใน ภมู ภิ าคอ่ืนๆ ของโลก เชน่ สงครามเจ็ดปี (Seven Year’ War, ค.ศ. ๑๗๕๖-๑๗๖๓) ระหวา่ งฝรัง่ เศสและออสเตรีย กบั องั กฤษ และปรสั เซีย กอ่ ใหเ้ กดิ การรบกนั ทงั้ ในทวีป ยโุ รป อเมริกา และเอเชยี

๒) พฒั นาการดา้ นเศรษฐกจิ (ต่อไป) -เศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม ปลายคริสตศ์ ตวรรษที่ ๑๘ ไดเ้ กดิ แนวคิด ทางเศรษฐศาสตรแ์ ละการเมอื งที่สาคญั คือ แนวคิด ไลสเ์ ซ-แฟร์ และแนวคิดการคา้ เสรี ของแอดมั สมทิ ชาวสกอต เจา้ ของผลงาน เร่ือง The Wealth of Nations ทก่ี าหนดใหอ้ ปุ สงค์ และอปุ ทาน เป็ นตวั กาหนดกลไกของ ตลาด ดา้ นเศรษฐกจิ นน้ั ไลสเ์ ซ-แฟร์ หมายถึง การ ดาเนนิ นโยบายภายในท่รี ัฐบาลไมค่ วรเขา้ ไป กา้ วกา่ ยกบั การคา้ เป็ นธรุ กจิ ของภาคเอกชน ทงั้ ในดา้ นอตุ สาหกรรมและการเงนิ ระบบ เศรษฐกิจแบบเสรีนยิ มสง่ เสริมใหน้ ายทนุ แขง่ ขนั กนั อยา่ งเสรี ผบู้ ริโภคจะทาใหก้ ลไก ของตลาดเคลอ่ื นไหวและนาความมงั่ คงั่ มาสู่ รัฐได้

๒) พฒั นาการดา้ นเศรษฐกจิ (ต่อไป) -เศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม เศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม (socialism) เป็ น ระบบเศรษฐกิจที่พฒั นามาจากแนวความคิด ทางการเมอื งของคารล์ มากซ์ (Karl Marx) นกั สงั คมนยิ มที่มชี อื่ เสียงของยโุ รป เกิดขน้ึ กลางคริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๙ เพ่ือตอบโตก้ าร ขยายตวั ของลทั ธิทนุ นยิ มและการเอารัดเอา เปรียบชนชนั้ แรงงาน เขาตอ้ งการสรา้ ง ระบบเศรษฐกิจที่เสมอภาค คือ การยกเลิก กรรมสทิ ธิท์ รัพยส์ ินสว่ นบคุ คล และใหม้ กี าร จดั การทางการผลติ โดยชนชน้ั แรงงาน ซ่ึง ชนชน้ั แรงงานจะใชอ้ านาจเผด็จการในการ ปกครองเพอ่ื ผลกั ดนั นโยบายสงั คมนยิ มให้ บรรลผุ ลสาเร็จ

๓) พฒั นาการดา้ นสงั คม และศิลปวฒั นธรรม มีดงั น้ี... -กาเนิดของชนชน้ั กลาง ในสมยั กลางตอนตน้ สงั คมของตะวนั ตก ประกอบดว้ ย ชนชน้ั ๓ ฐานนั ดร ไดแ้ ก่ กษตั ริย-์ ขนุ นาง นกั บวช และชาวไร่-ชาวนา แตเ่ มอ่ื มกี ารฟ้ื นตวั ของเศรษฐกิจและ เมอื งขน้ึ ในคริสตศ์ ตวรรษที่ ๑๑ สงั คมยโุ รป ก็เกดิ ชนชนั้ ใหม่ คือ ชนชน้ั กลางหรือชนชนั้ กระฎมุ พี ทปี่ ระกอบอาชพี ตา่ งๆ เชน่ ชา่ งฝี มอื ลกู จา้ ง พอ่ คา้ อาจารย์ นกั ศึกษา โดยอาศัยอยใู่ นเขตเมอื ง ถือวา่ เป็ น ชนชน้ั ใหม่ ของสงั คมตะวนั ตก

๓) พฒั นาการดา้ นสงั คม และศิลปวฒั นธรรม มีดงั น้ี... -กาเนิดของชนชนั้ กลาง(ต่อ) ชนชน้ั กลางเหลา่ นไ้ี ดร้ ว่ มกนั วางรากฐาน ความเจริญใหแ้ กส่ งั คมยโุ รปและปลกู ฝัง อดุ มการณแ์ ละวธิ กี ารปฏิบตั ใิ นการอยู่ ร่วมกนั เชน่ สิทธแิ ละหนา้ ที่ของชาวเมอื ง การจดั เก็บภาษแี ละค่าปรับ เป็ นตน้ เพอ่ื นา รายไดม้ าบริหาร การทานบุ ารงุ แลการ ป้ องกนั เมอื ง สง่ เสริมและขยายการศึกษา การจดั ตงั้ มหาวทิ ยาลยั และเกดิ การฟ้ื นฟู ศิลป์ วทิ ยาการและความเจริญอนื่ ๆ ตลอดจนสง่ เสริมคณุ ธรรมและให้ ความสาคัญแกส่ ทิ ธิ เสรีภาพ และความ เสมอภาคปัจเจกบคุ คล ซ่ึงเป็ นพนื้ ฐานสาคญั ท่ที าใหส้ งั คมยโุ รปสามารถพฒั นาระบอบ การปกครองแบบระบอบประชาธิปไตย

๓) พฒั นาการดา้ นสงั คม และศิลปวฒั นธรรม มีดงั น้ี... -การขยายตวั ของเมืองในยคุ ปฏิวตั ิ อตุ สาหกรรม การขยายตวั ของเมอื งในยคุ ปฏิวตั ิ อตุ สาหกรรมเดน่ ชดั ขนึ้ ในกลาง คริสตศ์ ตวรรษที่ ๑๙ กลา่ วคือใน ค.ศ. ๑๘๕๑ การสารวจสามะโนครัวในองั กฤษบง่ ชใี้ หเ้ ห็นเป็ นคร้งั แรกวา่ มปี ระชากรอาศยั อยู่ ในเขตเมอื งมากกวา่ อยใู่ นเขตชนบท ขณะท่ี ประเทศอนื่ ๆ ก็มแี นวโนม้ ของสงั คมเมอื งใน ลกั ษณะเดยี วกนั นดี้ ว้ ย แตเ่ มอื่ ส้ิน คริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๙ มเี มอื งกวา่ ๕๐ แหง่ ที่ มปี ระชากรมากกวา่ ๑ ลา้ นคน ปัจจบุ นั ประชากรสว่ นใหญใ่ นทวปี ยโุ รปมากกวา่ รอ้ ย ละ ๕๐-๖๐ อาศัยอยใู่ นเขตเมอื งซ่ึงมขี นาด ใหญ่

๓) พฒั นาการดา้ นสงั คม และศิลปวฒั นธรรม มีดงั น้ี... -การสรา้ งสรรคท์ างศิลปวฒั นธรรม แมว้ า่ ศิลปวฒั นธรรมของกรีก-โรมนั คือ รากเหงา้ ของอารยธรรมตะวนั ตก แตค่ ริสต์ ศาสนาซ่ึงเป็ นท่ยี อมรบั ในจกั รวรรดมิ นั ตง้ั แตต่ น้ คริสตศ์ ตวรรษที่ ๔ และมอี ิทธิพล อยา่ งมากในโลกตะวนั ตกจนสมยั กลางไดช้ อ่ื วา่ ยคุ แหง่ ศรัทธา (Age of Faith) ก็คือ พลงั ทีแ่ ตง่ เตมิ ใหศ้ ิลปวฒั นธรรมของยโุ รปบรรลุ ความงามและความสมบรู ณแ์ บบ ทง้ั มกี าร สรา้ งมหาวหิ าร (cathedral) ดว้ ยศิลปะแบบ กอทกิ ไปทวั่ ยโุ รปในระหวา่ ง ค.ศ. ๑๑๐๐- ๑๓๐๐ มจี านวนมากกวา่ ๕๐๐ แห่ง ตอ่ มาใน ยคุ ฟื้ นฟูศิลปะวิทยาการ (Renaissance) ที่ เริ่มตน้ ในอิตาลใี นกลางคริสตศ์ ตวรรษที่ ๑๔

๓) พฒั นาการดา้ นสงั คม และศิลปวฒั นธรรม มีดงั น้ี... -การสรา้ งสรรคท์ างศิลปวฒั นธรรม(ต่อ) ยโุ รปสามารถฟ้ื นฟูการศึกษาและผลงาน สรา้ งสรรคท์ างดา้ นวิจติ รศิลป์ ของกรีก-โรมนั ขนึ้ มาใหม่ ศิลปิ นตา่ งหวนกลบั ไปสโู่ ลกของ ธรรมชาติ จนเกิดเป็ นรปู แบบของศิลปะซึ่งเป็ น ความงามของธรรมชาตแิ ละการวิภาคของ มนษุ ยท์ จ่ี ดั วา่ เป็ นผลงานอนั ยิ่งใหญข่ องพระ เป็ นเจา้ มาซกั ซีโอ (Masaccio, ค.ศ. ๑๔๐๑- ๑๔๒๘) เป็ นจติ รกรอิตาลคี นแรกท่ีนาเทคนคิ การวาดภาพ ๓ มติ มิ าใช้ จนเกิดเป็ นแนวคิด ใหมท่ ่ีวา่ ลกั ษณะที่ สมจริง (realism) นนั้ เป็ น อยา่ งไร

๓) พฒั นาการดา้ นสงั คม และศิลปวฒั นธรรม มีดงั น้ี... -การสรา้ งสรรคท์ างศิลปวฒั นธรรม(ต่อ) ในชว่ งระยะเวลาน้ี งานจติ รกรรมและงาน ประตมิ ากรรมก็เริ่มมคี วามโดดเดน่ มกี าร สรา้ งงานประตมิ ากรรมเป็ นรปู นกั บญุ ประดบั ประดาตามจตั รุ สั ตา่ งๆ รวมทงั้ ภาพ จิตรกรรมฝาผนงั ปูนเปี ยก (fresco) ตามผนงั ของโบสถว์ หิ ารและบา้ นเรือนตา่ งๆ ศิลปิ นชาว เฟลมชิ หรือดตั ชเ์ ป็ นพวกแรกทีพ่ ฒั นาเทคนคิ การวาดภาพสนี า้ มนั ท่ผี สมไขข่ าวและนา้ แทนสี ฝ่ ุน ซ่ึงสามารถสรา้ งสีออ่ นแก่ ดโู ปร่งแสง มี รายละเอียดเหมอื นภาพถ่ายในปัจจบุ นั

๓) พฒั นาการดา้ นสงั คม และศิลปวฒั นธรรม มีดงั น้ี... -การสรา้ งสรรคท์ างศิลปวฒั นธรรม(ต่อ) ในเวลาตอ่ มาศิลปิ นอติ าลีก็นาไปพฒั นาเป็ น ภาพเขยี นใสก่ รอบประดบั ฝาภายในอาคารที่ พกั อาศัย โดนาเตลโล (Donatello, ค.ศ. ๑๓๖๘- ๑๔๖๖) เป็ นประตมิ ากรคนแรกทีส่ รา้ งผลงาน เดวดิ (David) เด็กหนมุ่ ในคมั ภรี ไ์ บเบลิ เป็ นรปู ชายหนมุ่ เปลือยในทา่ ยนื โดดเดน่ อยา่ งอสิ ระ จากขอ้ บงั คับทเ่ี ครง่ ครัดของสมยั กลาง แตก่ ็ สะทอ้ นความเป็ นธรรมชาตขิ องมนษุ ย์

The End

จดั ทาโดย... ด.ช.จริง จอมมะเริง ม.3/1 เลขที่ 2 ขอบคณุ ทีร่ บั ชมครบั Thanks for watching


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook