Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการสอนแผนงาน-โครงการ (สมพร) pdf.

เอกสารประกอบการสอนแผนงาน-โครงการ (สมพร) pdf.

Published by somporn, 2016-07-05 05:08:14

Description: เอกสารประกอบการสอนแผนงาน-โครงการ (สมพร) pdf.

Keywords: somporn.com

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอนพย.1411 อ.สมพร 1 บทท่ี 8 การแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนหัวข้อย่อย 8.1 การวางแผนงาน 8.2 การเขียนโครงการ 8.3 การจดั กิจกรรมแกป้ ัญหาชุมชน 8.4 การแกไ้ ขปัญหาสุขภาพชุมชนโดยใชห้ ลกั การพฒั นาชุมชน 8.5 การประเมินแผนงาน/โครงการ 8.6 การวิเคราะห์โจทยส์ ถานการณ์ เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ขอ้ สอบท่ีเทียบเคียงขอ้ สอบสภาการพยาบาลการวางแผนงาน แผนงาน เปรียบเสมือนแผนงานหลกั ที่ใชเ้ ป็นแนวทางช้ีนาํ การแกไ้ ขปัญหา มกั เขียนในรูปของตาราง เพอื่ ใหส้ ามารถเห็นภาพรวมท้งั หมดในการแกไ้ ขปัญหาอนามยั ชุมชน การวางแผนงาน แบ่งงานเป็น 2 ระดบั คือ แผนงานและโครงการ แผนงาน (Plan หรือ Program) หมายถึง กลุ่มโครงการที่ไดก้ าํ หนดข้ึนในลกั ษณะประสานสมั พนั ธ์กนั เพอื่ แกไ้ ขปัญหา หรือตอบสนองวตั ถุประสงคท์ ี่กาํ หนดอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรือหลาย ๆ อยา่ ง โครงการ (Project) หมายถึง กิจกรรมอย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่างท่ีไดก้ าํ หนดข้ึนเพ่ือตอบสนองวตั ถุประสงคท์ ี่กาํ หนดไว้ กล่าวโดยสรุปอาจถือว่าวตั ถุประสงคห์ น่ึงหรือจุดมุ่งหมายหน่ึงของแผนกค็ ือโครงการนนั่ เอง การแตกแผนเป็นโครงการทาํ ไดด้ งั รูป แผน (Plan)โครงการ 1 โครงการ 2 โครงการ 3Project 1 Project 2 Project 3 การแตกแผนเป็ นโครงการ ทม่ี า : ประชุม รอดประเสริฐ (2545)องค์ประกอบของแผนงาน ไดแ้ ก่1. หวั เร่ือง เป็นการบอกความเป็นมาของแผนงาน ทาํ ใหท้ ราบถึงแผนงานการแกป้ ัญหา

เอกสารประกอบการสอนพย.1411 อ.สมพร 2สถานท่ีท่ีจะดาํ เนินการ และระยะเวลาในการดาํ เนินการแกไ้ ขปัญหา 2. ปัญหา เป็นการระบุปัญหา ซ่ึงมีวิธีการเขียนปัญหา ในลกั ษณะของขอ้ วนิ ิจฉยั ทางการพยาบาลเป็น 2 ลกั ษณะ คือ ใชภ้ าวะสุขภาพชุมชน และใชส้ ิ่งท่ีเก่ียวขอ้ งกบั สภาวะสุขภาพของชุมชน 3. ขอ้ สนบั สนุน เป็นขอ้ มูลสนบั สนุน ใหป้ ัญหามีความเชื่อถือไดแ้ ละมองเห็นแนวทางการแกป้ ัญหา ขอ้ มูลสนบั สนุนไดม้ าจากข้นั ตอนการประเมินสภาวะสุขภาพและจากการศึกษาสาเหตุของปัญหา 4. วตั ถุประสงค์ วตั ถุประสงคข์ องแผนงานเป็นวตั ถุประสงคท์ ว่ั ไป ซ่ึงเป็นการต้งั เป้าหมายสาํ หรับระยะเวลาช่วงหน่ึงวา่ สภาวะที่พงึ ปรารถนาในอนาคตเป็นอยา่ งไร การเขียนวตั ถุประสงคข์ องแผนงานจะตอ้ งนาํ นโยบายมาพิจารณาประกอบ การเขียน โดยวตั ถุประสงคจ์ ะตอ้ งสอดคลอ้ งกบัระยะเวลาในการดาํ เนินการแกป้ ัญหา 5. กลวธิ ี เป็นกลุ่มกิจกรรมที่จะนาํ มาใชใ้ นการปฏิบตั ิงานแกไ้ ขปัญหาใหล้ ุล่วงไปดว้ ยดีและเมื่อกระทาํ รวมกนั แลว้ จะก่อใหเ้ กิดประสิทธิภาพในการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกนั โรค การรักษาพยาบาล และการฟ้ื นฟสู ุขภาพ กลวธิ ีจะนาํ ไปสู่กิจกรรมการดาํ เนินการแกไ้ ขปัญหา และเป็นแนวทางในการกาํ หนดทรัพยากรที่จะใชใ้ นการแกไ้ ขปัญหา 6. งบประมาณ เป็นแผนการกระทาํ ท่ีแสดงออก เป็นจาํ นวนเงินท่ีใชใ้ นกลวิธีการแกป้ ัญหา ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั การใชท้ รัพยากร ถา้ ผดู้ าํ เนินการไดก้ าํ หนดวธิ ีและทรัพยากรท่ีเหมาะสม จะเป็นการช่วยวางแผนการใชง้ บประมาณอยา่ งประหยดั และตรงเป้าหมาย การคิดงบประมาณใหค้ ิดตามกลวิธี และแบ่งหมวดตามงบประมาณแผน่ ดิน ไดแ้ ก่ คา่ จา้ ง เงินเดือน คา่ จา้ งประจาํ คา่ ใชจ้ ่าย วสั ดุครุภณั ฑ์ ฯลฯ 7. ผรู้ ับผดิ ชอบ ไดแ้ ก่ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่รับผดิ ชอบดาํ เนินการแกไ้ ขปัญหาตามกลวิธีที่ระบุไว้ อาจเป็นตวั บุคคล ตาํ แหน่ง หรือกลุ่มคณะทาํ งาน 8. ประเมินผล เป็นการกาํ หนดเครื่องชี้วดั เกณฑ์ และวธิ ีการประเมินผล เพอ่ื วดั ความสาํ เร็จของงานตามวตั ถุประสงคท์ ่ีไดก้ าํ หนดไว้ หัวเร่ือง แผนงาน……………………………………………….. ปัญหา ขอ้ มูล วตั ถุประสงค์ กลวธิ ี งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ ประเมินผล สนบั สนุน

ประเภทของแผนงาน เอกสารประกอบการสอนพย.1411 อ.สมพร 3การแบ่งประเภทของแผน โดยใชร้ ะยะเวลาเป็นเครื่องกาํ หนด ไดแ้ ก่1. แผนระยะส้นั มกั มีช่วงระยะเวลากาํ หนดไวไ้ ม่เกิน 2 ปี อาจเป็น 1 สัปดาห์กไ็ ดอ้ าจกระทาํในรูปแผนงานหรือโครงการ ซ่ึงมีกิจกรรมไม่ซ้าํ ซ้อนมากนัก เช่น แผนปฏิบตั ิงานประจาํ ปี โครงการอบรมอาสาสมคั รสาธารณสุขในเขตเมือง โครงการสุขาภิบาลสิ่งแวดลอ้ ม เป็นตน้2. แผนระยะกลาง หมายถึง แผนที่มีช่วงระหว่าง 3 – 5 ปี ส่วนใหญ่ มักจะเป็ นแผนท่ีมีกิจกรรมต่อเนื่องกบั แผนระยะส้ัน เพียงแต่ผูว้ างแผนตอ้ งการขยายระยะเวลาให้ยาวนานกว่าแผนระยะส้นั เท่าน้นั เช่น โครงการจดั หาน้าํ สะอาดในชนบท และโครงการโภชนาการในแผนพฒั นาสาธารณสุขของชาติ เป็นตน้3. แผนระยะยาว หมายถึง แผนท่ีมีกาํ หนดระยะเวลาเกินกว่า 5 ปี โดยมากจะเป็ นระยะเวลา 5 ปีหรือมีระยะเวลายาวนานกว่าน้ี อาจเป็ นแผนระยะเวลา 10 ปี หรือ 15 ปี ก็ไดแ้ ผนระยะยาวจะตอ้ งสมั พนั ธ์กบั แผนระยะส้นั และแผนระยะกลางดว้ ย แผนระยะยาวท่ีสาํ คญั ไดแ้ ก่ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ซ่ึงมีระยะเวลา 5 ปี เป็นตน้นอกจากน้ี อาจแบ่งประเภทของแผนออกเป็ นรูปแบบของการวางแผนต่าง ๆ ไดอ้ ีกมาก เช่นการวางแผนงานบริหาร (Administrative Planning) การวางแผนงาน (Program Planning) การวางแผนปฏิบตั ิการ (Managerial Planning) การวางแผนดาํ เนินงาน (Operational Planning) การวางกลยทุ ธห์ รือวิธี (Strategic Planning)โครงการ โครงการเป็นแผนยอ่ ย หมายถึงกิจกรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรือหลายอยา่ งที่กาํ หนดข้ึน และจะดาํ เนินในระยะเวลาท่ีกาํ หนด เพื่อตอบสนองวตั ถุประสงคท์ ่ีกาํ หนดไวใ้ นแผนงาน โครงการมีลกั ษณะเป็นแผนปฏิบตั ิการ โดยดึงกลวธิ ีจากแผนงานมา 1 กลวธิ ี มาขยายขอบเขตของกลวิธีออกมาในรูปของกิจกรรม ในลกั ษณะการช้ีแจงรายละเอียดของงาน ทาํ ใหม้ องเห็นแนวทางดาํ เนินงานแกไ้ ขปัญหาโครงการจึงมีลกั ษณะเป็นแผนเฉพาะท่ีมีความสอดคลอ้ งกบั แผนงาน แต่เป็นเพยี งส่วนหน่ึงของกลวธิ ีในการแกป้ ัญหา 1. ลกั ษณะทดี่ ีของโครงการ 1.1 สามารถตอบสนองความตอ้ งการหรือแกป้ ัญหาขององคก์ ารหรือหน่วยงานได้ 1.2 มีวตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมายท่ีชดั เจน สามารถดาํ เนินงานและปฏิบตั ิได้ 1.3 รายละเอียดของโครงการตอ้ งสอดคลอ้ งและสมั พนั ธ์กนั กล่าวคือ วตั ถุประสงคข์ องโครงการตอ้ งสอดคลอ้ งกบั หลกั การและเหตุผล วิธีการดาํ เนินงานตอ้ งสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคเ์ ป็นตน้ 1.4 รายละเอียดของโครงการสามารถเขา้ ใจไดง้ ่าย สะดวกต่อการดาํ เนินงานตามโครงการ

เอกสารประกอบการสอนพย.1411 อ.สมพร 4 1.5 เป็นโครงการที่สามารถนาํ ไปปฏิบตั ิได้ สอดคลอ้ งกบั แผนงานหลกั ขององคก์ ารและสามารถติดตามประเมินผลได้ 1.6 โครงการตอ้ งกาํ หนดข้ึนจากขอ้ มูลที่มีความเป็นจริง และเป็นขอ้ มูลท่ีไดร้ ับการวิเคราะห์อยา่ งรอบคอบ 1.7 โครงการตอ้ งไดร้ ับการสนบั สนุนในดา้ นทรัพยากร และการบริหารอยา่ งเหมาะสม 1.8 โครงการตอ้ งมีระยะเวลาในการดาํ เนินงาน กล่าวคือตอ้ งระบุถึงวนั เวลาที่เริ่มตน้ และสิ้นสุดโครงการ 2. การเขียนโครงการนิยมเขียนในรูปของการบรรยาย มีองคป์ ระกอบ ดงั น้ี 2.1 ชื่อโครงการ การต้งั ชื่อโครงการจะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั กลวธิ ีหรือกิจกรรม เพื่อทาํ ใหท้ ราบวา่ เป็นโครงการเร่ืองอะไร 2.2 ส่วนราชการเจ้าของโครงการ ระบชุ ่ือส่วนราชการ ท้งั น้ีเพอ่ื เป็นการสะดวกแก่หน่วยเหนือในการติดตามการทาํ งาน 2.3 ผู้รับผดิ ชอบโครงการ ระบุช่ือ นามสกลุ ตาํ แหน่ง 2.4 หลกั การและเหตุผล เป็นการเขียนความเรียง เพ่ือบอกใหท้ ราบถึงหลกั การของส่ิงท่ีกระทาํ การแกไ้ ขปัญหา ความเป็นมาของปัญหา และเมื่อปัญหาน้ีไดร้ ับการแกไ้ ขดว้ ยกิจกรรมหรือวิธีการน้ีแลว้ จะเกิดผลดีอยา่ งไร การเขียนหลกั การและเหตุผล ควรเขียนดว้ ยขอ้ ความที่กระชบั และไม่เยน่ิ เยอ้ (ระบุความสาํ คญั และขอ้ มูลสนบั สนุน) เช่น 2.5 วตั ถุประสงค์ หมายถึงส่ิงท่ีโครงการตอ้ งการจะทาํ ใหเ้ กิดข้ึน ควรมีลกั ษณะคือชดั เจนเขา้ ใจง่าย มีลกั ษณะเฉพาะ สามารถปฏิบตั ิได้ เหมาะสมกบั ระยะเวลาท่ีมีอยู่ สอดคลอ้ ง และสนบั สนุนวตั ถุประสงคห์ รือนโยบายของหน่วยงานและนโยบายของรัฐบาล 2.6 เป้าหมาย คือสิ่งท่ีโครงการตอ้ งการจะใหเ้ กิดมีข้ึนในปริมาณท่ีแน่นอนชดั เจน และระยะเวลาที่กาํ หนด ท้งั น้ีตอ้ งสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ 2.7 กล่มุ เป้าหมาย หมายถึง กลุม่ คนหรือส่ิงของที่ไดร้ ับผลกระทบ/เขา้ ร่วมในโครงการ ตวั อย่าง : ประชาชนตาํ บลบา้ นสวย จาํ นวน 100 คน 2.8 ข้ันตอนการดําเนินงาน คอื กาํ หนดการทาํ งานเพือ่ แกไ้ ขปัญหา เป็นการระบวุ นั เวลาร่วมกบั งานหรือกิจกรรม ข้นั ตอนน้ีประกอบดว้ ย ก. ข้นั เตรียมงาน เป็นการกาํ หนดการในการเตรียมพร้อมก่อนลงมือปฏิบตั ิงานแกไ้ ขปัญหา ไดแ้ ก่ -การติดต่อประสานงานกบั บุคคลท่ีจะมาร่วมในการแกไ้ ขปัญหา เช่น เจา้ หนา้ ท่ี

เอกสารประกอบการสอนพย.1411 อ.สมพร 5กรรมการหมู่บา้ น เพอ่ื ทาํ ความเขา้ ใจถึงบทบาทหนา้ ที่ รวมท้งั การประสานงานของแต่ละฝ่ ายในการทาํ งาน -กาํ หนดการเบิกยมื ทรัพยากร และงบประมาณที่จะนาํ ไปใชใ้ นการแกไ้ ขปัญหาเช่น วสั ดุ ยานพาหนะ ท้งั น้ีเคร่ืองมือจะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั กิจกรรมการแกไ้ ขปัญหาและสถานท่ีที่จะให้ความช่วยเหลือ -กาํ หนดการประชาสมั พนั ธ์ เพื่อแจง้ ใหป้ ระชาชนรับทราบถึงวตั ถุประสงคแ์ ละกาํ หนดการทาํ งาน ทาํ ใหป้ ระชาชนไดร้ ับรู้ และใหค้ วามร่วมมือในการดาํ เนินงานแกไ้ ขปัญหา ข. ข้นั ดําเนินงาน เป็นการกาํ หนดการทาํ งานซ่ึงประกอบดว้ ย วนั ท่ี ระยะเวลางานหรือกิจกรรม ในการดาํ เนินงานแกไ้ ขปัญหา การดาํ เนินงานตามแผน เป็นการนาํ โครงการท่ีกาํ หนดไวไ้ ปปฏิบตั ิต่อชุมชน หรือปฏิบตั ิร่วมกบั ชุมชน เพือ่ แกไ้ ขปัญหา ในข้นั น้ีควรจะกระตุน้ ใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วม และนาํ ทรัพยากรที่มีอยใู่ นชุมชนมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์มากท่ีสุด รวมท้งั สอน แนะนาํ ใหป้ ระชาชนปฏิบตั ิไดด้ ว้ ยตนเองเพอื่ ใหส้ ามารถพ่งึ พาตนเองได้ การดาํ เนินงานควรเป็นไปตามแผนปฏิบตั ิงานที่กาํ หนดไวใ้ นโครงการ 2.9 งบประมาณ เป็นการระบุเงินที่ใชใ้ นโครงการตามกิจกรรมหรืองานที่ไดก้ ระทาํ ลงไปในการแกป้ ัญหา ซ่ึงเงินจาํ นวนน้ี จะรวมถึงทรัพยากรท่ีนาํ มาใช้ ในการแกไ้ ขปัญหา การแบ่งหมวดการใช้เงิน ใชต้ ามงบประมาณแผน่ ดิน ซ่ึงแบ่งหมวดเป็นเงินเดือน ค่าจา้ งประจาํ คา่ จา้ งชว่ั คราว ค่าตอบแทน คา่ใชส้ อย วสั ดุ ฯลฯ 2.10 ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ เป็นการบอกถึงผลประโยชนท์ ี่ประชาชนหรือชุมชนจะไดร้ ับเม่ือโครงการน้ีสิ้นสุด ซ่ึงผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับไม่ใช่วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 2.10 การประเมินผล เป็นการกาํ หนดวธิ ีการ และเกณฑ์ เพอื่ ดูความสาํ เร็จของงานตามวตั ถุประสงคข์ องโครงการ แต่เน่ืองจากการประเมินผล มกั จะถูกกลืน เพราะถือวา่ การดาํ เนินงาน ได้สิ้นสุดลงไปแลว้ ดงั น้นั ผดู้ าํ เนินงานจึงควรกาํ หนดข้นั ตอนการดาํ เนินการประเมินผลไวใ้ นโครงการ ตัวอย่างการเขยี นแผนงาน และโครงการ เอกสารแนบ 1 และ 2)การจัดกจิ กรรมแก้ปัญหาชุมชน เป็นการดาํ เนินการตามแผนและโครงการตามข้นั ตอนท่ีไดว้ างไว้ กิจกรรมการแกป้ ัญหาสามารถกระทาํ ไดห้ ลายรูปแบบ เช่น จดั บอร์ดความรู้ จดั นิทรรศการอาจรวมกิจกรรมหลายอยา่ งมาไว้ดว้ ยกนั การสอนสุศึกษา การเยย่ี มบา้ น การรณรงคเ์ รื่องต่างๆ เช่น การเลิกสูบบุหรี่ การว่ิงเพอ่ื สุขภาพหรือการแสดงบทบาทสมมุติ เป็นตน้

การแกไ้ ขปัญหาสุขภาพชุมชนโดยใชห้ ลกั การพฒั นาชุมชน เอกสารประกอบการสอนพย.1411 อ.สมพร 6การจดั กิจกรรมการแกป้ ัญหาสุขภาพชุมชน จะตอ้ งมาจากความร่วมมือของผเู้ ก่ียวขอ้ งหลายส่วนจึงจะสามารถแกป้ ัญหาใหห้ มดไปหรือบรรเทาลงไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง ไม่ใช่เพียงส่วนใดส่วนหน่ึงเนื่องจากปัญหาสุขภาพที่เกิดข้ึนน้นั ยอ่ มส่งผลกระทบในหลายส่วน เช่น พบวา่ มีผปู้ ่ วยเบาหวานในชุมชนเป็นจาํ นวนมาก การท่ีจะทาํ ใหผ้ เู้ ป็นโรคเบาหวานไม่เกิดอนั ตรายหรือภาวะแทรกซอ้ นน้นั จะเกี่ยวขอ้ งกบั ตวั ผเู้ ป็นเบาหวาน สมาชิกในครอบครัว ชุมชนท่ีมีการจาํ หน่ายอาหาร ผรู้ ับผดิ ชอบดา้ นสุขภาพและคุณภาพชีวติ ของผปู้ ่ วย เช่น แพทย์ พยาบาล อบต. เทศบาล อสม.เป็นตน้ หรือการป้องกนัไม่ใหค้ นในชุมชนเป็นเบาหวานเพมิ่ ข้ึน กต็ อ้ งอาศยั ความร่วมมือจากหลายส่วนดงั กล่าวดว้ ยเช่นกนัการพฒั นาชุมชน คืออะไร ในการทาํ งานร่วมกบั ชุมชน เป็นส่ิงทา้ ทายวา่ เราสามารถเขา้ ถึงชุมชนไดด้ ีหรือไม่ ตวั ช้ีวดั ตวัหน่ึงที่จะบอกไดค้ ือ ความร่วมมือ ร่วมใจจากคนในชุมชน โดยเฉพาะคนท่ีเป็นแกนนาํ หรือแกนหลกั ในชุมชน ดงั น้นั การพฒั นาชุมชน จงึ เป็ นกระบวนการทพ่ี ยายามทจี่ ะเปลย่ี นแปลงแนวความคดิ ทศั นคติและพฤตกิ รรมของคนในชุมชนให้ดขี ึน้ กว่าเดิม โดยดูจากความร่วมมือกนั พฒั นาใหช้ ุมชนของตนเป็นชุมชนที่ดี สร้างความรู้สึกรักและผกู พนั ต่อชุมชนของตน การพฒั นาชุมชน จึงเป็นการทาํ งานกบั ประชาชน ไม่ใช่ทาํใหป้ ระชาชน เพราะฉะน้นั กิจกรรมที่จะดาํ เนินงานในชุมชนน้นั จะตอ้ งเป็นกิจกรรมท่ีมาจากการริเร่ิมของประชาชน และประชาชนเป็นเจา้ ของกิจกรรมน้นั ๆ บทบาทของผปู้ ฏิบตั ิงาน/บุคลากร จึงเป็นผกู้ ระตุน้ ช้ีนาํ ใหป้ ระชาชนเกิดความคิดริเร่ิมในการแกไ้ ขปัญหาหรือหาทางสนองความตอ้ งการของตนแลว้ ร่วมกนั ทาํ งานตามท่ีคิดข้ึนมาหลกั การพฒั นาชุมชน ประกอบดว้ ย1. พิจารณาถึงบริบท(Context) ของชุมชนเป็นหลกั ในการเริ่มงาน บริบทของชุมชน หมายถึง สภาพความเป็นอยใู่ นชุมชน ท้งั สภาพความเป็นอยทู่ างกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม(หรือประเพณีบางอยา่ งที่เราคิดวา่ ไม่ถกู กไ็ ม่ควรจะไปตาํ หนิตรง ๆแต่ควรช้ีนาํ /เสนอแนะใหป้ ระชาชนเห็นวา่ ดีและไม่ดีอยา่ งไร) การเมืองการปกครอง การท่ีผปู้ ฏิบตั ิ ทราบสภาพความเป็นอยขู่ องชุมชนกส็ ามารถที่จะวางแผนและดาํ เนินงานพฒั นาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม2. การดึงประชาชนเขา้ มาเก่ียวขอ้ งหรือมีส่วนร่วม (Participation) และยดึ ประชาชนเป็นหลกัในการพฒั นา (Man-Center Development) การจดั กิจกรรมการพฒั นา จะตอ้ งดึงหรือชกั จูงประชาชนใหเ้ ขา้ มาเกี่ยวขอ้ งและมีส่วนร่วมดว้ ย ต้งั แต่ศึกษาชุมชน วางแผน เขียนโครงการ ปฏิบตั ิการตามโครงการ และการประเมินผล โดยยดึ หลกั การวา่ ใหค้ นในชุมชนคน้ หาความตอ้ งการและปัญหา (Identify Need andProblem) ของตนเองใหพ้ บ ไม่วา่ จะดว้ ยวธิ ีกระตุ้น ยวั่ ยุ หรือชักจูงกต็ าม และตอ้ งใหป้ ระชาชนเขา้ มาเกี่ยวขอ้ งและมีส่วนร่วมในการดาํ เนินงานใหม้ ากทสี่ ุดเท่าทจ่ี ะทาํ ได้ เน่ืองจากผลของการดาํ เนินงาน

เอกสารประกอบการสอนพย.1411 อ.สมพร 7พฒั นาน้นั ส่งผลกระทบโดยตรงต่อตวั ประชาชน จึงควรท่ีจะใหป้ ระชาชนเลือกแนวทางในการพฒั นาสภาพความเป็นอยขู่ องตนเอง 3. ตอ้ งยดึ หลกั ประชาธิปไตยในการดาํ เนินงาน การดาํ เนินงานพฒั นาชุมชนจะเริ่มดว้ ยการประชุมปรึกษาหารือกนั ร่วมกนั คิดวา่ จะทาํ อะไร เมื่อตกลงกนั แลว้ กจ็ ะร่วมกนั ทาํ โดยมอบหมายงานให้แต่ละคนไดร้ ับผดิ ชอบร่วมกนั งานจะมาจากประชาชนในชุมชน ในการเขา้ ไปแกป้ ัญหาของประชาชนน้นั ผปู้ ฏิบตั ิงานจะไม่ใชว้ ิธีออกคาํ สงั่ แต่จะเป็นการใหข้ อ้ มูล/ความรู้ ชกั ชวน/ ช้ีนาํ ใหป้ ระชาชนไดเ้ ห็นปัญหา และร่วมกนั หาทางแกไ้ ขโดยความสมคั รใจ 4. ตอ้ งใชห้ ลกั การประสานงาน งานพฒั นาชุมชนจะประสบผลสาํ เร็จมากนอ้ ยแค่ไหนอยู่ที่การประสานงาน เพราะงานพฒั นาชุมชนน้นั มิใช่งานของหน่วยงานใดหน่วยงานหน่ึงโดยเฉพาะ เป็นงานที่จะตอ้ งร่วมกนั รับผดิ ชอบทุกหน่วยงาน และผปู้ ฏิบตั ิงานกไ็ มใ่ ช่วา่ จะเป็นผเู้ ช่ียวชาญทุก ๆ ดา้ นจึงตอ้ งอาศยั การประสานงานเป็นหลกั ในการดาํ เนินงาน 5. เริ่มตน้ ทาํ งานกบั กลุ่มผู้นําก่อน ผนู้ าํ ในทอ้ งถิ่นเป็นผทู้ ี่ประชาชนในชุมชนใหค้ วามเคารพเช่ือถือ เช่น กาํ นนั ผใู้ หญ่บา้ น อสม. ครู และผนู้ าํ ที่ไม่เป็นทางการ คือ ผนู้ าํ ที่คนในหมบู่ า้ นใหค้ วามเคารพนบั ถือและมีบทบาทในการช้ีนาํ การพฒั นา เช่น เถา้ แก่โรงสี เถา้ แก่ไร่ออ้ ย คนเฒ่าคนแก่ พระสงฆ์ เป็นตน้ไม่วา่ จะพดู อะไร ประชาชนส่วนใหญ่จะยอมรับและคลอ้ ยตาม การจะกระทาํ กิจกรรมพฒั นาในชุมชนหากผนู้ าํ เห็นชอบดว้ ย ปัญหาการขดั แยง้ และการใหค้ วามร่วมมือกจ็ ะนอ้ ยลงหรือหมดไป 6. การดาํ เนินงานจะตอ้ งค่อยเป็ นค่อยไป (Gradualness) จุดมุ่งหมายของการดาํ เนินงานพฒั นาชุมชน กค็ ือ ตอ้ งการเปล่ียนแปลงทศั นคติของประชาชนในชุมชนและวตั ถุไปพร้อม ๆ กนั การดาํ เนินงานจึงตอ้ งคอ่ ยเป็นค่อยไป โดยเลือกทาํ ในชุมชนท่ีพร้อมกวา่ ก่อน 7. การดาํ เนินงานตอ้ งใหส้ อดคล้องกบั นโยบายของชาติ การจดั ทาํ แผนงานหรือกิจกรรมใด ๆจะตอ้ งใหเ้ ป็นไปตามแผนพฒั นาระดบั ตาํ บล อาํ เภอ จงั หวดั และสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติเสมอ 8. ตอ้ งพยายามใช้ทรัพยากรในชุมชนใหม้ ากท่ีสุด ควรจะเริ่มจากการนาํ เอาทรัพยากรในทอ้ งถิ่นมาดดั แปลงใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ หม้ ากท่ีสุด โดยช้ีนาํ /สอนแนะใหค้ นในชุมชนเห็นคุณค่าของสิ่งท่ีมีอยใู่ นชุมชนและนาํ เอาสิ่งเหล่าน้นั มาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือแปรรูปเป็นวสั ดุเคร่ืองใชใ้ นครัวเรือนใหไ้ ด้คาํ วา่ ทรัพยากรในท่ีน้ี หมายถึงทุกส่ิงที่มีอยใู่ นชุมชนเช่นตวั คนวตั ถุ สถาบนั ทางสงั คมและกลุ่มต่างๆเป็นตน้ 9. ตอ้ งพฒั นาชุมชนทุก ๆ ด้านไปพร้อมกนั โดยทว่ั ไป ส่ิงท่ีตอ้ งพฒั นาในชุมชนน้นั มี 2 ดา้ น คือดา้ นวตั ถุ และจิตใจ ดา้ นวตั ถุ หมายถึง สภาพแวดลอ้ มท่ีเป็นวตั ถุทุก ๆ ดา้ น เช่น ถนนหนทาง ท่ีอยู่อาศยั สถานศึกษา สถานรักษาพยาบาล ไฟฟ้า วทิ ยุ เป็นตน้ แต่ เมื่อสภาพแวดลอ้ มทางวตั ถุดีแลว้ ไม่ได้หมายความวา่ สภาพจิตใจของประชาชนจะดีตามไปดว้ ยเสมอไป จึงจาํ เป็นตอ้ งส่งเสริมสภาพจิตใจใหไ้ ปในทิศทางที่ดีดว้ ยเช่นใหก้ ารศึกษาส่งเสริมอาชีพส่งเสริมขนบธรรมเนียมประเพณีหรือวฒั นธรรมพร้อมกนั ไปดว้ ย

เอกสารประกอบการสอนพย.1411 อ.สมพร 8 10. ปลูกฝังความเช่ือมน่ั ในตนเองใหก้ บั ประชาชน ความเช่ือมนั่ ในตนเอง เป็นพลงั สาํ คญั ท่ีจะช่วยใหก้ ารทาํ งานสาํ เร็จลงได้ แมง้ านน้นั จะยากลาํ บากเพยี งใดกต็ าม หากมีความมนั่ ใจและเชื่อในพลงั งานท่ีตนมีอยแู่ ลว้ การดาํ เนินงานกจ็ ะสาํ เร็จลงไดโ้ ดยไม่ยากนกั 11. การใชว้ ธิ ีดาํ เนินงานแบบประชาธิปไตย (Democracy) การพฒั นาชุมชนจะตอ้ งนาํ แบบประชาธิปไตยมาใชเ้ พ่อื ส่งเสริมสนบั สนุนใหป้ ระชาชนรู้จกั คิดดว้ ยตนเอง รู้จกั อภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตลอดจนร่วมกนั ทาํ งานตามขอ้ ตกลงท่ีไดร้ ่วมกนั กาํ หนดไว้ ยดึ ถือในเสียงขา้ งมากและรับฟังเสียงขา้ งนอ้ ย (Rule of Majority, Right of Minority) 12. ทาํ การประเมนิ ผลตลอดเวลา (Evaluation) การประเมินผลมิใช่เป็นแคเ่ พยี งการเปรียบเทียบผลงานในอดีต เพื่อใหร้ ู้วา่ มีความกา้ วหนา้ เพยี งใด เท่าน้นั แต่เป็นการเรียนรู้ถึงขอ้ ดี ขอ้ เสีย ความผดิ พลาดและความสาํ เร็จ ในสถานการณ์และสิ่งแวดลอ้ มท่ีเกิดข้ึนจากการดาํ เนินกิจกรรมน้นั และสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทาํ งานคร้ังต่อไปได้ ซ่ึงในการประเมินผลน้นั สามารถทาํ ไดใ้ นทุกข้นั ตอนของการดาํ เนินงานและเมื่อโครงการเสร็จสิ้นไปแลว้ 13. การดาํ เนินงานตอ้ งยดื หยนุ่ ได้ (Flexible) เน่ืองจากสงั คมมีความเคล่ือนไหว (Dynamic)ตลอดเวลา จึงจาํ เป็นตอ้ งเลือกวิธีดาํ เนินงานใหก้ วา้ งและเขา้ กบั สถานการณ์ เหตุการณ์ หรือการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน แต่ท้งั น้ี การเปล่ียนแปลงจะตอ้ งเป็นไปเฉพาะวธิ ีดาํ เนินงานเท่าน้นั โดยยดึ มนั่ ในหลกั การวตั ถุประสงค์ และเป้าหมายเสมอ ประเดน็ สาํ คญั ในการดาํ เนินการพฒั นาอนามยั ชุมชน ที่ไม่ควรละเลย คือ 1. หลกั การต่างๆ เช่นหลกั การช่วยเหลือตนเอง การใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วม การให้เห็นคุณค่าของการทาํ กิจกรรม 2. กิจกรรมตอ้ งเขา้ ใจง่าย ไม่สลบั ซบั ซอ้ น มีการประยกุ ตใ์ หเ้ หมาะสม และทาํ ไดจ้ ริงก่อใหเ้ กิดความรู้สึกท่ีดีทางดา้ นจิตใจ สะดวกและสนุกในการทาํ กิจกรรม และกิจกรรมตอ้ งมีความถาวรต่อเน่ือง มีความกา้ วหนา้ ตลอดเวลา หรือมีการเคลื่อนไหว 3. เช่ือถือ ไวว้ างใจได้ 4. ทนั สมยั สะอาด เรียบร้อย 5. ผนู้ าํ ศาสนาร่วมมือ และใชค้ าํ สอนศาสนาร่วมดว้ ย 6. ยกยอ่ งผนู้ าํ ชุมชน ผอู้ าวโุ ส ผเู้ ฒ่า ผแู้ ก่ 7. มีความรอบรู้ในความเป็นชุมชนน้นั ๆ ปัจจยั ท่ีส่งผลให้งานบรรลุผลสําเร็จ ข้ึนอยู่กบั ปัจจยั 4M’s (เดิม) แต่ปัจจุบนั มี 6M’s 8M’sไดแ้ ก่ 1. คน (Man) คนเป็นทรัพยากรท่ีสาํ คญั ของชาติ เพราะจะนาํ มาซ่ึงประโยชนต์ ่างๆ ดงั น้นั

เอกสารประกอบการสอนพย.1411 อ.สมพร 9จึงตอ้ งคาํ นึงถึงจาํ นวน คุณภาพของบุคคลน้นั ๆ เช่น เจา้ หนา้ ที่สาธารณสุขไม่พอ กต็ อ้ งมีการผลิตนกัสุขาภิบาล แพทย์ พยาบาล นกั โภชนาการ ฯลฯ เพิ่มข้ึนและมีคุณภาพสูง นอกจากน้ี ยงั คาํ นึงถึงความรู้ความสามารถของแต่ละบุคคลดว้ ย คือตอ้ งจดั คนใหเ้ หมาะสมกบั งาน (put the right man in the rightjob) 2. เงินและงบประมาณ (Money and budget) ไม่วา่ งานใดกต็ าม ถา้ ขาดเงินทุนแลว้ งานน้นั มกั จะลม้ เหลว เพราะงบประมาณ เป็นปัจจยั สาํ คญั อยา่ งหน่ึงที่จะทาํ ใหง้ านน้นั บรรลุถึงเป้าหมายได้ 3. วสั ดุอุปกรณ์ (Material) รวมถึงเครื่องมือเคร่ืองใช้ สิ่งของต่างๆ จะตอ้ งมีใหเ้ พยี งพอและรู้จกั วธิ ีใช้ ในการปฏิบตั ิงานในชุมชนควรจะใชว้ สั ดุที่หาไดใ้ นหมู่บา้ นใหม้ ากที่สุดเท่าที่จะมากได้สิ่งใดท่ีไม่จาํ เป็นใหป้ ระชาชนซ้ือกไ็ ม่ควรซ้ือ 4. การจดั การ (Management/Method) หมายถึงการตระเตรียม การวางโครงการเพ่อื ให้งานบรรลุเป้าหมายที่ต้งั ไว้ ถา้ งานใดขาดการจดั การแลว้ อาจจะมีอุปสรรคทาํ ใหเ้ กิดการล่าชา้ เสียเวลาเสียกาํ ลงั งานและบน่ั ทอนดา้ นจิตใจดว้ ย 5. เครื่องจกั ร (Machine) 6. การตลาด (Market) 7. ขวญั กาํ ลงั ใจ (Morale) 8. ขอ้ มูลข่าวสาร ( Message ) ในกระบวนการพฒั นาอนามยั ชุมชน ถือวา่ คนเป็นปัจจยั ที่สาํ คญั ที่สุด รองลงมาคือ การจดั การท้งั น้ีถา้ รู้จกั การจดั งานโดยรู้วตั ถุประสงคข์ องงาน รู้นโยบายของรัฐ รู้จกั การวางแผนและรู้จกั การประสานงานแลว้ ปัจจยั อื่นกจ็ ะตามมาการประเมนิ แผนงาน โครงการ การประเมินผลแผนและโครงการ หมายถึง กระบวนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และวิเคราะห์ขอ้ มูลเก่ียวกบั แผนและโครงการ แลว้ เปรียบเทียบกบั วตั ถุประสงคข์ องแผนและโครงการที่วางไว้ ซ่ึงจะเป็นขอ้ มูลพ้นื ฐานสาํ คญั ในการปรับปรุงแกไ้ ขแผนและโครงการ เพ่อื การตดั สินใจเกี่ยวกบั การดาํ เนินการต่อไป วตั ถุประสงค์ของการประเมนิ แผน/โครงการ 1. เพือ่ พิจารณาวา่ แผน/โครงการสามารถตอบสนองต่อวตั ถุประสงค์ เป้าหมายหรือความตอ้ งการขององคก์ รและ สงั คมไดห้ รือไม่ 2. ทรัพยากรทุกอยา่ งมีจาํ กดั ท้งั เงิน คน วสั ดุอุปกรณ์ และ ทรัพยากรธรรมชาติ 3. ผลกระทบจากแผน/โครงการที่อาจมีต่อส่ิงแวดลอ้ มและสงั คม จึงตอ้ งประเมินเพ่ือหาทางป้องกนั 4. เพือ่ พจิ ารณาคดั เลือกแผน/โครงการที่เหมาะสมท่ีสุดในกรณีที่มีขอ้ เสนอหลายแผน/โครงการเพื่อสนองวตั ถุประสงคเ์ ดียวกนั

ประโยชน์ของการประเมินผล เอกสารประกอบการสอนพย.1411 อ.สมพร 10 1. ช่วยทาํ ใหก้ ารกาํ หนดวตั ถปุ ระสงคแ์ ละมาตรฐานของการดาํ เนินงานมีความชดั เจน และสามารถท่ีจะนาํ ไปปฏิบตั ิอยา่ งไดผ้ ล 2. ช่วยใหก้ ารใชท้ รัพยากรเป็นไปอยา่ งคุม้ คา่ หรือเกิดประโยชนเ์ ตม็ ท่ี 3. ช่วยใหแ้ ผนงาน/โครงการบรรลุถึงวตั ถุประสงคแ์ ละดาํ เนินงานได้ 4. ช่วยในการแกป้ ัญหาอนั เกิดจากผลกระทบของแผน/โครงการและทาํ ใหแ้ ผน/โครงการมีขอ้ ท่ีทาํใหเ้ กิดความเสียหายลดนอ้ ยลง 5. การประเมินแผน/โครงการมีส่วนช่วยควบคุมคุณภาพของงาน ปัจจยั ทกุ ชนิด ขอ้ มูลนาํ เขา้กระบวนการ และผลงาน 6. การประเมินแผน/โครงการมีส่วนในการสร้างขวญั และกาํ ลงั ใจใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิงาน เพราะการประเมินเป็นการศึกษาวเิ คราะห์เพื่อการปรับปรุงแกไ้ ขและเสนอแนะวิธีการใหม่ๆ เพื่อใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน 7. การประเมินช่วยในการตดั สินใจในการบริหารโครงการ ช่วงเวลาของการประเมนิ ผล 1. การประเมินก่อนมีแผน/โครงการ : เพ่อื ดูวา่ แผน/โครงการมีความเหมาะสมและเป็นไปไดห้ รือไม่ 2. การประเมินระหวา่ งดาํ เนินแผน/โครงการ : เพื่อติดตามความกา้ วหนา้ ของแผน/โครงการตรวจสอบแผน/โครงการ 3. การประเมินเม่ือแผน/โครงการเสร็จสิ้น : เพ่อื ดูวา่ การดาํ เนินงานบรรลุวตั ถุประสงคท์ ี่วางไว้หรือไม่ 4. การประเมินภายหลงั แผน/โครงการ : เพ่อื ดูผลสาํ เร็จต่อเนื่องและผลกระทบที่เกิดจากแผน/โครงการ ทาํ ใหท้ ราบถึงผลประโยชน์ ผลกระทบ ในระยะยาว อาจเรียกวา่ การประเมินความต่อเนื่องยงั่ ยนืของแผน/โครงการ องค์ประกอบในการประเมินแผนงาน/โครงการ 1. วตั ถุประสงคข์ องการติดตามและประเมินผล 2. บุคคล/หน่วยงานรับผดิ ชอบ 3. กรอบแนวคิดในการประเมิน 4. ตวั ช้ีวดั ท่ีใช้ วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและแหล่งขอ้ มูล 5. เกณฑก์ ารตดั สินใจ/เป้าหมาย 6. บุคคล/หน่วยงานท่ีรับผดิ ชอบในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 7. ช่วงระยะเวลาติดตามประเมินผล

กรอบในการประเมิน เอกสารประกอบการสอนพย.1411 อ.สมพร 11ประเดน็ ตวั ช้ีวดั เกณฑก์ าร วธิ ีการเกบ็ กาํ หนดเวลา/ แหล่งขอ้ มูล ผรู้ ับผดิ ชอบ ตดั สิน/ รวบรวม ความถ่ี เป้าหมาย ขอ้ มูลวธิ ีการ/เคร่ืองมือในการติดตามประเมนิ ผลข้อมูลปฐมภูมิ1. การใชแ้ บบสอบถาม (Questionnaire)2. การสมั ภาษณ์ (Interview)3. การสงั เกต (Observation)4. การเกบ็ ตวั อยา่ งทางกายภาพ ชีวภาพ5. อื่น ๆ ไดแ้ ก่ การทดสอบ การเขา้ ไปมีส่วนร่วมข้อมูลทุติยภูมิ เช่น1. รายงานผลโครงการ2. รายงานการประชุม3. สถิติ ขอ้ มูล ที่เก่ียวขอ้ ง4. ผลการประเมินโดยหน่วยงานอื่นๆ ฯลฯการประเมินผลทด่ี ี (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2537)คาํ ถาม/วตั ถุประสงค์ของการประเมิน- เป็นไปตามความตอ้ งการ/ความจาํ เป็นที่แทจ้ ริง- สนองความตอ้ งการใชข้ อ้ มูล/สารสนเทศวธิ ีการประเมนิ- สนองวตั ถุประสงค/์ เป้าหมายของการประเมิน- สอดคลอ้ งกบั สภาพการณ์/ลกั ษณะของแผนและโครงการผลการประเมิน- มีประโยชน/์ นาํ ไปใชไ้ ด้- ไม่มีอคติ/ยตุ ิธรรม - น่าเชื่อถือ

การประเมนิ ผล มีกระบวนการ ดงั น้ี เอกสารประกอบการสอนพย.1411 อ.สมพร 12 ข้นั ท่ี 1 กาํ หนดสิ่งที่จะประเมิน วา่ เป็นผลงานอะไร ของหน่วยงานใด ใครรับผดิ ชอบการประเมิน และขอบเขตของการประเมินในแต่ละคร้ัง แตล่ ะโครงการมีขอ้ จาํ กดั อะไรบา้ ง ข้นั ท่ี 2 กาํ หนดวธิ ีที่จะใชใ้ นการประเมินใหช้ ดั เจนวา่ จะใชว้ ิธีใด ควรมีการทดสอบเคร่ืองมือก่อนใช้ ข้นั ที่ 3 พิจารณาเรื่องขอ้ มูลที่จะนาํ มาใชใ้ นการประเมิน วา่ ตอ้ งการขอ้ มูลอะไรมีเพียงพอหรือไม่ เช่ือถือไดห้ รือไม่ แลว้ นาํ มาวเิ คราะห์ขอ้ มูลเหล่าน้นั เหมาะสมท้งั ดา้ นปริมาณและคุณภาพหรือไม่ และถา้ ขอ้ มูลไม่เพยี งพอ มีขอ้ ขดั แยง้ จะมีการหาขอ้ มูลเพมิ่ เติมดว้ ยวิธีใด ข้นั ท่ี 4 กาํ หนดระยะเวลาที่จะดาํ เนินการเป็นระยะ ๆ ใหช้ ดั เจน ข้นั ที่ 5 กาํ หนดบุคลากรผปู้ ระเมินหรือผรู้ ับผดิ ชอบ ในกรณีเป็นการประเมินผลหน่วยงานที่อยใู่ นบงั คบั บญั ชา ข้นั ที่ 6 ดาํ เนินการประเมิน ในดา้ นประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความเพยี งพอ ความเหมาะสม และผลขา้ งเคียงที่เกิดข้ึน ข้นั ที่ 7 สรุปประเมินผลการประเมินที่ไดร้ ับ และเสนอเพอ่ื การปฏิบตั ิต่อไป การประเมินผลจะกระทาํ อย่างละเอียดถี่ถว้ นหรือวดั อย่างหน่ึงอย่างใดข้ึนอยู่กบั วตั ถุประสงค์และการประเมินผลน้นั ๆ ในการประเมินผลควรพจิ ารณาถึง ลกั ษณะของการจดั โครงการน้นั ๆ คือ 1. การวดั ประสิทธิภาพ (Evaluation of Efficiency) ไดแ้ ก่ การพิจารณาที่ค่าใช้จ่ายหรือทรัพยากรต่างๆที่ใชใ้ นการดาํ เนินงานตามโครงการน้นั เพ่ือให้เป็ นไปตามมาตรฐานและบรรลุวตั ถุประสงคข์ องโครงการว่ามีความสมดุลกบั ผลท่ีไดร้ ับหรือไม่ หรือกล่าวอยา่ งส้ัน ๆ ว่าคุม้ ค่าหรือไม่อาจเรียกว่า CostEffectiveness หรือ Cost Benefit Ratio 2. การวดั ประสิทธิผล (Evaluation of Effectiveness) คือ การพิจารณาว่ากิจกรรมและบริการต่าง ๆ ท่ีดาํ เนินการไปตามแผนน้ัน ได้บรรลุวตั ถุประสงค์มากน้อยเพียงไร หรือไม่ ภายในระยะเวลาท่ีกาํ หนดไว้ สามารถคาํ นวณไดด้ งั น้ี 2.1 ทรัพยากรท่ีใช/้ ทรัพยากรท่ีกาํ หนด  100 2.2 จาํ นวนผปู้ ่ วยที่รักษาหาย/จาํ นวนผมู้ าตรวจในเวลาเดียวกนั  100 2.3 วตั ถุประสงคท์ ่ีทาํ ได้ / วตั ถุประสงคท์ ่ีกาํ หนด  100 2.4 กิจกรรมท่ีทาํ ได้ / กิจกรรมท่ีกาํ หนด  100 3. การวดั ความเพยี งพอ (Evaluation of Adequacy) หมายถึง การพิจารณาวา่ โครงการน้นัไดแ้ กป้ ัญหาไปมากหรือนอ้ ย หรือบริการน้นั ครอบคลุมประชากรไปมากนอ้ ยเพยี งใด (บอกจาํ นวนประชากรที่ไดร้ ับบริการ) เป็นไปตามวตั ถุประสงคห์ รือไม่ รวมท้งั พจิ ารณาวา่ วตั ถุประสงคเ์ พียงพอหรือไม่

เอกสารประกอบการสอนพย.1411 อ.สมพร 13 4. การวดั ความเหมาะสม (Evaluation of Appropriateness) เป็นการพจิ ารณาในแง่ความสาํ คญั ความจาํ เป็นและการเป็นท่ียอมรับของประชาชน 5. การวดั ผลขา้ งเคียง (Evaluation of Side-effect) เป็นการพจิ ารณาผลดีผลเสียต่อเศรษฐกิจส่ิงแวดลอ้ ม ท้งั ทางบวกและทางลบนอกจากวตั ถุประสงคใ์ นการจดั ใหม้ ีโครงการน้นั ๆ ข้ึน การประเมินผลโครงการใน 5 หวั ขอ้ ท่ีกล่าว ตอ้ งพิจารณาถึง 1. ปัญหาสาธารณสุขน้นั ไดร้ ับการแกไ้ ขมากนอ้ ยเพยี งใด จากบริการพยาบาลที่ใหซ้ ่ึงเป็นการพจิ ารณาความเพยี งพอ 2. การดาํ เนินงานบรรลุวตั ถุประสงคท์ ี่กาํ หนดไวม้ ากนอ้ ยเพียงใด ซ่ึงเป็นการพิจารณาประสิทธิผลโครงการ 3. เปรียบเทียบค่าใชจ้ ่าย ประมวลไดจ้ ากเวลาท่ีใชใ้ นการบริการ หรือผลของโครงการน้นัซ่ึงเป็ นการพิจารณาประสิทธิภาพของโครงการ 4. จากการดาํ เนินการมีสิ่งใดที่แสดงวา่ เราไดก้ าํ หนดวตั ถุประสงคห์ รือเลือกกิจกรรมเป็นอยา่ งดีทาํ ใหก้ ารดาํ เนินงานบรรลุเป้าหมายของแผนงานสาธารณสุข เทียบกบั วธิ ีการแกไ้ ขปัญหาแบบอ่ืน ๆ เวลาที่กาํ หนดในโครงการเพยี งพอหรือไม่ นอกจากน้ีตอ้ งพจิ ารณาประสิทธิภาพของค่าใชจ้ ่ายดว้ ยวา่ เหมาะสมกบั กิจกรรมที่เกิดข้ึนหรือผลงานท่ีเกิดข้นึ หรือไม่บรรณานุกรมจริยาวตั ร คมพยคั ฆ์ และวนิดา ดุรงคฤ์ ทธิชยั (บรรณาธิการ). การพยาบาลอนามยั ชุมชน: แนวคดิ หลกั การและการปฏบิ ตั ิการพยาบาล. กรุงเทพฯ: จุดทองประชุม รอดประเสริฐ. (2545). การบริหารโครงการ. พมิ พค์ ร้ังท่ี 6. กรุงเทพฯ : เนติกลุ การพิมพ.์ไพเราะ ผอ่ งโชค สมบูรณ์ จยั วฒั น์ และ เฉลิมศรี นนั ทวนั . (2550). การพยาบาลอนามยั ชุมชน. กรุงเทพฯ: จุดทอง.สมใจ วนิ ิจกลุ . (2552). อนามยั ชุมชน กระบวนการวนิ ิจฉัยและการแก้ปัญหา (ฉบบั ปรับปรุงคร้ังท่ี 2). พมิ พค์ ร้ังท่ี 4. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ.์Frances A. Maurer and Claudia M. Smith. (2005). Community / Public Health Nursing Practice Health for Families and Populations. (3rded). St. Louis.Hans H. Johnson, et.al. (2006). Creative Partnership for Community Health Improvement. Health Promotion Practice. 7(2); 162-169.Judith A.A., BarbaraW.S. (2005). Community Health Nursing: Promotingand Protecting the Public Health. (6thed). Philadephia.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook