Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการใช้สื่อ นวัตกรรม Google Apps for Education

คู่มือการใช้สื่อ นวัตกรรม Google Apps for Education

Published by KruSuksanti, 2020-01-27 11:52:39

Description: คู่มือการใช้สื่อ นวัตกรรม Google Apps for Education

Keywords: สื่อการเรียน,Google Apps for Education

Search

Read the Text Version

Takhliprachasan School สอื่ การเรียนรู้ บทเรียนออนไลน์ Google Apps for Education ครผู ้สู อน นายสขุ สนั ติ หอมสวุ รรณ์ ภาคเรยี นท่ี 2 2562 ปีการศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี gg.gg/k-suksanti คอมพิวเตอร์ สแกนเพื่อดูออนไลน์ โรงเรยี นตาคลีประชาสรรค์ ตำบลตาคลี อำเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์ สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 42

ก คำนำ สื่อการเรยี นรู้ บทเรียนสำเรจ็ รปู เรอ่ื ง Google Apps for Education เป็นส่วนหนึง่ ของรายวชิ า ง23101 การ งานอาชีพและเทคโนโลยี 5 และ ง20206 เทคโนโลยสี าระสนเทศ 6 นี้ จัดทำขนึ้ เพือ่ ให้ผเู้ รยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ได้มี ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น การนำเสนองานและสร้าง ชิ้นงานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยเน้นให้ผู้เรยี นได้ศกึ ษาดว้ ยตนเองตามเน้ือหาและโครงสร้าง ตามแผนการสอน และ นกั เรียนสามารถทำแบบทดสอบเพื่อประเมินตนเองทงั้ ก่อนเรียนและหลงั เรยี นได้ ผสู้ อนหวังเปน็ อย่างยิง่ ว่าสอ่ื การเรยี นรนู้ ้จี ะช่วยให้ผู้เรยี นได้เกิดการเรยี นรมู้ ากขน้ึ และชว่ ยให้เกิดความนา่ สนใจ ในการเรียนการสอนมากย่ิงขน้ึ ครสู ุขสนั ติ หอมสวุ รรณ์ ผ้จู ัดทำ

สารบัญ ข เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข บทนำ 1 รายละเอียดเก่ยี วกบั ส่อื / นวัตกรรม 4 คู่มอื การใชส้ ื่อการสอน 6 รายงานการใช้ส่อื การเรียนการสอน 10 ภาคผนวก 14

1 บทนำ ในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ถกู พฒั นาขน้ึ จนเปน็ สิ่งทใ่ี ชง้ ่ายและใกล้ตัวมนุษยม์ ากข้นึ ทำใหเ้ กิด นวัตกรรมการจดั การศึกษาจากระบบการเรยี นการสอนแบบเดมิ ท่ีครผู สู้ อนยืนหนา้ ชั้นเรยี นและเขียนกระดานพรอ้ มการ บรรยาย ปรบั เปลี่ยนมาใชเ้ ทคโนโลยีเพอ่ื สง่ เสริมกระบวนการเรียนรใู้ หก้ ับผู้เรียนในสภาพแวดล้อมทเี่ สมือนจรงิ ประกอบ กับการใชก้ ระบวนการส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนเกิดความร่วมมือในการเรยี นรแู้ บบ Collaborative Learning โดยผเู้ รยี น สามารถมปี ฏสิ มั พันธ์กบั ครผู สู้ อนหรอื กลุม่ ผเู้ รยี นด้วยกันเพอื่ แลกเปลย่ี นความคดิ หรือทำงานรว่ มกนั ได้ ผ่านการเขียน การอ่านและการสร้างเนื้อหา รวมทงั้ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การแสวงหาและการนำเสนอความรูใ้ นรปู แบบของดจิ ทิ ัลผา่ น ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ก่อใหเ้ กดิ การจดจำและแรงจงู ใจในการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นมากข้นึ ดว้ ยการใชน้ วัตกรรมทาง การศึกษา คำว่า “นวัตกรรม” เปน็ ศพั ทบ์ ญั ญตั ขิ องคณะกรรมการพิจารณาศัพทว์ ิชาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มา จากภาษาองั กฤษวา่ Innovation หมายถงึ ความคิด การปฏิบัติ หรอื สง่ิ ประดิษฐ์ใหม่ๆ ท่ยี งั ไม่เคยมใี ชม้ ากอ่ น เชา้ มา เปล่ียนแปลงเพิ่มเตมิ จากวธิ ีการกระทำอย่เู ดมิ หรอื เป็นการพฒั นาดดั แปลงมาจากของเดิมทม่ี อี ยแู่ ล้ว ใหท้ ันสมยั และใช้ ไดผ้ ลดียิ่งขึ้น เมอ่ื นำนวัตกรรมมาใชจ้ ะชว่ ยใหก้ ารทำงานนั้นๆ ไดผ้ ลลพั ธ์ท่ดี มี ปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลสูงกวา่ เดิม ท้งั ยงั ชว่ ยประหยัดเวลาและแรงงานได้อีกดว้ ย นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถงึ แนวคิดหรอื ส่ิงประดิษฐใ์ หม่ ๆ ซง่ึ สมารถนำมาใช้ในการจดั การเรยี นการสอน ซ่งึ อาจจะเปน็ ส่งิ ใหม่ทงั้ หมด หรือใหมเ่ พยี งบางส่วน หรอื อาจจะเปน็ สง่ิ ใหม่ในบริบทหนง่ึ หรือในชว่ งเวลาหน่งึ หรืออาจ เป็นสงิ่ ใหม่ที่กำลงั อยใู่ นกระบวนการพสิ จู น์ทดสอบ หรอื ไดร้ บั การยอมรบั นำไปใช้ แล้วแต่ยังไม่แพรห่ ลาย หรือเปน็ ส่วน หนงึ่ ของระบบงานปกติใช้แล้วทำใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ตามจุดหมาย (Education Research Development and Demonstration Institute, 2012) เป็นการนำเอาสิง่ ใหม่ซง่ึ อาจจะอยู่ในรปู ของความคิดหรอื การกระทำ รวมทงั้ สิ่งประดษิ ฐก์ ต็ ามเข้ามาใช้ในระบบการศกึ ษาโดยมี วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ทจี่ ะเปล่ียนแปลงระบบการเรยี นการสอนทีม่ อี ยูเ่ ดิม ให้มปี ระสทิ ธิภาพและมปี ระสทิ ธผิ ลยงิ่ ข้นึ ส่งผลใหผ้ เู้ รียนเกดิ การพัฒนาด้านการเรียนรู้ได้อยา่ งรวดเร็ว สรา้ งแรงจงู ใจใน การเรียนเพม่ิ ชอ่ งทางในการ เรยี นรแู้ ละศึกษาไดด้ ้วยตนเองโดยไมจ่ ำกัดเวลาและสถานทด่ี งั เช่นระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สารทใ่ี ช้สนบั สนนุ การจดั การเรียนการสอน ไม่ว่าจะเปน็ การสอนโดยใชค้ อมพวิ เตอรช์ ่วยสอน การ ใช้วดี ิทัศน์เชิงโตต้ อบ สือ่ หลายมิติ สื่อสงั คมออนไลน์ เวบ็ ไซด์และแอพพลิเคช่นั ตา่ ง ๆ บนอนิ เทอรเ์ น็ต ซง่ึ จัดได้วา่ เปน็ เคร่ืองมอื ชว่ ยสนับสนุนใหเ้ กิดนวัตกรรมทางการศกึ ษาในยุคดจิ ทิ ลั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

2 Google Apps for Education (Google Inc, 2014) นับได้วา่ เปน็ นวตั กรรมใหม่ทางการศกึ ษา ท่ชี ว่ ยเสรมิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล สำหรบั การจดั การระบบการ เรยี นการสอนในยคุ ดจิ ทิ ลั ได้เปน็ อย่างดี สร้างการเรยี นรูแ้ บบทำงานร่วมกันไดท้ กุ ทที กุ เวลาและทกุ รปู แบบของเทคโนโลยี ทสี่ ามารถเช่อื มต่อระบบเครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ ได้ ภายใตก้ ารจัดเก็บ รวบรวมและบนั ทกึ ขอ้ มลู บนคลาวด์ ด้วย Google Drive มกี ารตดิ ตอ่ ส่ือสารผา่ นทาง Gmail สามารถกำหนดเวลาเรยี นและตารางนดั หมายร่วมกัน ไดด้ ว้ ย Google Calender ทำกิจกรรมกลุม่ ได้ในเวลาเดยี วกนั บนแฟม้ เอกสารเดียวกนั ได้ด้วย Google docs สร้างเวบ็ ไซดไ์ ด้ อย่างงา่ ยดายผา่ นทาง Google Sites อกี ทง้ั ครูยังสามารถเพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารชั้นเรียนดว้ ยการใช้ Google Classroom ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับจาก Google Apps for Education ประยกุ ตใ์ ชก้ บั การศึกษา เนื่องจากมีระบบรักษาความปลอดภัยและความเป็นส่วนตวั ที่ออกแบบมาเพื่อให้ข้อมูลปลอดภยั และ ให้ผู้ใช้ ควบคุมข้อมูลด้วยตนเองไดอ้ ย่างสมบูรณ์แบบ สามารถเชือ่ มต่อได้ตลอดเวลาไม่ว่าจะอยู่ทีไ่ หนภายใต้ ระบบเครือขา่ ย อินเทอร์เน็ต ข้อมูลทุกอย่างจะมีการบันทกึ ลงในระบบคลาวด์โดยอัตโนมัติ อีเมล เอกสาร ปฏิทิน และไซด์จะสามารถ เข้าถึงและแก้ไขได้จากคอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ตได้ทุกทีทุกเวลา ผู้เรียนและครูผูส้ อนสามารถทำงาน รว่ มกนั ไดส้ ะดวกและรวดเร็วข้ึน มกี ารใชท้ พั ยากรในการเรียนรว่ มกนั ผู้สอนสามารถใชเ้ ป็นเคร่อื งมอื เพ่ือจัดการระบบ การเรียนการสอนและออกแบบระบบการใช้งานได้ตามความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ ช่วยเพิ่ม ประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลด้านการศึกษา เช่น การ ตดิ ตอ่ สอ่ื สาร การกำหนดเวลาของช้ันเรยี นและการเขยี นรายงาน หรอื เรียงความ ซ่ึงสามารถเหน็ การเปลยี่ นแปลงและแก้ไขเอกสารได้ทนั ที มกี ารควบคุมและการแบ่งปันที่มีประสทิ ธิภาพ ซ่ึงเป็นสภาพแวดลอ้ มในการทำงานท่เี หมาะสมที่สดุ สำหรบั การเรียนรู้

3 บทสรุป การพัฒนาทางดา้ นเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาทางด้านระบบเครอื ข่ายการพัฒนาอุปกรณ์ และเครอื่ งมอื อิเล็กทรอนกิ ส์ จนกลายเปน็ ส่วนหนึง่ ของการใช้ชีวติ ประจำวันของมนุษยร์ วมทั้งการสอดรบั ด้วยการพฒั นา แอปพลิเคชั่น และซอฟแวร์ส่งผลให้เกิดการพัฒนาทางด้านการศึกษา โดยการปรับเปลี่ยนมาใช้เทคโนโลยี เพื่อการ สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ใหก้ บั ผู้เรียน ผ่านการเขียน การอา่ น และ การสร้างเน้ือหา รวมทงั้ การเกบ็ รวบรวม แสวงหาและการ นำเสนอความรู้ในรูปแบบของดิจิตอล ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Google Apps for Education จึงนับไดว้ ่าเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่พัฒนาขึ้นเพื่อเพิ่มประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล ในกระบวนการจัดการเรยี น การสอนที่มีจุดเด่นหลายประการ และมีแอปพลเิ คชั่นให้เลือกใช้ได้หลากหลาย ทั้งยังมีนโยบายสนับสนุนการศึกษาที่ ชัดเจนเปิดใหส้ ถาบันการศึกษาสมคั รใชโ้ ดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ ่าย เปน็ ตัวอยา่ งท่ดี ีในการจัดการเรยี นรู้ ทั้งการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง นอกระบบ และการจดั การศึกษาในระบบทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร เป็นเครอื่ งมอื ชว่ ยในการจัดการเรยี น การสอนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

4 รายละเอยี ดเกีย่ วกับสือ่ นวตั กรรมการเรยี นการสอน โรงเรียนตาคลปี ระชาสรรค์ ปกี ารศึกษา 2562 1. ช่ือ สือ่ / นวตั กรรม Google Apps for Education นวตั กรรมทางการศกึ ษายคุ ดิจทิ ลั 2. ช่ือเจ้าของ สอื่ / นวัตกรรม นายสขุ สันติ หอมสุวรรณ์ 3. ประเภทของ สื่อ/นวตั กรรมการเรยี นการสอน £ สอื่ ส่งิ พมิ พ์ R สื่อเทคโนโลยี £ สอ่ื เทคนคิ วิธกี าร 4. หลกั การและเหตผุ ล (อธบิ ายหลกั การ เหตุผล และวัตถปุ ระสงค์ทคี่ ดิ จัดทาขน้ึ อยา่ งสั้น ๆ พอเขา้ ใจ) เนื่องจากในรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 5 ง23101 ได้กำหนดให้นกั เรียนมีความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น การนำเสนองาน การสร้างชิ้นงาน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากผู้เรียนไม่ค่อยทบทวนเนื้อหาและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเขียน โปรแกรมและจากการสังเกตพบวา่ การศกึ ษาความรู้จากใบความรู้แบบเดิมไม่กระตุ้นความสนใจของผู้เรยี น ทำ ให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่ายและขาดความกระตือรือรน้ ในการเรียนรู้ ผู้สอนจึงจัดทำสื่อการเรียนรู้บทเรียน สำเร็จรปู เรอ่ื ง Google Apps for Education นวัตกรรมทางการศึกษายุคดจิ ิทลั ขน้ึ ซึง่ ประกอบไปด้วยการวัด ความรู้ของผู้เรยี นท้งั กอ่ นเรยี นและหลงั เรียน เน้อื หาและตวั อยา่ งการเขียนโปรแกรมโดยใช้ตัวดำเนนิ การ รวมทงั้ เกมเพอื่ ทบทวนความเขา้ ใจของผเู้ รยี น เพื่อให้ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรู้ และมเี จตคติท่ดี ตี ่อการเรียนรู้เก่ียวกับการ ทำโครงงานคอมพวิ เตอร์ การเขยี นโปรแกรมเบอ้ื งต้น การนำเสนองาน การสร้างชน้ิ งานหนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ 5. วตั ถปุ ระสงคใ์ นการผลติ สื่อ 1. ผูเ้ รยี นสามารถทบทวนและศึกษาเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกับรายวชิ าการงานอาชพี และเทคโนโลยี 5 ได้ด้วยตนเอง 2. กระตุ้นความสนใจในการเรยี นรู้ของนกั เรียน 6. ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ (ช่วยสง่ เสริมใหเ้ กิดการเรยี นรอู้ ะไรบา้ ง) 1. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เกย่ี วกับการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ การเขยี นโปรแกรมเบื้องต้น การนำเสนองาน การสรา้ งชนิ้ งานหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกสส์ งู ขึ้น 2. ผูเ้ รียนไดศ้ กึ ษาเรียนรู้ด้วยตนเอง

5 3. ผสู้ อนไดน้ ำเทคนิควธิ กี ารเรียนการสอนทหี่ ลากหลายมาใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน 7. ลกั ษณะสอื่ (อธิบายรูปรา่ งและลกั ษณะการใชส้ ่อื อยา่ งย่อ ๆ ) สื่อการเรียนรู้ เรื่อง Google Apps for Education นวัตกรรมทางการศึกษายุคดิจิทัล เป็นสื่อการ เรียนรู้ที่จัดทำขึ้นในลักษณะของบทเรียนสำเร็จรูปและเกม ที่จัดทำขึ้นจากโปรแกรม Google Site และใช้ ร่วมกับ Google Classroom และ Google Apps อื่น ๆ อีกมากมาย นอกจากจะใช้เป็นสื่อการเรียนรู้แล้ว นักเรียนยังสามารถวัดความรู้ความเข้าใจของตนเองจากแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนรู้ รวมทั้งสนุกสนาน พร้อมทั้งประเมินความเข้าใจของตนเองจากการเลน่ เกม โดยหากนักเรยี นยังไมเ่ ข้าใจนักเรียนสามารถทบทวน เน้ือหาไดไ้ ม่จำกัดจำนวนครงั้ ในการเรยี นรู้ 8. ขนั้ ตอนการผลิตส่อื การเรยี นการสอน 1. ศึกษาหลกั สตู ร มาตรฐานการเรยี นรู้ และคำอธบิ ายรายวชิ า 2. รวมรวมรปู ภาพและเนอ้ื หาทเ่ี ก่ยี วข้อง 3. สร้างสอ่ื โดยใช้โปรแกรม Google Site และใช้รว่ มกบั Google Classroom และ Google Apps อื่น ๆ 4. เผยแพร่ออนไลน์ เพอื่ ใหเ้ กิดประโยชน์ในการใชง้ าน โดยนักเรยี นสามารถนำไปศกึ ษาดว้ ยตนเองในที่ต่าง ๆ ได้ทุกทท่ี กุ เวลา 5. จัดทำค่มู อื การใชเ้ พ่อื อธบิ ายข้นั ตอนการใช้งาน 6. นำส่ือไปทดลองใช้

6 คู่มือการใช้สื่อ นวัตกรรม

7 นักเรยี นจำเป็นตอ้ งมี Gmail ของของตัวเองก่อนกดเขา้ ไปทห่ี วั ข้อวธิ กี ารสมคั ร Gmail แสดงหนา้ จอคำอธบิ ายการสมคั รพรอ้ มวดิ โี อการสมคั ร

8 กอ่ นอื่นเลยนกั เรียนจะต้องมี Gmail เปน็ ของตวั เองก่อน (ทำการสมคั ร Gmail) 1. ใชง้ าน Browser : Google Chrome 2. ลงช่ือเขา้ ใช้ ดา้ นบนชวา 3. เลือกสรา้ งบญั ชี 4. กรอกขอ้ มูลใหค้ รบกดสมคั ร วิธสี มคั ร gmail สอนสมัคร G-mail ยงั ไง งา่ ย ๆ 2020 ทำการ Scan เพื่อ รบั ชม ดาวน์โหลด App HP Reveal เพือ่ ดูวธิ สี มคั ร (ใชเ้ ทคโนโลยี AR) IOS Android “เมือ่ ดาวนโ์ หลด App เสรจ็ เรมิ่ ทำการ Scan ไดเ้ ลย” ทำการ Scan เพือ่ ดาวนโ3 หลด App

9 แสดงหน:าจอรายวิชาทสี่ อน

10 รายงานการใชส: ่ือ 1. เมอ่ื ทำการสมัคร Gmail เสร็จแลว้ ทำการกรอกรหสั ห้องเรยี นของตัวเอง รหสั เพือ่ เข:าช้ันเรยี น รายงานสมาชิก (นกั เรียน) แสดงหน้าจัดการสมาชิก (นกั เรียน) ใน Classroom จำนวนห:องในช้นั เรียน

11 แสดงหน้าจดั การช้ันเรยี นแต่ละห้องของนักเรียน ใน Classroom มอบหมายช้ินงาน สงD แล:ว ยงั ไมDสDง แสดงหน้ามอบหมายงานนักเรยี นใน Classroom ช้ินงานของนักเรียนแตDละคน แสดงหน้าการส่งงานของนกั เรยี นใน Classroom

12 ตรวจงานและให:คะแนนนกั เรียน แสดงหน้าการให้คะแนนของครูผูส้ อนซึ่งครผู สู้ อนสามารถใหค้ ะแนนได้ทุกทที ุกเวลา การสงD งานลDาชา: และเลยกำหนดของนักเรียน แสดงหน้าการสง่ งานลา่ ชา้ /เลยกำหนดของนักเรยี นใน Classroom (สามารถกำหนด วัน/เวลา สง่ งานได)้

(ตวั อยา่ ง) 13 กดเลอื กที่หัวขอ: Your work แสดงหนา้ ดคู ะแนนของนักเรยี น นักเรียนสามารถดูคะแนนได้ทกุ ท่ที ุกเวลาใน Classroom (ตวั อย่าง) คะแนนงานแตลD ะชน้ิ งาน แสดงหนา้ คะแนนของแตล่ ะช้นิ งาน



15 แอพพลเิ คชนั่ Padlet แสดงหน้าแอพพลเิ คชนั่ Padlet ของนกั เรยี นแตล่ ะห้อง แสดงหนา้ แอพพลิเคช่นั Padlet ให้นกั เรยี นแนะนำตวั โดยนักเรียนจะเห็นกนั หมดเหมือนการแชร์

16 หนา้ แรก Google Site : gg.gg/k-suksanti จะแสดงเมนตู ่างๆ สแกนเพอ่ื เขา: Web QR Code แสดงหนา้ แรกของเวบ็ ไซต์

17 แสดงหน้าข้อตกลงในช้ันเรยี น

18 แสดงหนา้ รายวิชาในชน้ั เรยี น แสดงหน้าสว่ นของเนื้อหาในรายวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ง20206 แสดงหน:าสวD นของเนอ้ื หาในบทที่ 1 แสดงใบความร:แู ละใบงาน

19 แสดงหนา้ แบบทดสอบโดยใช้ Quzizz

20 แสดงหน้าผลคะแนนแบบทดสอบจาก Quzizz แสดงหนา้ ผลคะแนนแบบทดสอบจาก Quzizz โดยโหลดมาเป็นไฟล์ Excel ได้

21 แสดงหนา้ แบบทดสอบโดยใช้ Kahoot แสดงหนา้ ผลคะแนนแบบทดสอบจาก Kahoot Scartch 2

22 เอกสารอ้างอิง แหลง่ ขอ้ มลู อาจารยไ์ พรชั นพ วิริยะกรกุล โรงเรียนสาธติ ลอออทุ ิศ มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนดุสติ e-mail : [email protected] ดร.ดวงกมล โพธ์นิ าค คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกา้ พระนครเหนอื e-mail : [email protected]

23 ภาพการจดั การเรียนการสอน รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ง20206 ภาพนักเรยี นทำแบบทดสอบออนไลนโ์ ดยใช้ Kahoot และ Quizizz

24 ภาพกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภายในช้ันเรียน รายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ 6 ง20206


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook